SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 41
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 21
                                         ระบบนิเวศ
เนือหาและเวลาทีใช้สอน
   ้           ่
       21.1 ไบโอม                                                           2       ชัวโมง
                                                                                      ่
       21.2 ความหลากหลายของระบบนิเวศ
            21.2.1 การศึกษาระบบนิเวศ                                        4       ชัวโมง
                                                                                       ่
            21.2.2 ระบบนิเวศแบบต่าง ๆ                                       2       ชัวโมง
                                                                                     ่
       21.3 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
            21.3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างสิงมีชวตกับปัจจัยทางกายภาพ
                                        ่ ีิ                                2       ชัวโมง
                                                                                       ่
            21.3.2 ความสัมพันธ์ระหว่างสิงมีชวตกับปัจจัยทางชีวภาพ
                                         ่ ีิ                               2       ชัวโมง
                                                                                     ่
       21.4 การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ
            21.4.1 การถ่ายทอดพลังงานในสิงมีชวต
                                           ่ ีิ                             2       ชัวโมง  ่
            21.4.2 วัฏจักรสารในระบบนิเวศ                                    2       ชัวโมง่
       21.5 การเปลียนแปลงแทนทีของระบบนิเวศ
                   ่            ่                                           4       ชัวโมง
                                                                                        ่
            รวม                                                             20      ชัวโมง
                                                                                      ่

จุดประสงค์การเรียนรู้ เพือให้นกเรียนสามารถ
                         ่    ั
       1. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปความหมายและประเภทของระบบนิเวศ
       2. สำรวจและวิเคราะห์ขอมูลเกียวกับระบบนิเวศในท้องถิน
                                ้     ่                 ่
       3. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิงมีชวตกับปัจจัยทางกายภาพ
                                                            ่ ีิ
           และทางชีวภาพ
       4. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปความสำคัญของการถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียน
           สาร และการเปลียนแปลงแทนทีในระบบนิเวศ
                            ่            ่

สาระสำคัญ
        ในโลกของสิ่งมีชีวิตมีความหลากหลายของระบบนิเวศที่กระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ
ระบบนิเวศทีมองค์ประกอบของปัจจัยทางกายภาพ และปัจจัยทางชีวภาพทีคล้ายคลึงกันก็จะกระจาย
             ่ ี                                                      ่
อยูในเขตภูมศาสตร์เดียวกัน นอกจากนีในระบบนิเวศแต่ละแห่งก็มความสัมพันธ์เกิดขึนภายในระบบ
     ่     ิ                        ้                         ี                  ้
ความสัมพันธ์นนอาจเกิดระหว่าง สิงมีชวตกับสิงมีชวต หรืออาจเกิดระหว่างสิงมีชวตกับสิงไม่มชวตก็ได้
                 ้ั            ่ ีิ       ่ ีิ                       ่ ีิ       ่ ีีิ
        ระบบนิเวศจะมีความสมดุลได้ก็ต่อเมื่อมีองค์ประกอบทางกายภาพและชีวภาพที่ได้สัดส่วน
อย่างสมดุล และในระบบนิเวศนันต้องมีการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารเกิดขึนในระบบด้วย
                             ้                                                     ้
เมือระบบนิเวศเสียสมดุลก็อาจมีผลกระทบเกิดขึนในระบบ ถ้าหากผลกระทบนันไม่รนแรงมากนัก
   ่                                           ้                           ้         ุ
ระบบนิเวศก็สามารถกลับคืนสูสมดุลใหม่ได้ แต่ถาผลกระทบเกิดขึนจนส่งผลทำให้เกิดการเปลียนแปลง
                           ่                 ้              ้                          ่
ในระบบทั้งทางกายภาพ และทางชีวภาพก็อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิตใน
ระบบนิเวศได้ในทีสด  ่ ุ


20
สสวท.                                    ระบบนิเวศ
ผังมโนทัศน์
                                                                    บทที่ 21 ระบบนิเวศ


                  โลกของสิงมีชวต
                          ่ ีิ
                          เป็นทีรวมของ
                                ่
                                         ประกอบเป็น
                    ระบบนิเวศ                                   ไบโอม

                          ประกอบด้วย                                         ยังมี                             ต้องมี
                                                                    ความสัมพันธ์              การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร
            ระบบนิเวศบนบก ระบบนิเวศในน้ำ




ระบบนิเวศ
                                                                    ในระบบนิเวศ                  ในสิงมีชวต
                                                                                                      ่ ีิ       ในระบบนิเวศ
                                         แบ่งเป็น
                                                                             เกิดขึนระหว่าง
                                                                                   ้
                       ระบบนิเวศ              ระบบนิเวศ                                                          ก่อให้เกิด
                                                                        สิงมีชวตกับ
                                                                          ่ ีิ
                       แหล่งน้ำจืด            แหล่งน้ำเค็ม               สิงมีชวต
                                                                           ่ ีิ                       สมดุลของระบบนิเวศ
                                         มาบรรจบกันก่อให้เกิด                และ                                 ถูกทำลาย ก่อให้เกิด
                                 ระบบนิเวศ                              สิงมีชวตกับ
                                                                          ่ ีิ
                                แหล่งน้ำกร่อย                                                     ผลกระทบต่อ            การเปลียนแปลงแทนที่
                                                                                                                               ่
                                                                        สิงไม่มชวต
                                                                           ่ ีีิ                   ระบบนิเวศ                ในระบบนิเวศ




   21
สสวท.
21.1 ไบโอม
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพือให้นกเรียนสามารถ
                         ่    ั
       1. อธิบายปัจจัยทางกายภาพทีเ่ ป็นตัวกำหนดชนิดของไบโอม
       2. เปรียบเทียบและอธิบายลักษณะของไบโอมชนิดต่าง ๆ
       3. เปรียบเทียบสภาพทางกายภาพ และสิงมีชวตในไบโอมชนิดต่าง ๆ
                                             ่ ีิ

แนวการจัดการเรียนรู้
            ครูนำเข้าสูบทเรียนโดยการนำภาพแผนทีโลก ลูกโลกจำลอง หรือภาพทีแสดงเอกลักษณ์ของ
                         ่                     ่                       ่
เขตภูมศาสตร์แต่ละแห่งในโลก อาทิเช่น ภาพทะเลทราย ภาพเขตขัวโลกเหนือ ภาพแนวปะการัง
       ิ                                                       ้
เป็นต้น หรือภาพที่ 21-1 ก และ ข ในหนังสือเรียน มาแสดงให้นกเรียนดู และให้นกเรียนร่วมกัน
                                                            ั              ั
อภิปรายโดยครูใช้คำถามนำในการอภิปราย ดังนี้
            ภาพทีนกเรียนเห็น อยูในเขตภูมศาสตร์ใดของโลก พบได้ทใดบ้าง มีลกษณะใด ทีบงบอก
                   ่ ั           ่       ิ                       ่ี      ั       ่ ่
            เอกลักษณ์เฉพาะของเขตภูมศาสตร์นน
                                      ิ     ้ั
         จากนันให้นกเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกียวกับไบโอมว่า มีทงไบโอมบนบกและไบโอม
              ้      ั                           ่                  ้ั
ในน้ำ และให้นกเรียนอภิปรายเปรียบเทียบสภาพทางกายภาพและชีวภาพของไบโอมชนิดต่าง ๆ แล้วตอบ
                ั
คำถามในหนังสือเรียน ซึงมีแนวคำตอบดังนี้
                           ่
            พืชเด่นทีพบในไบโอมบนบกแต่ละชนิดได้แก่อะไรบ้าง
                       ่
              ชนิดของไบโอม                         พืชเด่นทีพบ
                                                            ่
             ป่าดิบชืน
                     ้         ไม้เถาจำพวกหวาย เฟิน กล้วยไม้ ฯลฯ
             ป่าผลัดใบเขตอบอุน ยูคาลิปตัส เมเปิล โอ๊ค ฯลฯ
                             ่
             ป่าสน             ไม้ยนต้นจำพวกสน เช่น สนสองใบ สนสามใบ สพรูซ
                                    ื
                               ไพน์ เฟอ เฮมลอค เป็นต้น นอกจากนียงมีพชล้มลุก จำพวก
                                                                ้ั ื
                               บลูเบอรี ด้วย
             ทุงหญ้าเขตอบอุน พืชจำพวกไม้ลมลุกพวก ทานตะวัน หรือพืชทีมลำต้น
               ่           ่                 ้                          ่ี
                               อ่อน เช่น ไอริช หรือพวกดอกไม้ปาจำพวก รานันคูลส
                                                              ่                ั
                               รวมทังพืชจำพวกหญ้า เป็นต้น
                                         ้
             สะวันนา           หญ้าต่าง ๆ
             ทะเลทราย          กระบองเพชร อินทผาลัม
             ทุนดรา            ไม้ลมลุกจำพวกไม้ดอก หญ้าต่าง ๆ แห้วทรงกระเทียม
                                      ้
                               รวมทังพืชชันต่ำพวกมอสและไลเคน
                                        ้ ้




22
สสวท.                                 ระบบนิเวศ
ถ้าพิจารณาจากลักษณะของไบโอมบนบกทีได้กล่าวมาแล้ว ประเทศไทยพบไบโอมบนบก
                                                    ่
            ชนิดใดบ้างและอยูในภาคใดของประเทศ
                            ่
             ชนิดของไบโอมบนบก                              อยูในภาค
                                                              ่
                  ในประเทศไทย
             ป่าดิบชืน
                     ้            พบในภาคตะวันออกเฉพาะทีจงหวัดตราดและจันทบุรเี ท่านัน
                                                             ่ั                        ้
                                  และภาคใต้ตงแต่คอคอดกระ จังหวัดระนองจนสุดชายแดน
                                               ้ั
                                  ไทย-มาเลเซีย
             ป่าดิบเขา            พบในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ระดับ
                                  ความสูงเฉลียเกิน 1,200 เมตร
                                             ่
             ป่าดิบแล้ง           พบกระจายตังแต่ตอนบนของเทือกเขาถนนธงชัยจากจังหวัด
                                                  ้
                                  ชุมพรขึ้นไปจนกระทั่งถึงภาคเหนือ รวมทั้งบางส่วนของ
                                  เทือกเขาตะนาวศรี ส่วนทางตะวันออกพบปกคลุมตามแนว
                                  เทือกเขาดงพญาเย็น เทือกเขาบรรทัดต่อไปจนถึงจังหวัดระยอง
             ป่าสน                พบในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
             ทุงหญ้า
               ่                  พบทุกภาค

            ไบโอมแหล่งน้ำจืดและไบโอมแหล่งน้ำเค็มแตกต่างกันอย่างไร
            ไบโอมแหล่งน้ำจืดและแหล่งน้ำเค็มแตกต่างกันทีคาความเค็ม โดยไบโอมแหล่งน้ำจืดมี
                                                       ่่
            ค่าความเค็มน้อยกว่า 0.01 ppt ส่วนไบโอมแหล่งน้ำเค็มมีคาความเค็มมากกว่า 0.34 ppt
                                                                 ่
            นอกจากนีไบโอมแหล่งน้ำเค็มจะมีกระแสน้ำขึนและกระแสน้ำลงเป็นตัวแปรทีสำคัญ
                     ้                             ้                           ่
21.2 ความหลากหลายของระบบนิเวศ
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพือให้นกเรียนสามารถ
                         ่    ั
       1. สำรวจ ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ขอมูลและสรุปเกียวกับระบบนิเวศในท้องถิน
                                               ้             ่                    ่
       2. อธิบายความหมายและประเภทของระบบนิเวศ

แนวการจัดการเรียนรู้
        การนำเข้าสูบทเรียนในหัวข้อนีครูอาจทำได้ดงนี้
                    ่                ้              ั
        1. ทบทวนความรูเ้ รืองไบโอมโดยนำรูปภาพสถานทีตาง ๆ เช่น ป่าไม้ บึงบอระเพ็ด ทะเลน้อย
                            ่                            ่่
ป่าชายเลน ทะเลทราย ฯลฯ มาให้นกเรียนแต่ละกลุมได้ศกษา ต่อจากนันครูตงคำถามเพือให้นกเรียน
                                   ั              ่    ึ            ้      ้ั       ่     ั
ร่วมกันอภิปราย ดังนี้
            รูปภาพที่นักเรียนได้ศึกษานั้นจัดอยู่ในไบโอมประเภทใด มีองค์ประกอบทางกายภาพ
            และชีวภาพอะไรบ้าง
        2. ครูฉายวีดทศน์เรืองระบบนิเวศ ให้นกเรียนดูและร่วมกันอภิปรายถึงสิงทีได้ดวาในแต่ละสถานที่
                      ิ ั ่                ั                             ่ ่ ู่
นันมีองค์ประกอบทางกายภาพและชีวภาพอะไรบ้างและจัดอยูในไบโอมประเภทใด
  ้                                                       ่

                                                                                              23
                                          ระบบนิเวศ                                        สสวท.
3. ให้นกเรียนร่วมกันวิเคราะห์ระบบนิเวศในท้องถินของนักเรียน โดยครูตงคำถามนำเพือไปสู่
                ั                                    ่                    ้ั        ่
ประเด็นอภิปรายว่า ในท้องถินของนักเรียนมีสถานทีทางธรรมชาติประเภทใดบ้าง และจัดเป็นไบโอม
                           ่                    ่
ชนิดใด
       ก่อนที่ครูจะนำเข้าสู่เรื่องการศึกษาระบบนิเวศ ครูควรเชื่อมโยงเนื้อหาระหว่างไบโอมกับ
ระบบนิเวศก่อน โดยระบบนิเวศนันจัดเป็นระบบหนึง ๆ ทีอยูในไบโอมซึงมีทงระบบนิเวศบนบกและ
                                  ้               ่ ่ ่           ่ ้ั
ระบบนิเวศในน้ำ ระบบนิเวศประกอบด้วยองค์ประกอบทางกายภาพและชีวภาพ และมีความสัมพันธ์
ระหว่างสิงมีชวตกับสิงแวดล้อมในระบบนัน ๆ ด้วย จากนันให้นกเรียนตอบคำถามในหนังสือเรียน
        ่ ีิ        ่                    ้             ้    ั
แนวในการตอบคำถามมีดงนี้ ั
            การถ่ายทอดพลังงานในสิ่งมีชีวิต และการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศก่อให้เกิด
            สภาวะสมดุลทางธรรมชาติได้อย่างไร
            การถ่ายทอดพลังงานในสิ่งมีชีวิตเป็นการถ่ายทอดพลังงานเคมีจากสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง
            ไปยังสิงมีชวตอีกชนิดหนึง โดยพลังงานไม่ได้สญหายไปไหน เพียงแต่มการเปลียนรูป
                   ่ ีิ                ่                 ู                    ี       ่
            ซึงเป็นไปตามกฎการอนุรกษ์พลังงาน ดังแผนภาพ
              ่                      ั
                  พลังงานแสงอาทิตย์          พลังงานความร้อน


