SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
Descargar para leer sin conexión
jirupi@kku.ac.th
เรื่อง พลังงาน (Energy)
ในบทนี้เรามาทาความรู้จักกับคาว่าพลังงานงานกัน ว่าพลังงานที่เรารู้จักมาจากไหน และเรา
สามารถจัดเก็บพลังงานนั้นได้หรือไม่อย่างไร ซึ่งเราจะเห็นพลังงานเหล่านั้นมากมาย ไม่ว่าจะ
เป็นการใช้หรือการผลิต ทั้งที่เราสามารถจับต้องได้และไม่สามารถมองเห็นพลังงานได้ แต่เรา
สามารถรับรู้จากผลการกระทาของพลังงานได้ โดยส่วนหนึ่งจะเห็นจากร่างกายของเรา และ
อีกส่วนหนึ่งจากเครื่องมือ เรามาเรียนเรื่องพลังงานกับน้องเชอร์รี่ พี่องุ่น และน้องลูกกวาด
กันนะคะ เพื่อให้น้องๆเข้าใจเรื่องพลังงานกันดีขึ้น
พลังงานคืออะไร?
ได้สิคะ น้องเชอรี่กับน้องลูกกวาด
พลังงาน คือ อานาจที่แฝงอยู่ในวัตถุ พลังงานเป็นกลไกสาคัญของธรรมชาติและเครื่องจักรกลซึ่งมีอยู่ในหลายรูปแบบ และคือสิ่งที่
ทาให้สิ่งต่างๆเคลื่อนที่ได้ ถ้าไม่มีพลังงาน ก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น สิ่งใดก็ตามที่เคลื่อนไหว เติบโต หรือทางานในทางใดทางหนึ่ง ย่อมมี
พลังงาน พลังงานความร้อนเป็นพลังงานอย่างหนึ่งเราอาจมองไม่เห็นความร้อนเคลื่อนที่แต่ความร้อนทาให้โมเลกุลเคลื่อนที่เร็วขึ้น
พลังงานอาจถูกเก็บไว้ได้ เช่น พลังงานอยู่ในก้อนถ่านหิน ในกล่องไม้ขีดไฟ หรือในผลแอปเปิล เป็นต้น พลังงานที่ถูกเก็บไว้
สามารถนามาใช้ได้ พลังงานสามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่ไม่สามารถถูกทาลายได้ เพียงแต่ถูกเปลี่ยนจากรูปหนึ่งไปอีกรูปหนึ่ง
พลังงานสามารถถูกใช้ได้แต่จะใช้ให้หมดไปไม่ได้
พลังงานยังเป็นที่รู้จักในนามของสิ่งที่ทาให้เกิด งาน (work) งานในที่นี่ไม่ใช่การบ้านหรืองานบ้านนะคะ แต่งานคือ แรงที่ทาให้วัตถุ
เคลื่อนไปในทิศทางเดียวกับแรงที่กระทาต่อวัตถุนั้น พลังงานมีหน่วยวัดเป็นจูล(Joules) หรือกิโลวัตต์-ชั่วโมง นะคะน้องเชอร์รี่ น้อง
ลูกกวาด
พลังงานคืออะไร? นะ
ลูกกวาดรู้ไหมว่าพลังงานคืออะไร
ไม่รู้เหมือนกันจ้าเชอรี่ งั้นเราไปถามพี่องุ่นกันดีกว่าว่าพลังงานคืออะไร
ตกลงจ้า ไปหาพี่องุ่นกัน
พี่องุ่นคะ เราสองคนอยากทราบว่าพลังงานคืออะไรค่ะ
พี่องุ่นช่วยอธิบายให้พวกเราสองคนฟังได้ไหมคะ ?
