SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 126
Descargar para leer sin conexión
นิทรรศการศิลปกรรม

ครั้งที่ ๑๒

ของนักศึกษาโปรแกรมว�ชาทัศนศิลป
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาว�ทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
ณ หอศิลปจ�นตนาการ มหาว�ทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
๒๕ มิถุนายน -๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕
by Visual Art Program Senior Students
Faculty of Humanities and Social Sciences,
Nakhon Ratchasima Rajabhat University
At galleries of imagination
Nakhon Ratchasima University
๒๕ June -๓๑ July 2012
1
“ไม่วาท่านจะทำ�หน้าทีใด ขอให้ทานทำ�งานด้วยความจริงใจ และ
่
่
่
ศึกษาค้นคว้าให้กว้างขวางลึกซึงยิงขึนให้สามารถรักษามาตรฐานศิลปะ
้ ่ ้
ของเราไว้ ทังสามารถยกให้สงขึนด้วย เพราะความเจริญหรือความเสือม
้
ู ้
่
ของศิลปะนั้นเป็นเครื่องแสดงความเจริญหรือความเสื่อมของชาติด้วย
	
อีกประการหนึ่งท่านต้องมีศิลปะในการครองชีวิต คือต้องรู้จัก
ทำ�ตัวให้มคาและมีประโยชน์ รูจกรักษาตัวมิให้ตองตกไปในทางเสือม
ี ่
้ั
้
่
ด้วยจึงจะสมกับที่ได้รับคำ�ยกย่องว่าเป็นศิลปบัณฑิต”
พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร
ของมหาวิทยาลัยศิลปากร
ณ ท้องพระโรงวังท่าพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร
วันพุธที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๐๙

2
3
ศาสตราจารย์ศิลป์	พีระศรี
4
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เศาวนิต เศาณานนท์
อธิการบดี
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

5
โครงการนิทรรศการผลงานศิลปกรรม ครั้งที่ 12
โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

หลักการเหตุผล
	
ปัจจุบนโปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ั
ได้ดูแลและรับผิดชอบดำ�เนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรศิลปกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์
หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2555 เปิดรับนักศึกษาภาคปกติ ซึ่งเนื้อหาส่วนใหญ่เป็นวิชาปฏิบัติการที่มุ่งเน้นให้
นักศึกษาสร้างสรรค์ผลงานทางด้านทัศนศิลป์ ด้วยทักษะแนวความคิดที่เป็นแนวทางของ ดังนั้นเพื่อเป็นการสร้าง
โอกาสให้นักศึกษาได้แสดงผลงานวิชาการด้านทัศนศิลป์และเป็นการส่งเสริมศักยภาพสู่สาธารณชนให้รับรู้อันเป็น
เงือนไขข้อหนึงของการประเมินและวัดผลการศึกษาของหลักสูตรวิชาทางโปรแกรมวิชาทัศนศิลป์จงได้จดนิทรรศการ
่
่
ึ ั
ผลงานศิลปกรรมขึ้นซึ่งเป็นการแสดงต่อเนื่องทุกปีการศึกษา ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 12 สำ�หรับผลงานของนักศึกษามี
ทั้งระดับปริญญาตรีชั้นปีสุดท้าย ในรูปแบบผลงานศิลปนิพนธ์ นอกจากนี้ยังมีผลงานนักศึกษาปัจจุบัน-ศิษย์เก่า
คณาจารย์ ศิลปินรับเชิญ และศิลปินแห่งชาติ ตลอดจนการสาธิตการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะด้วยเทคนิคและวิธี
การในด้านต่างๆ อีกมากมายนอกจากนี้ยังมี กิจกรรมการแสดงของนักศึกษาการแนะแนวการศึกษาต่อกับสาขาที่
เกี่ยวข้องทางด้านทัศนศิลป์รวมถึงการประชาสัมพันธ์โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาอีกด้วย

6
วัตถุประสงค์
	
1.	เพื่อนำ�เสนอแนวความคิด ทัศนคติต่างๆ ซึ่งเป็นองค์ความรู้ของนักศึกษา ผ่านการสร้างสรรค์ผล
งานศิลปกรรมเพื่อนำ�เสนอสู่สาธารณชนให้รับรู้และชื่นชมในศาสตร์ของสาขาวิชานี้
	
2.	เพือให้นกศึกษามีโอกาสแสดงผลงานและนำ�เสนอศักยภาพของตนเองผ่านกรรมวิธการสร้างสรรค์
่ ั
ี
ตามความเหมาะสมและความถนัดในแต่ละสาขาวิชาที่เรียนก่อนที่จะสำ�เร็จการศึกษา
	
3.	เพื่อเป็นการทำ�นุบำ�รุงและส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่นสู่สังคม
ส่วนรวมและประเทศชาติ
	
4.	เพื่อเป็นแนวทางสำ�หรับการแนะแนวการศึกษาต่อในด้านทัศนศิลป์ระดับอุดมศึกษา
เป้าหมาย
	
นิสิตนักศึกษาคณาจารย์โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ นักเรียนและประชาชนผู้สนใจทั่วไป
ขั้นตอนการดำ�เนินงาน
	
1.	ประชุมคณาจารย์โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ เพื่อจัดทำ�เอกสารโครงการ
	
2.	ประชุมนักศึกษาเพื่อรับทราบรายละเอียดโครงการ
	
3.	ประชุมและวางแผนการดำ�เนินงาน
	
4.	ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประชาสัมพันธ์โครงการ
	
5.	จัดเตรียมผลงานของนักศึกษาสำ�หรับจัดนิทรรศการและลงสูติบัตรเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่
	
6.	เตรียมความพร้อมสำ�หรับการจัดการแสดงผลงาน
	
7.	การจัดเก็บผลงานการดูแลรักษาผลงานในช่วงของการแสดงและการทบทวนพร้อมสรุปและประเมินผล
ของโครงการนิทรรศการ

7
สถานที่และระยะเวลาดำ�เนินการ
	
โครงการนิทรรศการศิลปนิพนธ์ครั้งที่ 12 ได้จัดทำ�ขึ้นในระหว่างวันที่ 25 มิถุนายน – 31 กรกฎาคม
2555 ณ หอศิลป์จินตนาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา งบประมาณ 155,000 บาท
(จากงบบำ�รุงการศึกษา โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ จำ�นวน 20,000 บาท งบส่งเสริมศักยภาพการแข่งขัน คณะ
	
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำ�นวน 40,000 บาท งบของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จำ�นวน 95,000 บาท)
	
ค่าสูจิบัตร 95,000 บาท
	
ค่าประชาสัมพันธ์โครงการ (คัทเอาท์ โปสเตอร์ แผ่นพับ สื่อวิทยุ สื่อโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์)
	
20,000 บาท
	
ค่าเตรียมการสำ�หรับพิธีเปิดและของที่ระลึก 10,000 บาท
	
ค่าอาหารเครื่องดื่มในการเปิดนิทรรศการและรับรองประธาน ศ.ดร.ธงทอง จันทรางศุ 25,000บาท
	
ค่าจัดทำ�เอกสารแนะแนวการศึกษา และจัดส่งสูติบัตรเพื่อเผยแพร่ 5,000 บาท
หมายเหตุ เฉลี่ยจ่ายทุกรายการ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
	
โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
	
1.	นักศึกษาได้แสดงผลงานอันเกิดจากความพรากเพียรในการเรียนรู้สู่การสร้างสรรค์ส่วนบุคคล
ซึ่งถือเป็นผลงานวิชาการด้านทัศนศิลป์ที่มีคุณค่าให้สาธารณชนได้รับรู้
	
2.	เกิดกระบวนของการเรียนรู้ของผู้ชมที่มีต่อผลงานการสร้างสรรค์ที่สะท้อนผ่านทางสุนทรียภาพ
ความงามเพื่อเติมเต็มในภาคส่วนของสังคม ถือเป็นกิจกรรมทางที่ส่งเสริมด้านวัฒนธรรม ในท้องถิ่นที่มีผลต่อ
พัฒนาการสำ�หรับต่อยอดสู่สังคมและประเทศชาติ
	
3.	นักศึกษาได้เข้าใจในการจัดระบบองค์กรและระบบการทำ�งานเป็นทีมและเป็นหมู่คณะ

8
4.	นิสิตนักศึกษาประชาชนและผู้ปกครองตลอดทั้งผู้สนใจทั่วไปได้รับทราบข้อมูลการขับเคลื่อนด้าน
ศิลปวัฒนธรรมและการมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อการพัฒนาศิลปะและงานสร้างสรรค์ในระดับอุดมศึกษาโดยเฉพาะ
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา

   

	
	
	

	 	 	
	 	 	
	 	 	

9
สารอธิการบดี
	
นิทรรศการผลงานศิลปนิพนธ์ของนักศึกษาโปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ ปีที่ 4 และผลงานของ
คณาจารย์โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมาในปี
นี้ ระหว่างวันที่ 25 มิถนายน – 31 กรกฎาคม 2555 ณ หอศิลป์จนตนาการมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ุ
ิ
นับเป็นปีที่ 12 ทีได้จดขึนติดต่อกันมา ซึงเป็นการแสดงผลงานศิลปะและงานออกแบบของนักศึกษาทีก�หนด
่ ั ้
่
่ำ
ตามหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ ทังนีเ้ พือให้การแสดงมีความรู้ ทักษะและศักยภาพ
้ ่
ของนักศึกษาที่สมควรจะจบการศึกษาได้
	
มหาวิทยาลัยต้องขอชื่นชมยินดี ต่อความมุ่งมั่น สามัคคี ของนักศึกษาและคณาจารย์ที่ทำ�ให้
เกิดผลงาน ศิลปนิพนธ์ซึ่งเป็นผลงานทางวิชาการ อันมีคุณต่อการศึกษาทางศิลปะแก่นักเรียน นักศึกษาและ
ประชาชนทั่วไป และจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดความซาบซึ้งและมีผู้สนใจในการศึกษาและค้นคว้าทางศิลปะ
มากขึ้นซึ่งเป็นเป้าหมายหนึ่งของมหาวิทยาลัย
	
มหาวิทยาลัยขอขอบคุณนักศึกษาและคณาจารย์ ที่ได้จัดนิทรรศการและผลงานศิลปกรรมต่อ
เนื่องมาตลอด และที่สำ�คัญยิ่งต้องขอขอบคุณผู้ให้การสนับสนุนทั้งภาครัฐและเอกชน หวังว่าการจัดงานใน
ครั้งนี้จะก่อให้เกิดผลตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ทุกประการ

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เศาวนิต เศาณานนท์)
อธิการบดี

10
คำ�นิยม
จากรองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา
	
ศิลปะ เป็นสิ่งที่สะท้อนคุณภาพ วิถีชีวิต และจิตใจของคนในสังคม การส่งเสริมสนับสนุน
ให้คณาจารย์และนักศึกษาได้รังสรรค์ผลงานศิลปะที่มีคุณค่าและนำ�เสนอต่อสาธารณชน จึงเป็นพันธกิจ
สำ�คัญประการหนึงของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ซึงดำ�เนินการมาอย่างต่อเนือง มีผลงานศิลปะหลาย
่
่
่
สาขาจากหลายโปรแกรมวิชานำ�เสนอสู่สังคมในโอกาสต่างๆ ได้รับความสนใจและความชื่นชมจากนักเรียน
นักศึกษา และประชาชนผู้เข้าชมงาน
	
โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์เป็นโปรแกรมวิชาที่มีผลงานสร้างสรรค์ทางศิลปะสาขาจิตรกรรมและ
สาขาประติมากรรมโดดเด่นเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาบันอุดมศึกษาที่ผลิตบัณฑิตสาขานี้ ผลงานหลายชิ้น
ได้รับรางวัลระดับชาติและระดับนานาชาติ และมีการนำ�เสนอผลงานให้สาธารณชนได้ชื่นชมในสุนทรียภาพ
ทางศิลปะมาอย่างสม่ำ�เสมอทุกปี ครั้งนี้เป็นการนำ�เสนอนิทรรศการผลงานศิลปกรรม ครั้งที่ 12 จึงน่าชื่นชม
ยินดีในความมุ่งมั่นและความสมัครสมานสามัคคีของคณาจารย์และนักศึกษาที่ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมที่ดีงาม
เป็นประโยชน์ต่อวงการศิลปะ ทั้งยังสะท้อนถึงศักยภาพด้านการพัฒนาผลงานศิลปะของคณาจารย์และ
นักศึกษาอีกด้วย
	
“ชีวิตคนเราสั้น แต่งานศิลป์นั้นยาวนาน” คำ�กล่าวของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ปรมาจารย์
ด้านศิลปะสมัยใหม่ของไทยยังคงเป็นจริงเสมอ ผลงานศิลปะทีได้น�เสนอในครังนีคงยังอยูให้ผสนใจได้ชนชม
่ ำ
้ ้
่ ู้
ื่
อีกยาวนาน

(รองศาสตราจารย์สะอาดศรี คงนิล)
รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา

11
สารคณบดี
	

โครงการการแสดงนิทรรศการ “ผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 12” เป็นอีกกิจกรรมหนึ่งที่ทาง
มหาวิทยาลัยได้จดนิทรรศการต่อเนืองเป็นประจำ�ทุกปี เป็นกิจกรรมทีแสดงศักยภาพในการสร้างสรรค์ผลงาน
ั
่
่
ทางด้านทัศนศิลป์ที่ประกอบไปด้วย ผลงานจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ สื่อผสมเป็นต้น นอกจากนี้
ยังมีผลงานของศิลปินเชือเชิญและรับเชิญอีกเป็นจำ�นวนมากรวมทังผลงานของคณาจารย์โปรแกรมวิชาทัศน
้
้
ศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ด้วย
	
ทางคณะต้องขอชื่นชมยินดี ต่อความมุ่งมั่นสามัคคี ของนักศึกษาและคณาจารย์ที่ทำ�ให้เกิด
โครงการการแสดงนิทรรศการ “ผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 12” เป็นผลงานทางวิชาการ อันมีคุณค่าต่อวงการ
การศึกษาทางด้านศิลปะ และจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดความซาบซึ้งและเป็นแหล่งเรียนรู้ในการศึกษาและ
ค้นคว้าทางวิชาการมากขึ้นซึ่งเป็นเป้าหมายหนึ่งของมหาวิทยาลัย
	
ขอขอบคุณนักศึกษาและคณาจารย์ ที่ได้จัดโครงการการแสดงนิทรรศการ “ผลงานศิลปกรรม
ครั้งที่ 12” ในครั้งนี้ และหวังอย่างยิ่งว่าจะบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ทุกประการ

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์เมินรัตน์ นวะบุศย์)
คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

12
สารจากประธานโปรแกรมวิชาทัศนศิลป์
	
โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ได้จัดทำ�โครงการนิทรรศการศิลปกรรมขึ้นเป็นประจำ�ทุกปี เป็นพันธ
กิจหลักของโปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ที่มุ่งเน้นให้นักศึกษา ได้สร้างสรรค์ผลงานทางด้านทัศนศิลป์ด้วยทักษะ
และแนวคิดที่เป็นแนวทางของตนเองในด้านการสร้างสรรค์ด้วยเทคนิคและวิธีการต่างๆเช่น ประติมากรรม,
จิตรกรรม, ศิลปะไทย, ภาพพิมพ์และเทคนิคผสมเป็นต้น การแสดงผลงานในครั้งนี้เป็นครั้งที่ 12 โดยจัด
แสดงตั้งแต่วันที่ 25 มิถุนายน – วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ.2555 ณ หอศิลป์จินตนาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครราชสีมา เป็นการจัดแสดงนิทรรศการแบบบูรณาการ โดยนำ�เอาผลงานศิลปะนิพนธ์ของนักศึกษาชั้น
ปีสุดท้าย ประกอบกับผลงานนักศึกษาปัจจุบัน-ศิษย์เก่า คณาจารย์ประจำ�โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ เช่น
ผศ.ดร.สามารถ จับโจร อ.กิตติชัย ตรีรัตน์วิชชา อ.วนัด อ่างสุวรรณ อ.ธนะชัย พรหมรัตน์ ศิลปินเชื้อเชิญ
เช่น อ.ทวี รัชนีกร (ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์) ศ.ดร.นนธิวรรธน์ จันทนะผะลิน (ศิลปินแห่งชาติสาขา
ทัศนศิลป์) ศ.วิโชค มุกดามณี (ศิลปินนานาชาติ) อ.วราวุธ ชูแสงทอง ผศ.ไพรโรจน์ วังบอน อ.ศักดิ์ชัย อุทธิ
โท (ศิลปินอาเซียน) และศิลปินรับเชิญอีกเป็นจำ�นวนมาก การจัดนิทรรศการครั้งนี้ทางโปรแกรมวิชาทัศน
ศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา ได้รบเกียรติจาก ปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ศ.ดร.ธงทอง จันทรางศุ ให้
ั
เกียรติเป็นประธานในพิธเี ปิดงานนิทรรศการดังกล่าว นอกจากการแสดงผลงานนิทรรศการแล้วยังมีกจกรรม
ิ
สาธิตการสร้างสรรค์จากนักศึกษาโปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ดวยเทคนิควิธการต่างๆ เช่น การวาดรูปเหมือน การ
้
ี
สร้างสรรค์งานจิตรกรรมด้วยเทคนิคสีนามัน การปันรูปคนเหมือน และการวาดเส้น รวมทังการแนะแนวการ
ํ้
้
้
ศึกษาต่อสาขาวิชาทัศนศิลป์เป็นต้น
	