                   พลังงานเคมีในพืช                            พลังงานเคมีในสัตว์

                 ส่วนการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ เป็นกระบวนการทีเ่ ปลียนรูปสารอินทรียใน
                                                                     ่               ์
           สิงมีชวตกลับคืนสูระบบนิเวศในรูปของสารอนินทรีย์ เช่น แร่ธาตุตาง ๆ ทีได้จากการ
             ่ ีิ           ่                                          ่      ่
           ย่อยสลายซากพืชและซากสัตว์ หรือของเสียที่ได้จากการขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ
           เป็นต้น

       21.2.1 การศึกษาระบบนิเวศ
           ครูนำเข้าสูหวข้อการศึกษาระบบนิเวศโดยใช้คำถามนำในการอภิปรายเกียวกับระบบนิเวศ
                      ่ ั                                              ่
ที่พบในท้องถิ่นว่ามีแบบใดบ้าง จากนั้นให้นักเรียนบอกถึงความเหมือนและความแตกต่างของ
ระบบนิเวศบนบกและในน้ำ แล้วให้นกเรียนทำกิจกรรมที่ 21.1
                                  ั

กิจกรรมที่ 21.1 ระบบนิเวศในท้องถิน  ่
จุดประสงค์ของกิจกรรม เพือให้นกเรียนสามารถ
                         ่      ั
       1. อธิบายสภาพแวดล้อมทัวไปรอบ ๆ บริเวณทีสำรวจ พร้อมทังระบุสภาพของระบบนิเวศนัน ๆ
                                  ่            ่             ้                    ้
       2. สังเกต และบันทึกลักษณะทางกายภาพของดินและน้ำ
       3. สังเกต บันทึก ชนิด จำนวน ลักษณะ และการกระจายของสิงมีชวตในบริเวณทีสำรวจ
                                                               ่ ีิ        ่
       ในการทำกิจกรรมที่ 21.1 นี้ ระบบนิเวศทีนกเรียนเลือกทีจะสำรวจนัน ครูควรพิจารณาถึง
                                             ่ ั           ่        ้
ระยะทาง ระยะเวลาและความปลอดภัย คือ ไม่ไกลเกินไป ใช้เวลาเหมาะสม และมีความปลอดภัยและ
ทีสำคัญคือควรเลือกสถานทีทสามารถศึกษาได้ทงระบบนิเวศบนบกและในน้ำ ครูควรแนะนำวิธใช้
  ่                        ่ ่ี           ้ั                                        ี
24
สสวท.                                  ระบบนิเวศ
อุปกรณ์ตาง ๆ ให้ชดเจน สำหรับการศึกษาระบบนิเวศในน้ำ ครูอาจให้นกเรียนออกแบบศึกษาทีระดับ
            ่         ั                                          ั                      ่
ความลึกมากกว่า 20 เซนติเมตรได้ ซึ่งควรคำนึงถึงความปลอดภัยของสถานที่ที่ไปศึกษาด้วย ใน
การใช้ถุงลากแพลงก์ตอนนั้นให้นักเรียนลากที่ระดับผิวน้ำ และที่ระดับความลึกที่ 20 เซนติเมตร
หรือระดับที่ลึกกว่า 20 เซนติเมตร ตามที่ออกแบบไว้ด้วย และในการศึกษาระบบนิเวศบนบก
การใช้ชุดสำรวจสิ่งมีชีวิตในดิน นักเรียนอาจทำขึ้นมาเองก็ได้ โดยใช้ตะแกรงที่ทำจากตาข่าย
ซึงมีขนาดช่องตาถีอย่างน้อย 0.5 x 0.5 เซนติเมตร โดยศึกษาทังระดับผิวดินและทีระดับความลึก
  ่                 ่                                          ้              ่
ของดินอย่างน้อย 20 เซนติเมตร นอกจากนี้ครูอธิบายเพิ่มเติมแก่นักเรียนว่ายังมีสัตว์ที่มีขนาดเล็ก
ที่ไม่สามารถมองด้วยตาเปล่านั้นอีกจำนวนมากที่อาศัยอยู่ในดินซึ่งต้องศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์
แต่ในทีนจะดูสงมีชวตทีมองเห็นด้วยตาเปล่าเท่านัน
        ่ ้ี ่ิ ี ิ ่                        ้
          สำหรับแบบบันทึกข้อมูลทีได้จากการสำรวจ ครูและนักเรียนอาจออกแบบร่วมกัน ตามความ
                                 ่
เหมาะสมและแบบบันทึกทีให้ไว้นเ้ี ป็นเพียงตัวอย่างแบบหนึงเท่านัน
                          ่                          ่       ้
          1. แผนผังแสดงทิศทางและตำแหน่งของแหล่งสำรวจ
                                                                                                                             N




        2. ตารางบันทึกผลการสำรวจสภาพทางกายภาพของแหล่งน้ำ
           กลุมที.่ .......................วัน/เดือน/ปีทสำรวจ....................................................
              ่                                         ่ี
           บริเวณทีสำรวจ..................................................................................................
                        ่

              รายการทีสำรวจ
                      ่                                                                               ผลการสำรวจ
 1. สีของน้ำ
 2. กลิน่
 3. สิงปนเปือน
      ่         ้
 4. ความขุนใส
          ่
 5. ค่าการส่องผ่านของแสง
 6. อุณหภูมระดับผิวน้ำ (oC)
            ิ
 7. อุณหภูมระดับความลึก 20 cm (oC)
              ิ
 8. ความเป็นกรด-เบสระดับผิวน้ำ
 9. ความเป็นกรด-เบสระดับความลึก 20 cm

                                                                                                                                    25
                                                                   ระบบนิเวศ                                                     สสวท.
3. ตารางบันทึกผลการสำรวจสิงมีชวตในแหล่งน้ำ
                                  ่ ีิ
                                                     ผลการสำรวจ
        รายการทีสำรวจ
                ่
                                 ชือสิงมีชวต
                                   ่ ่ ีิ       จำนวน       ลักษณะและการกระจาย

1. สิงมีชวตระดับผิวน้ำ
     ่ ีิ
   และทีอาศัยกับพืชลอยน้ำ
         ่

2. สิงมีชวต
     ่ ีิ
   ระดับความลึก 20 cm

3. แพลงก์ตอนทีศกษาจาก
               ่ึ
   กล้องจุลทรรศน์ทระดับผิวน้ำ
                  ่ี

4. แพลงก์ตอนทีศกษาจาก
               ่ึ
   กล้องจุลทรรศน์ทระดับ
                  ่ี
   ความลึก 20 cm

        4. ตารางบันทึกผลการสำรวจสภาพทางกายภาพของระบบนิเวศบนบก

           รายการทีสำรวจ
                   ่                                    ผลการสำรวจ
 1. สีของดิน
 2. กลิน่
 3. ความชืน
          ้
 4. ลักษณะเนือดิน ้
 5. สิงปนเปือน
      ่         ้
 6. อุณหภูมระดับผิวดิน (oC)
            ิ
 7. อุณหภูมระดับความลึก 20 cm (oC)
              ิ
 8. ความเป็นกรด-เบสระดับผิวดิน
 9. ความเป็นกรด-เบสระดับความลึก 20 cm




26
สสวท.                                   ระบบนิเวศ
5. ตารางบันทึกผลการสำรวจสิงมีชวตของระบบนิเวศบนบก
                                  ่ ีิ
                                                        ผลการสำรวจ
      รายการทีสำรวจ
              ่
                                   ชือสิงมีชวต
                                    ่ ่ ีิ             จำนวน         ลักษณะและการกระจาย

 1. สิงมีชวตบนดิน
      ่ ีิ

 2. สิงมีชวตใต้ดน
      ่ ีิ ิ

 3. สิงมีชวตใต้ขอนไม้
      ่ ีิ

 4. สิงมีชวตบริเวณก้อนหิน
      ่ ีิ

 5. ความหนาแน่นของ
    สิงมีชวตบนบก
      ่ ีิ

หมายเหตุ : จำนวนสิงมีชวตถ้านับได้ให้ใส่จำนวนทีนบ ถ้านับไม่ได้ให้ใส่มาก ปานกลาง หรือน้อย
                  ่ ีิ                        ่ ั

        เมือนักเรียนสำรวจระบบนิเวศตามกิจกรรมที่ 21.1 เสร็จแล้ว ให้แต่ละกลุมร่วมกันสรุปผลทีได้จาก
           ่                                                                     ่           ่
การสำรวจ จากนันครูอาจเลือกสุมเฉพาะบางกลุม เช่น ระบบนิเวศบนบก 2 กลุม และระบบนิเวศในน้ำ
                  ้                ่             ่                                   ่
2 กลุม มาเขียนสรุปบนกระดาน โดยครูให้นกเรียนกลุมอืน ๆ ช่วยเพิมเติมข้อมูลทีบางกลุมอาจจะ
     ่                                             ั           ่ ่           ่         ่   ่
สำรวจไม่พบ แล้วให้นกเรียนบันทึกลงในแบบบันทึกข้อมูลใบกิจกรรม จากนันอภิปรายผลการสำรวจ
                        ั                                                          ้
โดยใช้คำถามท้ายกิจกรรม ซึงมีแนวคำตอบดังนี้
                            ่
             องค์ประกอบทางกายภาพของระบบนิเวศบนบก และระบบนิเวศในน้ำมีความเหมือน
             หรือแตกต่างกันอย่างไร
             องค์ ป ระกอบทางกายภาพของระบบนิ เ วศบนบก และระบบนิ เ วศในน้ ำ มี ค วาม
             แตกต่างกันดังนีคอ  ้ื
                    1. ความชืน ในแหล่งน้ำจะมีมากกว่าบนบก สิงมีชวตทีอาศัยบนบกประสบกับปัญหา
                              ้                                      ่ ีิ ่
             เรืองความชืนมาก
                ่         ้
                    2. อุณหภูมิ การเปลียนแปลงอุณหภูมบนบกเกิดขึนได้มากกว่าในน้ำ เพราะน้ำมี
                                          ่                     ิ        ้
             สมบัตทเ่ี ก็บความร้อนไว้ได้ดี จึงไม่ทำให้อณหภูมของน้ำเปลียนแปลงมาก
                    ิ                                      ุ       ิ       ่
                    3. แก๊สที่จำเป็นต่อสิ่งมีชีวิต บนบกมีแก๊สออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์
             มากกว่าแหล่งน้ำ เนืองจากแก๊สออกซิเจนทีละลายในน้ำยังมีความแปรผันกับอุณหภูมดวย
                                     ่                       ่                                 ิ้
             ถ้าหากในแหล่งน้ำมีอณหภูมสงปริมาณแก๊สออกซิเจนทีละลายในน้ำก็จะลดลง
                                       ุ    ิ ู                        ่
                    4. แร่ธาตุ บนบกในแต่ละพืนทีมแร่ธาตุชนิดต่าง ๆ ทีแตกต่างกันขึนอยูกบวัตถุ
                                                     ้ ่ ี                     ่         ้ ่ั
             ที่เป็นต้นกำเนิดดินบริเวณนั้น สำหรับในแหล่งน้ำแร่ธาตุที่ละลายในน้ำได้มาจาก

                                                                                               27
                                          ระบบนิเวศ                                         สสวท.
การย่อยสลายซากสิงมีชวต หรือได้จากการพัดพาตะกอนหรือการชะล้างพังทลายของดิน
                                                     ่ ีิ
        ลงสูแหล่งน้ำ หรือมีการปล่อยน้ำทิงจากอาคารบ้านเรือนทีมองค์ประกอบของฟอสเฟต
                    ่                                                        ้                  ่ ี
        ในผงซักฟอกลงในแหล่งน้ำ เป็นต้น ซึงมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช          ่
                      5. แสง บนบกจะได้รบปริมาณแสงมากกว่าในน้ำ และมีผลต่อพืชทำให้มชนิด
                                                                      ั                                               ี
        ของพื ช ที ่ ห ลากหลาย เช่ น ชนิ ด ของพื ช ที ่ ช อบแสงมาก ชอบแสงปานกลาง
        และชอบแสงรำไร
        องค์ประกอบทางชีวภาพของระบบนิเวศบนบก และระบบนิเวศในน้ำแบ่งออกได้เป็น
        กีประเภทอะไรบ้าง
          ่
        แบ่งได้ 3 ประเภท คือ
                      1. ผูผลิต หมายถึงสิงมีชวตทีสามารถสร้างอาหารได้เองโดยกระบวนการสังเคราะห์
                          ้                                       ่ ีิ ่
        ด้วยแสง ซึงส่วนมากจะเป็นพืชทีมคลอโรฟิลล์ หรือสิงมีชวตทีสามารถสร้างอาหารได้
                                  ่                                      ่ ี               ่ ีิ ่
        โดยการสังเคราะห์ทางเคมี (chemosynthesis) เช่น พืชบกทังชนิดทีเ่ ป็นไม้ยนต้น ไม้พม         ้         ื                ุ่
        ไม้ลมลุก หรือพืชน้ำจำพวกสาหร่ายและแพลงก์ตอนพืช เป็นต้น
                  ้
                      2. ผูบริโภค หมายถึงสิงมีชวตทีไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ส่วนมากคือสัตว์
                            ้                                       ่ ีิ ่
        ทีกนสิงมีชวตอืนเป็นอาหาร แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ
                ่ิ ่ ีิ ่
                                    สัตว์กนพืช (herbivore) เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย กระต่าย รวมทังสัตว์นำ
                                               ิ                                                                 ้               ้
                      จำพวกปลาบางชนิด เช่น ปลาตะเพียน ปลานิล ฯลฯ
                                    สัตว์กนสัตว์ (carnivore) เช่น เสือ สิงโต สุนขจิงจอก รวมทังสัตว์นำ
                                                 ิ                                                  ั ้        ้               ้
                      จำพวกกุง ปู ปลาบางชนิด ฯลฯ
                                     ้
                                    สัตว์ทกนทังพืชและสัตว์ (omnivore) เช่น คน ไก่ เป็ด ฯลฯ
                                                   ่ี ิ ้
                      3. ผูสลายสารอินทรีย์ หมายถึงสิงมีชวตขนาดเล็กทีสร้างอาหารเองไม่ได้ ได้รบ
                                ้                                                ่ ีิ         ่                           ั
        อาหารจากการปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยสลายซากสิงมีชวตต่าง ๆ แล้วดูดซึมเข้าสูรางกาย    ่ ีิ                       ่่
        เช่น แบคทีเรีย เห็ดรา
        จากการศึกษาสิงมีชวตในกิจกรรมที่ 21.1 นัน ผูผลิตได้แก่อะไรบ้าง ผูบริโภคทีพบสามารถ
                                       ่ ีิ                                         ้ ้                 ้    ่
        จำแนกออกเป็นกีประเภท อะไรบ้าง    ่
        สำหรับแนวการตอบข้อนี้ สิงมีชวตทีพบ นักเรียนอาจตอบแตกต่างกันได้ตามท้องถิน
                                                                     ่ ีิ ่                                             ่
        ของนักเรียน แต่มแนวทางการตอบดังนี้ ี
        ผูผลิตทีพบ ได้แก่
              ้         ่
                    ในแหล่งน้ำ : จอก แหน ผักตบชวา บัว กก สาหร่าย ฯลฯ
                    บนบก                     : ไม้ยนต้น เช่น จามจุรี หูกวาง มะม่วง มะพร้าว ฯลฯ
                                                           ื
                                                      ไม้พม เช่น เข็ม แก้ว ฯลฯ
                                                               ุ่
                                                      ไม้ลมลุก เช่น กล้วย ผักชนิดต่าง ๆ ทานตะวัน หญ้าชนิดต่าง ๆ ฯลฯ
                                                             ้
        ผูบริโภคทีพบ ได้แก่
            ้                 ่
                    ในแหล่งน้ำ : ผูบริโภคพืช เช่น แพลงก์ตอนสัตว์ ไส้เดือนน้ำ (polycheate) และ
                                                         ้
                                                      ตัวอ่อนแมลง เป็นต้น
                                                      ผูบริโภคสัตว์ เช่น ปู กุง ปลา ได้แก่ ปลาชะโด ปลาช่อน ปลาดุก ฯลฯ
                                                       ้                          ้
28
สสวท.                                               ระบบนิเวศ
บนบก       : ผูบริโภคพืช เช่น วัว ควาย ช้าง ม้า ฯลฯ
                                   ้
                               ผูบริโภคสัตว์ เช่น งู อึงอ่าง กบ แมลงปอ เหยียว ฯลฯ
                                 ้                     ่                   ่
             ผูสลายสารอินทรียในระบบนิเวศ ได้แก่ สิงมีชวตประเภทใดบ้าง
              ้              ์                       ่ ีิ
             ผูสลายสารอินทรีย์ ได้แก่ แบคทีเรีย เห็ดรา และจุลนทรียชนิดต่าง ๆ เป็นต้น
                ้                                             ิ    ์

