SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 22
Descargar para leer sin conexión
1
โครโมโซมเป็ นแหล่งบรรจุสารพันธุกรรมของสิงมีชีวิต มีตําแหน่งอยู่
                                                    ่
ในนิวเคลียส ไมโตคอนเดรี ย และคลอโรพลาสต์ มีความจําเพาะทังขนาด     ้
รูปร่างและจํานวนในสิงมีชีวิตแต่ละชนิด บนโครโมโซมมียีนซึงส่วนใหญ่ทํา
                         ่                                 ่
หน้ าที่กําหนดการสร้ างโปรตีนไว้ ใช้ ทงในและนอกเซลล์
                                      ั้
            โครงสร้ างของโครโมโซมคือ DNA รวมอยูกบโปรตีนหลายชนิด ซึง
                                                ่ ั                    ่
ประกอบขึ ้นเป็ นหน่วยย่อยมากมาย แต่ละหน่วยเรี ยกว่า นิวคลีโอโซม
(nucleosome) นอกจากนันโครโมโซมยังมีหน้ าที่เพิ่มปริ มาณสารพันธุกรรม
                           ้
และถ่ายทอดไปสูลกหลานผ่านทางการแบ่งเซลล์
                     ่ ู
ภาพเซลล์ที่แสดงส่วนประกอบของ      ภาพแสดงนิวเคลียสรูปร่างเป็ นแท่ง
ออร์ แกเนลล์ซงบรรจุสารพันธุกรรม
             ึ่                   ประกอบด้ วย DNA รวมกับโปรตีน
นิวคลีโอโซมคือหน่วยย่อยของโครโมโซม ประกอบด้วย DNA ที่
           ่ ั
รวมอยูกบโปรตีนสําคัญคือฮีสโตน (histone protein) ซึ่ งมีกรดอะมิโนที่เป็ น
         ่
เบสอยูมาก โปรตีนฮีสโตนแบ่งเป็ นชนิดย่อยๆ มีชื่อเรี ยกว่า H1, H2A, H2B,
H3 และ H4 การรวมตัวของ DNA และโปรตีนฮีสโตนหลายๆ โมเลกุลทําให้
เกิดเป็ นโพลีนิวคลีโอโซม (polynucleosome)
       โพลีนิวคลีโอโซมในสภาพปกติจะขดตัวแน่นเป็ นเกลียว ในระยะแรกที่
เริ่ มขดเป็ นเกลียวเรี ยกว่าโซลีนอยด์ (solenoid) ระยะต่อมาเรี ยกโครมาติน
(chromatin) ระยะของการขดตัวดังกล่าวจะยังเห็นรู ปร่ างไม่ชดเจน จนกระทัง
                                                               ั         ่
ขดตัวแน่นที่สุดจะเห็นเป็ นรู ปร่ างคล้ายกากบาท ระยะนี้จึงเรี ยกว่าโครโมโซม
ภาพแสดงโครงสร้ างนิวคลีโอโซมซึ่งเกิดจาก DNA     ภาพแสดงนิวคลีโอโซมหลายโมเลกุลมเชื่อมกันโดยขด
       รวมกับโปรตีนฮีสโตน 5 ชนิด              เป็ นเกลียวโซลีนอยด์ โครมาตินและโครโมโซมตามลําดับ
ในวัฏจักรเซลล์ขณะที่ DNA ของโครโมโซมในนิวเคลียสเกิดการจําลองตัว
เพิ่มปริ มาณสารพันธุ กรรม โครโมโซมก็จะมี การเปลี่ ยนรู ปร่ างไปพร้ อมที่ จะแบ่ง
เซลล์เพื่อการเจริ ญเติบโต ส่ วนรู ปร่ างของโครโมโซมในวัฏจักรเซลล์เริ่ มตั้งแต่ระยะ
อินเตอร์ เฟส (interphase) ที่เห็นเป็ นเส้นสายที่เหยียดยาวของโครมาตินนั้น ในระยะนี้
DNA เกิดการลอกแบบเพิ่มจํานวน ทําให้มีเนื้อโครโมโซมเพิ่มขึ้น 2 เท่า ต่อมาจึงเข้า
ระยะโปรเฟส (prophase) ซึ่งเห็นเป็ นแท่งชัดเจนขึ้นและจะเห็นชัดเจนที่สุดในระยะเม
ตาเฟส (metaphase) ซึ่งจะเห็นโครโมโซมแต่ละแท่งมี 2 ข้าง แต่ละข้างเรี ยกโครมาติด
(chromatid) ส่ วนกลางและส่ วนปลายของโครโมโซมเรี ยก เซนโทรเมี ย ร์
(centromere) และ เทโลเมียร์ (telomere) ตามลําดับ นอกจากนี้ ในเนื้ อโครโมโซมยังมี
บ ริ เ ว ณ ที่ เ รี ย ก ว่ า ยู โ ค ร ม า ติ น ( euchromatin) แ ล ะ แ ฮ ท เ ท อ โ ร โ ค ร ม า ติ น
                                       ่
(heterochromatin) ซึ่งเป็ นที่อยูของยีนประเภทต่างๆ
ภาพแสดงโครมาตินในระยะอินเตอร์ เฟส