ศิลปะนั้นมีส่วนสำ�คัญและสัมพันธ์กับบริบทของสุนทรียภาพที่กำ�ลังขาดหายไปในภาคส่วนของ
สังคมไทยและทีก�ลังถูกกลืนกินอย่างรวบรัดด้วยวัตถุทางการบริโภคของทุนนิยมพลัดถิน การขาดซึงหลักธร
่ำ
่
่
รมมาภิบาลด้านความงามทางศิลปะของสังคมไทยและสถาบันอุดมศึกษาในขณะนี้ จึงเป็นการชีให้เห็นซึงถึง
้
้
ความจำ�เป็นของศาสตร์สาขาวิชาดังกล่าวว่ามีความเกี่ยวข้องอย่างไรกับการสานต่อของบริบทในเรื่องศิลปะ
และวัฒนธรรม โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์เป็นอีกรากฝอยทีคอยเสริมเพือเติมให้เต็มกับโครงสร้างทางการศึกษา
่
่
เพื่อพัฒนาศักยภาพทางวิชาการในด้านศิลปวัฒนธรรมที่มีผลต่อพัฒนาการของสังคมไทยในอนาคต

13
ขอขอบคุณนักศึกษาคณาจารย์ศลปินรับเชิญตลอดทังเชือเชิญทุกท่านทีได้เสียสละเวลาให้ความ
ิ
้ ้
่
ร่วมมือมอบปัจจัยด้านกายภาพของงานสร้างสรรค์และเห็นความสำ�คัญของการจัดงานในครั้งนี้จนทำ�ให้
นิทรรศการการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่12 สำ�เร็จลุล่วงด้วยดีและขออวยพรให้นักศึกษาได้น�ความรู้ที่
ำ
ได้รับจากการศึกษา 4 ปีในโปรแกรมวิชานี้เพื่อนำ�ไปใช้ประโยชน์ให้ก่อเกิดต่อวงการการศึกษาและวิชาการ
ด้านศิลปะรวมทั้งใช้ในการประกอบสัมมาชีพที่สุจริตในโอกาสต่อไป
	

ขออวยพรให้นักศึกษาทุกท่านจงประสพแต่ความโชคดี

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สามารถ จับโจร)
ประธานโปรแกรมวิชาทัศนศิลป์

14
ศิลปินแห่งชาติ

Thai National Artists

15
นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน “Untitled” หล่อ, 14x19X30 ซม.
16
ปรีชา เถาทอง “Untitled” ดิจิตอล ปริ้นท์, 100x75 ซม.
17
ทวี รัชนีกร “หีบสมบัติบ้าๆ บอๆ” แกะไม้, 30x30x60 ซม.
18
ศิลปินรับเชิญ

Invited Artists

19
เทอดศักดิ์ ไชยกาล สีนํ้ามันบนผ้าใบ, 60X70 ซม.
20
เชาวฤทธิ์ เตยขาว “Untitled” สีนํ้ามันบนผ้าใบ, 50x75 ซม.
21
ศักชัย อุทธิโท “สุุขแห่งความพอเพียง” สีนํ้ามันบนผ้าใบ, 80x100 ซม.
22
อุตสาห์ ไวยศรีแสง “เสน่ห์สีชมพู” สีนํ้ามันบนผ้าใบ, 50X75 ซม.
23
ยุทธนา ไพกะเพศ “ผาฮี้” สีนํ้าบนกระดาษ, 36x46 ซม.
24
ธวัชชัย ช่างเกวียน “Looking” ปั้นหล่อ ไฟเบอร์กลาส, 100x110x300 ซม.
25
บุญเกิด ศรีสุขา “นํ้าคือชีวิต” 25x60x75 ซม.
26
ณัฐกมล ตั้งธนะพงศ์
27
เอกอมร ภัทรกิจพงศ์ “ปรัชญาไม้กระดก” จิตรกรรมผสม, 90X120 ซม.
28
มงคล กลิ่นทับ “เฒ่าทะเล” สีนํ้าบนกระดาษ, 32x24 ซม.
29
สืบศักดิ์ สิริมงคลกาล “ณ ริมโขง” สีนํ้าบนกระดาษ, 36x55 ซม.
30
ภาสกร ทองขุนดำ� “อ้างว้าง” ผสม, 124X180 ซม.
31
โจม มั่นพลศรี “The relationship of life and environment 3” ภาพพิมพ์โลหะ, 60x80 ซม.
32
อาจารย์ประจำ�โปรแกรม

Visual Art Program Staff Members

33
สามารถ จับโจร “ท้องฟ้า-พาฝัน-วันจันทรุปราคา” สีอะคริลิคบนผ้าใบ, 75x90 ซม.
34
กิตติชัย ตรีรัตน์วิชชา “King Of Thailand” ปั้นหล่อปูนปลาสเตอร์, หนึ่งส่วนสี่เท่าพระองค์จริง
35
วนัด อ่างสุวรรณ “พระบารมีทั่วดินแดนด้ามขวาน” สีนํ้ามันบนผ้าใบ, 50x60 ซม.
36
สิโรจน์ พวงบุบผา “ต้นนารีผล 5” จิตรกรรมลายทอง, 150x200 ซม.
37
พฤกษ์ โตหมื่นไวย “ภูมิปัญญาบนที่ราบสูง” สีนํ้า สีฝุ่น บนกระดาษ, 30x40 ซม.
38
ทองไมย์ เทพราม “ลองยา” อะครีลิคบนผ้าใบ, 150X300 ซม.
39
ธนะชัย พรหมรัตน์ “ภาพสะท้อน” Woodcut, 100x65 ซม.
40
ผลงานนักศึกษา ชั้นปีที่ ๒, ๓ และ ๔
Visual Art Students

41
วาดเส้น : Drawing

ทรรศนัย์ แห่งภักดี วาดเส้น, 52x78 ซม.

กลอยใจ หวังหมู่กลาง “หุ่นนิ่ง” วาดเส้น, 52x78 ซม.

ธีรพงศ์ ช่างสลัก เกรยองบนกระดาษ, 52x78 ซม.

42
ธีระพงศ์ ช่างสลัก วานิชดำ�, 79x110 ซม.

พิกุลแก้ว ทุลดี วานิชดำ�, 55x80 ซม.

วนิดา อุปถัมภ์ วานิชดำ�, 55x80 ซม.

ธีระพงศ์ ช่างสลัก วานิชดำ�, 55x80 ซม.

วนิดา อุปถัมภ์ วานิชดำ�, 55x80 ซม.
43
พิกุลแก้ว ทุลดี ปั๊มหมึก, 39x54 ซม.

ทวีสักดิ์ โคตรเมือง ปั๊มหมึก, 39x54 ซม.
44

เจริญชัย คิดถูก ปั๊มหมึก, 39x54 ซม.

ศักดิ์ธร เที่ยงธรรม ปั๊มหมึก, 39x54 ซม.
พิกุลแก้ว ทุลดี วาดเส้น, 27x38 ซม.

เกษรา ชานนท์เมือง “ยามเย็น” วาดเส้น, 37x56 ซม.

พิกุลแก้ว ทุลดี “เมื่อดอกจานบาน” วาดเส้น 27x38 ซม.

ถาวร สระเศษ เกรยองบนกระดาษ, 27x38 ซม.
45
บุญฤทธิ์ วงษ์อุทิศ หมึกจีน, 27x38 ซม.

วรายุทธ สงวนสิน หมึกจีน, 27x38 ซม.

รัตนพงษ์ พิมพิสาร์ หมึกจีน, 27x38 ซม.

รัตนพงศ์ พิมพิสาร หมึกจีน, 27x38 ซม.
46

รัตนพงศ์ พิมพิสาร หมึกจีน, 27x38 ซม.

นิรันดร์ แซ่คู “ภาพสะท้อน” เกรยองบนกระดาษ, 37x56 ซม..
ไกรสิทธิ์ สถิตเดชกุญชร “หัวรถไฟ” วาดเส้น, 32x45 ซม.

วนิดา อุปถัมภ์ “ประตูนํ้าจอหอ” วาดเสัน, 37x56 ซม.

วนิดา อุปถัมภ์ “บ้านเกาะ” วาดเสัน, 37x56 ซม.
47
วนิดา อุปถัมภ์ “สี่แยกศาลหลักเมือง“ วาดเสัน, 37 x 56 ซม.

ธวัชชัย มุ่งแฝงกลาง วาดเสัน, 37x56 ซม.
48
ธวัชชัย มุ่งแฝงกลาง วาดเส้น, 37 x 56 ซม.

พิกุลแก้ว ทุลดี “ซอย 3” วาดเส้น, 56x76 ซม.
49
วนิดา อุปถัมภ์ “เมือง” วาดเส้น, 37 x 56 ซม.

ธีรพล ไสยสมบัติ “ปราสาทหินพิมาย” เกรยองบนกระดาษ, 37x56 ซม.
50
วนิดา อุปถัมภ์ “พนมวัน” เกรยองบนกระดาษ, 37x56 ซม.

สุชาวดี พลชำ�นิิ “ปราสาทหินพิมาย” เกรยองบนกระดาษ, 38x52 ซม.

51
องค์ประกอบศิลป์ : Composition
ยืนยง ทานอก สีอะคริลิคบนผ้าใบ, 74 x 100 ซม.

ยืนยง ทานอก สีอะคริลิคบนผ้าใบ, 56x76 ซม.
52

ยืนยง ทานอก สีอะคริลิค, 37 x 56 ซม.

ยืนยง ทานอก สีอะคริลิคบนผ้าใบ, 56x76 ซม.
ปีทอง หาญวงศ์ ปั๊มหมึก, 56 x76 ซม.

บุญฤทธิ์ วงษ์อุทิศ เกรยองบนกระดาษ, 71x102 ซม.
53
จิตรกรรม : Painting

ชวลิต หนูกระโทก “ผาฮี้” สีนํ้ามัน, 130x60 ซม.
54
กรุณา นพคุณ “ลงแขกเก้าอี้” สีอะคริลิคบนผ้าใบ, 170x180 ซม.
55
กรุณา นพคุณ “กิเลส ตอน ฉันรู้ ฉันเห็น (แต่ช่างมันเถอะ)” สีอะคริลิคบนผ้าใบ, 170x180 ซม.
56
อารี จุลกลาง “ขี่ควายชมทุ่ง” สื่อผสม, 200x200 ซม.
57
อรชุมา รุจิราเรืองศักดิ์ “หุ่นนิ่ง” สีนํ้ามัน, 80x100 ซม.

กลอยใจ หวังหมู่กลาง “หุ่นนิ่ง” สีนํ้ามัน, 70x90 ซม.
58
สุวิชชา นาส้มกบ สีนํ้ามัน, 60x80 ซม.
59
ศิลปไทย : Thai Art

สุชาวดี พลชำ�นิ “ทวารบาล วัดใหญ่สุวรรณาราม” สีฝุ่นบนผ้าใบ, 200x50 ซม.
60
สุชาวดี พลชำ�นิ “โห่ง” สีอะคลิลิคบนผ้าใบ, 80x60 ซม.

สุชาวดี พลชำ�นิ “ช่อฟ้าวัดเจริญทรงธรรม” สีอะคลิลิคบนผ้าใบ, 120x100 ซม.
61
พรประเสริฐ ก้าน้อย สีอะคริลิคบนผ้าใบ, 100 x 170 ซม.

ธีระพล ไสสมบัติ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, 120x160 ซม.
62
พรประเสริฐ แก้วน้อย “สภาวะจิตที่ถูกกลืนกินด้วยกิเลส 1” สีนํ้ามัน, 120x240 ซม.
63
พรประเสริฐ แก้วน้อย “สภาวะจิตที่ถูกกลืนกินด้วยกิเลส 2” สีนํ้ามัน, 120x240 ซม.
64
ประติมากรรม : Sculpture
สมชาย ใจเย็น ปลาสเตอร์, ขนาดเท่าจริง
65
จักรพันธ์ โลกวิทย์ “พิจารณา” ปลาสเตอร์, 60x55x30 ซม
66
สมชาย ใจเย็น “สังขาร” ปลาสเตอร์, ขนาดเท่าจริง
67
ณัฐวุฒิ เชิดสูงเนิน ปลาสเตอร์, 50x30x80 ซม.
68
ประติมากรรมกับ

มนุษย์

	
การบันทึกและจารึกเรืองราวต่างๆ ตามจินตนาการ
่
ของมนุษย์ในอดีตที่สลักไว้ในผนังถํ้าหรือตามเพิงผาหินต่างๆ
ตลอดทั้งรูปเคารพที่เราพบเจอต่างยุคสมัยสามารถรับรู้ได้ใน
คุณค่างานศิลปะและเรียกขานว่างานประติมากรรม เป็นการ
ถ่ า ยทอดเรื่ อ งราวในลั ก ษณะของงานสร้ า งสรรค์ ซึ่ ง การ
ถ่ายทอดของมนุษย์ในเรื่องของความงามที่ปรากฏให้เห็นเป็น
รูปแบบ รูปทรงและเรื่องราวต่างๆ นั้นเกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล
ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงกระบวนการของการสร้างสรรค์มนุษย์จึง
มีส่วนเกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ถ่ายทอดทางความรู้สึกแทบ
ทั้งสิ้น นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันไม่ว่ามนุษย์จะไปยังสถาน
ที่ใด ณ เวลาใดก็ตาม มนุษย์มักจะได้สัมผัสกับความงดงาม
ที่เกิดจากการสร้างสรรค์ตลอดเวลาไม่ทางตรงก็ทางอ้อม ไม่
ว่าจะเป็นการสร้างสรรค์ทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรม
สถาปัตยกรรม หัตถกรรมและอื่นๆ จากการที่มนุษย์มีความ

ความงามกับ

การสร้างสรรค์
	
การแสวงหาความงามหรือการ
เพียรพยายามที่จะถ่ายทอดกระบวนการ
การสร้างสรรค์ของตนเองเพือแสดงออกให้
่
ผูคนได้รบรูในสิงทีตนกระทำ� คือ สิงทีมนุษย์
้
ั ้ ่ ่
่ ่
เพียรพยายามนำ�เสนอเพือตอบสนองความ
่
รูสกนึกคิดและจินตนาการของผูสร้างสรรค์
้ึ
้
อารมณ์ความรูสกนึกคิดในการถ่ายทอดทาง
้ึ
มโนภาพทีได้รบจากการสัมผัสรับรูจริงหรือ
่ ั
้
จากจินตนาการ โดยใช้ภาษาทางความงาม
เป็นสื่อกลางเพื่อให้ผู้คนโดยทั่วไปเข้าใจใน
สิ่งที่ตนเองสร้างสรรค์เป็นการแสดงออก
ให้สาธารณชนได้รับรู้ ดังนั้นความงดงาม

โดย ผศ.ดร.สามารถ จับโจร

สัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดด้านความงามอยู่ตลอด
เวลานัน บางครังทำ�ให้มนุษย์ละเลยไม่เห็นความสำ�คัญหรือให้
้
้
คุณค่ากับสิ่งที่พบเจอเท่าใดนักและอาจคิดว่าสิ่งนั้นไม่ใช่สิ่งที่
สำ�คัญ แต่ในความเป็นจริงคำ�ว่าคุณค่าของความงามทีเกิดจาก
่
การสร้างสรรค์ไม่ใช่สิ่งที่ยุ่งยากเกินความสามารถของมนุษย์
ที่จะรับรู้และเรียนรู้ได้ถ้าหากให้ความสนใจที่จะเรียนรู้อย่าง
จริงจัง ซึ่งก็มีจำ�นวนไม่น้อยที่ให้ความสนใจ แต่ก็มีเหตุผลบาง
ประการที่ทำ�ให้ผู้คนห่างไกลคือ เกิดความวิตกกังวล เพราะ
ไม่มนใจว่าในการแสดงออกทางการสร้างสรรค์ของตนนันเป็น
ั่
้
อย่างไร รู้สึกเฉย ไม่สวยหรือไม่งาม คิดไปเองต่างๆ นาๆ ว่า
ตนเองไม่มีพรสวรรค์บ้าง ไม่มีหัวศิลป์บ้าง หรือเป็นสิ่งที่ยาก
เกินไปสำ�หรับตนทีจะสัมผัสถึง ดังนันด้วยเหตุผลดังกล่าวทำ�ให้
่
้
มนุษย์ขาดความเชือมันและกลับกลาเป็นหลุมพรางทางการรับ
่ ่
รู้ในศาสตร์สาขาวิชาดังกล่าว