        21.2.2 ระบบนิเวศแบบต่าง ๆ
            ระบบนิเวศในน้ำ
            ครูนำเข้าสูหวข้อนีโดยใช้คำถามนำในการอภิปราย เพือเชือมโยงกับกิจกรรมทีนกเรียนได้
                       ่ ั          ้                            ่ ่                     ่ ั
ทำมาแล้ว ดังนี้
            จากกิจกรรมที่นักเรียนได้ทำไปแล้วโดยการไปสำรวจระบบนิเวศแหล่งน้ำ นักเรียน
            บอกได้หรือไม่วา ระบบนิเวศแหล่งน้ำทีได้ไปสำรวจนันเป็นแหล่งน้ำจืดหรือน้ำเค็ม
                               ่                           ่      ้
            หรือครูอาจจะพานักเรียนไปศึกษาระบบนิเวศแหล่งน้ำในท้องถินของนักเรียนทีไม่ไกล
                                                                             ่                 ่
เกินไป และไม่เป็นอันตรายต่อนักเรียน เพือศึกษาตามสภาพจริง จากนันครูให้นกเรียนร่วมกันอภิปราย
                                               ่                      ้        ั
เกียวกับระบบนิเวศแหล่งน้ำ ซึงมี 3 ประเภทคือ แหล่งน้ำจืด แหล่งน้ำเค็ม และแหล่งน้ำกร่อย
   ่                                  ่
แล้วตอบคำถามใน หนังสือเรียนซึงมีแนวการตอบคำถามดังนี้
                                        ่
            ในแต่ละบริเวณของแหล่งน้ำจืดในภาพที่ 21-11 ข จะพบสิงมีชวตทีเ่ ป็นผูผลิตและผูบริโภค
                                                                        ่ ีิ       ้             ้
            ชนิดใดบ้าง
            จากแผนภาพตัดขวางแสดงบริเวณต่าง ๆ ของแหล่งน้ำนิง พบว่า   ่
            บริเวณชายฝัง จะพบสิงมีชวตทีเ่ ป็นผูผลิตได้แก่ หญ้า บัว กก ผักบุง ธูปฤาษี ผักแว่น
                           ่              ่ ีิ           ้                       ้
            ผูบริโภค ได้แก่ หอยขม หอยโข่ง แพลงก์ตอนสัตว์ หอยกาบ ไส้เดือนดิน เต่า งู กบ อึงอ่าง
              ้                                                                                    ่
            บริเวณผิวน้ำ ผูผลิต ได้แก่ ไข่นำ จอก แหน สาหร่าย แพลงก์ตอนพืช ผูบริโภค เช่น
                             ้                       ้                                 ้
            มวน แมงป่องน้ำ จิงโจ้นำ ลูกปลา ลูกกบ แพลงก์ตอนสัตว์
                                           ้
            บริเวณน้ำชันล่าง อาจไม่พบผูผลิตเลย เนืองจากปริมาณแสงส่องลงไปไม่ถง ไม่มกระบวน
                        ้                        ้           ่                       ึ       ี
            การสังเคราะห์ดวยแสงเกิดขึน ส่วนผูบริโภคทีพบ เช่น หอยโข่ง ปู ปลา เช่น ปลาไหล
                                 ้           ้         ้       ่
            ปลานิล ฯลฯ
            ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืดในท้องถินของนักเรียนเป็นระบบนิเวศแบบใด และมีความสำคัญ
                                                   ่
            ต่อชุมชนในท้องถินนันอย่างไร
                                   ่ ้
            แนวคำตอบในข้อนี้ตอบตามลักษณะของท้องถิ่นของนักเรียน เช่น เป็นระบบนิเวศ
            แหล่งน้ำนิ่งหรือแหล่งน้ำไหล และมีความสำคัญต่อชุมชนในแง่ของการใช้เป็นแหล่ง
            สำหรับการอุปโภคบริโภค ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม ใช้เพือผลิตกระแสไฟฟ้า ใช้ใน
                                                                          ่
            การชลประทาน ใช้ในการคมนาคม ใช้ในการประมงเป็นแหล่งอาหารของมนุษย์ และ
            เพือการพักผ่อนหย่อนใจ
                ่




                                                                                                  29
                                            ระบบนิเวศ                                          สสวท.
นักเรียนคิดว่ามีปจจัยใดบ้าง ทีสงผลต่อการดำรงชีวตของสิงมีชวตในระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด
                                      ั                       ่ ่                            ิ         ่ ีิ
        และส่งผลกระทบต่อคนทีใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศนันอย่างไร และมีวธการแก้ไขได้
                                                    ่                                                ้                ิี
        อย่างไร
        ปัจจัยทีมผลต่อการดำรงชีวตของสิงมีชวตในแหล่งน้ำจืด ได้แก่
                     ่ี                                 ิ           ่ ีิ
        1. ปริมาณแก๊สออกซิเจนทีละลายในน้ำ (DO) น้ำทีมคา DO สูงจะมีคณภาพดีกว่าน้ำทีมคา
                                                          ่                                      ่ี่              ุ            ่ี่
             DO ต่ำ น้ำทีอณหภูมิ 20 o C ความดันปกติมคา DO เท่ากับ 10 มิลลิกรัม/ลิตร
                                           ุ่                                                     ี่
             ถือว่าเป็นน้ำทีมคณภาพดี ถ้าค่า DO น้อยกว่า 4 มิลลิกรัม/ลิตร ถือว่าน้ำนันเน่าเสีย
                                          ่ ีุ                                                                              ้
             สัตว์นำและพืชน้ำไม่สามารถดำรงชีวตอยูได้
                        ้                                                         ิ ่
        2. ปริมาณแก๊สออกซิเจนทีจลนทรียใช้ยอยสลายสารอินทรียในน้ำ (BOD) น้ำทีมคา BOD
                                                            ุ่ิ              ์ ่                          ์                ่ี่
             สูง แสดงว่ามีปริมาณสารอินทรียมากกว่าน้ำทีมคา BOD ต่ำ องค์การอนามัยโลกกำหนด
                                                                           ์                ่ี่
             มาตรฐาน แหล่งน้ำธรรมชาติทมคณภาพดีควรมีคา BOD ไม่เกิน 4 มิลลิกรัม/ลิตร
                                                                       ่ี ี ุ                     ่
        3. ความเป็นกรด-เบสพบว่า โดยปกติแหล่งน้ำจืดควรมีค่า pH ประมาณ 5.0-9.0
             ถ้าน้อยหรือมากกว่านีสงมีชวตในน้ำจะได้รบอันตราย
                                                   ้ ่ิ ี ิ                               ั
        4. อุณหภูมิ ในแหล่งน้ำจืดควรมีอณหภูมประมาณ 20-35 o C ถ้าต่ำกว่าหรือสูงกว่านี้
                                                                              ุ     ิ
             สิงมีชวตในน้ำจะได้รบอันตราย
                  ่ ีิ                           ั
        5. สิงปนเปือนทางเคมี เช่น กรด เบส เกลือ ยาฆ่าแมลง ผงซักฟอก โลหะหนัก
              ่                 ้
             คราบน้ำมัน ฯลฯ
        6. สิงปนเปือนทางชีววิทยา เช่น แบคทีเรีย ไวรัส เชือโรคต่าง ๆ และพวกไดโนแฟลเจลเลต
                ่             ้                                                                ้
        7. สิงปนเปือนทางกายภาพ เช่น สี กลิน สารแขวนลอย กรวด ทราย
                   ่              ้                                             ่
        8. สีและกลิน มีสคล้ำ มีกลินเหม็นทีเ่ กิดจากแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์
                                    ่ ี                     ่
        9. การเพิมจำนวนอย่างรวดเร็วของสาหร่าย (algae bloom) และพืชน้ำ
                          ่
        ก่อให้เกิดผลกระทบคือ
        1. ทำให้ชนิดและปริมาณสัตว์นำต่าง ๆ ลดจำนวนลง เนืองจากสัตว์นำบางชนิดก็เป็น
                                                                     ้                                      ่       ้
             อาหารสำหรับมนุษย์
        2. เกิดโรคระบาดหลายชนิด เช่น อหิวาต์ ไข้ไทฟอยด์ บิด ซึงเชือโรคเหล่านีจะปนเปือน                        ่ ้        ้     ้
             ในแหล่งน้ำ เมือมนุษย์บริโภคเข้าไปก็อาจทำให้เกิดโรคได้
                                           ่
        3. ขาดแคลนน้ำสำหรับการอุปโภคและบริโภค
        4. ทำให้การคมนาคมทางน้ำไม่สะดวก เนืองจากมีกลินเหม็น หรือมีขยะในแหล่งน้ำ         ่               ่
             กีดขวางการสัญจรทางน้ำ ตลอดจนการตืนเขินของแหล่งน้ำด้วย                    ้
        5. ผลเสียต่อทัศนาการ
        การแก้ไข
        1. กำหนดมาตรฐานน้ำทิง                         ้
        2. จัดให้มระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน
                            ี
        3. มีการประชาสัมพันธ์และรณรงค์ในการดูแลรักษาระบบนิเวศแหล่งน้ำ
        4. ลดการใช้สารเคมีและสารพิษทางการเกษตร
        5. ส่งเสริมให้มการใช้นำหมุนเวียนี      ้
                                                                  ฯลฯ
30
สสวท.                                               ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศแหล่งน้ำกร่อย
        ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงความสำคัญของระบบนิเวศน้ำกร่อย โดยใช้แนวคำถาม
ในหนังสือเรียน ซึงมีแนวการตอบคำถามดังนี้
                       ่
             เพราะเหตุใดในระบบนิเวศแหล่งน้ำกร่อย จึงมีความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารสูง และมี
             สิงมีชวตหลากหลายชนิด
                ่ ีิ
             แหล่งน้ำกร่อยเป็นบริเวณรอยต่อระหว่างทะเลและแม่น้ำ และมีความอุดมสมบูรณ์
             ของธาตุอาหารสูง เนืองจากแม่นำพัดพาเอาธาตุเหล็ก ซิลกา ฟอสเฟต และสารอินทรีย์
                                          ่             ้                    ิ
             มายังปากแม่นำ และบริเวณทะเลจะมีกระแสคลืนทีรนแรงและมีอทธิพลของกระแสน้ำขึน
                                    ้                              ่ ุ่             ิ                    ้
             และลงเข้ามาเกียวข้อง เมือน้ำทัง 2 บริเวณมาบรรจบกันทำให้เกิดการพัดพาของธาตุอาหาร
                                       ่        ่ ้
             ขึ้นมาสู่บริเวณผิวน้ำ และหมุนเวียนตลอดเวลา จึงทำให้พืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้ำ
             สามารถนำธาตุอาหารนีไปใช้เพือการเจริญเติบโตได้
                                            ้        ่
        ระบบนิเวศแหล่งน้ำเค็ม
        ครูให้นกเรียนร่วมกันอภิปรายแผนภาพในหนังสือเรียนภาพที่ 21-14 โดยใช้แนวคำถามใน
                   ั
หนังสือเรียน ซึงมีแนวการตอบคำถามดังนี้
                 ่
             จากภาพที่ 21-14 ปัจจัยใดบ้างทีมผลต่อการกระจายของสิงมีชวตในระบบนิเวศแหล่งน้ำเค็ม
                                                     ่ี                   ่ ีิ
             1. แสง แสงทีสองลงไปในทะเลจะถูกดูดซับ และสะท้อนออกมาต่างกัน และเป็นสาเหตุ
                                      ่ ่
                     ให้สของน้ำทะเลต่างกันด้วย ความสำคัญของแสงต่อสิงมีชวตในทะเลคือให้พลังงาน
                            ี                                                  ่ ีิ
                     แก่ผผลิตในทะเล เพือใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสง ซึงพบว่าเขตทีมแสงส่อง
                         ู้                   ่                            ้           ่        ่ ี
                     ถึงจะมีสงมีชวตแพร่กระจาย อยูคอนข้างมาก เนืองจากมีอาหารอุดมสมบูรณ์
                                ่ิ ี ิ                    ่่         ่
             2. การขึนลงของกระแสน้ำ ในบริเวณชายฝังช่วงน้ำลง สัตว์นำทีอาศัยอยูในบริเวณนี้
                              ้                                  ่                    ้ ่     ่
                     ต้องมีการปรับตัวให้สามารถทนอยู่ได้ในสภาวะที่ขาดน้ำ และเมื่อน้ำลงมักจะพบ
                     สัตว์น้ำบริเวณชายหาดเป็นจำนวนมาก รวมทั้งนกทะเลและนกชายฝั่งจำนวนมาก
                     มาหากินในช่วงน้ำลงด้วย
             ระบบนิเวศแหล่งน้ำเค็มมีความสำคัญต่อมนุษย์อย่างไร
             ระบบนิเวศแหล่งน้ำเค็ม เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอันมีค่าทางเศรษฐกิจของโลก
             เป็นแหล่งอาหารของมนุษย์ เป็นแหล่งพลังงาน เป็นแหล่งท่องเทียวทางธรรมชาติทสำคัญ
                                                                                  ่                 ่ี
             เป็นเส้นทางคมนาคมและขนส่งสินค้าทีสำคัญติดต่อระหว่างประเทศต่าง ๆ ในโลก เป็นต้น
                                                             ่
             จากภาพที่ 21-15 ผลผลิตประมงในรอบ 10 ปี (พ.ศ. 2535-2544) มีแนวโน้มเป็นอย่างไร
             เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนัน           ้
             จากกราฟแสดงปริมาณผลผลิตประมง ปี พ.ศ. 2535-2544 พบว่าสัตว์นำเค็มและสัตว์นำจืด ้            ้
             จากธรรมชาติมีแนวโน้มที่จะลดลง เนื่องจากแหล่งน้ำเค็มและแหล่งน้ำจืดในปัจจุบัน
             มีแนวโน้มทีจะมีมลพิษมากขึน สัตว์นำถูกมนุษย์จบไปเป็นอาหารมากขึน นอกจากนี้
                                  ่                ้           ้        ั                   ้
             การจับสัตว์น้ำในฤดูวางไข่ก็มีผลทำให้สัตว์น้ำลดลงด้วย และพบว่าการเพาะเลี้ยง
             สัตว์ชายฝั่งและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณอาหาร
             ไม่เพียงพอต่อการบริโภคของมนุษย์