ภาพแสดงโครโมโซมในระยะโปรเฟส
ภาพแสดงโครโมโซมในระยะเมตาเฟส (ซ้ าย) ส่วนประกอบของโครโมโซม (ขวา)
โครโมโซมแต่ละแท่งจะมีคเู่ หมือนที่เรี ยกว่าโฮโมโลกัส
โครโมโซม (homologous chromosome) ซึงจะมียีนที่เหมือนกันหรื อ
                                       ่
คล้ ายกันมากร่วมกันทํางาน ตัวอย่างของโฮโมโลกัสโครโมโซมเช่น
ในมนุษย์ โครโมโซมมนุษย์ใน 1 เซลล์ มี 46 แท่ง หรื อ 23 คู่
แบ่งเป็ นโครโมโซมร่างกาย 22 คู่ และโครโมโซมเพศ 1 คู่
ภาพแสดงตัวอย่างของโฮโมโลกัสโครโมโซม (ซ้าย)
  โฮโมโลกัสโครโมโซมในระยะเมตาเฟส (ขวา)
โครโมโซมในไมโตคอนเดรี ยและคลอโรพลาสต์ มีลกษณะต่างจาก
                                                       ั
โครโมโซมในนิวเคลียสหลายประการ ได้แก่ โครงสร้างที่เป็ นวงแหวนขนาด
เล็กและจํานวนยีนที่นอยกว่ามาก รวมถึงการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
                        ้
ที่ฝ่ายแม่จะเป็ นผูถ่ายทอดสารพันธุกรรมในไมโตคอนเดรี ยหรื อคลอโรพลาสต์
                   ้
ไปสู่ลูกโดยผ่านทางไข่ โครโมโซมในไมโตคอนเดรี ยมียนสําคัญซึ่ งทําหน้าที่
                                                 ี
เกี่ยวข้องกับกระบวนการหายใจ ส่ วนหน้าที่ของโครโมโซมในคลอโรพลาสต์
จะเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์แสงและการสร้างสี ใบ
ภาพแสดง DNA ในไมโตคอนเดรี ยและคลอโรพลาสต์ซ่ ึงมีลกษณะเป็ นวงแหวน
                                                 ั
สิ่ ง มี ชี วิ ต ประเภทแบคที เ รี ยและไวรั ส มี โ ครโมโซมซึ่ งต่ า งจาก
สิ่ งมีชีวิตชั้นสู งหรื อยูคาริ โอต เนื่ องจากต้องบรรจุสารพันธุกรรมเข้าไปในพื้นที่
จํากัดภายในเซลล์ของแบคทีเรี ยหรื ออนุ ภาคไวรัส ดังนั้น โครโมโซมจึงต้องมี
                   ื ่
โครงสร้างที่ยดหยุนได้ดี เช่นโครโมโซมของแบคทีเรี ยประกอบด้วย DNA มี
ลักษณะเป็ นวงแหวนในสภาพปกติ และบิดเป็ นเกลียวแน่ น เรี ยก ซูเปอร์ คอยล์
โครโมโซม (supercoiled chromosome) และเมื่อเกิดการแสดงออกของยีนก็จะ
สามารถคลายตัวออกได้เรี ยก รี แลกซ์โครโมโซม (relaxed chromosome)
สําหรับโครโมโซมของไวรัส เป็ นโครงสร้างที่ไม่ซบซ้อนเท่าโครโมโซมของยู
                                                        ั
คาริ โอตและโปรคาริ โอต โครโมโซมของไวรัสมีสารพันธุ กรรมซึ่ งเป็ น DNA
หรื อ RNA โดยเป็ นได้ท้ งสภาพเส้นตรงและวงแหวน (ภาพที่ 13)
                               ั
ภาพแสดงโครโมโซมแบคทีเรี ยซึงเป็ นได้ ทงสภาพซูเปอร์ คอยล์และรี แลกซ์
                           ่          ั้
       ภาพแสดงโครโมโซมของไวรัสที่เป็ น DNA สายเดี่ยวและสายคู่
หน่วยพันธุกรรม หรื อยีน (Gene) คือ ดีเอ็นเอส่ วนที่เป็ นลําดับของ
รหัสทางพันธุกรรม (Genetic code) สําหรับการสร้างโปรตีนทุกชนิดใน
เซลล์ของสิ่ งมีชีวต รหัสทางพันธุกรรมเกิดจากการเรี ยงลําดับของนิวคลิโอ
                  ิ
ไทด์ท้ ง 4 ชนิด โดย 1 รหัสพันธุกรรมเกิดจากการเรี ยงตัวของนิวคลิโอไทด์
       ั
จํานวน 3 นิวคลิโอไทด์ (triplet code) รหัสทางพันธุกรรมหนึ่งๆมีความ
จําเพาะกับกรดอะมิโน (amino acid) ที่เป็ นองค์ประกอบของโปรตีนเพียง
                                    ่ ั
1 ชนิดจากจํานวน กรดอะมิโนที่มีอยูท้ ง 20 ชนิด การเรี ยงตัวของลําดับ
จํานวน และชนิดของกรดอะมิโน ที่แตกต่างกันทําให้เกิดเป็ นโปรตีนชนิด
ต่าง ๆมากมาย
โครงสร้ างของยีนประกอบด้ วยลําดับเบสของ DNA ที่
ต่อเนื่องบนโครโมโซม มีทงส่วนที่เป็ นเอ็กซอน (exon)คือส่วนที่ใช้ แปล
                        ั้
รหัสเป็ นโปรตีน และ อินทรอน(intron) คือส่วนที่ไม่ใช้ แปลรหัสเป็ น
โปรตีน ยีนต่างๆ ที่กระจายตัวอยูบนโครโมโซมแต่ละแท่ง ทําหน้ าที่