ที่มีคุณค่าทางศิลปะจึงต้องเกิดขึ้นจากการ
สร้างสรรค์ของมนุษย์เท่านั้น นับแต่อดีต
จนถึงปัจจุบันเชื่อกันว่ามนุษย์เท่านั้นที่มี
สติปัญญาจนถึงขั้นสามารถแก้ปัญหาต่างๆ
แล้วนำ�มาสร้างสรรค์ผลงานสามารถอธิบาย
ถ่ ายทอดถึง กัน ได้อ ย่ างเข้ าใจ เนื่ อ งจาก
มนุษย์สามารถปรับปรุง แก้ไขปัญหาใน
ด้านต่างๆ เช่น การใช้วัสดุและเครื่องมือ
ตลอดจนการประยุกต์ใช้สิ่งต่างๆ ที่มีอยู่
ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เกิดคุณค่า
ทางความงาม เหมาะสมกับความต้องการ
ของผู้เสพ ทั้งในด้านประโยชน์ใช้สอยและ
ตอบสนองด้านจิตใจและอารมณ์ความรู้สึก
นอกจากนี้ ม นุ ษ ย์ ยั ง สามารถสร้ า งสรรค์
ผลงานให้มีวิวัฒนาการในการพัฒนาเพื่อ

ความเจริญต่อเนื่องเรื่อยมาเป็นลำ�ดับ ซึ่ง
การสร้างสรรค์ทางความงามเป็นกระบวน
การอิสระและเป็นสิ่งที่ทำ�ให้เกิดขึ้นใหม่ มี
จังหวะที่แสดงถึงความพอดี มีความสมดุล
จนเกิดเป็นเอกภาพ และมีกลวิธีคิดค้นที่มี
สาระและเหตุผลในการสร้างสรรค์ นอกจาก
นี้ลักษณะการสร้างสรรค์จะต้องมีเสรีภาพ
มี อิ ส ระทางความคิ ด และจิ น ตนาการ มี
ความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ให้ก้าวหน้า
โดยไม่หยุดยั้ง สำ�หรับการสร้างสรรค์ในยุค
ปัจจุบันจะเกิดขึ้นจากการแก้ปัญหาจาก
สิ่งที่ได้พบเจอด้วยเทคนิควิธีการและแนว
ความคิดใหม่อยู่เสมอ เช่น การทำ�ผลงาน
ในลักษณะรูปแบบเหมือนจริง ซึ่งอาจเป็น
คน สัตว์ สิ่งของหรือจำ�ลองลักษณะรูปทรง
69
ที่เกิดและมีอยู่ในธรรมชาติ เป็นต้น เป็นผล
งานทีเ่ กิดจากความประทับใจโดยได้รบแรง
ั
บันดาลใจจากรูปทรงที่มีอยู่ในธรรมชาติ
สะท้อนผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ทาง
ด้ า นประติ ม ากรรม และปรั บ เพิ่ ม ปรุ ง
แต่งรูปทรง ให้มีความสอดคล้องกับจุดมุ่ง
หมายของผู้สร้างสรรค์ เป็นการกำ�หนด
ท่าทีในการทำ�งานของศิลปินผู้สร้างสรรค์
เอง ซึ่งแต่ละคนจะมีความพิเศษสามารถ
นำ�เอาเอกลักษณ์ ความโดดเด่นในบริบท
ที่มีความหลากหลายของรูปแบบ รูปทรง
เพือกำ�หนดอัตลักษณ์และความเป็นปัจเจก
่
สำ�หรับศิลปินแต่ละคน ซึ่งอาจจะมีการ
ดัดแปลงมากบ้าง น้อยบ้างขึ้นอยู่กับทัศนะ
มุมมองความเป็นส่วนตัวของศิลปิน แต่สิ่ง
ทีนาสังเกตและถือเป็นกรอบสำ�หรับการนำ�
่่
เสนอ คือ ถ้าหากศิลปินผู้นั้นได้ถ่ายทอด
หรือดัดแปลง ตัดทอนรูปแบบ รูปทรงใน
การสร้างสรรค์มากเกินไปจากลักษณะที่
ปรากฏในธรรมชาติจะกลายเป็นรูปทรงของ
นามธรรมโดยทันที
	
เนื่องจากความงามเป็นสิ่งที่ข้อง
เกี่ยวกับการสร้างสรรค์ของมนุษย์ หลาย
ท่านสับสนว่าขอบเขตการสร้างสรรค์ โดย
เฉพาะผลงานประติมากรรมกำ�หนดกรอบ
ว่าอย่างไร เพราะนอกจากการสร้างสรรค์
ของมนุษย์แล้ว รูปทรงที่เกิดขึ้นโดยการ
สร้างสรรค์ของธรรมชาติ เช่น รูปทรง รูป
ร่างของโขดหินที่ถูกกัดเซาะโดยนํ้าหรือลม
ที่มีความงดงามปรากฏให้เห็นในรูปแบบ
ต่างๆ หรือการสร้างสรรค์อื่นที่มิใช่เป็นการ
สร้างสรรค์จากนํ้ามือของมนุษย์ถือว่าเป็น
ผลงานศิลปะหรือไม่ คำ�ตอบคือไม่ใช่ผล
งานศิลปะ เพราะไม่สามารถสื่อสารและ
อธิ บ ายถึ ง แนวความคิ ด เหตุ แ ละผลแรง
ดลใจในการสร้างสรรค์ให้ผู้ชมรับรู้ได้ ผล
งานประติมากรรมเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับ
ความสวยและความงาม มักปฏิเสธไม่ได้
ว่ า อาจขึ้ น อยู่ กั บ ความชอบ ความพอใจ
ในอรรถรสต่างๆ ของศิลปินผู้สร้างสรรค์
แต่ละบุคคลเป็นเกณฑ์หลัก ดังนั้นทัศนะ
และการรับรู้ของผู้คนเกี่ยวกับมุมมองของ
การสร้างสรรค์จึงสามารถมองได้หลายแง่
70

มุมที่แตกต่างกัน เช่น บางคนชอบรูปแบบ
ผลงานประติมากรรมในลักษณะเหมือนจริง
(Realistic) (ภาพที่ 1) เพราะดูแล้วสามารถ
เข้าใจได้ง่าย สื่อสารและเปรียบเทียบกับ
รูปแบบที่มีอยู่ในธรรมชาติได้ง่าย หรือบาง
คนอาจจะชอบรูปแบบประติมากรรมใน
ลักษณะนามธรรม (Abstract) (ภาพที่ 2)

เพราะผลงานนันให้ความรูสกทางด้านความ
้
้ึ
คิด จินตนาการ รวมทั้งการแสดงออก และ
การสื่อความหมายบางอย่างของศิลปินใน
รูปแบบทีหลากหลาย ไม่สามารถใช้ทฤษฎีที่
่
มากมายมาล้อมกรอบและใช้เป็นกฎเกณฑ์
ในการสร้างสรรค์ได้

ภาพที่ 1 รูปแบบผลงานประติมากรรมเหมือนจริง รศ.วิโรฒ ศรีสุโร ผลงานสามารถ จับโจร

ภาพที่ 2 จังหวะของการเจริญเติบโต ผลงานเข็มรัตน์ กองสุข
ที่มา : (ภาควิชาประติมากรรม คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
	
และสำ�นักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, 2553)
มนุษย์กับ

การสร้างสรรค์
มนุ ษ ย์ แปลว่า ผู้มีจิตใจ
สูง ซึ่งมนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นเองโดย
ธรรมชาติ มีการดำ�รงชีพเพื่อดำ�รงเผ่าพันธุ์
และดำ�เนินชีวิตด้วยความผูกพันโดยอาศัย
บริบทร่วมกันกับธรรมชาติมาโดยลำ �ดับ
ตั้งแต่ยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ไล่เรียง
เรื่อยมาตราบจนกระทั่งถึงปัจจุบัน อย่างไร
ก็ ต ามมนุ ษ ย์ ไ ม่ ไ ด้ พ อใจอยู่ กั บ สภาพสิ่ ง
แวดล้อมอันเป็นธรรมชาติตลอดกาลอย่าง
ทีเ่ ป็นอยู่ แต่ในทางตรงกันข้ามกับพยายาม
ที่จะแสวงหา ประดิษฐ์คิดค้นสิ่งต่างๆ และ
ยังมีความปรารถนากระทำ�ทุกวิถีทางอัน
นำ�มาซึ่งความสะดวกสบายเพื่อตอบสนอง
ความใคร่อยากของตนเอง โดยเฉพาะความ
ปรารถนาในสิ่งที่ดีงามเป็นความรู้สึกทาง
ด้านจินตนาการอันเป็นคุณลักษณะสำ�คัญ
ของสิ่งที่เรียกว่าการสร้างสรรค์หรือการ
แสวงหาสิ่งที่สวยงามที่ผ่านกระบวนการ
ของการสร้างสรรค์แล้ว ซึ่งมนุษย์จะเพียร
แสวงหาจากธรรมชาติโดยตรงไม่ได้ เพราะ
รูปทรงที่เกิดขึ้นนั้นต้องรังสรรค์ปั้นแต่งขึ้น
มาโดยมนุษย์ ฉะนั้นผู้สร้างสรรค์จึงต้อง
เรียนรูและเสริมสร้างความเข้าอกเข้าใจแล้ว
้
สร้างมันขึ้นมาจากประสบการณ์และความ
สามารถของตน
	
มนุษย์เราได้มีการพัฒนาความ
รู้ ค วามสามารถมาโดยลำ � ดั บ แล้ ว การ
เปลี่ยนแปลงทางส่วนต่างๆ ของร่างกาย
ตลอดทั้งการเปลี่ยนแปลงขนาดของสมอง
ทำ � ให้ ม นุ ษ ย์ เ กิ ด ความฉลาดในการสร้ า ง
ผลสัมฤทธิ์ในกรอบของความคิด รวมทั้ง
สนใจอยากรู้ สิ่ ง ใหม่ ๆ นอกจากนี้ ม นุ ษ ย์
ยังมีความสามารถในการลอกเลียนแบบ
ตลอดทั้งความตั้งใจ ในการแสวงหาและ
พยายามบันทึกไว้ในความทรงจำ�  สามารถ
สร้างมโนภาพและจินตนาการที่ถ่ายทอด
ส่งไปยังเพื่อนมนุษย์ด้วยกันให้รับรู้ ทำ�ให้
มนุษย์นนสามารถพัฒนาและเจริญก้าวหน้า
ั้
ทางด้านนวัตกรรมการสร้างสรรค์กว่าสิ่งมี
	

ชีวิตอื่นๆ ที่อุบัติขึ้นไล่เรียงกันในโลกใบนี้
นอกจากนี้มนุษย์ยังใช้เหตุผลเพื่อปรับปรุง
ตั ว เองในการดำ � รงชี วิ ต อย่ า งเหมาะสม
มนุษย์สามารถสร้างเครืองมือ เครืองใช้ชนิด
่
่
ต่างๆ ในการดำ�รงชีพและสนับสนุนเรียน
รู้โดยการอาศัยประสบการณ์ที่บ่มเพาะใน
อดีตมาเป็นแนวทางเพื่อกำ�หนดและสร้าง
ประสบการณ์ในการเรียนรู้กำ�หนดอนาคต
เช่น การรู้จักใช้ภาษา ทำ�ให้ก่อเกิดเป็น
ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมและประเพณี
สำ�หรับการอยู่รวมกันและรวมกลุ่มอยู่เป็น
สังคม มีอารยะธรรม มีความละเอียดอ่อน
ทางความรู้ สึ ก มี ค วามนึ ก คิ ด และใฝ่ ฝั น
ทะเยอทะยานในความก้าวหน้า (ณรงค์
เส็งประชา, 2530) ตลอดทั้งมีจิตสำ�นึก
ที่สามารถอธิบายด้วยตรรกะและเหตุผล
แตกต่างจากสัตว์เดรัจฉานได้ ดังจะเห็น
ได้จากการสร้างที่อยู่อาศัย ตลอดทั้งการ
ประดิษฐ์คิดค้นอาวุธยุทธโธปกรณ์ หรือมี
การดัดแปลงเครื่องหมาย เครื่องแต่งกาย
มีความประทับใจในความงาม และพยายาม
ทีจะประดิษฐ์คดค้นสิงอำ�นวยความสะดวก
่
ิ
่
ซึ่ ง ตอบสนองตามประโยชน์ ใช้ ส อยที่ ยั ง
ไม่ พ อเพี ย งอยู่ ต ลอดเวลา นั่ น เป็ น การ
แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความพยายามในการใช้
ชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ ใ นวิ ถี ธ รรมชาติ เ พื่ อ ปรั บ
ตัวให้เข้ากับฤดูกาลของการเปลี่ยนแปลง
ทางธรรมชาติ นอกจากนี้มนุษย์ยังเป็นสิ่ง
ที่ มี ชี วิ ต ที่ ม ากด้ ว ยเงื่ อ นไขในการต่ อ รอง
ระหว่ า งกระบวนการทางความคิ ด และ
การตั ด สิ น ใจ เมื่ อ เกิ ด สภาวะการณ์ เ ป็ น
อย่างนี้ก็จะสามารถสร้างเงื่อนไขและแก้
วิกฤตการณ์ให้กับตัวเองและสิ่งแวดล้อม
รอบตัวได้ตลอดเวลา ด้วยการนำ�เหตุผล
ต่างๆ ตลอดทั้งนำ�ความรู้ ความสามารถอีก
หลายด้านที่แสดงถึงความสามารถทางชั้น
เชิงด้านมันสมองและสติปัญญาที่ได้เปรียบ
สัตว์ประเภทต่างๆ เช่น ความสามารถใน
การถ่ายทอดกระบวนการสร้างสรรค์ทาง
ความงาม การรวมกลุ่มสืบทอดและปฏิบัติ
จนกลายเป็นวัฒนธรรมประเพณีที่สืบทอด
กันมาอย่างยาวนาน ความสามารถในการ

กำ�หนดและจัดระเบียบของสังคมมนุษย์
ด้ ว ยกั น เอง หรื อ การปรั บ ปรุ ง วิ ถี ใ นการ
ดำ�เนินชีวิตให้เหมาะสม กลมกลืนกับการ
เปลียนของยุคสมัยได้อย่างลงตัว เป็นต้น ซึง
่
่
ความเฉลียวฉลาดของมนุษย์มิอาจปฏิเสธ
ได้ว่าทำ�ให้มนุษย์นั้นมีความเจริญก้าวหน้า
อย่างไม่หยุดยั้งในสภาวะของการกำ�เนิด
และแตกดับของวัฎสงสารในปัจจุบัน

ความรู้สึกถึงความงาม
และความหมายของความงาม

	
ความรู้สึกของมนุษย์นั้นมีความ
ไวต่ อ การรั บ รู้ เรื่ อ งราวของความงามทั้ ง
จากสภาพสั ง คมสิ่ ง แวดล้ อ มรอบตั ว และ
การรั บ รู้ ค วามงามในธรรมชาติ กั บ ความ
พยายามสร้างความรู้สึกถึงความงามในงาน
สร้างสรรค์ของมนุษย์ที่รับรู้ได้ในรูปแบบ
ความหมายเหนือจินตนาการ เป็นมายาภาพ
ทีอาจพบได้ในตัวมนุษย์ ในบางครังก็มความ
่
้ ี
รู้ สึ ก เย็ น ชาและธรรมดากั บ สิ่ ง ที่ พ บเห็ น
หรื อ ได้ สั ม ผั ส แต่ ก ารได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลของ
งานสร้างสรรค์ในอีกหลากหลายลักษณะ
สามารถผสมผสานเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความรู้ สึ ก
ต่างๆ ทางจิตใจ อันเป็นรสนิยมส่วนตัวที่
สามารถเพิมคุณค่าให้กบความรูสกถึงความ
่
ั
้ึ
งามได้ อารมณ์ที่ได้สัมผัสกับความเป็นไป
ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อาจแสดงให้
เห็นถึงมิติของความหมายที่เรียบง่าย แต่
อาจซึมซับด้วยอากัปกิริยาของการสัมผัสรู้
ด้านความงามอย่างไม่รู้ตัว หรืออารมณ์ที่
เกิดจากสิ่งใกล้ตัว เช่น ภายในบ้านที่มีการ
ตกแต่งภายใน สามารถสร้างบรรยากาศ
และสัมผัสได้ด้วยความรู้สึกอย่างไม่ยากนัก
เป็นต้น จากความรู้สึกที่แตกต่างเหล่านี้จึง
มีผู้ให้คำ�นิยามเกี่ยวกับความงามไว้หลาก
หลายทัศนะด้วยกัน ดังนี้
	