                                                                                                       31
                                              ระบบนิเวศ                                             สสวท.
เพราะเหตุใดสัตว์นำทีจบจากธรรมชาติในแหล่งน้ำเค็มกับทีจบจากน้ำจืดจึงแตกต่างกัน
                                 ้ ่ั                                         ่ั
        ปริมาณสัตว์นำทีจบจากธรรมชาติในแหล่งน้ำเค็มจะจับได้มากกว่าแหล่งน้ำจืด เนืองจาก
                        ้ ่ั                                                                       ่
        1. แหล่งน้ำเค็มมีพนทีมากกว่าแหล่งน้ำจืด เพราะพืนที่ 3 ใน 4 ส่วนของโลกเป็นทะเล
                               ้ื ่                               ้
            และมหาสมุทร
        2. แหล่งน้ำเค็ม เช่น บริเวณทะเลมีกระแสน้ำขึนและน้ำลง ตลอดจนมีคลืนแรงจึงสามารถ
                                                            ้                            ่
            พัดพาเอาแร่ธาตุและธาตุอาหารกลับขึ้นมาสู่ผิวน้ำได้ตลอดเวลา พืชน้ำก็สามารถ
            สังเคราะห์ดวยแสงได้มาก สัตว์ทบริโภคพืชก็มากตามด้วย
                         ้                      ่ี
        3. มนุษย์ใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำจืดในชีวตประจำวันค่อนข้างมากกว่า เช่น ใช้ในการ
                                                          ิ
            บริโภคและอุปโภค ดังนั้นแหล่งน้ำจืดจึงมีโอกาสปนเปื้อนสารมลพิษได้มากกว่า
            นอกจากนีลกษณะพฤติกรรมของมนุษย์ในการทิงสิงของสกปรกต่าง ๆ ลงในแหล่งน้ำ
                        ้ั                                          ้ ่
            โดยเฉพาะแม่นำลำคลองก็ทำให้นำเกิดการเน่าเสียได้งาย
                             ้                       ้                  ่
                                                       ฯลฯ
        จากภาพที่ 21-17 สิงมีชวตทีอาศัยอยูบริเวณหาดทรายมีการปรับตัวเพือการอยูรอดอย่างไร
                                  ่ ีิ ่           ่                                   ่     ่
        สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บริเวณหาดทรายมีการปรับตัวดังนี้ มีผิวเรียบ ลำตัวแบน เพื่อ
        สะดวกในการแทรกตัวลงไปในทราย เช่น หอยเสียบ หอยทับทิม เหรียญทะเลหรือ
        อีแปะทะเล (sand dollar) บางชนิดลดขนาดของร่างกายเพื่อลดความเสียดทาน ที่ถูก
        คลื่นซัดเป็นประจำ เช่น จั๊กจั่นทะเล ปูลมจะมีเหงือกใหญ่อยู่ในกระดองที่ช่วย
        กักเก็บน้ำให้เหงือกชุมชืนอยูเ่ สมอ นอกจากนีปลมยังเคลือนทีได้รวดเร็วเพือหลบหลีก
                                     ่ ้                      ้ ู              ่ ่             ่
        ศัตรู บางชนิดสร้างปลอกหุมลำตัว เช่น หนอนหลอด ไส้เดือนทะเล
                                           ้
        สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บริเวณหาดหินสามารถทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ และ
        ความชืนโดยการปรับตัวอย่างไร
                ้
        สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บริเวณหาดหินมีการปรับตัวดังนี้คือ มีสารพวกคิวทินเคลือบช่วย
        รักษาความชื้นและป้องกันการระเหยของน้ำ และบางชนิดมีการปรับตัวเพื่อเก็บน้ำ
        ไว้ภายในร่างกาย เมือน้ำลง เช่น พวกทีเ่ คลือนทีได้จะไปหลบในซอกหิน เช่น ปู ปลิงทะเล
                                   ่                     ่ ่
        ส่วนพวกที่เคลื่อนที่ไม่ได้จะมีเปลือกหุ้มสามารถเก็บน้ำไว้ภายใน เช่น เพรียงหิน
        หอยนางรม
        สาเหตุทปะการังถูกทำลายโดยการกระทำของมนุษย์ได้แก่อะไรบ้าง
                  ่ี
        สาเหตุทปะการังถูกทำลายโดยการกระทำของมนุษย์ เช่น
                     ่ี
        1. การทำให้ทะเลเกิดมลพิษ โดยการทิงขยะมูลฝอย ปล่อยน้ำเสีย ลงสูทะเล หรือการ
                                                       ้                                   ่
            ใช้พาหนะสัญจรในทะเลทีมการรัวไหลของน้ำมันลงสูทะเล ซึงเป็นการปิดกันออกซิเจน
                                             ่ี ่                         ่      ่               ้
            จากอากาศทีละลายลงในน้ำ ทำให้ปะการังไม่สามารถดำรงชีวตอยูได้
                           ่                                                         ิ ่
        2. การทำการประมงไม่ถกวิธี เช่น การใช้ระเบิดในการจับปลา หรือการใช้อวนลาก
                                         ู
            ทำให้เกิดการทำลายปะการังเป็นบริเวณกว้าง
        3. การทำเหมืองแร่ใกล้ชายทะเล ทำให้เกิดตะกอนดินพัดพาลงสูทะเลทับถมแนวปะการัง ่
        4. การเก็บปะการังมาขายเป็นสินค้า หรือนำมาทำเป็นเครืองประดับต่าง ๆ   ่
        5. การทอดสมอเรือในทะเล ทำให้แนวปะการังแตกหัก พังทลาย
32
สสวท.                                    ระบบนิเวศ
6. การดำน้ำชมปะการัง โดยขาดความรู้ หยิบจับเด็ด หรือหัก หรือเหยียบย่ำลงบนแนวปะการัง
                                               ฯลฯ
        นอกจากนีครูอาจให้ความรูแก่นกเรียนเพิมเติมเกียวกับปะการัง ดังนี้
                     ้                   ้ ั           ่   ่
        ตัวปะการังมีลักษณะคล้ายดอกไม้ทะเลหรือซีแอนีโมนีดอกเล็ก ๆ ปะการังแต่ละตัวสร้าง
โครงร่างหินปูน มาห่อหุมร่างกาย เมือตัวเก่าตายไปตัวใหม่กสร้างขึนอีกบนซากของตัวเดิม แนวปะการังจึง
                             ้         ่                     ็ ้
ขยายขนาดขึ้นเรื่อย ๆ ปะการังสืบพันธุ์โดยการแตกหน่อจากตัวเดิม หน่อเติบโตขึ้นเป็นปะการัง
ตัวใหม่ และสร้างโครงร่างขึนมาห่อหุมร่างกาย ปะการังต่างสปีชสกนมีโครงร่างหินปูนต่างกัน ทำให้
                                 ้         ้                     ี ์ั
แต่ละสปีชีส์มีรูปร่างเฉพาะแตกต่างกันออกไป นอกจากนี้ปะการังยังมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
มีการสร้างตัวอ่อนเรียกว่า พลานูลา (planula)
        ระบบนิเวศบนบก
        ระบบนิเวศป่าไม้
        ในการสอนเรื่องระบบนิเวศป่าไม้ ครูอาจฉายวิดิทัศน์ เรื่องระบบนิเวศป่าประเภทต่าง ๆ
ซึงจัดทำโดย สสวท. ได้แก่ ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบเขา ป่าชายเลน ป่าพรุ เป็นต้น ให้นกเรียนดู
  ่                                                                                        ั
หรือครูอาจนำภาพป่าไม้ประเภทต่าง ๆ มาให้นกเรียนดู แล้วครูนำเข้าสูการอภิปรายเรืองระบบนิเวศป่าไม้
                                                   ั                  ่        ่
จากนันครูใช้แนวคำถามในหนังสือเรียน ซึงแนวในการตอบคำถามมีดงนี้
      ้                                      ่                          ั
        จากวิดีทัศน์ป่าไม้ที่นักเรียนได้ดูไปแล้วนี้ ให้นักเรียนบอกลักษณะเด่นของป่าประเภทนี้
        ในด้านขององค์ประกอบทางกายภาพและชีวภาพ
             ป่าพรุ : ลักษณะเด่นของป่าประเภทนี้ ได้แก่ เป็นป่าทีเ่ กิดขึนในบริเวณทีมนำท่วมขัง
                                                                          ้          ่ ี ้
             และเกิดการทับถมของซากอินทรีย์โดยเฉพาะใบไม้ ทำให้ดินและน้ำมีสภาพเป็นกรด
             มีสนำตาลอ่อน
                 ี ้
                            องค์ประกอบทางกายภาพ มีอุณหภูมิค่อนข้างสูง เนื่องจากมีการย่อยสลาย
             ของจุลนทรียในน้ำอยูตลอดเวลา
                       ิ       ์     ่
                            องค์ประกอบทางชีวภาพ พืชทีพบในป่าพรุมทงไม้ยนต้นขนาดใหญ่และขนาดเล็ก
                                                         ่        ี ้ั ื
             และพวกไม้ ห นามทั ้ ง หลาย เช่ น หมากแดง หลุ ม พี หวาย สั ต ว์ ท ี ่ พ บส่ ว นใหญ่
             ได้แก่สตว์เลือยคลาน และสัตว์เลียงลูกด้วยน้ำนมขนาดเล็ก เป็นต้น
                         ั ้                     ้
             ป่าชายเลน : ลักษณะเด่นของป่าประเภทนี้คือ เป็นป่าที่ขึ้นอยู่ตามปากแม่น้ำ ปากอ่าว
             เป็นแหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์นำ        ้
                            องค์ประกอบทางกายภาพ ดินเป็นดินเลน น้ำเป็นน้ำกร่อย และมีความแปรผัน
             ของค่าความเค็มตามกระแสน้ำขึนและลง ้
                            องค์ประกอบทางชีวภาพ พบสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด พืชที่พบ เช่น พวก
             โกงกาง แสม ลำพู ตะบูน เป็นต้น และสัตว์ที่พบได้แก่สัตว์น้ำที่มีค่าทางเศรษฐกิจ
             จำพวกกุง หอย ปู ปลา ฯลฯ เป็นต้น
                          ้




                                                                                             33
                                         ระบบนิเวศ                                        สสวท.
คำถามในหนังสือเรียน และแนวการตอบคำถามมีดงนี้ั
           ในท้องถินทีนกเรียนอาศัยอยูมปาไม้ประเภทใดบ้าง และยังคงความอุดมสมบูรณ์อยูหรือไม่
                    ่ ่ ั             ่ี ่                                         ่
           อย่างไร
           แนวในการตอบคำถามข้อนี้แล้วแต่ท้องถิ่นที่นักเรียนอาศัยอยู่ ครูควรให้นักเรียน
           แต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกัน ให้ตัวแทนนักเรียนนำเสนอผลการอภิปรายหน้าชั้นเรียน
           และเปิดโอกาสให้นกเรียนทังห้องเรียนร่วมกันอภิปราย เพือนำไปสูการสรุปข้อมูลทังหมด
                              ั       ้                        ่       ่             ้
           อีกครั้งหนึ่ง ครูอาจแนะนำให้ไปสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเรื่องของระบบนิเวศป่าไม้จาก
           ห้องสมุด วีดทศน์ เวบไซต์ตาง ๆ เป็นต้น
                        ิ ั         ่

กิจกรรมเสนอแนะ ศึกษาความหลากหลายของระบบนิเวศในท้องถิน         ่
จุดประสงค์ของกิจกรรม เพือให้นกเรียนสามารถ
                         ่     ั
         1. สำรวจและบันทึกข้อมูลเกียวกับปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพในระบบนิเวศบนบก และในน้ำ
                                  ่
         2. อธิบายความสัมพันธ์ของสิงมีชวตกับสภาพแวดล้อมในระบบนิเวศ
                                    ่ ีิ

           ในกิจกรรมนีครูอาจจัดกิจกรรมในลักษณะของการทัศนศึกษา ค่ายวิทยาศาสตร์ การท่องเทียว
                      ้                                                                 ่
เชิงนิเวศ โดยเลือกสถานทีในบริเวณท้องถินและไม่ไกลมากนัก และค่อนข้างปลอดภัยตามความเหมาะสม
                        ่             ่
และความพร้อมของโรงเรียน โดยกิจกรรมนี้อาจดำเนินการควบคู่ไปกับการทำกิจกรรมที่ 21.1
เรืองสำรวจระบบนิเวศในท้องถินก็ได้
   ่                         ่


