SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
แผนการเรียนรู้ที่ ๑<br />หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕            รายวิชา  คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒                       มาตรฐานการเรียนรู้ ค ๓.๒ ม.๒/๑เรื่อง ความเท่ากันทุกประการ           จำนวน ๑ ชั่วโมง๑.สาระสำคัญ<br />รูปสองรูปที่มีรูปร่างและขนาดเท่ากัน และทับกันสนิทพอดี จะมีความเท่ากันทุกประการ เราใช้สัญลักษณ์  แทนคำว่า quot;
เท่ากันทุกประการquot;
<br />๒.จุดประสงค์การเรียนรู้<br /> ด้านความรู้๑)  เปรียบเทียบขนาดและรูปร่างของรูปโดยการสังเกตความเท่ากันทุกประการได้๒)  เปรียบเทียบขนาดและรูปร่างของรูปจากการตรวจสอบความเท่ากันทุกประการได้ด้านทักษะ/กระบวนการ๑)  การแก้ปัญหา๒)  การให้เหตุผล๓)  การเชื่อมโยงด้านคุณลักษณะ๑)  มีความรอบคอบ๒)  มีวิจารณญาณ๓)  มีความเชื่อมั่นในตนเอง๔)  ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน๓.สาระการเรียนรู้ที่ ๑  การเท่ากันทุกประการ (กระบวนการเรียนรู้โดยใช้เกมส์)<br />         ๑)  ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนอาสาสมัครออกมารับรูปเรขาคณิตสองมิติ<br />ที่ครูตัดเตรียมมาให้ตามจำนวนนักเรียนในห้อง (ซึ่งรูปเหล่านี้จะมีรูปที่เหมือนกันเป็นคู่ๆ คละสลับกันอยู่) แล้วนำไปแจกเพื่อนทุกคน คนละ ๑ รูป๒)  ครูชี้แจงว่าจะให้นักเรียนทำกิจกรรม โดยมีกติกาว่าให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนที่มีภาพเหมือนกันและเท่ากันให้ได้เร็วที่สุด  ใครได้คู่แล้วให้นั่งลงแล้วช่วยกันหาเหตุผลว่าทราบได้อย่างไรว่ารูปของนักเรียนและคู่ของนักเรียนเท่ากัน๓)  ครูให้นักเรียนทุกคนร่วมกันอภิปรายตามข้อ ๒) ซึ่งคำตอบที่คาดหวังจากนักเรียนคือ ใช้<br />วิธีนำรูปสองรูปมาทาบกันแล้วทับกันได้สนิทพอดี๔)  ครูเสริมความรู้ให้กับนักเรียนว่ารูปสองรูปที่ทับกันสนิทพอดีเรียกว่า รูปทั้งสองมีความเท่ากันทุกประการ ใช้สัญลักษณ์นี้  ครูเขียนสัญลักษณ์บนกระดานดำ๕)  ครูให้นักเรียนช่วยกันสรุปความหมายของการเท่ากันทุกประการเป็นบทนิยาม ได้ดังนี้ quot;
รูปสองรูปเท่ากันทุกประการ เมื่อสามารถนำรูปหนึ่งทับอีกรูปหนึ่งได้สนิทพอดีquot;
<br />191452516510๖)  ครูติดแผ่นภาพดังรูป                     บนกระดานดำ แล้วแจกรูปก้อนเมฆลักษณะเดียวกันแต่ขนาดต่างกันซึ่งตัดเป็นรูปร่างแล้ว ให้กับนักเรียน ๓ คน นำไปทับหรือทับกับรูปที่ติดไว้ (มีเพียงรูปเดียวที่ทับกันได้สนิทพอดี) ให้นักเรียนอาสาสมัครออกมาเขียนสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความเท่ากันทุกประการ แล้วให้นักเรียนทั้งห้องช่วยกันอภิปรายว่าควรใช้สัญลักษณ์แบบใดแสดงความ  “ไม่เท่ากันทุกประการ”  จนได้ข้อตกลงเหมือนกันว่าควรเป็น สัญลักษณ์  ๗)  ครูให้นักเรียนเล่นเกมความเท่ากันทุกประการ โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มใหญ่ กลุ่มละ ๑๐ คน ถ้ากลุ่มสุดท้ายเหลือเศษนักเรียนไม่ครบสิบคน ให้ครูแต่งตั้งนักเรียนเหล่านั้นเป็นกรรมการนักเรียน (วิธีเล่นดูรายละเอียดจากใบกิจกรรมที่ ๑) กลุ่มใดได้คะแนนมากที่สุดชนะ๘)  ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความเท่ากันทุกประการ<br />๔.สื่อการเรียนรู้<br />๔.๑  สื่อการเรียนรู้๑)  รูปเรขาคณิตสองมิติ๒)  รูปภาพก้อนเมฆขนาดต่างๆ๓)  ใบกิจกรรม๕.การวัดและประเมินผล<br />๑.วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้๑.๑)จากการทำใบงานหรือใบกิจกรรม๑.๒)สังเกตพฤติกรรมในการเรียนการ๑.