David เน้นความสัมพันธ์ทจตใจ
ี่ ิ
ว่าสามารถรับรูความงามได้ และหากคุณค่า
้
ความงาม ทีแท้จริงจะสะท้อนความพึงพอใจ
่
ไม่เลือกสภาพสังคมและเวลา ความงามไม่
ได้เป็นคุณสมบัติของวัตถุ แต่จะเกิดขึ้นกับ
จิตใจเท่านั้น
71
Plato เชื่อในความงามสมบูรณ์
หรือความงามในอุดมคติ ความงามสมบูรณ์
ได้แก่มโนภาพหรือรูปแบบของสิงทีงามเป็น
่ ่
ความนิรันดร Plato ถือว่าความงามกับ
ความดีเป็นสิ่งเดียวกัน
	
Gorge Santayana ความงาม
คือ การสร้างความเพลิดเพลินให้เป็นตัว
เป็นตน เราประเมินค่าดอกไม้ว่างามเพราะ
เราถ่ายทอดความเพลิดเพลินที่ได้รับจาก
ดอกไม้ลงไปในดอกไม้นั้น
	
เทพศิริ สุขโสภา รอบตัวเรามี
ความงามและอัปลักษณ์แทรกซ่อนอยูในทุก
่
สิ่งยังผลให้เรารู้สึกไปต่างๆ รักและเกลียด
ราวกับถูกสะกดด้วยอานุภาพเร้นลับซึ่งเรา
บอกไม่ถูก
	
จิ ต ร ภู มิ ศั ก ดิ์ ความงามของ
ศิลปะมิได้อยู่ที่การพรรณนาแต่ด้านที่สดใส
ของชีวิตอย่างเดียวหากอยู่ที่การพรรณนา
ถึงด้านมืดทึบของชีวิตควบคู่กันไปด้วยครึ่ง
ต่อครึ่ง
	
ในส่วนตัวของผู้เรียบเรียง ความ
งาม คือ คุณค่าและความรู้สึกที่ประกอบไป
ด้วย ศีล สมาธิ ความดีที่เป็นส่วนประกอบ
สำ�คัญของมนุษย์ แล้วสามารถถ่ายทอด
ความหมายออกมาให้เห็นเป็นสุนทรียภาพ
ทางความรู้สึกที่แสดงถึงความเพลิดเพลิน
ความพึงพอใจ ความปิติสุขยินดี และความ
งามยังหมายถึง ภาวะหน้าที่หรือลักษณะ
พิเศษของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ปรากฏขึ้นเพื่อการ
รับรูทางประสาทสัมผัสอันจะนำ�ไปสูอารมณ์
้
่
ความรู้สึกคล้อยตามภาวะการณ์นั้นๆ โดย
เฉพาะอารมณ์อันสุนทรีนั้นย่อมจะหมาย
ถึง อารมณ์ที่มีต่อหรือเกิดจากหรือนิยมใน
ความงามของสิ่งที่ได้พบเจอ เรียกอย่างง่าย
ว่าอารมณ์ที่รู้สึกงามนั่นเอง

ธรรมชาติมีความงามแต่ขาดการปรุงแต่ง
ความงามของธรรมชาติแปรเปลี่ยนไปตาม
ฤดูกาล ไม่ว่าจะเป็นฤดูร้อน ฤดูหนาว ฤดู
ฝน ทุกฤดูกาล ต่างก็มีอัตลักษณ์ที่แสดง
ให้เห็นถึงความงามของธรรมชาติซุ่มซ่อน
อยู่เสมอ ความงามของธรรมชาติที่มนุษย์
ชื่นชมนั้นเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยอาศัย
ช่วงจังหวะของเวลา เป็นกลไกในการขับ
เคลื่อนมีระยะเวลาเป็นเครื่องตัดสินควบคุม
อยู่ เช่น รวงรังของต่อแตนที่มีรูปร่าง รูป
ทรงที่ดูสวยงามแปลกตาหรือธรรมชาติของ
ดอกไม้ เมือยามออกดอกสีสดใสบานสะพรัง
่
่
อยู่ได้ครบกำ�หนดอายุก็เริ่มเหี่ยวแห้งและ
โรยราลงไป ในที่สุดสีที่เคยสดใส กลีบดอก
ที่เคยนิ่มนวลชุ่มฉ่ำ�ก็เหี่ยวแห้งแข็งกรอบไป
ตามกาลเวลา เป็นต้น ถึงแม้ว่าลักษณะของ
ธรรมชาติจะเกิดขึ้นเองและมีรูปแบบที่ไม่
พัฒนาเปลียนแปลง แต่คณค่าทางความงาม
่
ุ
นั้นหาได้ลดลงไปตามกาลเวลาที่หมุนเวียน
เปลี่ยนแปลงไปแต่อย่างใดและดูเหมือนว่า
ความยิงใหญ่แห่งพลังความงามในธรรมชาติ
่
นีเ้ องทีเ่ ป็นแหล่งวัตถุดบและขุมพลังสำ�หรับ
ิ
สร้างแรงบันดาลใจให้ศลปินผูสร้างสรรค์ สืบ
ิ ้
เสาะ ค้นหาความหมายสำ�หรับการถ่ายทอด

ธรรมชาติกับความงาม

	
ธรรมชาติเป็นสรรพสิ่งที่เกิดขึ้น
เอง ไม่มีมนุษย์ผู้ใดสร้างสรรค์ขึ้น การเกิด
ขึ้น ดำ�รงอยู่และดับไป เป็นไปตามวัฏจักร
ของตัวมันเอง ความงามตามธรรมชาติมนุษย์
สามารถเข้ า ถึ ง ได้ โ ดยอาศั ย วิ จ ารณญาณ
เป็ น กลไกสำ � เร็ จ และเป็ น ตั ว ชี้ นำ � ที่ สำ � คั ญ
72

ภาพที่ 3 รูปทรงที่สวยงามตามธรรมชาติของรังต่อ

จินตนาการในรูปแบบต่างๆ ตามความถนัด
โดยศิลปินอาศัยพลังความงามจากธรรมชาติ
เป็นสือในการสร้างสรรค์ผลงานเรือยมาตังแต่
่
่
้
อดีตจวบจนกระทังถึงปัจจุบน เพราะในขณะ
่
ั
การเปลี่ยนแปลงแห่งห้วงของกาลเวลาแต่
ความงามของธรรมชาติก็ได้แสดงตัวตนที่ไม่
หลอกลวง เป็นความงามที่สามารถบันทึก
ถึงเงื่อนไขและสถานภาพของความเป็นจริง
ในกฎของวัฎจักรแห่งการเปลี่ยนแปลงทาง
ห้วงเวลาของนาฬิกาธรรมชาติ เพราะหาก
เพ่ ง พิ นิ จ ถึ ง ความงามด้ ว ยการใช้ เ หตุ แ ละ
ผลแล้วสิ่งที่งามย่อมปฏิเสธความรู้ชอบที่
มีทุนรอนอยู่ในจิตใจของผู้เสพไม่ได้ ฉะนั้น
ความงามกับความหมายของธรรมชาติจึงได้
แสดงสถานะของสิ่งที่งามนั้น สามารถเรียน
รูและตอบข้อสงสัยในสิงทีแปรเปลียนไปตาม
้
่ ่
่
เงื่อนไขของเวลาได้ แต่ในความเป็นจริงแล้ว
ความงามของธรรมชาติไม่เคยเปลี่ยน แต่
ความรู้สึกถึงเหตุผลของความชอบได้แสดง
ถึงตัวแปลในเจตจำ�นงของความรู้สึกที่มีต่อ
ความงาม ดังนั้นความงดงามของธรรมชาติ
จึงมีความเป็นอมตะที่สามารถจะแยกแยะ
และอธิบายถึงความงามในแต่ละเงือนไขของ
่
ช่วงอายุได้เสมอ
ประติมากรรมกับ
มิติของความงาม

ตามความหมายของ
สุ น ทรี ย ศาสตร์ นั้ น แนวความเชื่ อ ทาง
ความงามเป็ น สิ่ ง ที่ อุ บั ติ ก ารณ์ ส รรสร้ า ง
ขึ้นโดยมนุษย์ (สุลักษณ์ ศิวรักษ์, 2524)
ประติมากรรม หมายถึง ศาสตร์ทางภาษา
ที่สามารถแสดงบทบาทเชื่อมต่อในมิติการ
รับรูในกระบวนการทางความคิดของศิลปิน
้
ผู้สร้างสรรค์ออกมาในรูปแบบ รูปทรงที่
สามารถสั ม ผั ส จั บ ต้ อ งได้ ทั้ ง ในลั ก ษณะ
ผลงาน 2 มิติหรือ 3 มิติ และมีความมุ่ง
หมายที่จะส่งเสริมให้มนุษย์มีความซาบซึ้ง
และชื่นชมในความงามที่มนุษย์สร้างสรรค์
ขึ้น ความงามที่กล่าวถึงในส่วนที่เกี่ยวกับ
ประติมากรรมนันเป็นสิงทีมนุษย์สร้างสรรค์
้
่ ่
	

โดยอาศัยสภาวการณ์ของจิตใจปรุงแต่งขึ้น
มา เป็นการแสดงถึงความชาญฉลาดของ
มนุษย์ที่มีจินตนาการในการคิดประดิษฐ์
และสร้างสรรค์รูปทรงขึ้นมาให้เห็นความ
แตกต่างไปจากความเป็นจริงที่ปรากฏตาม
สภาพแวดล้ อ มที่ มี อ ยู่ ต ามธรรมชาติ ใน
สมัยโบราณนั้นมนุษย์มีความคิดสติปัญญา
ที่จำ�กัด เนื่องจากสภาพแวดล้อมและชีวิต
ส่วนใหญ่ผูกพันอยู่กับธรรมชาติ การจำ�กัด
และล้อมกรอบด้วยปัจจัยดังกล่าวข้างต้น
ทำ � ให้ ม นุ ษ ย์ ถ่ า ยทอดความงามทางการ
สร้างสรรค์ออกมาเป็นเพียงภาพเขียนตาม
ผนังถํ้าหรือเพิงผาหิน (ภาพที่ 4) เท่าที่หามี
ตลอดทั้งงานแกะสลักจากเขาสัตว์ กระดูก
งา ในลักษณะต่างๆ ของผู้คนในอดีต เช่น
เครืองประดับร่างกาย ตุกตา หรือรูปเคารพ
่
๊
ที่สลักด้วยหิน และไม้ เป็นต้น

ภาพที่ 5 ภาพแกะสลักตัวอักษรบนกระดองเต่าและหินปูน
ที่มา : (http://narumolnop.wordpress.com/category/)

ภาพที่ 4 ภาพวาดสมัยโบราณ ผาแต้ม จังหวัดอุบลราชธานี

ต่อมาความเจริญก้าวหน้าทาง
วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ไ ด้ เข้ า มามี
บทบาทสำ�คัญต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งผลก
ระทบต่อการปรับเปลี่ยนขนานใหญ่จาก
สภาพแวดล้อมจากป่ามาเป็นเมือง ตระการ
ตาไปด้วยโครงสร้างของป่าคอนกรีต เช่น
	

ตึ ก สู ง หรื อ อาคารที่ มี รู ป ทรงแปลกตา มี
การพัฒนาให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพ
ในด้ า นประโยชน์ ใช้ ส อยให้ ดี ขึ้ น พร้ อ มๆ
กั บ การสร้ า งสรรค์ ด้ า นความงามเคี ย งคู่
กันไป บทบาทการแสดงตัวตนของผลงาน
ประติ ม ากรรมจึ ง ไม่ จำ � กั ด ตั ว เอง และมี

เสรีภาพในกระบวนการของการสรรสร้าง
ความงดงามมากยิ่งขึ้น รูปแบบความงาม
ที่เกิดจากความคิดและจินตนาการเยี่ยงนี้
ทำ�ให้สถานะของผลงานประติมากรรมใน
ยุคสมัยปัจจุบันบางลักษณะจึงนับว่าถอย
ห่างออกไปจนไม่หลงเหลือส่วนที่เป็นหลัก
ฐานของธรรมชาติอยู่เลย เช่น ผลงานใน
แนวทางสื่อประสม (Mixed Media) คือ
การผสมผสานสื่ อ ทางศิ ล ปะที่ มี ลั ก ษณะ
แตกต่างกัน เช่น การผสมกันระหว่างงาน
จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพ
73
เคลือนไหวอย่างเช่นภาพจากโทรทัศน์ วิดโอ
่
ี
เสียง กลิ่น หรือการสัมผัสทางกายภาพ ผล
งานที่จะเข้าข่าย “สื่อผสม” ควรจะต้องมี
การผสมสื่อที่แตกต่างกันอย่างน้อย 2 สื่อ
ขึ้นไป ซึ่งโดยพื้นฐานของสื่อผสมแล้ว การ
ผสมผสานสือทีแตกต่างกันไม่ใช่สงประดิษฐ์
่ ่
ิ่
ที่คิดค้นขึ้นใหม่แต่อย่างใด เพราะมีการ
ทำ�สืบทอดกันมาหลายศตวรรษ เช่น งาน
ประติมากรรมของชนเผ่าในทวีปแอฟริกา
ที่มีการแกะสลักไม้ให้เป็น 3 มิติ ผสมกับ
การแกะลายเบาติดปะด้วยวัสดุธรรมชาติ
ต่างๆ เรียกประติมากรรมนี้ว่าเสาโทเทม
โดยเป็นการแกะสลักขึ้นมาจากลำ�ต้นไม้
ขนาดใหญ่เพียงต้นเดียว ส่วนใหญ่ไม้ที่นำ�
มาแกะสลักนั้นคือ ไม้จากต้นซีดาร์ (Cedar
tree) ซึ่งเป็นไม้ที่มีอยู่อย่างชุกชุมในป่าไม้
ชายฝั่งทะเลตะวันตก รูป และลวดลายที่
แกะสลักมีทั้งภาพใบหน้าของมนุษย์ และ
สัตว์ต่างๆ ตามจินตนาการ แต่ที่นิยมกัน
มากมักเป็นรูป นกดุเหว่า เหยี่ยว และนก

อินทรี โดยมากมักมีส่วนของจงอยปาก ยื่น
ยาวออกมาข้างหน้า และมักสยายปีกแผ่
ออกด้านข้างอย่างสง่างาม รวมทั้งอาจมี
ภาพจากธรรมชาติ เช่น ดวงอาทิตย์ ดวง
จันทร์ และดวงดาว รวมอยู่ในนั้นโดยภาพ
ประติมากรรมต่างๆ จะเรียงซ้อนกันเป็น
ชั้นๆ ขึ้นสู่ด้านบนของหัวเสาเสมอ สุดท้าย
จะระบายสี ต กแต่ ง อย่ า งสวยงาม สี สั น
ต่างๆ แม้จะฉูดฉาดบาดตา แต่ก็เต็มเปี่ยม
ไปด้วยจิตวิญญาณในแบบอย่างวัฒนธรรม
ของชาวอินเดียนแดง ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ
ตัว ดังนันการแกะสลักเสาโทเทมนันจึงเป็น
้
้
งานประติมากรรมทีตองใช้ทกษะฝีมอ และ
่้
ั
ื
ความชำ�นาญสูง ใช้เวลาในการแกะสลัก
นานตั้งแต่ 6 เดือนถึง 1 ปีกว่าจะแล้วเสร็จ
ฉะนั้นเสาโทเทมจึงไม่ใช่เสาธรรมดาๆ ที่
มีแต่ความสวยงาม แต่มีความหมาย และ
ความสำ�คัญมากกว่านัน (ภาพที่ 6) คอนเซพ
้
ชวล อาร์ต (Conceptual Art) และมินมอล
ิ
อาร์ต (Minimal Art) (ภาพที่ 7) เป็นต้น

ภาพที่ 6 ประติมากรรมของชนเผ่าในทวีปแอฟริกา
ที่มา : http://thaimisc.pukpik.com/freewebboard/php/vreply.php?user=
sanguanmaejo25&topic=194&page=309