21.3 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
จุดประสงค์การเรียนรู้ เพือให้นกเรียนสามารถ
                         ่    ั
       1. อธิบายปัจจัยทางกายภาพต่าง ๆ ทีมอทธิพลต่อชนิด ปริมาณ การกระจาย และพฤติกรรม
                                          ่ ีิ
          ของสิงมีชวต พร้อมทังยกตัวอย่างได้
                ่ ีิ            ้
       2. สรุปได้วาปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางชีวภาพในระบบนิเวศมีความสัมพันธ์กน
                  ่                                                               ั
       3. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของสิงมีชวตทีอาศัยอยูรวมกันแบบต่างๆ ได้
                                                          ่ ีิ ่         ่่
       4. สรุปรูปแบบความสัมพันธ์ของสิงมีชวตและใช้สญลักษณ์ได้ถกต้อง
                                        ่ ีิ         ั          ู

แนวการจัดการเรียนรู้
        ครูอาจใช้คำถามนำในหนังสือเรียนนำเข้าสูบทเรียน
                                                 ่
            สิ่งมีชีวิตที่อาศัยในไบโอมต่าง ๆ มีรูปร่างลักษณะและการดำรงชีวิตแตกต่างกัน อะไร
        เป็นสาเหตุ ให้เป็นเช่นนัน้
            แนวคำตอบเพือนำเข้าสูประเด็นการอภิปรายคือในไบโอมต่าง ๆ ลักษณะทางภูมประเทศ
                            ่       ่                                                ิ
จะเป็นตัวกำหนดลักษณะของปัจจัยทางกายภาพ และปัจจัยทางชีวภาพของระบบนิเวศในไบโอมนัน            ้
จากนั้นครูอาจทบทวนข้อมูลที่ได้จากการทำกิจกรรมที่ 21-1 ซึ่งชี้ให้เห็นว่าปัจจัยทางกายภาพ
มีความสัมพันธ์ต่อสิ่งมีชีวิตในระบบบนิเวศ ให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ว่าอุณหภูมิ แสง ความชื้น

34
สสวท.                                   ระบบนิเวศ
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem
Chapter21 ecosystem

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีJanejira Meezong
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมTangkwa Pawarisa
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5supphawan
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน lukhamhan school
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาSuriyawaranya Asatthasonthi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfToponeKsh
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfNoeyWipa
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาNadeeya Benlateh
 

La actualidad más candente (20)

1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดการในบ้าน
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
 