                              ่
สร้ างโปรตีนแตกต่างกัน โดยผ่านการลอกแบบเพื่อเพิ่มปริ มาณ DNA
การคัดลอกของ DNA เป็ น RNA และการแปลรหัสจาก RNA เป็ น
โปรตีน
ภาพแสดงการทํางานของยีนบนโครโมโซม(ซ้ าย)
เปรี ยบการทํางานของยีนเป็ นการแปลภาษา(ขวา)
ไมโตซี ส ขณะที่มีการเจริ ญเติบโตและ        ไมโอซี ส เซลล์สืบพันธุ์มีจาํ นวนโครโมโซม 23
ซ่อมแซมส่ วนที่สึกหรอ เซลล์ของร่ างกายจะ   แท่ง ในขณะที่เซลล์มีการแบ่งตัวแบบไมโอซีส จะ
                                      ่
แบ่งตัวออกเป็ น 2 เซลล์ โครโมโซมที่อยูใน   เกิดการสลับที่และผสมยีนกันขึ้น เซลล์แบ่งตัวโดย
นิวเคลียสของเซลล์ จะมีการจําลองตนเอง       ที่เซลล์ที่เกิดใหม่ ได้รับโครโมโซม 23 แท่งเท่านั้น
เซลล์ใหม่แต่ละเซลล์จะมีจานวนโครโมโซม
                          ํ                ในการแบ่งตัวเซลล์ข้นที่ 2 โครโมโซมจะแยกตัว
                                                                  ั
46 แท่ง เหมือนเซลล์เดิมทุกอย่าง            ออกจากกัน กลายเป็ นเซลล์สืบพันธุ์อีก 2 เซลล์
พันธุกรรม
              ยีนถูกถ่ายทอดจากรุ่นหนึงไปยังอีกรุ่นหนึง
                                       ่               ่
ต่อๆไป เด็กทารกจะได้ รับยีนครึ่งหนึงจากพ่อ และอีก
                                     ่
ครึ่งหนึงจากแม่ 1 ใน 4 ของยีนในตัวมาจากรุ่นปู่ ย่า ตา
         ่
ยาย การสลับที่ของยีนในขณะที่เซลล์มีการแบ่งตัวแบบ
ไมโอซีส หมายความว่าพี่ชายกับน้ องสาว จะได้ รับการ
ถ่ายทอดยีนที่ไม่เหมือนกันจากพ่อแม่ อย่างไรก็ตาม
ความคล้ ายคลึงกันของสมาชิกในครอบครัวอาจมีขึ ้นได้
     อสุจิมีโครโมโซม X หรื Y ซึงเป็ นตัวกําหนดเพศของ
                               ่
ทารก
      เซลล์ของร่างกายมีจํานวนโครโมโซม 46 แท่ง
      เซลล์เม็ดเลือดแดง ไม่มีนิวเคลียส จึงไม่มียีนอยู่
      อายุยืนยาวสามารถถ่ายทอดได้ ทางพันธุกรรม
ในขณะที่ลิงซิ มแพนซี มี 24คู่, สุ นข 39คู่, แมว 19 คู่ เซลล์สืบพันธุ์
                                                 ั
(เซลล์ไข่ และ อสุ จิ) มีจานวนโครโมโซม เพียงครึ่ งหนึ่งของ เซลล์ร่างกาย
                           ํ
(23 แท่งในมนุษย์) เมื่อเซลล์ไข่ และ อสุ จิ มารวมตัวกันเป็ น ไซโกท(zygote)
จะมีโครโมโซมครบ ตามที่เซลล์ร่างกายมี (46 แท่งในมนุษย์) ซึ่ งzygoteก็จะ
เติบโตเป็ นสิ่ งมีชีวิตชนิดนั้น สื บทอดเผ่าพันธุ์ต่อไป
            1 คู่ เป็ น โครโมโซมเพศ ที่เหลืออีก 22 คู่ เป็ นโครโมโซมที่
เรี ยกว่า ออโตโซม
ยีนในส่ วนที่เป็ นออโตโซม     โครโมโซมของคน 23 คู่น้ น เป็ น ออโต
                                                                   ั
จะมียนควบคุมลักษณะมี 2 ชนิด คือ
      ี                                 โซม 22คู่ อีก1คู่เป็ น โครโมโซมเพศ
ยีนเด่น (Dominant) และ ยีนด้อย                 ในหญิงจะเป็ นแบบ XX 
(Recessive) ยีนจะมีการจับคู่กน    ั            ในชายจะเป็ นแบบ XY
2 ตัว โดย ตัวหนึ่งได้รับจากพ่อ อีกตัว
ได้รับจากแม่ ยีนเด่น จะข่ม ยีนด้อย
เสมอ ลักษณะแต่ละอย่างจะมีความ
เด่นและความด้อย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมYaovaree Nornakhum
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายThanyamon Chat.
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
1 1 ลักษณะพันธุกรรม
1 1 ลักษณะพันธุกรรม1 1 ลักษณะพันธุกรรม
1 1 ลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosiskasidid20309
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2naan1338
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
1 2การแบ่งเซลล์
1 2การแบ่งเซลล์1 2การแบ่งเซลล์
1 2การแบ่งเซลล์Melody Minhyok
 