74

ดังนั้นไม่ว่าความงามที่ได้รับอิทธิพลแนว
ความคิดจากมิตของธรรมชาติและสามารถ
ิ
ชักนำ�มาสู่รูปทรงของการสร้างสรรค์ ส่วน
สำ�คัญจึงขึ้นอยู่กับภาวะแห่งประสบการณ์
ในการเรี ย นรู้ ตลอดทั้ ง การสั่ ง สมทาง
จินตนาการ ส่งผลให้การเรียนรู้ของมนุษย์
ไม่สามารถแยกจากกันได้อย่างเบ็ดเสร็จ
เด็ดขาด กล่าวคือ ความงามทางด้านจิตใจ
จะเกิดขึ้นได้ขึ้นอยู่ที่มนุษย์ครึ่งหนึ่ง คุณค่า
หรือรูปแบบของแรงบันดาลใจที่มีอิทธิพล
ต่อกระบวนการสร้างสรรค์ของมนุษย์ใน
การตอบสนองด้านรูปทรงที่เกิดจากการ
ซึมซับ รับรู้กับธรรมชาติอีกครึ่งหนึ่ง ดังนั้น
สองสิงนีมสวนสำ�คัญทีเ่ ป็นตัวสอดประสาน
่ ้ี่
เพื่อสร้างดุลยภาพด้านรูปทรงในความรู้สึก
ทางเอกภาพที่สามารถสัมผัสได้โดยมนุษย์
ในมิตทวาด้วยเรืองของความงามกับผลงาน
ิ ี่ ่
่
ประติมากรรม

ภาพที่ 7 “คู่รัก” ผลงานนนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ศิลปินแห่งชาติ
ที่มา : (นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน, 2544)
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme
สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศYatphirun Phuangsuwan
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2rojanasak tipnek
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นLtid_2017
 
หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์Nutthawit Srisuriyachai
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานJitiya Purksametanan
 
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ครูหนุ่ม สอนศิลปะ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...Panomporn Chinchana
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาPadvee Academy
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3Panomporn Chinchana
 
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวคำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวJitiya Purksametanan
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะBoonlert Aroonpiboon
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3teerachon
 
โครงงงาน1
โครงงงาน1โครงงงาน1
โครงงงาน1Arety Araya
 

La actualidad más candente (20)

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
 
วรรณกรรม
วรรณกรรมวรรณกรรม
วรรณกรรม
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
 
หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
 
Ar 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-docAr 7-705-6327-1131-doc
Ar 7-705-6327-1131-doc
 
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
 
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวคำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
 
โครงการส่งเสริมการอ่าน ๒๕๕๖
โครงการส่งเสริมการอ่าน ๒๕๕๖โครงการส่งเสริมการอ่าน ๒๕๕๖
โครงการส่งเสริมการอ่าน ๒๕๕๖
 
โครงงงาน1
โครงงงาน1โครงงงาน1
โครงงงาน1
 

สูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ 12 พ.ศ.2556 Art Programme