Chapter21 ecosystem

  • 1. บทที่ 21 ระบบนิเวศ เนือหาและเวลาทีใช้สอน ้ ่ 21.1 ไบโอม 2 ชัวโมง ่ 21.2 ความหลากหลายของระบบนิเวศ 21.2.1 การศึกษาระบบนิเวศ 4 ชัวโมง ่ 21.2.2 ระบบนิเวศแบบต่าง ๆ 2 ชัวโมง ่ 21.3 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ 21.3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างสิงมีชวตกับปัจจัยทางกายภาพ ่ ีิ 2 ชัวโมง ่ 21.3.2 ความสัมพันธ์ระหว่างสิงมีชวตกับปัจจัยทางชีวภาพ ่ ีิ 2 ชัวโมง ่ 21.4 การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ 21.4.1 การถ่ายทอดพลังงานในสิงมีชวต ่ ีิ 2 ชัวโมง ่ 21.4.2 วัฏจักรสารในระบบนิเวศ 2 ชัวโมง่ 21.5 การเปลียนแปลงแทนทีของระบบนิเวศ ่ ่ 4 ชัวโมง ่ รวม 20 ชัวโมง ่ จุดประสงค์การเรียนรู้ เพือให้นกเรียนสามารถ ่ ั 1. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปความหมายและประเภทของระบบนิเวศ 2. สำรวจและวิเคราะห์ขอมูลเกียวกับระบบนิเวศในท้องถิน ้ ่ ่ 3. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิงมีชวตกับปัจจัยทางกายภาพ ่ ีิ และทางชีวภาพ 4. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปความสำคัญของการถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียน สาร และการเปลียนแปลงแทนทีในระบบนิเวศ ่ ่ สาระสำคัญ ในโลกของสิ่งมีชีวิตมีความหลากหลายของระบบนิเวศที่กระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ระบบนิเวศทีมองค์ประกอบของปัจจัยทางกายภาพ และปัจจัยทางชีวภาพทีคล้ายคลึงกันก็จะกระจาย ่ ี ่ อยูในเขตภูมศาสตร์เดียวกัน นอกจากนีในระบบนิเวศแต่ละแห่งก็มความสัมพันธ์เกิดขึนภายในระบบ ่ ิ ้ ี ้ ความสัมพันธ์นนอาจเกิดระหว่าง สิงมีชวตกับสิงมีชวต หรืออาจเกิดระหว่างสิงมีชวตกับสิงไม่มชวตก็ได้ ้ั ่ ีิ ่ ีิ ่ ีิ ่ ีีิ ระบบนิเวศจะมีความสมดุลได้ก็ต่อเมื่อมีองค์ประกอบทางกายภาพและชีวภาพที่ได้สัดส่วน อย่างสมดุล และในระบบนิเวศนันต้องมีการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารเกิดขึนในระบบด้วย ้ ้ เมือระบบนิเวศเสียสมดุลก็อาจมีผลกระทบเกิดขึนในระบบ ถ้าหากผลกระทบนันไม่รนแรงมากนัก ่ ้ ้ ุ ระบบนิเวศก็สามารถกลับคืนสูสมดุลใหม่ได้ แต่ถาผลกระทบเกิดขึนจนส่งผลทำให้เกิดการเปลียนแปลง ่ ้ ้ ่ ในระบบทั้งทางกายภาพ และทางชีวภาพก็อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิตใน ระบบนิเวศได้ในทีสด ่ ุ 20 สสวท. ระบบนิเวศ
  • 2. ผังมโนทัศน์ บทที่ 21 ระบบนิเวศ โลกของสิงมีชวต ่ ีิ เป็นทีรวมของ ่ ประกอบเป็น ระบบนิเวศ ไบโอม ประกอบด้วย ยังมี ต้องมี ความสัมพันธ์ การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร ระบบนิเวศบนบก ระบบนิเวศในน้ำ ระบบนิเวศ ในระบบนิเวศ ในสิงมีชวต ่ ีิ ในระบบนิเวศ แบ่งเป็น เกิดขึนระหว่าง ้ ระบบนิเวศ ระบบนิเวศ ก่อให้เกิด สิงมีชวตกับ ่ ีิ แหล่งน้ำจืด แหล่งน้ำเค็ม สิงมีชวต ่ ีิ สมดุลของระบบนิเวศ มาบรรจบกันก่อให้เกิด และ ถูกทำลาย ก่อให้เกิด ระบบนิเวศ สิงมีชวตกับ ่ ีิ แหล่งน้ำกร่อย ผลกระทบต่อ การเปลียนแปลงแทนที่ ่ สิงไม่มชวต ่ ีีิ ระบบนิเวศ ในระบบนิเวศ 21 สสวท.
  • 3. 21.1 ไบโอม จุดประสงค์การเรียนรู้ เพือให้นกเรียนสามารถ ่ ั 1. อธิบายปัจจัยทางกายภาพทีเ่ ป็นตัวกำหนดชนิดของไบโอม 2. เปรียบเทียบและอธิบายลักษณะของไบโอมชนิดต่าง ๆ 3. เปรียบเทียบสภาพทางกายภาพ และสิงมีชวตในไบโอมชนิดต่าง ๆ ่ ีิ แนวการจัดการเรียนรู้ ครูนำเข้าสูบทเรียนโดยการนำภาพแผนทีโลก ลูกโลกจำลอง หรือภาพทีแสดงเอกลักษณ์ของ ่ ่ ่ เขตภูมศาสตร์แต่ละแห่งในโลก อาทิเช่น ภาพทะเลทราย ภาพเขตขัวโลกเหนือ ภาพแนวปะการัง ิ ้ เป็นต้น หรือภาพที่ 21-1 ก และ ข ในหนังสือเรียน มาแสดงให้นกเรียนดู และให้นกเรียนร่วมกัน ั ั อภิปรายโดยครูใช้คำถามนำในการอภิปราย ดังนี้ ภาพทีนกเรียนเห็น อยูในเขตภูมศาสตร์ใดของโลก พบได้ทใดบ้าง มีลกษณะใด ทีบงบอก ่ ั ่ ิ ่ี ั ่ ่ เอกลักษณ์เฉพาะของเขตภูมศาสตร์นน ิ ้ั จากนันให้นกเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกียวกับไบโอมว่า มีทงไบโอมบนบกและไบโอม ้ ั ่ ้ั ในน้ำ และให้นกเรียนอภิปรายเปรียบเทียบสภาพทางกายภาพและชีวภาพของไบโอมชนิดต่าง ๆ แล้วตอบ ั คำถามในหนังสือเรียน ซึงมีแนวคำตอบดังนี้ ่ พืชเด่นทีพบในไบโอมบนบกแต่ละชนิดได้แก่อะไรบ้าง ่ ชนิดของไบโอม พืชเด่นทีพบ ่ ป่าดิบชืน ้ ไม้เถาจำพวกหวาย เฟิน กล้วยไม้ ฯลฯ ป่าผลัดใบเขตอบอุน ยูคาลิปตัส เมเปิล โอ๊ค ฯลฯ ่ ป่าสน ไม้ยนต้นจำพวกสน เช่น สนสองใบ สนสามใบ สพรูซ ื ไพน์ เฟอ เฮมลอค เป็นต้น นอกจากนียงมีพชล้มลุก จำพวก ้ั ื บลูเบอรี ด้วย ทุงหญ้าเขตอบอุน พืชจำพวกไม้ลมลุกพวก ทานตะวัน หรือพืชทีมลำต้น ่ ่ ้ ่ี อ่อน เช่น ไอริช หรือพวกดอกไม้ปาจำพวก รานันคูลส ่ ั รวมทังพืชจำพวกหญ้า เป็นต้น ้ สะวันนา หญ้าต่าง ๆ ทะเลทราย กระบองเพชร อินทผาลัม ทุนดรา ไม้ลมลุกจำพวกไม้ดอก หญ้าต่าง ๆ แห้วทรงกระเทียม ้ รวมทังพืชชันต่ำพวกมอสและไลเคน ้ ้ 22 สสวท. ระบบนิเวศ
  • 4. ถ้าพิจารณาจากลักษณะของไบโอมบนบกทีได้กล่าวมาแล้ว ประเทศไทยพบไบโอมบนบก ่ ชนิดใดบ้างและอยูในภาคใดของประเทศ ่ ชนิดของไบโอมบนบก อยูในภาค ่ ในประเทศไทย ป่าดิบชืน ้ พบในภาคตะวันออกเฉพาะทีจงหวัดตราดและจันทบุรเี ท่านัน ่ั ้ และภาคใต้ตงแต่คอคอดกระ จังหวัดระนองจนสุดชายแดน ้ั ไทย-มาเลเซีย ป่าดิบเขา พบในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ระดับ ความสูงเฉลียเกิน 1,200 เมตร ่ ป่าดิบแล้ง พบกระจายตังแต่ตอนบนของเทือกเขาถนนธงชัยจากจังหวัด ้ ชุมพรขึ้นไปจนกระทั่งถึงภาคเหนือ รวมทั้งบางส่วนของ เทือกเขาตะนาวศรี ส่วนทางตะวันออกพบปกคลุมตามแนว เทือกเขาดงพญาเย็น เทือกเขาบรรทัดต่อไปจนถึงจังหวัดระยอง ป่าสน พบในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทุงหญ้า ่ พบทุกภาค ไบโอมแหล่งน้ำจืดและไบโอมแหล่งน้ำเค็มแตกต่างกันอย่างไร ไบโอมแหล่งน้ำจืดและแหล่งน้ำเค็มแตกต่างกันทีคาความเค็ม โดยไบโอมแหล่งน้ำจืดมี ่่ ค่าความเค็มน้อยกว่า 0.01 ppt ส่วนไบโอมแหล่งน้ำเค็มมีคาความเค็มมากกว่า 0.34 ppt ่ นอกจากนีไบโอมแหล่งน้ำเค็มจะมีกระแสน้ำขึนและกระแสน้ำลงเป็นตัวแปรทีสำคัญ ้ ้ ่ 21.2 ความหลากหลายของระบบนิเวศ จุดประสงค์การเรียนรู้ เพือให้นกเรียนสามารถ ่ ั 1. สำรวจ ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ขอมูลและสรุปเกียวกับระบบนิเวศในท้องถิน ้ ่ ่ 2. อธิบายความหมายและประเภทของระบบนิเวศ แนวการจัดการเรียนรู้ การนำเข้าสูบทเรียนในหัวข้อนีครูอาจทำได้ดงนี้ ่ ้ ั 1. ทบทวนความรูเ้ รืองไบโอมโดยนำรูปภาพสถานทีตาง ๆ เช่น ป่าไม้ บึงบอระเพ็ด ทะเลน้อย ่ ่่ ป่าชายเลน ทะเลทราย ฯลฯ มาให้นกเรียนแต่ละกลุมได้ศกษา ต่อจากนันครูตงคำถามเพือให้นกเรียน ั ่ ึ ้ ้ั ่ ั ร่วมกันอภิปราย ดังนี้ รูปภาพที่นักเรียนได้ศึกษานั้นจัดอยู่ในไบโอมประเภทใด มีองค์ประกอบทางกายภาพ และชีวภาพอะไรบ้าง 2. ครูฉายวีดทศน์เรืองระบบนิเวศ ให้นกเรียนดูและร่วมกันอภิปรายถึงสิงทีได้ดวาในแต่ละสถานที่ ิ ั ่ ั ่ ่ ู่ นันมีองค์ประกอบทางกายภาพและชีวภาพอะไรบ้างและจัดอยูในไบโอมประเภทใด ้ ่ 23 ระบบนิเวศ สสวท.
  • 5. 3. ให้นกเรียนร่วมกันวิเคราะห์ระบบนิเวศในท้องถินของนักเรียน โดยครูตงคำถามนำเพือไปสู่ ั ่ ้ั ่ ประเด็นอภิปรายว่า ในท้องถินของนักเรียนมีสถานทีทางธรรมชาติประเภทใดบ้าง และจัดเป็นไบโอม ่ ่ ชนิดใด ก่อนที่ครูจะนำเข้าสู่เรื่องการศึกษาระบบนิเวศ ครูควรเชื่อมโยงเนื้อหาระหว่างไบโอมกับ ระบบนิเวศก่อน โดยระบบนิเวศนันจัดเป็นระบบหนึง ๆ ทีอยูในไบโอมซึงมีทงระบบนิเวศบนบกและ ้ ่ ่ ่ ่ ้ั ระบบนิเวศในน้ำ ระบบนิเวศประกอบด้วยองค์ประกอบทางกายภาพและชีวภาพ และมีความสัมพันธ์ ระหว่างสิงมีชวตกับสิงแวดล้อมในระบบนัน ๆ ด้วย จากนันให้นกเรียนตอบคำถามในหนังสือเรียน ่ ีิ ่ ้ ้ ั แนวในการตอบคำถามมีดงนี้ ั การถ่ายทอดพลังงานในสิ่งมีชีวิต และการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศก่อให้เกิด สภาวะสมดุลทางธรรมชาติได้อย่างไร การถ่ายทอดพลังงานในสิ่งมีชีวิตเป็นการถ่ายทอดพลังงานเคมีจากสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง ไปยังสิงมีชวตอีกชนิดหนึง โดยพลังงานไม่ได้สญหายไปไหน เพียงแต่มการเปลียนรูป ่ ีิ ่ ู ี ่ ซึงเป็นไปตามกฎการอนุรกษ์พลังงาน ดังแผนภาพ ่ ั พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานความร้อน พลังงานเคมีในพืช พลังงานเคมีในสัตว์ ส่วนการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ เป็นกระบวนการทีเ่ ปลียนรูปสารอินทรียใน ่ ์ สิงมีชวตกลับคืนสูระบบนิเวศในรูปของสารอนินทรีย์ เช่น แร่ธาตุตาง ๆ ทีได้จากการ ่ ีิ ่ ่ ่ ย่อยสลายซากพืชและซากสัตว์ หรือของเสียที่ได้จากการขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ เป็นต้น 21.2.1 การศึกษาระบบนิเวศ ครูนำเข้าสูหวข้อการศึกษาระบบนิเวศโดยใช้คำถามนำในการอภิปรายเกียวกับระบบนิเวศ ่ ั ่ ที่พบในท้องถิ่นว่ามีแบบใดบ้าง จากนั้นให้นักเรียนบอกถึงความเหมือนและความแตกต่างของ ระบบนิเวศบนบกและในน้ำ แล้วให้นกเรียนทำกิจกรรมที่ 21.1 ั กิจกรรมที่ 21.1 ระบบนิเวศในท้องถิน ่ จุดประสงค์ของกิจกรรม เพือให้นกเรียนสามารถ ่ ั 1. อธิบายสภาพแวดล้อมทัวไปรอบ ๆ บริเวณทีสำรวจ พร้อมทังระบุสภาพของระบบนิเวศนัน ๆ ่ ่ ้ ้ 2. สังเกต และบันทึกลักษณะทางกายภาพของดินและน้ำ 3. สังเกต บันทึก ชนิด จำนวน ลักษณะ และการกระจายของสิงมีชวตในบริเวณทีสำรวจ ่ ีิ ่ ในการทำกิจกรรมที่ 21.1 นี้ ระบบนิเวศทีนกเรียนเลือกทีจะสำรวจนัน ครูควรพิจารณาถึง ่ ั ่ ้ ระยะทาง ระยะเวลาและความปลอดภัย คือ ไม่ไกลเกินไป ใช้เวลาเหมาะสม และมีความปลอดภัยและ ทีสำคัญคือควรเลือกสถานทีทสามารถศึกษาได้ทงระบบนิเวศบนบกและในน้ำ ครูควรแนะนำวิธใช้ ่ ่ ่ี ้ั ี 24 สสวท. ระบบนิเวศ
  • 6. อุปกรณ์ตาง ๆ ให้ชดเจน สำหรับการศึกษาระบบนิเวศในน้ำ ครูอาจให้นกเรียนออกแบบศึกษาทีระดับ ่ ั ั ่ ความลึกมากกว่า 20 เซนติเมตรได้ ซึ่งควรคำนึงถึงความปลอดภัยของสถานที่ที่ไปศึกษาด้วย ใน การใช้ถุงลากแพลงก์ตอนนั้นให้นักเรียนลากที่ระดับผิวน้ำ และที่ระดับความลึกที่ 20 เซนติเมตร หรือระดับที่ลึกกว่า 20 เซนติเมตร ตามที่ออกแบบไว้ด้วย และในการศึกษาระบบนิเวศบนบก การใช้ชุดสำรวจสิ่งมีชีวิตในดิน นักเรียนอาจทำขึ้นมาเองก็ได้ โดยใช้ตะแกรงที่ทำจากตาข่าย ซึงมีขนาดช่องตาถีอย่างน้อย 0.5 x 0.5 เซนติเมตร โดยศึกษาทังระดับผิวดินและทีระดับความลึก ่ ่ ้ ่ ของดินอย่างน้อย 20 เซนติเมตร นอกจากนี้ครูอธิบายเพิ่มเติมแก่นักเรียนว่ายังมีสัตว์ที่มีขนาดเล็ก ที่ไม่สามารถมองด้วยตาเปล่านั้นอีกจำนวนมากที่อาศัยอยู่ในดินซึ่งต้องศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ แต่ในทีนจะดูสงมีชวตทีมองเห็นด้วยตาเปล่าเท่านัน ่ ้ี ่ิ ี ิ ่ ้ สำหรับแบบบันทึกข้อมูลทีได้จากการสำรวจ ครูและนักเรียนอาจออกแบบร่วมกัน ตามความ ่ เหมาะสมและแบบบันทึกทีให้ไว้นเ้ี ป็นเพียงตัวอย่างแบบหนึงเท่านัน ่ ่ ้ 1. แผนผังแสดงทิศทางและตำแหน่งของแหล่งสำรวจ N 2. ตารางบันทึกผลการสำรวจสภาพทางกายภาพของแหล่งน้ำ กลุมที.่ .......................วัน/เดือน/ปีทสำรวจ.................................................... ่ ่ี บริเวณทีสำรวจ.................................................................................................. ่ รายการทีสำรวจ ่ ผลการสำรวจ 1. สีของน้ำ 2. กลิน่ 3. สิงปนเปือน ่ ้ 4. ความขุนใส ่ 5. ค่าการส่องผ่านของแสง 6. อุณหภูมระดับผิวน้ำ (oC) ิ 7. อุณหภูมระดับความลึก 20 cm (oC) ิ 8. ความเป็นกรด-เบสระดับผิวน้ำ 9. ความเป็นกรด-เบสระดับความลึก 20 cm 25 ระบบนิเวศ สสวท.