๓)การเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม๒.เครื่องมือการวัดและประเมินผล๑.๑)แบบประเมินการเสนอผลงาน<br />๑.๒)แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนการ๑.๓)แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม๓.เกณฑ์การวัดและประเมินผล๑.๑)เกณฑ์การประเมินจากแบบประเมินการแสดงผลงาน๕=ดีมาก๔=ดี๒=พอใช้๓=ผ่าน   ๑=ปรับปรุง   ๐=ไม่ผ่าน๑.๒)เกณฑ์การประเมินจากพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม<br />๑=ปรับปรุง๒=ปานกลาง๓=ดี<br /> ๑.๓)  เกณฑ์การประเมินจากแบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียน<br />๕=ดีมาก๔=ดี๒=พอใช้๓=ผ่าน<br />   ๑=ปรับปรุง             ๐=ไม่ผ่าน <br />แบบประเมินการแสดงผลงาน<br />เลขที่กลุ่มที่ความถูกต้องความรวดเร็วการนำเสนอความร่วมมือรวม(ชื่อกลุ่ม)๕๕๕๕๒๐<br />ลงชื่อ .......................................................... ผู้ประเมิน<br />แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนการ<br />เลขที่ชื่อ – สกุลของความเข้าใจความตั้งใจความร่วมมือมารยาทรวมผู้รับการประเมิน๕๕๕๕๒๐<br />         ลงชื่อ .................................................................. ผู้ประเมิน<br />1143000-274320แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม<br />กลุ่มที่ ......................... ชั้น .................................สมาชิกภายในกลุ่ม๑. ..............................................................       ๒. ..............................................................      ๓. ..............................................................                                 ๔. ..............................................................คำชี้แจง  ให้ทำเครื่องหมาย  ในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง<br />ที่รายการพฤติกรรมคุณภาพการปฏิบัติดีปานกลางปรับปรุง๑การมีสวนร่วมในการวางแผน๒การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่๓การให้ความร่วมมือในการทำงาน๔การแสดงความคิดเห็น๕การยอมรับความคิดเห็น๖การเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ๗ความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย<br />ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน         .............. / ............... / .................<br />ใบกิจกรรมเกมความเท่ากันทุกประการ<br />คำชี้แจงให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้1.  จัดกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน2.  นักเรียนที่เหลือซึ่งยังไม่มีกลุ่ม ให้ทำหน้าที่เป็นกรรมการนักเรียน3.  ส่งตัวแทนกลุ่มออกมาสุ่มหยิบรูปเรขาคณิตสองมิติ 10 ชิ้น แล้วนำไปแจกสมาชิกในกลุ่มให้ครบทุกคน บันทึกรูปที่ได้ลงในแบบฟอร์มด้านล่าง4.  กรรมการนักเรียนติดรูปเรขาคณิตสองมิติคราวละ 1 รูปบนกระดานดำ5.  กลุ่มใดที่มีรูปเรขาคณิตสองมิติเหมือนบนกระดานดำ ให้ส่งตัวแทนกลุ่มนำรูปมาทาบกับรูปบนกระดานดำทีละกลุ่ม6.  กรรมการนักเรียนดูว่ารูปของกลุ่มใดทับหรือทับกับรูปบนกระดานดำได้สนิทพอดี กลุ่มนั้นจะได้คะแนน 1 คะแนน ให้แต่ละกลุ่มบันทึกคะแนนลงในแบบฟอร์ม7.  ดำเนินการข้อ  4.  -  6.  จนครบ 10 รูป แล้วรวมคะแนนกลุ่ม ชื่อกลุ่ม ....................................................<br />ลำดับที่ชื่อ- สกุลรูปเรขาคณิตสองมิติคะแนน12345678910รวมคะแนน<br />
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑

More Related Content

What's hot

บทที่ 4.1
บทที่ 4.1บทที่ 4.1
บทที่ 4.1Pa'rig Prig
 
Problem Solution
Problem SolutionProblem Solution
Problem SolutionVn Kaenwong
 
บทที่ 3.1
บทที่ 3.1บทที่ 3.1
บทที่ 3.1Pa'rig Prig
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...Anima หนูรุ้ง
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาwichudaaon
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศThitikorn Prakrongyad
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘aofzasuper
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะaofzasuper
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะaofzasuper
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะaofzasuper
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีวิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีพัน พัน
 
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์NU
 
Unit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptUnit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptIrinApat
 
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)ssuser2812ac
 

What's hot (17)

บทที่ 4.1
บทที่ 4.1บทที่ 4.1
บทที่ 4.1
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Problem Solution
Problem SolutionProblem Solution
Problem Solution
 
บทที่ 3.1
บทที่ 3.1บทที่ 3.1
บทที่ 3.1
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะ
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะ
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะ
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีวิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
 
Ppt6.3
Ppt6.3Ppt6.3
Ppt6.3
 
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
 
เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
 
Unit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptUnit1 decveloping concept
Unit1 decveloping concept
 
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
 

Viewers also liked

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1narong2508
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวyingsinee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวeakbordin
 

Viewers also liked (9)

แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนการศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

Similar to แผนการเรียนรู้ที่ ๑

ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดlookgade
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์yuyjanpen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์yuyjanpen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8dump0507
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555peter dontoom
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1krutew Sudarat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที1
แผนการจัดการเรียนรู้ที1แผนการจัดการเรียนรู้ที1
แผนการจัดการเรียนรู้ที1dump0507
 

Similar to แผนการเรียนรู้ที่ ๑ (20)

Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
หน่วย 1 1
หน่วย 1 1หน่วย 1 1
หน่วย 1 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
 
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
 
แผน 1 12
แผน 1 12แผน 1 12
แผน 1 12
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที1
แผนการจัดการเรียนรู้ที1แผนการจัดการเรียนรู้ที1
แผนการจัดการเรียนรู้ที1
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