  • 1. นิทรรศการศิลปกรรม ครั้งที่ ๑๒ ของนักศึกษาโปรแกรมว�ชาทัศนศิลป คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาว�ทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา ณ หอศิลปจ�นตนาการ มหาว�ทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ๒๕ มิถุนายน -๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕ by Visual Art Program Senior Students Faculty of Humanities and Social Sciences, Nakhon Ratchasima Rajabhat University At galleries of imagination Nakhon Ratchasima University ๒๕ June -๓๑ July 2012 1
  • 2. “ไม่วาท่านจะทำ�หน้าทีใด ขอให้ทานทำ�งานด้วยความจริงใจ และ ่ ่ ่ ศึกษาค้นคว้าให้กว้างขวางลึกซึงยิงขึนให้สามารถรักษามาตรฐานศิลปะ ้ ่ ้ ของเราไว้ ทังสามารถยกให้สงขึนด้วย เพราะความเจริญหรือความเสือม ้ ู ้ ่ ของศิลปะนั้นเป็นเครื่องแสดงความเจริญหรือความเสื่อมของชาติด้วย อีกประการหนึ่งท่านต้องมีศิลปะในการครองชีวิต คือต้องรู้จัก ทำ�ตัวให้มคาและมีประโยชน์ รูจกรักษาตัวมิให้ตองตกไปในทางเสือม ี ่ ้ั ้ ่ ด้วยจึงจะสมกับที่ได้รับคำ�ยกย่องว่าเป็นศิลปบัณฑิต” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ณ ท้องพระโรงวังท่าพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร วันพุธที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๐๙ 2
  • 3. 3
  • 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เศาวนิต เศาณานนท์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 5
  • 6. โครงการนิทรรศการผลงานศิลปกรรม ครั้งที่ 12 โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา หลักการเหตุผล ปัจจุบนโปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ั ได้ดูแลและรับผิดชอบดำ�เนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรศิลปกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2555 เปิดรับนักศึกษาภาคปกติ ซึ่งเนื้อหาส่วนใหญ่เป็นวิชาปฏิบัติการที่มุ่งเน้นให้ นักศึกษาสร้างสรรค์ผลงานทางด้านทัศนศิลป์ ด้วยทักษะแนวความคิดที่เป็นแนวทางของ ดังนั้นเพื่อเป็นการสร้าง โอกาสให้นักศึกษาได้แสดงผลงานวิชาการด้านทัศนศิลป์และเป็นการส่งเสริมศักยภาพสู่สาธารณชนให้รับรู้อันเป็น เงือนไขข้อหนึงของการประเมินและวัดผลการศึกษาของหลักสูตรวิชาทางโปรแกรมวิชาทัศนศิลป์จงได้จดนิทรรศการ ่ ่ ึ ั ผลงานศิลปกรรมขึ้นซึ่งเป็นการแสดงต่อเนื่องทุกปีการศึกษา ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 12 สำ�หรับผลงานของนักศึกษามี ทั้งระดับปริญญาตรีชั้นปีสุดท้าย ในรูปแบบผลงานศิลปนิพนธ์ นอกจากนี้ยังมีผลงานนักศึกษาปัจจุบัน-ศิษย์เก่า คณาจารย์ ศิลปินรับเชิญ และศิลปินแห่งชาติ ตลอดจนการสาธิตการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะด้วยเทคนิคและวิธี การในด้านต่างๆ อีกมากมายนอกจากนี้ยังมี กิจกรรมการแสดงของนักศึกษาการแนะแนวการศึกษาต่อกับสาขาที่ เกี่ยวข้องทางด้านทัศนศิลป์รวมถึงการประชาสัมพันธ์โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาอีกด้วย 6
  • 7. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อนำ�เสนอแนวความคิด ทัศนคติต่างๆ ซึ่งเป็นองค์ความรู้ของนักศึกษา ผ่านการสร้างสรรค์ผล งานศิลปกรรมเพื่อนำ�เสนอสู่สาธารณชนให้รับรู้และชื่นชมในศาสตร์ของสาขาวิชานี้ 2. เพือให้นกศึกษามีโอกาสแสดงผลงานและนำ�เสนอศักยภาพของตนเองผ่านกรรมวิธการสร้างสรรค์ ่ ั ี ตามความเหมาะสมและความถนัดในแต่ละสาขาวิชาที่เรียนก่อนที่จะสำ�เร็จการศึกษา 3. เพื่อเป็นการทำ�นุบำ�รุงและส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่นสู่สังคม ส่วนรวมและประเทศชาติ 4. เพื่อเป็นแนวทางสำ�หรับการแนะแนวการศึกษาต่อในด้านทัศนศิลป์ระดับอุดมศึกษา เป้าหมาย นิสิตนักศึกษาคณาจารย์โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ นักเรียนและประชาชนผู้สนใจทั่วไป ขั้นตอนการดำ�เนินงาน 1. ประชุมคณาจารย์โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ เพื่อจัดทำ�เอกสารโครงการ 2. ประชุมนักศึกษาเพื่อรับทราบรายละเอียดโครงการ 3. ประชุมและวางแผนการดำ�เนินงาน 4. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประชาสัมพันธ์โครงการ 5. จัดเตรียมผลงานของนักศึกษาสำ�หรับจัดนิทรรศการและลงสูติบัตรเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ 6. เตรียมความพร้อมสำ�หรับการจัดการแสดงผลงาน 7. การจัดเก็บผลงานการดูแลรักษาผลงานในช่วงของการแสดงและการทบทวนพร้อมสรุปและประเมินผล ของโครงการนิทรรศการ 7
  • 8. สถานที่และระยะเวลาดำ�เนินการ โครงการนิทรรศการศิลปนิพนธ์ครั้งที่ 12 ได้จัดทำ�ขึ้นในระหว่างวันที่ 25 มิถุนายน – 31 กรกฎาคม 2555 ณ หอศิลป์จินตนาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา งบประมาณ 155,000 บาท (จากงบบำ�รุงการศึกษา โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ จำ�นวน 20,000 บาท งบส่งเสริมศักยภาพการแข่งขัน คณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำ�นวน 40,000 บาท งบของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จำ�นวน 95,000 บาท) ค่าสูจิบัตร 95,000 บาท ค่าประชาสัมพันธ์โครงการ (คัทเอาท์ โปสเตอร์ แผ่นพับ สื่อวิทยุ สื่อโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์) 20,000 บาท ค่าเตรียมการสำ�หรับพิธีเปิดและของที่ระลึก 10,000 บาท ค่าอาหารเครื่องดื่มในการเปิดนิทรรศการและรับรองประธาน ศ.ดร.ธงทอง จันทรางศุ 25,000บาท ค่าจัดทำ�เอกสารแนะแนวการศึกษา และจัดส่งสูติบัตรเพื่อเผยแพร่ 5,000 บาท หมายเหตุ เฉลี่ยจ่ายทุกรายการ ผู้รับผิดชอบโครงการ โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักศึกษาได้แสดงผลงานอันเกิดจากความพรากเพียรในการเรียนรู้สู่การสร้างสรรค์ส่วนบุคคล ซึ่งถือเป็นผลงานวิชาการด้านทัศนศิลป์ที่มีคุณค่าให้สาธารณชนได้รับรู้ 2. เกิดกระบวนของการเรียนรู้ของผู้ชมที่มีต่อผลงานการสร้างสรรค์ที่สะท้อนผ่านทางสุนทรียภาพ ความงามเพื่อเติมเต็มในภาคส่วนของสังคม ถือเป็นกิจกรรมทางที่ส่งเสริมด้านวัฒนธรรม ในท้องถิ่นที่มีผลต่อ พัฒนาการสำ�หรับต่อยอดสู่สังคมและประเทศชาติ 3. นักศึกษาได้เข้าใจในการจัดระบบองค์กรและระบบการทำ�งานเป็นทีมและเป็นหมู่คณะ 8
  • 10. สารอธิการบดี นิทรรศการผลงานศิลปนิพนธ์ของนักศึกษาโปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ ปีที่ 4 และผลงานของ คณาจารย์โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมาในปี นี้ ระหว่างวันที่ 25 มิถนายน – 31 กรกฎาคม 2555 ณ หอศิลป์จนตนาการมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ุ ิ นับเป็นปีที่ 12 ทีได้จดขึนติดต่อกันมา ซึงเป็นการแสดงผลงานศิลปะและงานออกแบบของนักศึกษาทีก�หนด ่ ั ้ ่ ่ำ ตามหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ ทังนีเ้ พือให้การแสดงมีความรู้ ทักษะและศักยภาพ ้ ่ ของนักศึกษาที่สมควรจะจบการศึกษาได้ มหาวิทยาลัยต้องขอชื่นชมยินดี ต่อความมุ่งมั่น สามัคคี ของนักศึกษาและคณาจารย์ที่ทำ�ให้ เกิดผลงาน ศิลปนิพนธ์ซึ่งเป็นผลงานทางวิชาการ อันมีคุณต่อการศึกษาทางศิลปะแก่นักเรียน นักศึกษาและ ประชาชนทั่วไป และจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดความซาบซึ้งและมีผู้สนใจในการศึกษาและค้นคว้าทางศิลปะ มากขึ้นซึ่งเป็นเป้าหมายหนึ่งของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอขอบคุณนักศึกษาและคณาจารย์ ที่ได้จัดนิทรรศการและผลงานศิลปกรรมต่อ เนื่องมาตลอด และที่สำ�คัญยิ่งต้องขอขอบคุณผู้ให้การสนับสนุนทั้งภาครัฐและเอกชน หวังว่าการจัดงานใน ครั้งนี้จะก่อให้เกิดผลตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ทุกประการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เศาวนิต เศาณานนท์) อธิการบดี 10
  • 11. คำ�นิยม จากรองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา ศิลปะ เป็นสิ่งที่สะท้อนคุณภาพ วิถีชีวิต และจิตใจของคนในสังคม การส่งเสริมสนับสนุน ให้คณาจารย์และนักศึกษาได้รังสรรค์ผลงานศิลปะที่มีคุณค่าและนำ�เสนอต่อสาธารณชน จึงเป็นพันธกิจ สำ�คัญประการหนึงของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ซึงดำ�เนินการมาอย่างต่อเนือง มีผลงานศิลปะหลาย ่ ่ ่ สาขาจากหลายโปรแกรมวิชานำ�เสนอสู่สังคมในโอกาสต่างๆ ได้รับความสนใจและความชื่นชมจากนักเรียน นักศึกษา และประชาชนผู้เข้าชมงาน โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์เป็นโปรแกรมวิชาที่มีผลงานสร้างสรรค์ทางศิลปะสาขาจิตรกรรมและ สาขาประติมากรรมโดดเด่นเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาบันอุดมศึกษาที่ผลิตบัณฑิตสาขานี้ ผลงานหลายชิ้น ได้รับรางวัลระดับชาติและระดับนานาชาติ และมีการนำ�เสนอผลงานให้สาธารณชนได้ชื่นชมในสุนทรียภาพ ทางศิลปะมาอย่างสม่ำ�เสมอทุกปี ครั้งนี้เป็นการนำ�เสนอนิทรรศการผลงานศิลปกรรม ครั้งที่ 12 จึงน่าชื่นชม ยินดีในความมุ่งมั่นและความสมัครสมานสามัคคีของคณาจารย์และนักศึกษาที่ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมที่ดีงาม เป็นประโยชน์ต่อวงการศิลปะ ทั้งยังสะท้อนถึงศักยภาพด้านการพัฒนาผลงานศิลปะของคณาจารย์และ นักศึกษาอีกด้วย “ชีวิตคนเราสั้น แต่งานศิลป์นั้นยาวนาน” คำ�กล่าวของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ปรมาจารย์ ด้านศิลปะสมัยใหม่ของไทยยังคงเป็นจริงเสมอ ผลงานศิลปะทีได้น�เสนอในครังนีคงยังอยูให้ผสนใจได้ชนชม ่ ำ ้ ้ ่ ู้ ื่ อีกยาวนาน (รองศาสตราจารย์สะอาดศรี คงนิล) รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา 11
  • 12. สารคณบดี โครงการการแสดงนิทรรศการ “ผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 12” เป็นอีกกิจกรรมหนึ่งที่ทาง มหาวิทยาลัยได้จดนิทรรศการต่อเนืองเป็นประจำ�ทุกปี เป็นกิจกรรมทีแสดงศักยภาพในการสร้างสรรค์ผลงาน ั ่ ่ ทางด้านทัศนศิลป์ที่ประกอบไปด้วย ผลงานจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ สื่อผสมเป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีผลงานของศิลปินเชือเชิญและรับเชิญอีกเป็นจำ�นวนมากรวมทังผลงานของคณาจารย์โปรแกรมวิชาทัศน ้ ้ ศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ด้วย ทางคณะต้องขอชื่นชมยินดี ต่อความมุ่งมั่นสามัคคี ของนักศึกษาและคณาจารย์ที่ทำ�ให้เกิด โครงการการแสดงนิทรรศการ “ผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 12” เป็นผลงานทางวิชาการ อันมีคุณค่าต่อวงการ การศึกษาทางด้านศิลปะ และจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดความซาบซึ้งและเป็นแหล่งเรียนรู้ในการศึกษาและ ค้นคว้าทางวิชาการมากขึ้นซึ่งเป็นเป้าหมายหนึ่งของมหาวิทยาลัย ขอขอบคุณนักศึกษาและคณาจารย์ ที่ได้จัดโครงการการแสดงนิทรรศการ “ผลงานศิลปกรรม ครั้งที่ 12” ในครั้งนี้ และหวังอย่างยิ่งว่าจะบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ทุกประการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์เมินรัตน์ นวะบุศย์) คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 12
  • 13. สารจากประธานโปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ได้จัดทำ�โครงการนิทรรศการศิลปกรรมขึ้นเป็นประจำ�ทุกปี เป็นพันธ กิจหลักของโปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ที่มุ่งเน้นให้นักศึกษา ได้สร้างสรรค์ผลงานทางด้านทัศนศิลป์ด้วยทักษะ และแนวคิดที่เป็นแนวทางของตนเองในด้านการสร้างสรรค์ด้วยเทคนิคและวิธีการต่างๆเช่น ประติมากรรม, จิตรกรรม, ศิลปะไทย, ภาพพิมพ์และเทคนิคผสมเป็นต้น การแสดงผลงานในครั้งนี้เป็นครั้งที่ 12 โดยจัด แสดงตั้งแต่วันที่ 25 มิถุนายน – วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ.2555 ณ หอศิลป์จินตนาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา เป็นการจัดแสดงนิทรรศการแบบบูรณาการ โดยนำ�เอาผลงานศิลปะนิพนธ์ของนักศึกษาชั้น ปีสุดท้าย ประกอบกับผลงานนักศึกษาปัจจุบัน-ศิษย์เก่า คณาจารย์ประจำ�โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ เช่น ผศ.ดร.สามารถ จับโจร อ.กิตติชัย ตรีรัตน์วิชชา อ.วนัด อ่างสุวรรณ อ.ธนะชัย พรหมรัตน์ ศิลปินเชื้อเชิญ เช่น อ.ทวี รัชนีกร (ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์) ศ.ดร.นนธิวรรธน์ จันทนะผะลิน (ศิลปินแห่งชาติสาขา ทัศนศิลป์) ศ.วิโชค มุกดามณี (ศิลปินนานาชาติ) อ.วราวุธ ชูแสงทอง ผศ.ไพรโรจน์ วังบอน อ.ศักดิ์ชัย อุทธิ โท (ศิลปินอาเซียน) และศิลปินรับเชิญอีกเป็นจำ�นวนมาก การจัดนิทรรศการครั้งนี้ทางโปรแกรมวิชาทัศน ศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา ได้รบเกียรติจาก ปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ศ.ดร.ธงทอง จันทรางศุ ให้ ั เกียรติเป็นประธานในพิธเี ปิดงานนิทรรศการดังกล่าว นอกจากการแสดงผลงานนิทรรศการแล้วยังมีกจกรรม ิ สาธิตการสร้างสรรค์จากนักศึกษาโปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ดวยเทคนิควิธการต่างๆ เช่น การวาดรูปเหมือน การ ้ ี สร้างสรรค์งานจิตรกรรมด้วยเทคนิคสีนามัน การปันรูปคนเหมือน และการวาดเส้น รวมทังการแนะแนวการ ํ้ ้ ้ ศึกษาต่อสาขาวิชาทัศนศิลป์เป็นต้น ศิลปะนั้นมีส่วนสำ�คัญและสัมพันธ์กับบริบทของสุนทรียภาพที่กำ�ลังขาดหายไปในภาคส่วนของ สังคมไทยและทีก�ลังถูกกลืนกินอย่างรวบรัดด้วยวัตถุทางการบริโภคของทุนนิยมพลัดถิน การขาดซึงหลักธร ่ำ ่ ่ รมมาภิบาลด้านความงามทางศิลปะของสังคมไทยและสถาบันอุดมศึกษาในขณะนี้ จึงเป็นการชีให้เห็นซึงถึง ้ ้ ความจำ�เป็นของศาสตร์สาขาวิชาดังกล่าวว่ามีความเกี่ยวข้องอย่างไรกับการสานต่อของบริบทในเรื่องศิลปะ และวัฒนธรรม โปรแกรมวิชาทัศนศิลป์เป็นอีกรากฝอยทีคอยเสริมเพือเติมให้เต็มกับโครงสร้างทางการศึกษา ่ ่ เพื่อพัฒนาศักยภาพทางวิชาการในด้านศิลปวัฒนธรรมที่มีผลต่อพัฒนาการของสังคมไทยในอนาคต 13