  • 7. 3. ตารางบันทึกผลการสำรวจสิงมีชวตในแหล่งน้ำ ่ ีิ ผลการสำรวจ รายการทีสำรวจ ่ ชือสิงมีชวต ่ ่ ีิ จำนวน ลักษณะและการกระจาย 1. สิงมีชวตระดับผิวน้ำ ่ ีิ และทีอาศัยกับพืชลอยน้ำ ่ 2. สิงมีชวต ่ ีิ ระดับความลึก 20 cm 3. แพลงก์ตอนทีศกษาจาก ่ึ กล้องจุลทรรศน์ทระดับผิวน้ำ ่ี 4. แพลงก์ตอนทีศกษาจาก ่ึ กล้องจุลทรรศน์ทระดับ ่ี ความลึก 20 cm 4. ตารางบันทึกผลการสำรวจสภาพทางกายภาพของระบบนิเวศบนบก รายการทีสำรวจ ่ ผลการสำรวจ 1. สีของดิน 2. กลิน่ 3. ความชืน ้ 4. ลักษณะเนือดิน ้ 5. สิงปนเปือน ่ ้ 6. อุณหภูมระดับผิวดิน (oC) ิ 7. อุณหภูมระดับความลึก 20 cm (oC) ิ 8. ความเป็นกรด-เบสระดับผิวดิน 9. ความเป็นกรด-เบสระดับความลึก 20 cm 26 สสวท. ระบบนิเวศ
  • 8. 5. ตารางบันทึกผลการสำรวจสิงมีชวตของระบบนิเวศบนบก ่ ีิ ผลการสำรวจ รายการทีสำรวจ ่ ชือสิงมีชวต ่ ่ ีิ จำนวน ลักษณะและการกระจาย 1. สิงมีชวตบนดิน ่ ีิ 2. สิงมีชวตใต้ดน ่ ีิ ิ 3. สิงมีชวตใต้ขอนไม้ ่ ีิ 4. สิงมีชวตบริเวณก้อนหิน ่ ีิ 5. ความหนาแน่นของ สิงมีชวตบนบก ่ ีิ หมายเหตุ : จำนวนสิงมีชวตถ้านับได้ให้ใส่จำนวนทีนบ ถ้านับไม่ได้ให้ใส่มาก ปานกลาง หรือน้อย ่ ีิ ่ ั เมือนักเรียนสำรวจระบบนิเวศตามกิจกรรมที่ 21.1 เสร็จแล้ว ให้แต่ละกลุมร่วมกันสรุปผลทีได้จาก ่ ่ ่ การสำรวจ จากนันครูอาจเลือกสุมเฉพาะบางกลุม เช่น ระบบนิเวศบนบก 2 กลุม และระบบนิเวศในน้ำ ้ ่ ่ ่ 2 กลุม มาเขียนสรุปบนกระดาน โดยครูให้นกเรียนกลุมอืน ๆ ช่วยเพิมเติมข้อมูลทีบางกลุมอาจจะ ่ ั ่ ่ ่ ่ ่ สำรวจไม่พบ แล้วให้นกเรียนบันทึกลงในแบบบันทึกข้อมูลใบกิจกรรม จากนันอภิปรายผลการสำรวจ ั ้ โดยใช้คำถามท้ายกิจกรรม ซึงมีแนวคำตอบดังนี้ ่ องค์ประกอบทางกายภาพของระบบนิเวศบนบก และระบบนิเวศในน้ำมีความเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร องค์ ป ระกอบทางกายภาพของระบบนิ เ วศบนบก และระบบนิ เ วศในน้ ำ มี ค วาม แตกต่างกันดังนีคอ ้ื 1. ความชืน ในแหล่งน้ำจะมีมากกว่าบนบก สิงมีชวตทีอาศัยบนบกประสบกับปัญหา ้ ่ ีิ ่ เรืองความชืนมาก ่ ้ 2. อุณหภูมิ การเปลียนแปลงอุณหภูมบนบกเกิดขึนได้มากกว่าในน้ำ เพราะน้ำมี ่ ิ ้ สมบัตทเ่ี ก็บความร้อนไว้ได้ดี จึงไม่ทำให้อณหภูมของน้ำเปลียนแปลงมาก ิ ุ ิ ่ 3. แก๊สที่จำเป็นต่อสิ่งมีชีวิต บนบกมีแก๊สออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ มากกว่าแหล่งน้ำ เนืองจากแก๊สออกซิเจนทีละลายในน้ำยังมีความแปรผันกับอุณหภูมดวย ่ ่ ิ้ ถ้าหากในแหล่งน้ำมีอณหภูมสงปริมาณแก๊สออกซิเจนทีละลายในน้ำก็จะลดลง ุ ิ ู ่ 4. แร่ธาตุ บนบกในแต่ละพืนทีมแร่ธาตุชนิดต่าง ๆ ทีแตกต่างกันขึนอยูกบวัตถุ ้ ่ ี ่ ้ ่ั ที่เป็นต้นกำเนิดดินบริเวณนั้น สำหรับในแหล่งน้ำแร่ธาตุที่ละลายในน้ำได้มาจาก 27 ระบบนิเวศ สสวท.
  • 9. การย่อยสลายซากสิงมีชวต หรือได้จากการพัดพาตะกอนหรือการชะล้างพังทลายของดิน ่ ีิ ลงสูแหล่งน้ำ หรือมีการปล่อยน้ำทิงจากอาคารบ้านเรือนทีมองค์ประกอบของฟอสเฟต ่ ้ ่ ี ในผงซักฟอกลงในแหล่งน้ำ เป็นต้น ซึงมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ่ 5. แสง บนบกจะได้รบปริมาณแสงมากกว่าในน้ำ และมีผลต่อพืชทำให้มชนิด ั ี ของพื ช ที ่ ห ลากหลาย เช่ น ชนิ ด ของพื ช ที ่ ช อบแสงมาก ชอบแสงปานกลาง และชอบแสงรำไร องค์ประกอบทางชีวภาพของระบบนิเวศบนบก และระบบนิเวศในน้ำแบ่งออกได้เป็น กีประเภทอะไรบ้าง ่ แบ่งได้ 3 ประเภท คือ 1. ผูผลิต หมายถึงสิงมีชวตทีสามารถสร้างอาหารได้เองโดยกระบวนการสังเคราะห์ ้ ่ ีิ ่ ด้วยแสง ซึงส่วนมากจะเป็นพืชทีมคลอโรฟิลล์ หรือสิงมีชวตทีสามารถสร้างอาหารได้ ่ ่ ี ่ ีิ ่ โดยการสังเคราะห์ทางเคมี (chemosynthesis) เช่น พืชบกทังชนิดทีเ่ ป็นไม้ยนต้น ไม้พม ้ ื ุ่ ไม้ลมลุก หรือพืชน้ำจำพวกสาหร่ายและแพลงก์ตอนพืช เป็นต้น ้ 2. ผูบริโภค หมายถึงสิงมีชวตทีไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ส่วนมากคือสัตว์ ้ ่ ีิ ่ ทีกนสิงมีชวตอืนเป็นอาหาร แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ ่ิ ่ ีิ ่ สัตว์กนพืช (herbivore) เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย กระต่าย รวมทังสัตว์นำ ิ ้ ้ จำพวกปลาบางชนิด เช่น ปลาตะเพียน ปลานิล ฯลฯ สัตว์กนสัตว์ (carnivore) เช่น เสือ สิงโต สุนขจิงจอก รวมทังสัตว์นำ ิ ั ้ ้ ้ จำพวกกุง ปู ปลาบางชนิด ฯลฯ ้ สัตว์ทกนทังพืชและสัตว์ (omnivore) เช่น คน ไก่ เป็ด ฯลฯ ่ี ิ ้ 3. ผูสลายสารอินทรีย์ หมายถึงสิงมีชวตขนาดเล็กทีสร้างอาหารเองไม่ได้ ได้รบ ้ ่ ีิ ่ ั อาหารจากการปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยสลายซากสิงมีชวตต่าง ๆ แล้วดูดซึมเข้าสูรางกาย ่ ีิ ่่ เช่น แบคทีเรีย เห็ดรา จากการศึกษาสิงมีชวตในกิจกรรมที่ 21.1 นัน ผูผลิตได้แก่อะไรบ้าง ผูบริโภคทีพบสามารถ ่ ีิ ้ ้ ้ ่ จำแนกออกเป็นกีประเภท อะไรบ้าง ่ สำหรับแนวการตอบข้อนี้ สิงมีชวตทีพบ นักเรียนอาจตอบแตกต่างกันได้ตามท้องถิน ่ ีิ ่ ่ ของนักเรียน แต่มแนวทางการตอบดังนี้ ี ผูผลิตทีพบ ได้แก่ ้ ่ ในแหล่งน้ำ : จอก แหน ผักตบชวา บัว กก สาหร่าย ฯลฯ บนบก : ไม้ยนต้น เช่น จามจุรี หูกวาง มะม่วง มะพร้าว ฯลฯ ื ไม้พม เช่น เข็ม แก้ว ฯลฯ ุ่ ไม้ลมลุก เช่น กล้วย ผักชนิดต่าง ๆ ทานตะวัน หญ้าชนิดต่าง ๆ ฯลฯ ้ ผูบริโภคทีพบ ได้แก่ ้ ่ ในแหล่งน้ำ : ผูบริโภคพืช เช่น แพลงก์ตอนสัตว์ ไส้เดือนน้ำ (polycheate) และ ้ ตัวอ่อนแมลง เป็นต้น ผูบริโภคสัตว์ เช่น ปู กุง ปลา ได้แก่ ปลาชะโด ปลาช่อน ปลาดุก ฯลฯ ้ ้ 28 สสวท. ระบบนิเวศ
  • 10. บนบก : ผูบริโภคพืช เช่น วัว ควาย ช้าง ม้า ฯลฯ ้ ผูบริโภคสัตว์ เช่น งู อึงอ่าง กบ แมลงปอ เหยียว ฯลฯ ้ ่ ่ ผูสลายสารอินทรียในระบบนิเวศ ได้แก่ สิงมีชวตประเภทใดบ้าง ้ ์ ่ ีิ ผูสลายสารอินทรีย์ ได้แก่ แบคทีเรีย เห็ดรา และจุลนทรียชนิดต่าง ๆ เป็นต้น ้ ิ ์ 21.2.2 ระบบนิเวศแบบต่าง ๆ ระบบนิเวศในน้ำ ครูนำเข้าสูหวข้อนีโดยใช้คำถามนำในการอภิปราย เพือเชือมโยงกับกิจกรรมทีนกเรียนได้ ่ ั ้ ่ ่ ่ ั ทำมาแล้ว ดังนี้ จากกิจกรรมที่นักเรียนได้ทำไปแล้วโดยการไปสำรวจระบบนิเวศแหล่งน้ำ นักเรียน บอกได้หรือไม่วา ระบบนิเวศแหล่งน้ำทีได้ไปสำรวจนันเป็นแหล่งน้ำจืดหรือน้ำเค็ม ่ ่ ้ หรือครูอาจจะพานักเรียนไปศึกษาระบบนิเวศแหล่งน้ำในท้องถินของนักเรียนทีไม่ไกล ่ ่ เกินไป และไม่เป็นอันตรายต่อนักเรียน เพือศึกษาตามสภาพจริง จากนันครูให้นกเรียนร่วมกันอภิปราย ่ ้ ั เกียวกับระบบนิเวศแหล่งน้ำ ซึงมี 3 ประเภทคือ แหล่งน้ำจืด แหล่งน้ำเค็ม และแหล่งน้ำกร่อย ่ ่ แล้วตอบคำถามใน หนังสือเรียนซึงมีแนวการตอบคำถามดังนี้ ่ ในแต่ละบริเวณของแหล่งน้ำจืดในภาพที่ 21-11 ข จะพบสิงมีชวตทีเ่ ป็นผูผลิตและผูบริโภค ่ ีิ ้ ้ ชนิดใดบ้าง จากแผนภาพตัดขวางแสดงบริเวณต่าง ๆ ของแหล่งน้ำนิง พบว่า ่ บริเวณชายฝัง จะพบสิงมีชวตทีเ่ ป็นผูผลิตได้แก่ หญ้า บัว กก ผักบุง ธูปฤาษี ผักแว่น ่ ่ ีิ ้ ้ ผูบริโภค ได้แก่ หอยขม หอยโข่ง แพลงก์ตอนสัตว์ หอยกาบ ไส้เดือนดิน เต่า งู กบ อึงอ่าง ้ ่ บริเวณผิวน้ำ ผูผลิต ได้แก่ ไข่นำ จอก แหน สาหร่าย แพลงก์ตอนพืช ผูบริโภค เช่น ้ ้ ้ มวน แมงป่องน้ำ จิงโจ้นำ ลูกปลา ลูกกบ แพลงก์ตอนสัตว์ ้ บริเวณน้ำชันล่าง อาจไม่พบผูผลิตเลย เนืองจากปริมาณแสงส่องลงไปไม่ถง ไม่มกระบวน ้ ้ ่ ึ ี การสังเคราะห์ดวยแสงเกิดขึน ส่วนผูบริโภคทีพบ เช่น หอยโข่ง ปู ปลา เช่น ปลาไหล ้ ้ ้ ่ ปลานิล ฯลฯ ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืดในท้องถินของนักเรียนเป็นระบบนิเวศแบบใด และมีความสำคัญ ่ ต่อชุมชนในท้องถินนันอย่างไร ่ ้ แนวคำตอบในข้อนี้ตอบตามลักษณะของท้องถิ่นของนักเรียน เช่น เป็นระบบนิเวศ แหล่งน้ำนิ่งหรือแหล่งน้ำไหล และมีความสำคัญต่อชุมชนในแง่ของการใช้เป็นแหล่ง สำหรับการอุปโภคบริโภค ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม ใช้เพือผลิตกระแสไฟฟ้า ใช้ใน ่ การชลประทาน ใช้ในการคมนาคม ใช้ในการประมงเป็นแหล่งอาหารของมนุษย์ และ เพือการพักผ่อนหย่อนใจ ่ 29 ระบบนิเวศ สสวท.
  • 11. นักเรียนคิดว่ามีปจจัยใดบ้าง ทีสงผลต่อการดำรงชีวตของสิงมีชวตในระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด ั ่ ่ ิ ่ ีิ และส่งผลกระทบต่อคนทีใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศนันอย่างไร และมีวธการแก้ไขได้ ่ ้ ิี อย่างไร ปัจจัยทีมผลต่อการดำรงชีวตของสิงมีชวตในแหล่งน้ำจืด ได้แก่ ่ี ิ ่ ีิ 1. ปริมาณแก๊สออกซิเจนทีละลายในน้ำ (DO) น้ำทีมคา DO สูงจะมีคณภาพดีกว่าน้ำทีมคา ่ ่ี่ ุ ่ี่ DO ต่ำ น้ำทีอณหภูมิ 20 o C ความดันปกติมคา DO เท่ากับ 10 มิลลิกรัม/ลิตร ุ่ ี่ ถือว่าเป็นน้ำทีมคณภาพดี ถ้าค่า DO น้อยกว่า 4 มิลลิกรัม/ลิตร ถือว่าน้ำนันเน่าเสีย ่ ีุ ้ สัตว์นำและพืชน้ำไม่สามารถดำรงชีวตอยูได้ ้ ิ ่ 2. ปริมาณแก๊สออกซิเจนทีจลนทรียใช้ยอยสลายสารอินทรียในน้ำ (BOD) น้ำทีมคา BOD ุ่ิ ์ ่ ์ ่ี่ สูง แสดงว่ามีปริมาณสารอินทรียมากกว่าน้ำทีมคา BOD ต่ำ องค์การอนามัยโลกกำหนด ์ ่ี่ มาตรฐาน แหล่งน้ำธรรมชาติทมคณภาพดีควรมีคา BOD ไม่เกิน 4 มิลลิกรัม/ลิตร ่ี ี ุ ่ 3. ความเป็นกรด-เบสพบว่า โดยปกติแหล่งน้ำจืดควรมีค่า pH ประมาณ 5.0-9.0 ถ้าน้อยหรือมากกว่านีสงมีชวตในน้ำจะได้รบอันตราย ้ ่ิ ี ิ ั 4. อุณหภูมิ ในแหล่งน้ำจืดควรมีอณหภูมประมาณ 20-35 o C ถ้าต่ำกว่าหรือสูงกว่านี้ ุ ิ สิงมีชวตในน้ำจะได้รบอันตราย ่ ีิ ั 5. สิงปนเปือนทางเคมี เช่น กรด เบส เกลือ ยาฆ่าแมลง ผงซักฟอก โลหะหนัก ่ ้ คราบน้ำมัน ฯลฯ 6. สิงปนเปือนทางชีววิทยา เช่น แบคทีเรีย ไวรัส เชือโรคต่าง ๆ และพวกไดโนแฟลเจลเลต ่ ้ ้ 7. สิงปนเปือนทางกายภาพ เช่น สี กลิน สารแขวนลอย กรวด ทราย ่ ้ ่ 8. สีและกลิน มีสคล้ำ มีกลินเหม็นทีเ่ กิดจากแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ ่ ี ่ 9. การเพิมจำนวนอย่างรวดเร็วของสาหร่าย (algae bloom) และพืชน้ำ ่ ก่อให้เกิดผลกระทบคือ 1. ทำให้ชนิดและปริมาณสัตว์นำต่าง ๆ ลดจำนวนลง เนืองจากสัตว์นำบางชนิดก็เป็น ้ ่ ้ อาหารสำหรับมนุษย์ 2. เกิดโรคระบาดหลายชนิด เช่น อหิวาต์ ไข้ไทฟอยด์ บิด ซึงเชือโรคเหล่านีจะปนเปือน ่ ้ ้ ้ ในแหล่งน้ำ เมือมนุษย์บริโภคเข้าไปก็อาจทำให้เกิดโรคได้ ่ 3. ขาดแคลนน้ำสำหรับการอุปโภคและบริโภค 4. ทำให้การคมนาคมทางน้ำไม่สะดวก เนืองจากมีกลินเหม็น หรือมีขยะในแหล่งน้ำ ่ ่ กีดขวางการสัญจรทางน้ำ ตลอดจนการตืนเขินของแหล่งน้ำด้วย ้ 5. ผลเสียต่อทัศนาการ การแก้ไข 1. กำหนดมาตรฐานน้ำทิง ้ 2. จัดให้มระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน ี 3. มีการประชาสัมพันธ์และรณรงค์ในการดูแลรักษาระบบนิเวศแหล่งน้ำ 4. ลดการใช้สารเคมีและสารพิษทางการเกษตร 5. ส่งเสริมให้มการใช้นำหมุนเวียนี ้ ฯลฯ 30 สสวท. ระบบนิเวศ