jirupi@kku.ac.th
ก็แสดงว่าเมื่อเราพลักกล่องเลื่อนไปตามแรงที่เราผลัก หรือถ้าเราเก็บ
หนังสือไว้ในชั้นสูงๆเราต้องดันหนังสือขึ้นไปเก็บที่ตรงชั้นนั้น ก็แสดงว่า
เกิดจากการใช้กระบวนการใช้พลังงานใช่ไหมคะพี่องุ่น
ลูกกวาดเข้าใจแล้วคะพี่องุ่น
โอเค คะ งั้นทั้งสองคนทราบแล้วนะว่าพลังงานคืออะไร พีองุ่นก็จะอธิบายให้น้องเชอรี่กับน้องลูกกวาดเข้าใจ
เรื่องงานและพลังงานมากขึ้นนะคะ เกี่ยวกับชนิดของพลังงานและขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับพลังงานชนิดนั้น
ซึ่งจะทาให้น้องเอรี่และน้องลูกกวาดได้มโนภาพที่ถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานด้วยตัวของน้องเองนะคะ
พลังงานกล (Mechanical Energy) พลังงาน มี 2 ชนิดนั่น คือ พลังงานศักย์ (Potential Energy)
พลังงานจลน์(Kinetic Energy) วันนี้พี่องุ่นจะสอนเรื่องพลังงานจลน์ก่อนแล้วกันนะคะ
ตกลงคะ งั้นเราไปเรียนเรื่องพลังงงานจลน์
กันคะพี่องุ่น เราสองคนพร้อมแล้ว
พลังงงานกล หรือพลังงานทางกลศาสตร์ พลังงานกลของวัตถุมี 2 รูปและที่แตกต่างกันชัดเจน ได้แก่
พลังงานที่ขึ้นกับความเร็วของวัตถุ เรียกว่าพลังงานจลน์ (Kinetic Energy; Ek) นั่นเอง
พลังงานจลน์ คือพลังงานที่มีอยู่ในวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ เพราะวัตถุนั้นถูกแรงกระทา และถ้าแรงนั้นทาให้
เกิดการกระจัดตามแนวแรงก็หมายความว่า มีงานเกิดขึ้น วัตถุที่เคลื่อที่ก็สามารถทางานได้ เช่น กาที่
นักเรียนเตะลูกฟุตบอลให้ไปชนกับถังขยะ ลูกบอลทาให้ถังขยะกลิ้งล้มกระจัดกระจาย แสดงว่าลูกบอลที่
เคลื่อนที่มีพลังงานแฝงอยู่ด้วย ซึ่งพลังงานที่สะสมอยู่ในวัตถุอันเนื่องมาจากอัตราเร็วของวัตถุ วัตถุที่หยุด
นิ่งจะไม่มีพลังงานจลน์ พลังงานจลน์ไม่ชึ้นกับทิสของการเคลื่อนที่ แต่ขึ้นกับขนาดของความเร็วยกาลังสอง
หรืออัตราเร็วกาลังสองและขึ้นกับมวลของวัตถุด้วย ดังนั้น พลังงงานจลน์จึงมาค่าเท่ากับ
Ek =
1
2
𝑚𝑣2
น้องเชอรี่และน้องลูกกวาด พลังงานจลน์ที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ มีอะไรบ้างคะ
พลังงานลมคะ
พลีงงานคลื่น และพลังงานน้าคะ
พลังงานเสียงคะ
jirupi@kku.ac.th
บททบทวนเรื่องพลังงานกับพลังงานจลน์
พลังงาน คือ สิ่งที่ไม่มีตัวตน แต่มีความสามารถทางานได้
พลังงานจลน์ (kinetic energy; Ek) คือพลังงานที่สะสมอยู่ในวัตถุอันเนื่องจาก
อัตราเร็วของวัตถุ มีขนาดเท่ากับงานต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุจนหยุดนิ่ง
กาหนดให้วัตถุมวล m เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v ดังรูป ต้องการหาขนาดของพลังงานจลน์
(Ek)
หาความเร่งจาก v2
= u2
+ 2as
เก่งมากคะ น้องเชอรี่และน้องลูกวาดทราบได้อย่าไรคะว่าพลังงานเหล่านั้นเป็น
พลังงานจลน์
การไหลของน้าตก และการเกิดคลื่นน้า พลังงานน้าที่แรงมาก
เพียงพอสามารถหมุนกังหันน้าได้
พลังงานลมถ้ามีแรงมากสามารถหมุนกังหันลมได้คะ ส่วนพลังงานเสียง คือ ส่วนขยาย ความถี่ของ
ส่วนอัดและส่วนขยายที่เกิดขึ้นมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความดังและลักษณะเสียงจากแหล่งกาเนิด
เสียงเมื่อเดินทางมาถึง หูมนุษย์ทาให้เยื่อแก้วหูเกิดการสั่นมีความถี่ต่างๆ กัน