  • 14. ขอขอบคุณนักศึกษาคณาจารย์ศลปินรับเชิญตลอดทังเชือเชิญทุกท่านทีได้เสียสละเวลาให้ความ ิ ้ ้ ่ ร่วมมือมอบปัจจัยด้านกายภาพของงานสร้างสรรค์และเห็นความสำ�คัญของการจัดงานในครั้งนี้จนทำ�ให้ นิทรรศการการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่12 สำ�เร็จลุล่วงด้วยดีและขออวยพรให้นักศึกษาได้น�ความรู้ที่ ำ ได้รับจากการศึกษา 4 ปีในโปรแกรมวิชานี้เพื่อนำ�ไปใช้ประโยชน์ให้ก่อเกิดต่อวงการการศึกษาและวิชาการ ด้านศิลปะรวมทั้งใช้ในการประกอบสัมมาชีพที่สุจริตในโอกาสต่อไป ขออวยพรให้นักศึกษาทุกท่านจงประสพแต่ความโชคดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สามารถ จับโจร) ประธานโปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ 14
  • 17. ปรีชา เถาทอง “Untitled” ดิจิตอล ปริ้นท์, 100x75 ซม. 17
  • 18. ทวี รัชนีกร “หีบสมบัติบ้าๆ บอๆ” แกะไม้, 30x30x60 ซม. 18
  • 21. เชาวฤทธิ์ เตยขาว “Untitled” สีนํ้ามันบนผ้าใบ, 50x75 ซม. 21
  • 22. ศักชัย อุทธิโท “สุุขแห่งความพอเพียง” สีนํ้ามันบนผ้าใบ, 80x100 ซม. 22
  • 23. อุตสาห์ ไวยศรีแสง “เสน่ห์สีชมพู” สีนํ้ามันบนผ้าใบ, 50X75 ซม. 23
  • 24. ยุทธนา ไพกะเพศ “ผาฮี้” สีนํ้าบนกระดาษ, 36x46 ซม. 24
  • 25. ธวัชชัย ช่างเกวียน “Looking” ปั้นหล่อ ไฟเบอร์กลาส, 100x110x300 ซม. 25
  • 29. มงคล กลิ่นทับ “เฒ่าทะเล” สีนํ้าบนกระดาษ, 32x24 ซม. 29
  • 30. สืบศักดิ์ สิริมงคลกาล “ณ ริมโขง” สีนํ้าบนกระดาษ, 36x55 ซม. 30
  • 32. โจม มั่นพลศรี “The relationship of life and environment 3” ภาพพิมพ์โลหะ, 60x80 ซม. 32
  • 35. กิตติชัย ตรีรัตน์วิชชา “King Of Thailand” ปั้นหล่อปูนปลาสเตอร์, หนึ่งส่วนสี่เท่าพระองค์จริง 35
  • 37. สิโรจน์ พวงบุบผา “ต้นนารีผล 5” จิตรกรรมลายทอง, 150x200 ซม. 37
  • 38. พฤกษ์ โตหมื่นไวย “ภูมิปัญญาบนที่ราบสูง” สีนํ้า สีฝุ่น บนกระดาษ, 30x40 ซม. 38
  • 39. ทองไมย์ เทพราม “ลองยา” อะครีลิคบนผ้าใบ, 150X300 ซม. 39
  • 42. วาดเส้น : Drawing ทรรศนัย์ แห่งภักดี วาดเส้น, 52x78 ซม. กลอยใจ หวังหมู่กลาง “หุ่นนิ่ง” วาดเส้น, 52x78 ซม. ธีรพงศ์ ช่างสลัก เกรยองบนกระดาษ, 52x78 ซม. 42
  • 43. ธีระพงศ์ ช่างสลัก วานิชดำ�, 79x110 ซม. พิกุลแก้ว ทุลดี วานิชดำ�, 55x80 ซม. วนิดา อุปถัมภ์ วานิชดำ�, 55x80 ซม. ธีระพงศ์ ช่างสลัก วานิชดำ�, 55x80 ซม. วนิดา อุปถัมภ์ วานิชดำ�, 55x80 ซม. 43
  • 44. พิกุลแก้ว ทุลดี ปั๊มหมึก, 39x54 ซม. ทวีสักดิ์ โคตรเมือง ปั๊มหมึก, 39x54 ซม. 44 เจริญชัย คิดถูก ปั๊มหมึก, 39x54 ซม. ศักดิ์ธร เที่ยงธรรม ปั๊มหมึก, 39x54 ซม.
  • 45. พิกุลแก้ว ทุลดี วาดเส้น, 27x38 ซม. เกษรา ชานนท์เมือง “ยามเย็น” วาดเส้น, 37x56 ซม. พิกุลแก้ว ทุลดี “เมื่อดอกจานบาน” วาดเส้น 27x38 ซม. ถาวร สระเศษ เกรยองบนกระดาษ, 27x38 ซม. 45
  • 46. บุญฤทธิ์ วงษ์อุทิศ หมึกจีน, 27x38 ซม. วรายุทธ สงวนสิน หมึกจีน, 27x38 ซม. รัตนพงษ์ พิมพิสาร์ หมึกจีน, 27x38 ซม. รัตนพงศ์ พิมพิสาร หมึกจีน, 27x38 ซม. 46 รัตนพงศ์ พิมพิสาร หมึกจีน, 27x38 ซม. นิรันดร์ แซ่คู “ภาพสะท้อน” เกรยองบนกระดาษ, 37x56 ซม..
  • 47. ไกรสิทธิ์ สถิตเดชกุญชร “หัวรถไฟ” วาดเส้น, 32x45 ซม. วนิดา อุปถัมภ์ “ประตูนํ้าจอหอ” วาดเสัน, 37x56 ซม. วนิดา อุปถัมภ์ “บ้านเกาะ” วาดเสัน, 37x56 ซม. 47
  • 48. วนิดา อุปถัมภ์ “สี่แยกศาลหลักเมือง“ วาดเสัน, 37 x 56 ซม. ธวัชชัย มุ่งแฝงกลาง วาดเสัน, 37x56 ซม. 48
  • 49. ธวัชชัย มุ่งแฝงกลาง วาดเส้น, 37 x 56 ซม. พิกุลแก้ว ทุลดี “ซอย 3” วาดเส้น, 56x76 ซม. 49
  • 50. วนิดา อุปถัมภ์ “เมือง” วาดเส้น, 37 x 56 ซม. ธีรพล ไสยสมบัติ “ปราสาทหินพิมาย” เกรยองบนกระดาษ, 37x56 ซม. 50
  • 51. วนิดา อุปถัมภ์ “พนมวัน” เกรยองบนกระดาษ, 37x56 ซม. สุชาวดี พลชำ�นิิ “ปราสาทหินพิมาย” เกรยองบนกระดาษ, 38x52 ซม. 51
  • 52. องค์ประกอบศิลป์ : Composition ยืนยง ทานอก สีอะคริลิคบนผ้าใบ, 74 x 100 ซม. ยืนยง ทานอก สีอะคริลิคบนผ้าใบ, 56x76 ซม. 52 ยืนยง ทานอก สีอะคริลิค, 37 x 56 ซม. ยืนยง ทานอก สีอะคริลิคบนผ้าใบ, 56x76 ซม.
  • 53. ปีทอง หาญวงศ์ ปั๊มหมึก, 56 x76 ซม. บุญฤทธิ์ วงษ์อุทิศ เกรยองบนกระดาษ, 71x102 ซม. 53
  • 54. จิตรกรรม : Painting ชวลิต หนูกระโทก “ผาฮี้” สีนํ้ามัน, 130x60 ซม. 54
  • 55. กรุณา นพคุณ “ลงแขกเก้าอี้” สีอะคริลิคบนผ้าใบ, 170x180 ซม. 55
  • 56. กรุณา นพคุณ “กิเลส ตอน ฉันรู้ ฉันเห็น (แต่ช่างมันเถอะ)” สีอะคริลิคบนผ้าใบ, 170x180 ซม. 56
  • 58. อรชุมา รุจิราเรืองศักดิ์ “หุ่นนิ่ง” สีนํ้ามัน, 80x100 ซม. กลอยใจ หวังหมู่กลาง “หุ่นนิ่ง” สีนํ้ามัน, 70x90 ซม. 58
  • 60. ศิลปไทย : Thai Art สุชาวดี พลชำ�นิ “ทวารบาล วัดใหญ่สุวรรณาราม” สีฝุ่นบนผ้าใบ, 200x50 ซม. 60
  • 61. สุชาวดี พลชำ�นิ “โห่ง” สีอะคลิลิคบนผ้าใบ, 80x60 ซม. สุชาวดี พลชำ�นิ “ช่อฟ้าวัดเจริญทรงธรรม” สีอะคลิลิคบนผ้าใบ, 120x100 ซม. 61
  • 62. พรประเสริฐ ก้าน้อย สีอะคริลิคบนผ้าใบ, 100 x 170 ซม. ธีระพล ไสสมบัติ สีอะคริลิคบนผ้าใบ, 120x160 ซม. 62
  • 65. ประติมากรรม : Sculpture สมชาย ใจเย็น ปลาสเตอร์, ขนาดเท่าจริง 65
  • 67. สมชาย ใจเย็น “สังขาร” ปลาสเตอร์, ขนาดเท่าจริง 67
  • 69. ประติมากรรมกับ มนุษย์ การบันทึกและจารึกเรืองราวต่างๆ ตามจินตนาการ ่ ของมนุษย์ในอดีตที่สลักไว้ในผนังถํ้าหรือตามเพิงผาหินต่างๆ ตลอดทั้งรูปเคารพที่เราพบเจอต่างยุคสมัยสามารถรับรู้ได้ใน คุณค่างานศิลปะและเรียกขานว่างานประติมากรรม เป็นการ ถ่ า ยทอดเรื่ อ งราวในลั ก ษณะของงานสร้ า งสรรค์ ซึ่ ง การ ถ่ายทอดของมนุษย์ในเรื่องของความงามที่ปรากฏให้เห็นเป็น รูปแบบ รูปทรงและเรื่องราวต่างๆ นั้นเกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงกระบวนการของการสร้างสรรค์มนุษย์จึง มีส่วนเกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ถ่ายทอดทางความรู้สึกแทบ ทั้งสิ้น นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันไม่ว่ามนุษย์จะไปยังสถาน ที่ใด ณ เวลาใดก็ตาม มนุษย์มักจะได้สัมผัสกับความงดงาม ที่เกิดจากการสร้างสรรค์ตลอดเวลาไม่ทางตรงก็ทางอ้อม ไม่ ว่าจะเป็นการสร้างสรรค์ทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม หัตถกรรมและอื่นๆ จากการที่มนุษย์มีความ ความงามกับ การสร้างสรรค์ การแสวงหาความงามหรือการ เพียรพยายามที่จะถ่ายทอดกระบวนการ การสร้างสรรค์ของตนเองเพือแสดงออกให้ ่ ผูคนได้รบรูในสิงทีตนกระทำ� คือ สิงทีมนุษย์ ้ ั ้ ่ ่ ่ ่ เพียรพยายามนำ�เสนอเพือตอบสนองความ ่ รูสกนึกคิดและจินตนาการของผูสร้างสรรค์ ้ึ ้ อารมณ์ความรูสกนึกคิดในการถ่ายทอดทาง ้ึ มโนภาพทีได้รบจากการสัมผัสรับรูจริงหรือ ่ ั ้ จากจินตนาการ โดยใช้ภาษาทางความงาม เป็นสื่อกลางเพื่อให้ผู้คนโดยทั่วไปเข้าใจใน สิ่งที่ตนเองสร้างสรรค์เป็นการแสดงออก ให้สาธารณชนได้รับรู้ ดังนั้นความงดงาม โดย ผศ.ดร.สามารถ จับโจร สัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดด้านความงามอยู่ตลอด เวลานัน บางครังทำ�ให้มนุษย์ละเลยไม่เห็นความสำ�คัญหรือให้ ้ ้ คุณค่ากับสิ่งที่พบเจอเท่าใดนักและอาจคิดว่าสิ่งนั้นไม่ใช่สิ่งที่ สำ�คัญ แต่ในความเป็นจริงคำ�ว่าคุณค่าของความงามทีเกิดจาก ่ การสร้างสรรค์ไม่ใช่สิ่งที่ยุ่งยากเกินความสามารถของมนุษย์ ที่จะรับรู้และเรียนรู้ได้ถ้าหากให้ความสนใจที่จะเรียนรู้อย่าง จริงจัง ซึ่งก็มีจำ�นวนไม่น้อยที่ให้ความสนใจ แต่ก็มีเหตุผลบาง ประการที่ทำ�ให้ผู้คนห่างไกลคือ เกิดความวิตกกังวล เพราะ ไม่มนใจว่าในการแสดงออกทางการสร้างสรรค์ของตนนันเป็น ั่ ้ อย่างไร รู้สึกเฉย ไม่สวยหรือไม่งาม คิดไปเองต่างๆ นาๆ ว่า ตนเองไม่มีพรสวรรค์บ้าง ไม่มีหัวศิลป์บ้าง หรือเป็นสิ่งที่ยาก เกินไปสำ�หรับตนทีจะสัมผัสถึง ดังนันด้วยเหตุผลดังกล่าวทำ�ให้ ่ ้ มนุษย์ขาดความเชือมันและกลับกลาเป็นหลุมพรางทางการรับ ่ ่ รู้ในศาสตร์สาขาวิชาดังกล่าว ที่มีคุณค่าทางศิลปะจึงต้องเกิดขึ้นจากการ สร้างสรรค์ของมนุษย์เท่านั้น นับแต่อดีต จนถึงปัจจุบันเชื่อกันว่ามนุษย์เท่านั้นที่มี สติปัญญาจนถึงขั้นสามารถแก้ปัญหาต่างๆ แล้วนำ�มาสร้างสรรค์ผลงานสามารถอธิบาย ถ่ ายทอดถึง กัน ได้อ ย่ างเข้ าใจ เนื่ อ งจาก มนุษย์สามารถปรับปรุง แก้ไขปัญหาใน ด้านต่างๆ เช่น การใช้วัสดุและเครื่องมือ ตลอดจนการประยุกต์ใช้สิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เกิดคุณค่า ทางความงาม เหมาะสมกับความต้องการ ของผู้เสพ ทั้งในด้านประโยชน์ใช้สอยและ ตอบสนองด้านจิตใจและอารมณ์ความรู้สึก นอกจากนี้ ม นุ ษ ย์ ยั ง สามารถสร้ า งสรรค์ ผลงานให้มีวิวัฒนาการในการพัฒนาเพื่อ ความเจริญต่อเนื่องเรื่อยมาเป็นลำ�ดับ ซึ่ง การสร้างสรรค์ทางความงามเป็นกระบวน การอิสระและเป็นสิ่งที่ทำ�ให้เกิดขึ้นใหม่ มี จังหวะที่แสดงถึงความพอดี มีความสมดุล จนเกิดเป็นเอกภาพ และมีกลวิธีคิดค้นที่มี สาระและเหตุผลในการสร้างสรรค์ นอกจาก นี้ลักษณะการสร้างสรรค์จะต้องมีเสรีภาพ มี อิ ส ระทางความคิ ด และจิ น ตนาการ มี ความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ให้ก้าวหน้า โดยไม่หยุดยั้ง สำ�หรับการสร้างสรรค์ในยุค ปัจจุบันจะเกิดขึ้นจากการแก้ปัญหาจาก สิ่งที่ได้พบเจอด้วยเทคนิควิธีการและแนว ความคิดใหม่อยู่เสมอ เช่น การทำ�ผลงาน ในลักษณะรูปแบบเหมือนจริง ซึ่งอาจเป็น คน สัตว์ สิ่งของหรือจำ�ลองลักษณะรูปทรง 69
  • 70. ที่เกิดและมีอยู่ในธรรมชาติ เป็นต้น เป็นผล งานทีเ่ กิดจากความประทับใจโดยได้รบแรง ั บันดาลใจจากรูปทรงที่มีอยู่ในธรรมชาติ สะท้อนผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ทาง ด้ า นประติ ม ากรรม และปรั บ เพิ่ ม ปรุ ง แต่งรูปทรง ให้มีความสอดคล้องกับจุดมุ่ง หมายของผู้สร้างสรรค์ เป็นการกำ�หนด ท่าทีในการทำ�งานของศิลปินผู้สร้างสรรค์ เอง ซึ่งแต่ละคนจะมีความพิเศษสามารถ นำ�เอาเอกลักษณ์ ความโดดเด่นในบริบท ที่มีความหลากหลายของรูปแบบ รูปทรง เพือกำ�หนดอัตลักษณ์และความเป็นปัจเจก ่ สำ�หรับศิลปินแต่ละคน ซึ่งอาจจะมีการ ดัดแปลงมากบ้าง น้อยบ้างขึ้นอยู่กับทัศนะ มุมมองความเป็นส่วนตัวของศิลปิน แต่สิ่ง ทีนาสังเกตและถือเป็นกรอบสำ�หรับการนำ� ่่ เสนอ คือ ถ้าหากศิลปินผู้นั้นได้ถ่ายทอด หรือดัดแปลง ตัดทอนรูปแบบ รูปทรงใน การสร้างสรรค์มากเกินไปจากลักษณะที่ ปรากฏในธรรมชาติจะกลายเป็นรูปทรงของ นามธรรมโดยทันที เนื่องจากความงามเป็นสิ่งที่ข้อง เกี่ยวกับการสร้างสรรค์ของมนุษย์ หลาย ท่านสับสนว่าขอบเขตการสร้างสรรค์ โดย เฉพาะผลงานประติมากรรมกำ�หนดกรอบ ว่าอย่างไร เพราะนอกจากการสร้างสรรค์ ของมนุษย์แล้ว รูปทรงที่เกิดขึ้นโดยการ สร้างสรรค์ของธรรมชาติ เช่น รูปทรง รูป ร่างของโขดหินที่ถูกกัดเซาะโดยนํ้าหรือลม ที่มีความงดงามปรากฏให้เห็นในรูปแบบ ต่างๆ หรือการสร้างสรรค์อื่นที่มิใช่เป็นการ สร้างสรรค์จากนํ้ามือของมนุษย์ถือว่าเป็น ผลงานศิลปะหรือไม่ คำ�ตอบคือไม่ใช่ผล งานศิลปะ เพราะไม่สามารถสื่อสารและ อธิ บ ายถึ ง แนวความคิ ด เหตุ แ ละผลแรง ดลใจในการสร้างสรรค์ให้ผู้ชมรับรู้ได้ ผล งานประติมากรรมเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับ ความสวยและความงาม มักปฏิเสธไม่ได้ ว่ า อาจขึ้ น อยู่ กั บ ความชอบ ความพอใจ ในอรรถรสต่างๆ ของศิลปินผู้สร้างสรรค์ แต่ละบุคคลเป็นเกณฑ์หลัก ดังนั้นทัศนะ และการรับรู้ของผู้คนเกี่ยวกับมุมมองของ การสร้างสรรค์จึงสามารถมองได้หลายแง่ 70 มุมที่แตกต่างกัน เช่น บางคนชอบรูปแบบ ผลงานประติมากรรมในลักษณะเหมือนจริง (Realistic) (ภาพที่ 1) เพราะดูแล้วสามารถ เข้าใจได้ง่าย สื่อสารและเปรียบเทียบกับ รูปแบบที่มีอยู่ในธรรมชาติได้ง่าย หรือบาง คนอาจจะชอบรูปแบบประติมากรรมใน ลักษณะนามธรรม (Abstract) (ภาพที่ 2) เพราะผลงานนันให้ความรูสกทางด้านความ ้ ้ึ คิด จินตนาการ รวมทั้งการแสดงออก และ การสื่อความหมายบางอย่างของศิลปินใน รูปแบบทีหลากหลาย ไม่สามารถใช้ทฤษฎีที่ ่ มากมายมาล้อมกรอบและใช้เป็นกฎเกณฑ์ ในการสร้างสรรค์ได้ ภาพที่ 1 รูปแบบผลงานประติมากรรมเหมือนจริง รศ.วิโรฒ ศรีสุโร ผลงานสามารถ จับโจร ภาพที่ 2 จังหวะของการเจริญเติบโต ผลงานเข็มรัตน์ กองสุข ที่มา : (ภาควิชาประติมากรรม คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และสำ�นักผังเมือง กรุงเทพมหานคร, 2553)