แผนการเรียนรู้ที่ ๑

  • 1. แผนการเรียนรู้ที่ ๑<br />หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ รายวิชา คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ มาตรฐานการเรียนรู้ ค ๓.๒ ม.๒/๑เรื่อง ความเท่ากันทุกประการ จำนวน ๑ ชั่วโมง๑.สาระสำคัญ<br />รูปสองรูปที่มีรูปร่างและขนาดเท่ากัน และทับกันสนิทพอดี จะมีความเท่ากันทุกประการ เราใช้สัญลักษณ์ แทนคำว่า quot; เท่ากันทุกประการquot; <br />๒.จุดประสงค์การเรียนรู้<br /> ด้านความรู้๑) เปรียบเทียบขนาดและรูปร่างของรูปโดยการสังเกตความเท่ากันทุกประการได้๒) เปรียบเทียบขนาดและรูปร่างของรูปจากการตรวจสอบความเท่ากันทุกประการได้ด้านทักษะ/กระบวนการ๑) การแก้ปัญหา๒) การให้เหตุผล๓) การเชื่อมโยงด้านคุณลักษณะ๑) มีความรอบคอบ๒) มีวิจารณญาณ๓) มีความเชื่อมั่นในตนเอง๔) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน๓.สาระการเรียนรู้ที่ ๑ การเท่ากันทุกประการ (กระบวนการเรียนรู้โดยใช้เกมส์)<br /> ๑) ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนอาสาสมัครออกมารับรูปเรขาคณิตสองมิติ<br />ที่ครูตัดเตรียมมาให้ตามจำนวนนักเรียนในห้อง (ซึ่งรูปเหล่านี้จะมีรูปที่เหมือนกันเป็นคู่ๆ คละสลับกันอยู่) แล้วนำไปแจกเพื่อนทุกคน คนละ ๑ รูป๒) ครูชี้แจงว่าจะให้นักเรียนทำกิจกรรม โดยมีกติกาว่าให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนที่มีภาพเหมือนกันและเท่ากันให้ได้เร็วที่สุด ใครได้คู่แล้วให้นั่งลงแล้วช่วยกันหาเหตุผลว่าทราบได้อย่างไรว่ารูปของนักเรียนและคู่ของนักเรียนเท่ากัน๓) ครูให้นักเรียนทุกคนร่วมกันอภิปรายตามข้อ ๒) ซึ่งคำตอบที่คาดหวังจากนักเรียนคือ ใช้<br />วิธีนำรูปสองรูปมาทาบกันแล้วทับกันได้สนิทพอดี๔) ครูเสริมความรู้ให้กับนักเรียนว่ารูปสองรูปที่ทับกันสนิทพอดีเรียกว่า รูปทั้งสองมีความเท่ากันทุกประการ ใช้สัญลักษณ์นี้ ครูเขียนสัญลักษณ์บนกระดานดำ๕) ครูให้นักเรียนช่วยกันสรุปความหมายของการเท่ากันทุกประการเป็นบทนิยาม ได้ดังนี้ quot; รูปสองรูปเท่ากันทุกประการ เมื่อสามารถนำรูปหนึ่งทับอีกรูปหนึ่งได้สนิทพอดีquot; <br />191452516510๖) ครูติดแผ่นภาพดังรูป บนกระดานดำ แล้วแจกรูปก้อนเมฆลักษณะเดียวกันแต่ขนาดต่างกันซึ่งตัดเป็นรูปร่างแล้ว ให้กับนักเรียน ๓ คน นำไปทับหรือทับกับรูปที่ติดไว้ (มีเพียงรูปเดียวที่ทับกันได้สนิทพอดี) ให้นักเรียนอาสาสมัครออกมาเขียนสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความเท่ากันทุกประการ แล้วให้นักเรียนทั้งห้องช่วยกันอภิปรายว่าควรใช้สัญลักษณ์แบบใดแสดงความ “ไม่เท่ากันทุกประการ” จนได้ข้อตกลงเหมือนกันว่าควรเป็น สัญลักษณ์ ๗) ครูให้นักเรียนเล่นเกมความเท่ากันทุกประการ โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มใหญ่ กลุ่มละ ๑๐ คน ถ้ากลุ่มสุดท้ายเหลือเศษนักเรียนไม่ครบสิบคน ให้ครูแต่งตั้งนักเรียนเหล่านั้นเป็นกรรมการนักเรียน (วิธีเล่นดูรายละเอียดจากใบกิจกรรมที่ ๑) กลุ่มใดได้คะแนนมากที่สุดชนะ๘) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความเท่ากันทุกประการ<br />๔.สื่อการเรียนรู้<br />๔.๑ สื่อการเรียนรู้๑) รูปเรขาคณิตสองมิติ๒) รูปภาพก้อนเมฆขนาดต่างๆ๓) ใบกิจกรรม๕.การวัดและประเมินผล<br />๑.วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้๑.๑)จากการทำใบงานหรือใบกิจกรรม๑.๒)สังเกตพฤติกรรมในการเรียนการ๑.