เก่งมากคะ งั้นเรามาเข้าสู่บทเรียนทบทวนกันในเรื่องของพลังงานจลน์
jirupi@kku.ac.th
แทนค่า 0 = v2
+ 2as
a = s2
v2

เป็นลบ แสดงว่าความเร่งมีทิศตรงข้ามกับ u
หาขนาดของแรงต้าน  F = ma
แทนค่า f = ma = m s2
v2
= s2
mv2
หางานจากแรงต้าน Wf = -fs = - s2
mv2
s = -
2mv
2
1
ดังนั้นขนาดของพลังงานจลน์เท่ากับ E = | Wf | =
2mv
2
1
นั่นคือ Ek =
2mv
2
1
……..(1)
ดังนั้นขนาดของพลังงานจลน์เท่ากับ E = | Wf | =
2mv
2
1
เมื่อ m คือ มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น kg
v คือ อัตราเร็วของวัตถุ มีหน่วยเป็น m/s
Ek คือ พลังงานจลน์ มีหน่วยเป็น kg m2
/s2
หรือ Nm หรือ J
จากสมการ สามารถเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ของ Ek และ v ได้ดังรูปกราฟ
jirupi@kku.ac.th
กราฟความสัมพันธ์พลังงานจลน์กับอัตราเร็ว
หมายเหตุ พลังงานจลน์ เป็นปริมาณสเกลาร์ ไม่คานึงถึงทิศทางจะขึ้นอยู่กับมวลและ
อัตราเร็วเท่านั้น
งานกับการเปลี่ยนพลังงานจลน์ของวัตถุ
ถ้าแรงลัพธ์ที่ไม่เป็นศูนย์มากระทากับวัตถุ พลังงานจลน์ของวัตถุจะเปลี่ยนไป สามารถ
พิสูจน์สมการได้ดังนี้
จากสูตร = ma
และ = u2
+ 2as
=
จะได้ =
เมื่อ Eku แทนพลังงานจลน์ของวัตถุ = (ขณะมีความเร็วต้น u)
Ekv แทนพลังงานจลน์ของวัตถุ = (ขณะมีความเร็วต้น v)
แทนพลังงานจลน์ที่เปลี่ยนไปของวัตถุ
และ แทนงานของแรงลัพธ์
แสดงว่า = หรือ =

Más contenido relacionado

Más de jirupi

งานและพลังงาน
งานและพลังงาน งานและพลังงาน
งานและพลังงาน jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะแผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะjirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนผังมโนทัศน์jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน3jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน2jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบฝึกทักษะแผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบฝึกทักษะjirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนjirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แผนผังมโนทัศน์jirupi
 

Más de jirupi (20)

1
11
1
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงาน งานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะแผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนผังมโนทัศน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบฝึกทักษะแผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบฝึกทักษะ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แผนผังมโนทัศน์
 

Content-2-Energy