  • 12. ระบบนิเวศแหล่งน้ำกร่อย ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงความสำคัญของระบบนิเวศน้ำกร่อย โดยใช้แนวคำถาม ในหนังสือเรียน ซึงมีแนวการตอบคำถามดังนี้ ่ เพราะเหตุใดในระบบนิเวศแหล่งน้ำกร่อย จึงมีความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารสูง และมี สิงมีชวตหลากหลายชนิด ่ ีิ แหล่งน้ำกร่อยเป็นบริเวณรอยต่อระหว่างทะเลและแม่น้ำ และมีความอุดมสมบูรณ์ ของธาตุอาหารสูง เนืองจากแม่นำพัดพาเอาธาตุเหล็ก ซิลกา ฟอสเฟต และสารอินทรีย์ ่ ้ ิ มายังปากแม่นำ และบริเวณทะเลจะมีกระแสคลืนทีรนแรงและมีอทธิพลของกระแสน้ำขึน ้ ่ ุ่ ิ ้ และลงเข้ามาเกียวข้อง เมือน้ำทัง 2 บริเวณมาบรรจบกันทำให้เกิดการพัดพาของธาตุอาหาร ่ ่ ้ ขึ้นมาสู่บริเวณผิวน้ำ และหมุนเวียนตลอดเวลา จึงทำให้พืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้ำ สามารถนำธาตุอาหารนีไปใช้เพือการเจริญเติบโตได้ ้ ่ ระบบนิเวศแหล่งน้ำเค็ม ครูให้นกเรียนร่วมกันอภิปรายแผนภาพในหนังสือเรียนภาพที่ 21-14 โดยใช้แนวคำถามใน ั หนังสือเรียน ซึงมีแนวการตอบคำถามดังนี้ ่ จากภาพที่ 21-14 ปัจจัยใดบ้างทีมผลต่อการกระจายของสิงมีชวตในระบบนิเวศแหล่งน้ำเค็ม ่ี ่ ีิ 1. แสง แสงทีสองลงไปในทะเลจะถูกดูดซับ และสะท้อนออกมาต่างกัน และเป็นสาเหตุ ่ ่ ให้สของน้ำทะเลต่างกันด้วย ความสำคัญของแสงต่อสิงมีชวตในทะเลคือให้พลังงาน ี ่ ีิ แก่ผผลิตในทะเล เพือใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสง ซึงพบว่าเขตทีมแสงส่อง ู้ ่ ้ ่ ่ ี ถึงจะมีสงมีชวตแพร่กระจาย อยูคอนข้างมาก เนืองจากมีอาหารอุดมสมบูรณ์ ่ิ ี ิ ่่ ่ 2. การขึนลงของกระแสน้ำ ในบริเวณชายฝังช่วงน้ำลง สัตว์นำทีอาศัยอยูในบริเวณนี้ ้ ่ ้ ่ ่ ต้องมีการปรับตัวให้สามารถทนอยู่ได้ในสภาวะที่ขาดน้ำ และเมื่อน้ำลงมักจะพบ สัตว์น้ำบริเวณชายหาดเป็นจำนวนมาก รวมทั้งนกทะเลและนกชายฝั่งจำนวนมาก มาหากินในช่วงน้ำลงด้วย ระบบนิเวศแหล่งน้ำเค็มมีความสำคัญต่อมนุษย์อย่างไร ระบบนิเวศแหล่งน้ำเค็ม เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอันมีค่าทางเศรษฐกิจของโลก เป็นแหล่งอาหารของมนุษย์ เป็นแหล่งพลังงาน เป็นแหล่งท่องเทียวทางธรรมชาติทสำคัญ ่ ่ี เป็นเส้นทางคมนาคมและขนส่งสินค้าทีสำคัญติดต่อระหว่างประเทศต่าง ๆ ในโลก เป็นต้น ่ จากภาพที่ 21-15 ผลผลิตประมงในรอบ 10 ปี (พ.ศ. 2535-2544) มีแนวโน้มเป็นอย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนัน ้ จากกราฟแสดงปริมาณผลผลิตประมง ปี พ.ศ. 2535-2544 พบว่าสัตว์นำเค็มและสัตว์นำจืด ้ ้ จากธรรมชาติมีแนวโน้มที่จะลดลง เนื่องจากแหล่งน้ำเค็มและแหล่งน้ำจืดในปัจจุบัน มีแนวโน้มทีจะมีมลพิษมากขึน สัตว์นำถูกมนุษย์จบไปเป็นอาหารมากขึน นอกจากนี้ ่ ้ ้ ั ้ การจับสัตว์น้ำในฤดูวางไข่ก็มีผลทำให้สัตว์น้ำลดลงด้วย และพบว่าการเพาะเลี้ยง สัตว์ชายฝั่งและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณอาหาร ไม่เพียงพอต่อการบริโภคของมนุษย์ 31 ระบบนิเวศ สสวท.
  • 13. เพราะเหตุใดสัตว์นำทีจบจากธรรมชาติในแหล่งน้ำเค็มกับทีจบจากน้ำจืดจึงแตกต่างกัน ้ ่ั ่ั ปริมาณสัตว์นำทีจบจากธรรมชาติในแหล่งน้ำเค็มจะจับได้มากกว่าแหล่งน้ำจืด เนืองจาก ้ ่ั ่ 1. แหล่งน้ำเค็มมีพนทีมากกว่าแหล่งน้ำจืด เพราะพืนที่ 3 ใน 4 ส่วนของโลกเป็นทะเล ้ื ่ ้ และมหาสมุทร 2. แหล่งน้ำเค็ม เช่น บริเวณทะเลมีกระแสน้ำขึนและน้ำลง ตลอดจนมีคลืนแรงจึงสามารถ ้ ่ พัดพาเอาแร่ธาตุและธาตุอาหารกลับขึ้นมาสู่ผิวน้ำได้ตลอดเวลา พืชน้ำก็สามารถ สังเคราะห์ดวยแสงได้มาก สัตว์ทบริโภคพืชก็มากตามด้วย ้ ่ี 3. มนุษย์ใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำจืดในชีวตประจำวันค่อนข้างมากกว่า เช่น ใช้ในการ ิ บริโภคและอุปโภค ดังนั้นแหล่งน้ำจืดจึงมีโอกาสปนเปื้อนสารมลพิษได้มากกว่า นอกจากนีลกษณะพฤติกรรมของมนุษย์ในการทิงสิงของสกปรกต่าง ๆ ลงในแหล่งน้ำ ้ั ้ ่ โดยเฉพาะแม่นำลำคลองก็ทำให้นำเกิดการเน่าเสียได้งาย ้ ้ ่ ฯลฯ จากภาพที่ 21-17 สิงมีชวตทีอาศัยอยูบริเวณหาดทรายมีการปรับตัวเพือการอยูรอดอย่างไร ่ ีิ ่ ่ ่ ่ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บริเวณหาดทรายมีการปรับตัวดังนี้ มีผิวเรียบ ลำตัวแบน เพื่อ สะดวกในการแทรกตัวลงไปในทราย เช่น หอยเสียบ หอยทับทิม เหรียญทะเลหรือ อีแปะทะเล (sand dollar) บางชนิดลดขนาดของร่างกายเพื่อลดความเสียดทาน ที่ถูก คลื่นซัดเป็นประจำ เช่น จั๊กจั่นทะเล ปูลมจะมีเหงือกใหญ่อยู่ในกระดองที่ช่วย กักเก็บน้ำให้เหงือกชุมชืนอยูเ่ สมอ นอกจากนีปลมยังเคลือนทีได้รวดเร็วเพือหลบหลีก ่ ้ ้ ู ่ ่ ่ ศัตรู บางชนิดสร้างปลอกหุมลำตัว เช่น หนอนหลอด ไส้เดือนทะเล ้ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บริเวณหาดหินสามารถทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ และ ความชืนโดยการปรับตัวอย่างไร ้ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บริเวณหาดหินมีการปรับตัวดังนี้คือ มีสารพวกคิวทินเคลือบช่วย รักษาความชื้นและป้องกันการระเหยของน้ำ และบางชนิดมีการปรับตัวเพื่อเก็บน้ำ ไว้ภายในร่างกาย เมือน้ำลง เช่น พวกทีเ่ คลือนทีได้จะไปหลบในซอกหิน เช่น ปู ปลิงทะเล ่ ่ ่ ส่วนพวกที่เคลื่อนที่ไม่ได้จะมีเปลือกหุ้มสามารถเก็บน้ำไว้ภายใน เช่น เพรียงหิน หอยนางรม สาเหตุทปะการังถูกทำลายโดยการกระทำของมนุษย์ได้แก่อะไรบ้าง ่ี สาเหตุทปะการังถูกทำลายโดยการกระทำของมนุษย์ เช่น ่ี 1. การทำให้ทะเลเกิดมลพิษ โดยการทิงขยะมูลฝอย ปล่อยน้ำเสีย ลงสูทะเล หรือการ ้ ่ ใช้พาหนะสัญจรในทะเลทีมการรัวไหลของน้ำมันลงสูทะเล ซึงเป็นการปิดกันออกซิเจน ่ี ่ ่ ่ ้ จากอากาศทีละลายลงในน้ำ ทำให้ปะการังไม่สามารถดำรงชีวตอยูได้ ่ ิ ่ 2. การทำการประมงไม่ถกวิธี เช่น การใช้ระเบิดในการจับปลา หรือการใช้อวนลาก ู ทำให้เกิดการทำลายปะการังเป็นบริเวณกว้าง 3. การทำเหมืองแร่ใกล้ชายทะเล ทำให้เกิดตะกอนดินพัดพาลงสูทะเลทับถมแนวปะการัง ่ 4. การเก็บปะการังมาขายเป็นสินค้า หรือนำมาทำเป็นเครืองประดับต่าง ๆ ่ 5. การทอดสมอเรือในทะเล ทำให้แนวปะการังแตกหัก พังทลาย 32 สสวท. ระบบนิเวศ
  • 14. 6. การดำน้ำชมปะการัง โดยขาดความรู้ หยิบจับเด็ด หรือหัก หรือเหยียบย่ำลงบนแนวปะการัง ฯลฯ นอกจากนีครูอาจให้ความรูแก่นกเรียนเพิมเติมเกียวกับปะการัง ดังนี้ ้ ้ ั ่ ่ ตัวปะการังมีลักษณะคล้ายดอกไม้ทะเลหรือซีแอนีโมนีดอกเล็ก ๆ ปะการังแต่ละตัวสร้าง โครงร่างหินปูน มาห่อหุมร่างกาย เมือตัวเก่าตายไปตัวใหม่กสร้างขึนอีกบนซากของตัวเดิม แนวปะการังจึง ้ ่ ็ ้ ขยายขนาดขึ้นเรื่อย ๆ ปะการังสืบพันธุ์โดยการแตกหน่อจากตัวเดิม หน่อเติบโตขึ้นเป็นปะการัง ตัวใหม่ และสร้างโครงร่างขึนมาห่อหุมร่างกาย ปะการังต่างสปีชสกนมีโครงร่างหินปูนต่างกัน ทำให้ ้ ้ ี ์ั แต่ละสปีชีส์มีรูปร่างเฉพาะแตกต่างกันออกไป นอกจากนี้ปะการังยังมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ มีการสร้างตัวอ่อนเรียกว่า พลานูลา (planula) ระบบนิเวศบนบก ระบบนิเวศป่าไม้ ในการสอนเรื่องระบบนิเวศป่าไม้ ครูอาจฉายวิดิทัศน์ เรื่องระบบนิเวศป่าประเภทต่าง ๆ ซึงจัดทำโดย สสวท. ได้แก่ ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบเขา ป่าชายเลน ป่าพรุ เป็นต้น ให้นกเรียนดู ่ ั หรือครูอาจนำภาพป่าไม้ประเภทต่าง ๆ มาให้นกเรียนดู แล้วครูนำเข้าสูการอภิปรายเรืองระบบนิเวศป่าไม้ ั ่ ่ จากนันครูใช้แนวคำถามในหนังสือเรียน ซึงแนวในการตอบคำถามมีดงนี้ ้ ่ ั จากวิดีทัศน์ป่าไม้ที่นักเรียนได้ดูไปแล้วนี้ ให้นักเรียนบอกลักษณะเด่นของป่าประเภทนี้ ในด้านขององค์ประกอบทางกายภาพและชีวภาพ ป่าพรุ : ลักษณะเด่นของป่าประเภทนี้ ได้แก่ เป็นป่าทีเ่ กิดขึนในบริเวณทีมนำท่วมขัง ้ ่ ี ้ และเกิดการทับถมของซากอินทรีย์โดยเฉพาะใบไม้ ทำให้ดินและน้ำมีสภาพเป็นกรด มีสนำตาลอ่อน ี ้ องค์ประกอบทางกายภาพ มีอุณหภูมิค่อนข้างสูง เนื่องจากมีการย่อยสลาย ของจุลนทรียในน้ำอยูตลอดเวลา ิ ์ ่ องค์ประกอบทางชีวภาพ พืชทีพบในป่าพรุมทงไม้ยนต้นขนาดใหญ่และขนาดเล็ก ่ ี ้ั ื และพวกไม้ ห นามทั ้ ง หลาย เช่ น หมากแดง หลุ ม พี หวาย สั ต ว์ ท ี ่ พ บส่ ว นใหญ่ ได้แก่สตว์เลือยคลาน และสัตว์เลียงลูกด้วยน้ำนมขนาดเล็ก เป็นต้น ั ้ ้ ป่าชายเลน : ลักษณะเด่นของป่าประเภทนี้คือ เป็นป่าที่ขึ้นอยู่ตามปากแม่น้ำ ปากอ่าว เป็นแหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์นำ ้ องค์ประกอบทางกายภาพ ดินเป็นดินเลน น้ำเป็นน้ำกร่อย และมีความแปรผัน ของค่าความเค็มตามกระแสน้ำขึนและลง ้ องค์ประกอบทางชีวภาพ พบสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด พืชที่พบ เช่น พวก โกงกาง แสม ลำพู ตะบูน เป็นต้น และสัตว์ที่พบได้แก่สัตว์น้ำที่มีค่าทางเศรษฐกิจ จำพวกกุง หอย ปู ปลา ฯลฯ เป็นต้น ้ 33 ระบบนิเวศ สสวท.
  • 15. คำถามในหนังสือเรียน และแนวการตอบคำถามมีดงนี้ั ในท้องถินทีนกเรียนอาศัยอยูมปาไม้ประเภทใดบ้าง และยังคงความอุดมสมบูรณ์อยูหรือไม่ ่ ่ ั ่ี ่ ่ อย่างไร แนวในการตอบคำถามข้อนี้แล้วแต่ท้องถิ่นที่นักเรียนอาศัยอยู่ ครูควรให้นักเรียน แต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกัน ให้ตัวแทนนักเรียนนำเสนอผลการอภิปรายหน้าชั้นเรียน และเปิดโอกาสให้นกเรียนทังห้องเรียนร่วมกันอภิปราย เพือนำไปสูการสรุปข้อมูลทังหมด ั ้ ่ ่ ้ อีกครั้งหนึ่ง ครูอาจแนะนำให้ไปสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเรื่องของระบบนิเวศป่าไม้จาก ห้องสมุด วีดทศน์ เวบไซต์ตาง ๆ เป็นต้น ิ ั ่ กิจกรรมเสนอแนะ ศึกษาความหลากหลายของระบบนิเวศในท้องถิน ่ จุดประสงค์ของกิจกรรม เพือให้นกเรียนสามารถ ่ ั 1. สำรวจและบันทึกข้อมูลเกียวกับปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพในระบบนิเวศบนบก และในน้ำ ่ 2. อธิบายความสัมพันธ์ของสิงมีชวตกับสภาพแวดล้อมในระบบนิเวศ ่ ีิ ในกิจกรรมนีครูอาจจัดกิจกรรมในลักษณะของการทัศนศึกษา ค่ายวิทยาศาสตร์ การท่องเทียว ้ ่ เชิงนิเวศ โดยเลือกสถานทีในบริเวณท้องถินและไม่ไกลมากนัก และค่อนข้างปลอดภัยตามความเหมาะสม ่ ่ และความพร้อมของโรงเรียน โดยกิจกรรมนี้อาจดำเนินการควบคู่ไปกับการทำกิจกรรมที่ 21.1 เรืองสำรวจระบบนิเวศในท้องถินก็ได้ ่ ่ 21.3 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ จุดประสงค์การเรียนรู้ เพือให้นกเรียนสามารถ ่ ั 1. อธิบายปัจจัยทางกายภาพต่าง ๆ ทีมอทธิพลต่อชนิด ปริมาณ การกระจาย และพฤติกรรม ่ ีิ ของสิงมีชวต พร้อมทังยกตัวอย่างได้ ่ ีิ ้ 2. สรุปได้วาปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางชีวภาพในระบบนิเวศมีความสัมพันธ์กน ่ ั 3. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของสิงมีชวตทีอาศัยอยูรวมกันแบบต่างๆ ได้ ่ ีิ ่ ่่ 4. สรุปรูปแบบความสัมพันธ์ของสิงมีชวตและใช้สญลักษณ์ได้ถกต้อง ่ ีิ ั ู แนวการจัดการเรียนรู้ ครูอาจใช้คำถามนำในหนังสือเรียนนำเข้าสูบทเรียน ่ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยในไบโอมต่าง ๆ มีรูปร่างลักษณะและการดำรงชีวิตแตกต่างกัน อะไร เป็นสาเหตุ ให้เป็นเช่นนัน้ แนวคำตอบเพือนำเข้าสูประเด็นการอภิปรายคือในไบโอมต่าง ๆ ลักษณะทางภูมประเทศ ่ ่ ิ จะเป็นตัวกำหนดลักษณะของปัจจัยทางกายภาพ และปัจจัยทางชีวภาพของระบบนิเวศในไบโอมนัน ้ จากนั้นครูอาจทบทวนข้อมูลที่ได้จากการทำกิจกรรมที่ 21-1 ซึ่งชี้ให้เห็นว่าปัจจัยทางกายภาพ มีความสัมพันธ์ต่อสิ่งมีชีวิตในระบบบนิเวศ ให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ว่าอุณหภูมิ แสง ความชื้น 34 สสวท. ระบบนิเวศ