La actualidad más candente (19)

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
Gene
GeneGene
Gene
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรม
 
พันธูกรรม1
พันธูกรรม1พันธูกรรม1
พันธูกรรม1
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
1 1 ลักษณะพันธุกรรม
1 1 ลักษณะพันธุกรรม1 1 ลักษณะพันธุกรรม
1 1 ลักษณะพันธุกรรม
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
1 2การแบ่งเซลล์
1 2การแบ่งเซลล์1 2การแบ่งเซลล์
1 2การแบ่งเซลล์
 

Similar a Gene2003

ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2room62group2
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯroom62group2
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemsupreechafkk
 
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptxการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptxssuser4ff757
 
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ Dom ChinDom
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosomeAngel Jang
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมAngel Jang
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมComputer ITSWKJ
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์Issara Mo
 

Similar a Gene2003 (20)

Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
 
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptxการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
 
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
 
4
44
4
 
Bbb
BbbBbb
Bbb
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosome
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
4
44
4
 
4
44
4
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์
 

Más de โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม

ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม
 

Más de โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม (20)

การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
ฮอร์โมน
ฮอร์โมนฮอร์โมน
ฮอร์โมน
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
เกรด.5ปี53.
เกรด.5ปี53.เกรด.5ปี53.
เกรด.5ปี53.
 
เกรด.5ปี53
เกรด.5ปี53เกรด.5ปี53
เกรด.5ปี53
 
เกรดม.4ปี53
เกรดม.4ปี53เกรดม.4ปี53
เกรดม.4ปี53
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
Hemo
HemoHemo
Hemo
 