  • 1. jirupi@kku.ac.th เรื่อง พลังงาน (Energy) ในบทนี้เรามาทาความรู้จักกับคาว่าพลังงานงานกัน ว่าพลังงานที่เรารู้จักมาจากไหน และเรา สามารถจัดเก็บพลังงานนั้นได้หรือไม่อย่างไร ซึ่งเราจะเห็นพลังงานเหล่านั้นมากมาย ไม่ว่าจะ เป็นการใช้หรือการผลิต ทั้งที่เราสามารถจับต้องได้และไม่สามารถมองเห็นพลังงานได้ แต่เรา สามารถรับรู้จากผลการกระทาของพลังงานได้ โดยส่วนหนึ่งจะเห็นจากร่างกายของเรา และ อีกส่วนหนึ่งจากเครื่องมือ เรามาเรียนเรื่องพลังงานกับน้องเชอร์รี่ พี่องุ่น และน้องลูกกวาด กันนะคะ เพื่อให้น้องๆเข้าใจเรื่องพลังงานกันดีขึ้น พลังงานคืออะไร? ได้สิคะ น้องเชอรี่กับน้องลูกกวาด พลังงาน คือ อานาจที่แฝงอยู่ในวัตถุ พลังงานเป็นกลไกสาคัญของธรรมชาติและเครื่องจักรกลซึ่งมีอยู่ในหลายรูปแบบ และคือสิ่งที่ ทาให้สิ่งต่างๆเคลื่อนที่ได้ ถ้าไม่มีพลังงาน ก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น สิ่งใดก็ตามที่เคลื่อนไหว เติบโต หรือทางานในทางใดทางหนึ่ง ย่อมมี พลังงาน พลังงานความร้อนเป็นพลังงานอย่างหนึ่งเราอาจมองไม่เห็นความร้อนเคลื่อนที่แต่ความร้อนทาให้โมเลกุลเคลื่อนที่เร็วขึ้น พลังงานอาจถูกเก็บไว้ได้ เช่น พลังงานอยู่ในก้อนถ่านหิน ในกล่องไม้ขีดไฟ หรือในผลแอปเปิล เป็นต้น พลังงานที่ถูกเก็บไว้ สามารถนามาใช้ได้ พลังงานสามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่ไม่สามารถถูกทาลายได้ เพียงแต่ถูกเปลี่ยนจากรูปหนึ่งไปอีกรูปหนึ่ง พลังงานสามารถถูกใช้ได้แต่จะใช้ให้หมดไปไม่ได้ พลังงานยังเป็นที่รู้จักในนามของสิ่งที่ทาให้เกิด งาน (work) งานในที่นี่ไม่ใช่การบ้านหรืองานบ้านนะคะ แต่งานคือ แรงที่ทาให้วัตถุ เคลื่อนไปในทิศทางเดียวกับแรงที่กระทาต่อวัตถุนั้น พลังงานมีหน่วยวัดเป็นจูล(Joules) หรือกิโลวัตต์-ชั่วโมง นะคะน้องเชอร์รี่ น้อง ลูกกวาด พลังงานคืออะไร? นะ ลูกกวาดรู้ไหมว่าพลังงานคืออะไร ไม่รู้เหมือนกันจ้าเชอรี่ งั้นเราไปถามพี่องุ่นกันดีกว่าว่าพลังงานคืออะไร ตกลงจ้า ไปหาพี่องุ่นกัน พี่องุ่นคะ เราสองคนอยากทราบว่าพลังงานคืออะไรค่ะ พี่องุ่นช่วยอธิบายให้พวกเราสองคนฟังได้ไหมคะ ?
  • 2. jirupi@kku.ac.th ก็แสดงว่าเมื่อเราพลักกล่องเลื่อนไปตามแรงที่เราผลัก หรือถ้าเราเก็บ หนังสือไว้ในชั้นสูงๆเราต้องดันหนังสือขึ้นไปเก็บที่ตรงชั้นนั้น ก็แสดงว่า เกิดจากการใช้กระบวนการใช้พลังงานใช่ไหมคะพี่องุ่น ลูกกวาดเข้าใจแล้วคะพี่องุ่น โอเค คะ งั้นทั้งสองคนทราบแล้วนะว่าพลังงานคืออะไร พีองุ่นก็จะอธิบายให้น้องเชอรี่กับน้องลูกกวาดเข้าใจ เรื่องงานและพลังงานมากขึ้นนะคะ เกี่ยวกับชนิดของพลังงานและขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับพลังงานชนิดนั้น ซึ่งจะทาให้น้องเอรี่และน้องลูกกวาดได้มโนภาพที่ถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานด้วยตัวของน้องเองนะคะ พลังงานกล (Mechanical Energy) พลังงาน มี 2 ชนิดนั่น คือ พลังงานศักย์ (Potential Energy) พลังงานจลน์(Kinetic Energy) วันนี้พี่องุ่นจะสอนเรื่องพลังงานจลน์ก่อนแล้วกันนะคะ ตกลงคะ งั้นเราไปเรียนเรื่องพลังงงานจลน์ กันคะพี่องุ่น เราสองคนพร้อมแล้ว พลังงงานกล หรือพลังงานทางกลศาสตร์ พลังงานกลของวัตถุมี 2 รูปและที่แตกต่างกันชัดเจน ได้แก่ พลังงานที่ขึ้นกับความเร็วของวัตถุ เรียกว่าพลังงานจลน์ (Kinetic Energy; Ek) นั่นเอง พลังงานจลน์ คือพลังงานที่มีอยู่ในวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ เพราะวัตถุนั้นถูกแรงกระทา และถ้าแรงนั้นทาให้ เกิดการกระจัดตามแนวแรงก็หมายความว่า มีงานเกิดขึ้น วัตถุที่เคลื่อที่ก็สามารถทางานได้ เช่น กาที่ นักเรียนเตะลูกฟุตบอลให้ไปชนกับถังขยะ ลูกบอลทาให้ถังขยะกลิ้งล้มกระจัดกระจาย แสดงว่าลูกบอลที่ เคลื่อนที่มีพลังงานแฝงอยู่ด้วย ซึ่งพลังงานที่สะสมอยู่ในวัตถุอันเนื่องมาจากอัตราเร็วของวัตถุ วัตถุที่หยุด นิ่งจะไม่มีพลังงานจลน์ พลังงานจลน์ไม่ชึ้นกับทิสของการเคลื่อนที่ แต่ขึ้นกับขนาดของความเร็วยกาลังสอง หรืออัตราเร็วกาลังสองและขึ้นกับมวลของวัตถุด้วย ดังนั้น พลังงงานจลน์จึงมาค่าเท่ากับ Ek = 1 2 𝑚𝑣2 น้องเชอรี่และน้องลูกกวาด พลังงานจลน์ที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ มีอะไรบ้างคะ พลังงานลมคะ พลีงงานคลื่น และพลังงานน้าคะ พลังงานเสียงคะ
  • 3. jirupi@kku.ac.th บททบทวนเรื่องพลังงานกับพลังงานจลน์ พลังงาน คือ สิ่งที่ไม่มีตัวตน แต่มีความสามารถทางานได้ พลังงานจลน์ (kinetic energy; Ek) คือพลังงานที่สะสมอยู่ในวัตถุอันเนื่องจาก อัตราเร็วของวัตถุ มีขนาดเท่ากับงานต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุจนหยุดนิ่ง กาหนดให้วัตถุมวล m เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v ดังรูป ต้องการหาขนาดของพลังงานจลน์ (Ek) หาความเร่งจาก v2 = u2 + 2as เก่งมากคะ น้องเชอรี่และน้องลูกวาดทราบได้อย่าไรคะว่าพลังงานเหล่านั้นเป็น พลังงานจลน์ การไหลของน้าตก และการเกิดคลื่นน้า พลังงานน้าที่แรงมาก เพียงพอสามารถหมุนกังหันน้าได้ พลังงานลมถ้ามีแรงมากสามารถหมุนกังหันลมได้คะ ส่วนพลังงานเสียง คือ ส่วนขยาย ความถี่ของ ส่วนอัดและส่วนขยายที่เกิดขึ้นมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความดังและลักษณะเสียงจากแหล่งกาเนิด เสียงเมื่อเดินทางมาถึง หูมนุษย์ทาให้เยื่อแก้วหูเกิดการสั่นมีความถี่ต่างๆ กัน เก่งมากคะ งั้นเรามาเข้าสู่บทเรียนทบทวนกันในเรื่องของพลังงานจลน์
  • 4. jirupi@kku.ac.th แทนค่า 0 = v2 + 2as a = s2 v2  เป็นลบ แสดงว่าความเร่งมีทิศตรงข้ามกับ u หาขนาดของแรงต้าน  F = ma แทนค่า f = ma = m s2 v2 = s2 mv2 หางานจากแรงต้าน Wf = -fs = - s2 mv2 s = - 2mv 2 1 ดังนั้นขนาดของพลังงานจลน์เท่ากับ E = | Wf | = 2mv 2 1 นั่นคือ Ek = 2mv 2 1 ……..(1) ดังนั้นขนาดของพลังงานจลน์เท่ากับ E = | Wf | = 2mv 2 1 เมื่อ m คือ มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น kg v คือ อัตราเร็วของวัตถุ มีหน่วยเป็น m/s Ek คือ พลังงานจลน์ มีหน่วยเป็น kg m2 /s2 หรือ Nm หรือ J จากสมการ สามารถเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ของ Ek และ v ได้ดังรูปกราฟ
  • 5. jirupi@kku.ac.th กราฟความสัมพันธ์พลังงานจลน์กับอัตราเร็ว หมายเหตุ พลังงานจลน์ เป็นปริมาณสเกลาร์ ไม่คานึงถึงทิศทางจะขึ้นอยู่กับมวลและ อัตราเร็วเท่านั้น งานกับการเปลี่ยนพลังงานจลน์ของวัตถุ ถ้าแรงลัพธ์ที่ไม่เป็นศูนย์มากระทากับวัตถุ พลังงานจลน์ของวัตถุจะเปลี่ยนไป สามารถ พิสูจน์สมการได้ดังนี้ จากสูตร = ma และ = u2 + 2as = จะได้ = เมื่อ Eku แทนพลังงานจลน์ของวัตถุ = (ขณะมีความเร็วต้น u) Ekv แทนพลังงานจลน์ของวัตถุ = (ขณะมีความเร็วต้น v) แทนพลังงานจลน์ที่เปลี่ยนไปของวัตถุ และ แทนงานของแรงลัพธ์ แสดงว่า = หรือ =