  • 71. มนุษย์กับ การสร้างสรรค์ มนุ ษ ย์ แปลว่า ผู้มีจิตใจ สูง ซึ่งมนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นเองโดย ธรรมชาติ มีการดำ�รงชีพเพื่อดำ�รงเผ่าพันธุ์ และดำ�เนินชีวิตด้วยความผูกพันโดยอาศัย บริบทร่วมกันกับธรรมชาติมาโดยลำ �ดับ ตั้งแต่ยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ไล่เรียง เรื่อยมาตราบจนกระทั่งถึงปัจจุบัน อย่างไร ก็ ต ามมนุ ษ ย์ ไ ม่ ไ ด้ พ อใจอยู่ กั บ สภาพสิ่ ง แวดล้อมอันเป็นธรรมชาติตลอดกาลอย่าง ทีเ่ ป็นอยู่ แต่ในทางตรงกันข้ามกับพยายาม ที่จะแสวงหา ประดิษฐ์คิดค้นสิ่งต่างๆ และ ยังมีความปรารถนากระทำ�ทุกวิถีทางอัน นำ�มาซึ่งความสะดวกสบายเพื่อตอบสนอง ความใคร่อยากของตนเอง โดยเฉพาะความ ปรารถนาในสิ่งที่ดีงามเป็นความรู้สึกทาง ด้านจินตนาการอันเป็นคุณลักษณะสำ�คัญ ของสิ่งที่เรียกว่าการสร้างสรรค์หรือการ แสวงหาสิ่งที่สวยงามที่ผ่านกระบวนการ ของการสร้างสรรค์แล้ว ซึ่งมนุษย์จะเพียร แสวงหาจากธรรมชาติโดยตรงไม่ได้ เพราะ รูปทรงที่เกิดขึ้นนั้นต้องรังสรรค์ปั้นแต่งขึ้น มาโดยมนุษย์ ฉะนั้นผู้สร้างสรรค์จึงต้อง เรียนรูและเสริมสร้างความเข้าอกเข้าใจแล้ว ้ สร้างมันขึ้นมาจากประสบการณ์และความ สามารถของตน มนุษย์เราได้มีการพัฒนาความ รู้ ค วามสามารถมาโดยลำ � ดั บ แล้ ว การ เปลี่ยนแปลงทางส่วนต่างๆ ของร่างกาย ตลอดทั้งการเปลี่ยนแปลงขนาดของสมอง ทำ � ให้ ม นุ ษ ย์ เ กิ ด ความฉลาดในการสร้ า ง ผลสัมฤทธิ์ในกรอบของความคิด รวมทั้ง สนใจอยากรู้ สิ่ ง ใหม่ ๆ นอกจากนี้ ม นุ ษ ย์ ยังมีความสามารถในการลอกเลียนแบบ ตลอดทั้งความตั้งใจ ในการแสวงหาและ พยายามบันทึกไว้ในความทรงจำ� สามารถ สร้างมโนภาพและจินตนาการที่ถ่ายทอด ส่งไปยังเพื่อนมนุษย์ด้วยกันให้รับรู้ ทำ�ให้ มนุษย์นนสามารถพัฒนาและเจริญก้าวหน้า ั้ ทางด้านนวัตกรรมการสร้างสรรค์กว่าสิ่งมี ชีวิตอื่นๆ ที่อุบัติขึ้นไล่เรียงกันในโลกใบนี้ นอกจากนี้มนุษย์ยังใช้เหตุผลเพื่อปรับปรุง ตั ว เองในการดำ � รงชี วิ ต อย่ า งเหมาะสม มนุษย์สามารถสร้างเครืองมือ เครืองใช้ชนิด ่ ่ ต่างๆ ในการดำ�รงชีพและสนับสนุนเรียน รู้โดยการอาศัยประสบการณ์ที่บ่มเพาะใน อดีตมาเป็นแนวทางเพื่อกำ�หนดและสร้าง ประสบการณ์ในการเรียนรู้กำ�หนดอนาคต เช่น การรู้จักใช้ภาษา ทำ�ให้ก่อเกิดเป็น ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมและประเพณี สำ�หรับการอยู่รวมกันและรวมกลุ่มอยู่เป็น สังคม มีอารยะธรรม มีความละเอียดอ่อน ทางความรู้ สึ ก มี ค วามนึ ก คิ ด และใฝ่ ฝั น ทะเยอทะยานในความก้าวหน้า (ณรงค์ เส็งประชา, 2530) ตลอดทั้งมีจิตสำ�นึก ที่สามารถอธิบายด้วยตรรกะและเหตุผล แตกต่างจากสัตว์เดรัจฉานได้ ดังจะเห็น ได้จากการสร้างที่อยู่อาศัย ตลอดทั้งการ ประดิษฐ์คิดค้นอาวุธยุทธโธปกรณ์ หรือมี การดัดแปลงเครื่องหมาย เครื่องแต่งกาย มีความประทับใจในความงาม และพยายาม ทีจะประดิษฐ์คดค้นสิงอำ�นวยความสะดวก ่ ิ ่ ซึ่ ง ตอบสนองตามประโยชน์ ใช้ ส อยที่ ยั ง ไม่ พ อเพี ย งอยู่ ต ลอดเวลา นั่ น เป็ น การ แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความพยายามในการใช้ ชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ ใ นวิ ถี ธ รรมชาติ เ พื่ อ ปรั บ ตัวให้เข้ากับฤดูกาลของการเปลี่ยนแปลง ทางธรรมชาติ นอกจากนี้มนุษย์ยังเป็นสิ่ง ที่ มี ชี วิ ต ที่ ม ากด้ ว ยเงื่ อ นไขในการต่ อ รอง ระหว่ า งกระบวนการทางความคิ ด และ การตั ด สิ น ใจ เมื่ อ เกิ ด สภาวะการณ์ เ ป็ น อย่างนี้ก็จะสามารถสร้างเงื่อนไขและแก้ วิกฤตการณ์ให้กับตัวเองและสิ่งแวดล้อม รอบตัวได้ตลอดเวลา ด้วยการนำ�เหตุผล ต่างๆ ตลอดทั้งนำ�ความรู้ ความสามารถอีก หลายด้านที่แสดงถึงความสามารถทางชั้น เชิงด้านมันสมองและสติปัญญาที่ได้เปรียบ สัตว์ประเภทต่างๆ เช่น ความสามารถใน การถ่ายทอดกระบวนการสร้างสรรค์ทาง ความงาม การรวมกลุ่มสืบทอดและปฏิบัติ จนกลายเป็นวัฒนธรรมประเพณีที่สืบทอด กันมาอย่างยาวนาน ความสามารถในการ กำ�หนดและจัดระเบียบของสังคมมนุษย์ ด้ ว ยกั น เอง หรื อ การปรั บ ปรุ ง วิ ถี ใ นการ ดำ�เนินชีวิตให้เหมาะสม กลมกลืนกับการ เปลียนของยุคสมัยได้อย่างลงตัว เป็นต้น ซึง ่ ่ ความเฉลียวฉลาดของมนุษย์มิอาจปฏิเสธ ได้ว่าทำ�ให้มนุษย์นั้นมีความเจริญก้าวหน้า อย่างไม่หยุดยั้งในสภาวะของการกำ�เนิด และแตกดับของวัฎสงสารในปัจจุบัน ความรู้สึกถึงความงาม และความหมายของความงาม ความรู้สึกของมนุษย์นั้นมีความ ไวต่ อ การรั บ รู้ เรื่ อ งราวของความงามทั้ ง จากสภาพสั ง คมสิ่ ง แวดล้ อ มรอบตั ว และ การรั บ รู้ ค วามงามในธรรมชาติ กั บ ความ พยายามสร้างความรู้สึกถึงความงามในงาน สร้างสรรค์ของมนุษย์ที่รับรู้ได้ในรูปแบบ ความหมายเหนือจินตนาการ เป็นมายาภาพ ทีอาจพบได้ในตัวมนุษย์ ในบางครังก็มความ ่ ้ ี รู้ สึ ก เย็ น ชาและธรรมดากั บ สิ่ ง ที่ พ บเห็ น หรื อ ได้ สั ม ผั ส แต่ ก ารได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลของ งานสร้างสรรค์ในอีกหลากหลายลักษณะ สามารถผสมผสานเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความรู้ สึ ก ต่างๆ ทางจิตใจ อันเป็นรสนิยมส่วนตัวที่ สามารถเพิมคุณค่าให้กบความรูสกถึงความ ่ ั ้ึ งามได้ อารมณ์ที่ได้สัมผัสกับความเป็นไป ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อาจแสดงให้ เห็นถึงมิติของความหมายที่เรียบง่าย แต่ อาจซึมซับด้วยอากัปกิริยาของการสัมผัสรู้ ด้านความงามอย่างไม่รู้ตัว หรืออารมณ์ที่ เกิดจากสิ่งใกล้ตัว เช่น ภายในบ้านที่มีการ ตกแต่งภายใน สามารถสร้างบรรยากาศ และสัมผัสได้ด้วยความรู้สึกอย่างไม่ยากนัก เป็นต้น จากความรู้สึกที่แตกต่างเหล่านี้จึง มีผู้ให้คำ�นิยามเกี่ยวกับความงามไว้หลาก หลายทัศนะด้วยกัน ดังนี้ David เน้นความสัมพันธ์ทจตใจ ี่ ิ ว่าสามารถรับรูความงามได้ และหากคุณค่า ้ ความงาม ทีแท้จริงจะสะท้อนความพึงพอใจ ่ ไม่เลือกสภาพสังคมและเวลา ความงามไม่ ได้เป็นคุณสมบัติของวัตถุ แต่จะเกิดขึ้นกับ จิตใจเท่านั้น 71
  • 72. Plato เชื่อในความงามสมบูรณ์ หรือความงามในอุดมคติ ความงามสมบูรณ์ ได้แก่มโนภาพหรือรูปแบบของสิงทีงามเป็น ่ ่ ความนิรันดร Plato ถือว่าความงามกับ ความดีเป็นสิ่งเดียวกัน Gorge Santayana ความงาม คือ การสร้างความเพลิดเพลินให้เป็นตัว เป็นตน เราประเมินค่าดอกไม้ว่างามเพราะ เราถ่ายทอดความเพลิดเพลินที่ได้รับจาก ดอกไม้ลงไปในดอกไม้นั้น เทพศิริ สุขโสภา รอบตัวเรามี ความงามและอัปลักษณ์แทรกซ่อนอยูในทุก ่ สิ่งยังผลให้เรารู้สึกไปต่างๆ รักและเกลียด ราวกับถูกสะกดด้วยอานุภาพเร้นลับซึ่งเรา บอกไม่ถูก จิ ต ร ภู มิ ศั ก ดิ์ ความงามของ ศิลปะมิได้อยู่ที่การพรรณนาแต่ด้านที่สดใส ของชีวิตอย่างเดียวหากอยู่ที่การพรรณนา ถึงด้านมืดทึบของชีวิตควบคู่กันไปด้วยครึ่ง ต่อครึ่ง ในส่วนตัวของผู้เรียบเรียง ความ งาม คือ คุณค่าและความรู้สึกที่ประกอบไป ด้วย ศีล สมาธิ ความดีที่เป็นส่วนประกอบ สำ�คัญของมนุษย์ แล้วสามารถถ่ายทอด ความหมายออกมาให้เห็นเป็นสุนทรียภาพ ทางความรู้สึกที่แสดงถึงความเพลิดเพลิน ความพึงพอใจ ความปิติสุขยินดี และความ งามยังหมายถึง ภาวะหน้าที่หรือลักษณะ พิเศษของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ปรากฏขึ้นเพื่อการ รับรูทางประสาทสัมผัสอันจะนำ�ไปสูอารมณ์ ้ ่ ความรู้สึกคล้อยตามภาวะการณ์นั้นๆ โดย เฉพาะอารมณ์อันสุนทรีนั้นย่อมจะหมาย ถึง อารมณ์ที่มีต่อหรือเกิดจากหรือนิยมใน ความงามของสิ่งที่ได้พบเจอ เรียกอย่างง่าย ว่าอารมณ์ที่รู้สึกงามนั่นเอง ธรรมชาติมีความงามแต่ขาดการปรุงแต่ง ความงามของธรรมชาติแปรเปลี่ยนไปตาม ฤดูกาล ไม่ว่าจะเป็นฤดูร้อน ฤดูหนาว ฤดู ฝน ทุกฤดูกาล ต่างก็มีอัตลักษณ์ที่แสดง ให้เห็นถึงความงามของธรรมชาติซุ่มซ่อน อยู่เสมอ ความงามของธรรมชาติที่มนุษย์ ชื่นชมนั้นเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยอาศัย ช่วงจังหวะของเวลา เป็นกลไกในการขับ เคลื่อนมีระยะเวลาเป็นเครื่องตัดสินควบคุม อยู่ เช่น รวงรังของต่อแตนที่มีรูปร่าง รูป ทรงที่ดูสวยงามแปลกตาหรือธรรมชาติของ ดอกไม้ เมือยามออกดอกสีสดใสบานสะพรัง ่ ่ อยู่ได้ครบกำ�หนดอายุก็เริ่มเหี่ยวแห้งและ โรยราลงไป ในที่สุดสีที่เคยสดใส กลีบดอก ที่เคยนิ่มนวลชุ่มฉ่ำ�ก็เหี่ยวแห้งแข็งกรอบไป ตามกาลเวลา เป็นต้น ถึงแม้ว่าลักษณะของ ธรรมชาติจะเกิดขึ้นเองและมีรูปแบบที่ไม่ พัฒนาเปลียนแปลง แต่คณค่าทางความงาม ่ ุ นั้นหาได้ลดลงไปตามกาลเวลาที่หมุนเวียน เปลี่ยนแปลงไปแต่อย่างใดและดูเหมือนว่า ความยิงใหญ่แห่งพลังความงามในธรรมชาติ ่ นีเ้ องทีเ่ ป็นแหล่งวัตถุดบและขุมพลังสำ�หรับ ิ สร้างแรงบันดาลใจให้ศลปินผูสร้างสรรค์ สืบ ิ ้ เสาะ ค้นหาความหมายสำ�หรับการถ่ายทอด ธรรมชาติกับความงาม ธรรมชาติเป็นสรรพสิ่งที่เกิดขึ้น เอง ไม่มีมนุษย์ผู้ใดสร้างสรรค์ขึ้น การเกิด ขึ้น ดำ�รงอยู่และดับไป เป็นไปตามวัฏจักร ของตัวมันเอง ความงามตามธรรมชาติมนุษย์ สามารถเข้ า ถึ ง ได้ โ ดยอาศั ย วิ จ ารณญาณ เป็ น กลไกสำ � เร็ จ และเป็ น ตั ว ชี้ นำ � ที่ สำ � คั ญ 72 ภาพที่ 3 รูปทรงที่สวยงามตามธรรมชาติของรังต่อ จินตนาการในรูปแบบต่างๆ ตามความถนัด โดยศิลปินอาศัยพลังความงามจากธรรมชาติ เป็นสือในการสร้างสรรค์ผลงานเรือยมาตังแต่ ่ ่ ้ อดีตจวบจนกระทังถึงปัจจุบน เพราะในขณะ ่ ั การเปลี่ยนแปลงแห่งห้วงของกาลเวลาแต่ ความงามของธรรมชาติก็ได้แสดงตัวตนที่ไม่ หลอกลวง เป็นความงามที่สามารถบันทึก ถึงเงื่อนไขและสถานภาพของความเป็นจริง ในกฎของวัฎจักรแห่งการเปลี่ยนแปลงทาง ห้วงเวลาของนาฬิกาธรรมชาติ เพราะหาก เพ่ ง พิ นิ จ ถึ ง ความงามด้ ว ยการใช้ เ หตุ แ ละ ผลแล้วสิ่งที่งามย่อมปฏิเสธความรู้ชอบที่ มีทุนรอนอยู่ในจิตใจของผู้เสพไม่ได้ ฉะนั้น ความงามกับความหมายของธรรมชาติจึงได้ แสดงสถานะของสิ่งที่งามนั้น สามารถเรียน รูและตอบข้อสงสัยในสิงทีแปรเปลียนไปตาม ้ ่ ่ ่ เงื่อนไขของเวลาได้ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ความงามของธรรมชาติไม่เคยเปลี่ยน แต่ ความรู้สึกถึงเหตุผลของความชอบได้แสดง ถึงตัวแปลในเจตจำ�นงของความรู้สึกที่มีต่อ ความงาม ดังนั้นความงดงามของธรรมชาติ จึงมีความเป็นอมตะที่สามารถจะแยกแยะ และอธิบายถึงความงามในแต่ละเงือนไขของ ่ ช่วงอายุได้เสมอ
  • 73. ประติมากรรมกับ มิติของความงาม ตามความหมายของ สุ น ทรี ย ศาสตร์ นั้ น แนวความเชื่ อ ทาง ความงามเป็ น สิ่ ง ที่ อุ บั ติ ก ารณ์ ส รรสร้ า ง ขึ้นโดยมนุษย์ (สุลักษณ์ ศิวรักษ์, 2524) ประติมากรรม หมายถึง ศาสตร์ทางภาษา ที่สามารถแสดงบทบาทเชื่อมต่อในมิติการ รับรูในกระบวนการทางความคิดของศิลปิน ้ ผู้สร้างสรรค์ออกมาในรูปแบบ รูปทรงที่ สามารถสั ม ผั ส จั บ ต้ อ งได้ ทั้ ง ในลั ก ษณะ ผลงาน 2 มิติหรือ 3 มิติ และมีความมุ่ง หมายที่จะส่งเสริมให้มนุษย์มีความซาบซึ้ง และชื่นชมในความงามที่มนุษย์สร้างสรรค์ ขึ้น ความงามที่กล่าวถึงในส่วนที่เกี่ยวกับ ประติมากรรมนันเป็นสิงทีมนุษย์สร้างสรรค์ ้ ่ ่ โดยอาศัยสภาวการณ์ของจิตใจปรุงแต่งขึ้น มา เป็นการแสดงถึงความชาญฉลาดของ มนุษย์ที่มีจินตนาการในการคิดประดิษฐ์ และสร้างสรรค์รูปทรงขึ้นมาให้เห็นความ แตกต่างไปจากความเป็นจริงที่ปรากฏตาม สภาพแวดล้ อ มที่ มี อ ยู่ ต ามธรรมชาติ ใน สมัยโบราณนั้นมนุษย์มีความคิดสติปัญญา ที่จำ�กัด เนื่องจากสภาพแวดล้อมและชีวิต ส่วนใหญ่ผูกพันอยู่กับธรรมชาติ การจำ�กัด และล้อมกรอบด้วยปัจจัยดังกล่าวข้างต้น ทำ � ให้ ม นุ ษ ย์ ถ่ า ยทอดความงามทางการ สร้างสรรค์ออกมาเป็นเพียงภาพเขียนตาม ผนังถํ้าหรือเพิงผาหิน (ภาพที่ 4) เท่าที่หามี ตลอดทั้งงานแกะสลักจากเขาสัตว์ กระดูก งา ในลักษณะต่างๆ ของผู้คนในอดีต เช่น เครืองประดับร่างกาย ตุกตา หรือรูปเคารพ ่ ๊ ที่สลักด้วยหิน และไม้ เป็นต้น ภาพที่ 5 ภาพแกะสลักตัวอักษรบนกระดองเต่าและหินปูน ที่มา : (http://narumolnop.wordpress.com/category/) ภาพที่ 4 ภาพวาดสมัยโบราณ ผาแต้ม จังหวัดอุบลราชธานี ต่อมาความเจริญก้าวหน้าทาง วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ไ ด้ เข้ า มามี บทบาทสำ�คัญต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งผลก ระทบต่อการปรับเปลี่ยนขนานใหญ่จาก สภาพแวดล้อมจากป่ามาเป็นเมือง ตระการ ตาไปด้วยโครงสร้างของป่าคอนกรีต เช่น ตึ ก สู ง หรื อ อาคารที่ มี รู ป ทรงแปลกตา มี การพัฒนาให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพ ในด้ า นประโยชน์ ใช้ ส อยให้ ดี ขึ้ น พร้ อ มๆ กั บ การสร้ า งสรรค์ ด้ า นความงามเคี ย งคู่ กันไป บทบาทการแสดงตัวตนของผลงาน ประติ ม ากรรมจึ ง ไม่ จำ � กั ด ตั ว เอง และมี เสรีภาพในกระบวนการของการสรรสร้าง ความงดงามมากยิ่งขึ้น รูปแบบความงาม ที่เกิดจากความคิดและจินตนาการเยี่ยงนี้ ทำ�ให้สถานะของผลงานประติมากรรมใน ยุคสมัยปัจจุบันบางลักษณะจึงนับว่าถอย ห่างออกไปจนไม่หลงเหลือส่วนที่เป็นหลัก ฐานของธรรมชาติอยู่เลย เช่น ผลงานใน แนวทางสื่อประสม (Mixed Media) คือ การผสมผสานสื่ อ ทางศิ ล ปะที่ มี ลั ก ษณะ แตกต่างกัน เช่น การผสมกันระหว่างงาน จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพ 73
  • 74. เคลือนไหวอย่างเช่นภาพจากโทรทัศน์ วิดโอ ่ ี เสียง กลิ่น หรือการสัมผัสทางกายภาพ ผล งานที่จะเข้าข่าย “สื่อผสม” ควรจะต้องมี การผสมสื่อที่แตกต่างกันอย่างน้อย 2 สื่อ ขึ้นไป ซึ่งโดยพื้นฐานของสื่อผสมแล้ว การ ผสมผสานสือทีแตกต่างกันไม่ใช่สงประดิษฐ์ ่ ่ ิ่ ที่คิดค้นขึ้นใหม่แต่อย่างใด เพราะมีการ ทำ�สืบทอดกันมาหลายศตวรรษ เช่น งาน ประติมากรรมของชนเผ่าในทวีปแอฟริกา ที่มีการแกะสลักไม้ให้เป็น 3 มิติ ผสมกับ การแกะลายเบาติดปะด้วยวัสดุธรรมชาติ ต่างๆ เรียกประติมากรรมนี้ว่าเสาโทเทม โดยเป็นการแกะสลักขึ้นมาจากลำ�ต้นไม้ ขนาดใหญ่เพียงต้นเดียว ส่วนใหญ่ไม้ที่นำ� มาแกะสลักนั้นคือ ไม้จากต้นซีดาร์ (Cedar tree) ซึ่งเป็นไม้ที่มีอยู่อย่างชุกชุมในป่าไม้ ชายฝั่งทะเลตะวันตก รูป และลวดลายที่ แกะสลักมีทั้งภาพใบหน้าของมนุษย์ และ สัตว์ต่างๆ ตามจินตนาการ แต่ที่นิยมกัน มากมักเป็นรูป นกดุเหว่า เหยี่ยว และนก อินทรี โดยมากมักมีส่วนของจงอยปาก ยื่น ยาวออกมาข้างหน้า และมักสยายปีกแผ่ ออกด้านข้างอย่างสง่างาม รวมทั้งอาจมี ภาพจากธรรมชาติ เช่น ดวงอาทิตย์ ดวง จันทร์ และดวงดาว รวมอยู่ในนั้นโดยภาพ ประติมากรรมต่างๆ จะเรียงซ้อนกันเป็น ชั้นๆ ขึ้นสู่ด้านบนของหัวเสาเสมอ สุดท้าย จะระบายสี ต กแต่ ง อย่ า งสวยงาม สี สั น ต่างๆ แม้จะฉูดฉาดบาดตา แต่ก็เต็มเปี่ยม ไปด้วยจิตวิญญาณในแบบอย่างวัฒนธรรม ของชาวอินเดียนแดง ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ ตัว ดังนันการแกะสลักเสาโทเทมนันจึงเป็น ้ ้ งานประติมากรรมทีตองใช้ทกษะฝีมอ และ ่้ ั ื ความชำ�นาญสูง ใช้เวลาในการแกะสลัก นานตั้งแต่ 6 เดือนถึง 1 ปีกว่าจะแล้วเสร็จ ฉะนั้นเสาโทเทมจึงไม่ใช่เสาธรรมดาๆ ที่ มีแต่ความสวยงาม แต่มีความหมาย และ ความสำ�คัญมากกว่านัน (ภาพที่ 6) คอนเซพ ้ ชวล อาร์ต (Conceptual Art) และมินมอล ิ อาร์ต (Minimal Art) (ภาพที่ 7) เป็นต้น ภาพที่ 6 ประติมากรรมของชนเผ่าในทวีปแอฟริกา ที่มา : http://thaimisc.pukpik.com/freewebboard/php/vreply.php?user= sanguanmaejo25&topic=194&page=309 74 ดังนั้นไม่ว่าความงามที่ได้รับอิทธิพลแนว ความคิดจากมิตของธรรมชาติและสามารถ ิ ชักนำ�มาสู่รูปทรงของการสร้างสรรค์ ส่วน สำ�คัญจึงขึ้นอยู่กับภาวะแห่งประสบการณ์ ในการเรี ย นรู้ ตลอดทั้ ง การสั่ ง สมทาง จินตนาการ ส่งผลให้การเรียนรู้ของมนุษย์ ไม่สามารถแยกจากกันได้อย่างเบ็ดเสร็จ เด็ดขาด กล่าวคือ ความงามทางด้านจิตใจ จะเกิดขึ้นได้ขึ้นอยู่ที่มนุษย์ครึ่งหนึ่ง คุณค่า หรือรูปแบบของแรงบันดาลใจที่มีอิทธิพล ต่อกระบวนการสร้างสรรค์ของมนุษย์ใน การตอบสนองด้านรูปทรงที่เกิดจากการ ซึมซับ รับรู้กับธรรมชาติอีกครึ่งหนึ่ง ดังนั้น สองสิงนีมสวนสำ�คัญทีเ่ ป็นตัวสอดประสาน ่ ้ี่ เพื่อสร้างดุลยภาพด้านรูปทรงในความรู้สึก ทางเอกภาพที่สามารถสัมผัสได้โดยมนุษย์ ในมิตทวาด้วยเรืองของความงามกับผลงาน ิ ี่ ่ ่ ประติมากรรม ภาพที่ 7 “คู่รัก” ผลงานนนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ศิลปินแห่งชาติ ที่มา : (นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน, 2544)