Hemo
HemoHemo
Hemo
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 

Gene2003

  • 1. 1
  • 2. โครโมโซมเป็ นแหล่งบรรจุสารพันธุกรรมของสิงมีชีวิต มีตําแหน่งอยู่ ่ ในนิวเคลียส ไมโตคอนเดรี ย และคลอโรพลาสต์ มีความจําเพาะทังขนาด ้ รูปร่างและจํานวนในสิงมีชีวิตแต่ละชนิด บนโครโมโซมมียีนซึงส่วนใหญ่ทํา ่ ่ หน้ าที่กําหนดการสร้ างโปรตีนไว้ ใช้ ทงในและนอกเซลล์ ั้ โครงสร้ างของโครโมโซมคือ DNA รวมอยูกบโปรตีนหลายชนิด ซึง ่ ั ่ ประกอบขึ ้นเป็ นหน่วยย่อยมากมาย แต่ละหน่วยเรี ยกว่า นิวคลีโอโซม (nucleosome) นอกจากนันโครโมโซมยังมีหน้ าที่เพิ่มปริ มาณสารพันธุกรรม ้ และถ่ายทอดไปสูลกหลานผ่านทางการแบ่งเซลล์ ่ ู
  • 3. ภาพเซลล์ที่แสดงส่วนประกอบของ ภาพแสดงนิวเคลียสรูปร่างเป็ นแท่ง ออร์ แกเนลล์ซงบรรจุสารพันธุกรรม ึ่ ประกอบด้ วย DNA รวมกับโปรตีน
  • 4. นิวคลีโอโซมคือหน่วยย่อยของโครโมโซม ประกอบด้วย DNA ที่ ่ ั รวมอยูกบโปรตีนสําคัญคือฮีสโตน (histone protein) ซึ่ งมีกรดอะมิโนที่เป็ น ่ เบสอยูมาก โปรตีนฮีสโตนแบ่งเป็ นชนิดย่อยๆ มีชื่อเรี ยกว่า H1, H2A, H2B, H3 และ H4 การรวมตัวของ DNA และโปรตีนฮีสโตนหลายๆ โมเลกุลทําให้ เกิดเป็ นโพลีนิวคลีโอโซม (polynucleosome) โพลีนิวคลีโอโซมในสภาพปกติจะขดตัวแน่นเป็ นเกลียว ในระยะแรกที่ เริ่ มขดเป็ นเกลียวเรี ยกว่าโซลีนอยด์ (solenoid) ระยะต่อมาเรี ยกโครมาติน (chromatin) ระยะของการขดตัวดังกล่าวจะยังเห็นรู ปร่ างไม่ชดเจน จนกระทัง ั ่ ขดตัวแน่นที่สุดจะเห็นเป็ นรู ปร่ างคล้ายกากบาท ระยะนี้จึงเรี ยกว่าโครโมโซม
  • 5. ภาพแสดงโครงสร้ างนิวคลีโอโซมซึ่งเกิดจาก DNA ภาพแสดงนิวคลีโอโซมหลายโมเลกุลมเชื่อมกันโดยขด รวมกับโปรตีนฮีสโตน 5 ชนิด เป็ นเกลียวโซลีนอยด์ โครมาตินและโครโมโซมตามลําดับ