๓)การเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม๒.เครื่องมือการวัดและประเมินผล๑.๑)แบบประเมินการเสนอผลงาน<br />๑.๒)แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนการ๑.๓)แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม๓.เกณฑ์การวัดและประเมินผล๑.๑)เกณฑ์การประเมินจากแบบประเมินการแสดงผลงาน๕=ดีมาก๔=ดี๒=พอใช้๓=ผ่าน ๑=ปรับปรุง ๐=ไม่ผ่าน๑.๒)เกณฑ์การประเมินจากพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม<br />๑=ปรับปรุง๒=ปานกลาง๓=ดี<br /> ๑.๓) เกณฑ์การประเมินจากแบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียน<br />๕=ดีมาก๔=ดี๒=พอใช้๓=ผ่าน<br /> ๑=ปรับปรุง ๐=ไม่ผ่าน <br />แบบประเมินการแสดงผลงาน<br />เลขที่กลุ่มที่ความถูกต้องความรวดเร็วการนำเสนอความร่วมมือรวม(ชื่อกลุ่ม)๕๕๕๕๒๐<br />ลงชื่อ .......................................................... ผู้ประเมิน<br />แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนการ<br />เลขที่ชื่อ – สกุลของความเข้าใจความตั้งใจความร่วมมือมารยาทรวมผู้รับการประเมิน๕๕๕๕๒๐<br /> ลงชื่อ .................................................................. ผู้ประเมิน<br />1143000-274320แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม<br />กลุ่มที่ ......................... ชั้น .................................สมาชิกภายในกลุ่ม๑. .............................................................. ๒. .............................................................. ๓. .............................................................. ๔. ..............................................................คำชี้แจง ให้ทำเครื่องหมาย ในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง<br />ที่รายการพฤติกรรมคุณภาพการปฏิบัติดีปานกลางปรับปรุง๑การมีสวนร่วมในการวางแผน๒การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่๓การให้ความร่วมมือในการทำงาน๔การแสดงความคิดเห็น๕การยอมรับความคิดเห็น๖การเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ๗ความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย<br />ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน .............. / ............... / .................<br />ใบกิจกรรมเกมความเท่ากันทุกประการ<br />คำชี้แจงให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้1. จัดกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน2. นักเรียนที่เหลือซึ่งยังไม่มีกลุ่ม ให้ทำหน้าที่เป็นกรรมการนักเรียน3. ส่งตัวแทนกลุ่มออกมาสุ่มหยิบรูปเรขาคณิตสองมิติ 10 ชิ้น แล้วนำไปแจกสมาชิกในกลุ่มให้ครบทุกคน บันทึกรูปที่ได้ลงในแบบฟอร์มด้านล่าง4. กรรมการนักเรียนติดรูปเรขาคณิตสองมิติคราวละ 1 รูปบนกระดานดำ5. กลุ่มใดที่มีรูปเรขาคณิตสองมิติเหมือนบนกระดานดำ ให้ส่งตัวแทนกลุ่มนำรูปมาทาบกับรูปบนกระดานดำทีละกลุ่ม6. กรรมการนักเรียนดูว่ารูปของกลุ่มใดทับหรือทับกับรูปบนกระดานดำได้สนิทพอดี กลุ่มนั้นจะได้คะแนน 1 คะแนน ให้แต่ละกลุ่มบันทึกคะแนนลงในแบบฟอร์ม7. ดำเนินการข้อ 4. - 6. จนครบ 10 รูป แล้วรวมคะแนนกลุ่ม ชื่อกลุ่ม ....................................................<br />ลำดับที่ชื่อ- สกุลรูปเรขาคณิตสองมิติคะแนน12345678910รวมคะแนน<br />