  • 6. ในวัฏจักรเซลล์ขณะที่ DNA ของโครโมโซมในนิวเคลียสเกิดการจําลองตัว เพิ่มปริ มาณสารพันธุ กรรม โครโมโซมก็จะมี การเปลี่ ยนรู ปร่ างไปพร้ อมที่ จะแบ่ง เซลล์เพื่อการเจริ ญเติบโต ส่ วนรู ปร่ างของโครโมโซมในวัฏจักรเซลล์เริ่ มตั้งแต่ระยะ อินเตอร์ เฟส (interphase) ที่เห็นเป็ นเส้นสายที่เหยียดยาวของโครมาตินนั้น ในระยะนี้ DNA เกิดการลอกแบบเพิ่มจํานวน ทําให้มีเนื้อโครโมโซมเพิ่มขึ้น 2 เท่า ต่อมาจึงเข้า ระยะโปรเฟส (prophase) ซึ่งเห็นเป็ นแท่งชัดเจนขึ้นและจะเห็นชัดเจนที่สุดในระยะเม ตาเฟส (metaphase) ซึ่งจะเห็นโครโมโซมแต่ละแท่งมี 2 ข้าง แต่ละข้างเรี ยกโครมาติด (chromatid) ส่ วนกลางและส่ วนปลายของโครโมโซมเรี ยก เซนโทรเมี ย ร์ (centromere) และ เทโลเมียร์ (telomere) ตามลําดับ นอกจากนี้ ในเนื้ อโครโมโซมยังมี บ ริ เ ว ณ ที่ เ รี ย ก ว่ า ยู โ ค ร ม า ติ น ( euchromatin) แ ล ะ แ ฮ ท เ ท อ โ ร โ ค ร ม า ติ น ่ (heterochromatin) ซึ่งเป็ นที่อยูของยีนประเภทต่างๆ
  • 8. ภาพแสดงโครโมโซมในระยะเมตาเฟส (ซ้ าย) ส่วนประกอบของโครโมโซม (ขวา)
  • 9. โครโมโซมแต่ละแท่งจะมีคเู่ หมือนที่เรี ยกว่าโฮโมโลกัส โครโมโซม (homologous chromosome) ซึงจะมียีนที่เหมือนกันหรื อ ่ คล้ ายกันมากร่วมกันทํางาน ตัวอย่างของโฮโมโลกัสโครโมโซมเช่น ในมนุษย์ โครโมโซมมนุษย์ใน 1 เซลล์ มี 46 แท่ง หรื อ 23 คู่ แบ่งเป็ นโครโมโซมร่างกาย 22 คู่ และโครโมโซมเพศ 1 คู่
  • 10. ภาพแสดงตัวอย่างของโฮโมโลกัสโครโมโซม (ซ้าย) โฮโมโลกัสโครโมโซมในระยะเมตาเฟส (ขวา)
  • 11. โครโมโซมในไมโตคอนเดรี ยและคลอโรพลาสต์ มีลกษณะต่างจาก ั โครโมโซมในนิวเคลียสหลายประการ ได้แก่ โครงสร้างที่เป็ นวงแหวนขนาด เล็กและจํานวนยีนที่นอยกว่ามาก รวมถึงการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ้ ที่ฝ่ายแม่จะเป็ นผูถ่ายทอดสารพันธุกรรมในไมโตคอนเดรี ยหรื อคลอโรพลาสต์ ้ ไปสู่ลูกโดยผ่านทางไข่ โครโมโซมในไมโตคอนเดรี ยมียนสําคัญซึ่ งทําหน้าที่ ี เกี่ยวข้องกับกระบวนการหายใจ ส่ วนหน้าที่ของโครโมโซมในคลอโรพลาสต์ จะเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์แสงและการสร้างสี ใบ
  • 12. ภาพแสดง DNA ในไมโตคอนเดรี ยและคลอโรพลาสต์ซ่ ึงมีลกษณะเป็ นวงแหวน ั
  • 13. สิ่ ง มี ชี วิ ต ประเภทแบคที เ รี ยและไวรั ส มี โ ครโมโซมซึ่ งต่ า งจาก สิ่ งมีชีวิตชั้นสู งหรื อยูคาริ โอต เนื่ องจากต้องบรรจุสารพันธุกรรมเข้าไปในพื้นที่ จํากัดภายในเซลล์ของแบคทีเรี ยหรื ออนุ ภาคไวรัส ดังนั้น โครโมโซมจึงต้องมี ื ่ โครงสร้างที่ยดหยุนได้ดี เช่นโครโมโซมของแบคทีเรี ยประกอบด้วย DNA มี ลักษณะเป็ นวงแหวนในสภาพปกติ และบิดเป็ นเกลียวแน่ น เรี ยก ซูเปอร์ คอยล์ โครโมโซม (supercoiled chromosome) และเมื่อเกิดการแสดงออกของยีนก็จะ สามารถคลายตัวออกได้เรี ยก รี แลกซ์โครโมโซม (relaxed chromosome) สําหรับโครโมโซมของไวรัส เป็ นโครงสร้างที่ไม่ซบซ้อนเท่าโครโมโซมของยู ั คาริ โอตและโปรคาริ โอต โครโมโซมของไวรัสมีสารพันธุ กรรมซึ่ งเป็ น DNA หรื อ RNA โดยเป็ นได้ท้ งสภาพเส้นตรงและวงแหวน (ภาพที่ 13) ั
  • 14. ภาพแสดงโครโมโซมแบคทีเรี ยซึงเป็ นได้ ทงสภาพซูเปอร์ คอยล์และรี แลกซ์ ่ ั้ ภาพแสดงโครโมโซมของไวรัสที่เป็ น DNA สายเดี่ยวและสายคู่
  • 15. หน่วยพันธุกรรม หรื อยีน (Gene) คือ ดีเอ็นเอส่ วนที่เป็ นลําดับของ รหัสทางพันธุกรรม (Genetic code) สําหรับการสร้างโปรตีนทุกชนิดใน เซลล์ของสิ่ งมีชีวต รหัสทางพันธุกรรมเกิดจากการเรี ยงลําดับของนิวคลิโอ ิ ไทด์ท้ ง 4 ชนิด โดย 1 รหัสพันธุกรรมเกิดจากการเรี ยงตัวของนิวคลิโอไทด์ ั จํานวน 3 นิวคลิโอไทด์ (triplet code) รหัสทางพันธุกรรมหนึ่งๆมีความ จําเพาะกับกรดอะมิโน (amino acid) ที่เป็ นองค์ประกอบของโปรตีนเพียง ่ ั 1 ชนิดจากจํานวน กรดอะมิโนที่มีอยูท้ ง 20 ชนิด การเรี ยงตัวของลําดับ จํานวน และชนิดของกรดอะมิโน ที่แตกต่างกันทําให้เกิดเป็ นโปรตีนชนิด ต่าง ๆมากมาย
  • 16. โครงสร้ างของยีนประกอบด้ วยลําดับเบสของ DNA ที่ ต่อเนื่องบนโครโมโซม มีทงส่วนที่เป็ นเอ็กซอน (exon)คือส่วนที่ใช้ แปล ั้ รหัสเป็ นโปรตีน และ อินทรอน(intron) คือส่วนที่ไม่ใช้ แปลรหัสเป็ น โปรตีน ยีนต่างๆ ที่กระจายตัวอยูบนโครโมโซมแต่ละแท่ง ทําหน้ าที่ ่ สร้ างโปรตีนแตกต่างกัน โดยผ่านการลอกแบบเพื่อเพิ่มปริ มาณ DNA การคัดลอกของ DNA เป็ น RNA และการแปลรหัสจาก RNA เป็ น โปรตีน
  • 18.
  • 19. ไมโตซี ส ขณะที่มีการเจริ ญเติบโตและ ไมโอซี ส เซลล์สืบพันธุ์มีจาํ นวนโครโมโซม 23 ซ่อมแซมส่ วนที่สึกหรอ เซลล์ของร่ างกายจะ แท่ง ในขณะที่เซลล์มีการแบ่งตัวแบบไมโอซีส จะ ่ แบ่งตัวออกเป็ น 2 เซลล์ โครโมโซมที่อยูใน เกิดการสลับที่และผสมยีนกันขึ้น เซลล์แบ่งตัวโดย นิวเคลียสของเซลล์ จะมีการจําลองตนเอง ที่เซลล์ที่เกิดใหม่ ได้รับโครโมโซม 23 แท่งเท่านั้น เซลล์ใหม่แต่ละเซลล์จะมีจานวนโครโมโซม ํ ในการแบ่งตัวเซลล์ข้นที่ 2 โครโมโซมจะแยกตัว ั 46 แท่ง เหมือนเซลล์เดิมทุกอย่าง ออกจากกัน กลายเป็ นเซลล์สืบพันธุ์อีก 2 เซลล์
  • 20. พันธุกรรม ยีนถูกถ่ายทอดจากรุ่นหนึงไปยังอีกรุ่นหนึง ่ ่ ต่อๆไป เด็กทารกจะได้ รับยีนครึ่งหนึงจากพ่อ และอีก ่ ครึ่งหนึงจากแม่ 1 ใน 4 ของยีนในตัวมาจากรุ่นปู่ ย่า ตา ่ ยาย การสลับที่ของยีนในขณะที่เซลล์มีการแบ่งตัวแบบ ไมโอซีส หมายความว่าพี่ชายกับน้ องสาว จะได้ รับการ ถ่ายทอดยีนที่ไม่เหมือนกันจากพ่อแม่ อย่างไรก็ตาม ความคล้ ายคลึงกันของสมาชิกในครอบครัวอาจมีขึ ้นได้ อสุจิมีโครโมโซม X หรื Y ซึงเป็ นตัวกําหนดเพศของ ่ ทารก เซลล์ของร่างกายมีจํานวนโครโมโซม 46 แท่ง เซลล์เม็ดเลือดแดง ไม่มีนิวเคลียส จึงไม่มียีนอยู่ อายุยืนยาวสามารถถ่ายทอดได้ ทางพันธุกรรม
  • 21. ในขณะที่ลิงซิ มแพนซี มี 24คู่, สุ นข 39คู่, แมว 19 คู่ เซลล์สืบพันธุ์ ั (เซลล์ไข่ และ อสุ จิ) มีจานวนโครโมโซม เพียงครึ่ งหนึ่งของ เซลล์ร่างกาย ํ (23 แท่งในมนุษย์) เมื่อเซลล์ไข่ และ อสุ จิ มารวมตัวกันเป็ น ไซโกท(zygote) จะมีโครโมโซมครบ ตามที่เซลล์ร่างกายมี (46 แท่งในมนุษย์) ซึ่ งzygoteก็จะ เติบโตเป็ นสิ่ งมีชีวิตชนิดนั้น สื บทอดเผ่าพันธุ์ต่อไป 1 คู่ เป็ น โครโมโซมเพศ ที่เหลืออีก 22 คู่ เป็ นโครโมโซมที่ เรี ยกว่า ออโตโซม
  • 22. ยีนในส่ วนที่เป็ นออโตโซม โครโมโซมของคน 23 คู่น้ น เป็ น ออโต ั จะมียนควบคุมลักษณะมี 2 ชนิด คือ ี โซม 22คู่ อีก1คู่เป็ น โครโมโซมเพศ ยีนเด่น (Dominant) และ ยีนด้อย ในหญิงจะเป็ นแบบ XX  (Recessive) ยีนจะมีการจับคู่กน ั ในชายจะเป็ นแบบ XY 2 ตัว โดย ตัวหนึ่งได้รับจากพ่อ อีกตัว ได้รับจากแม่ ยีนเด่น จะข่ม ยีนด้อย เสมอ ลักษณะแต่ละอย่างจะมีความ เด่นและความด้อย