SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 11
Descargar para leer sin conexión
241203 INNOVATION AND INFORMATION
TECHNOLOGY FOR LEARNING
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียน
โดย
นาย อลงกรณ์ เคี่ยนบุ้น 553050113-8
นาย อัษฎา พงษ์พัฒน์ 553050115-4
นางสาวกนกณัฐ สีหานาม 553050271-0
นักศึกษาชั้นปีที่2 ปีการศึกษา 1/2556
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรศึกษา
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อาจารย์ที่ปรึกษา
อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร
อ.ดร.จารุณี ซามาตย์
Part 2
Theoretical Foundation
Charter 3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับ
เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่
ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
สาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อไม่ตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้ เนื่องจากการที่สื่อขาด
ความสันพันธ์กับตัวของผู้เรียน เนื่องจาก สื่อที่ครูสมศรีใช้นั้น เป็นสื่อที่เน้นแต่การป้อนข้อมูลเพียง
อย่างเดียวถึงแม้จะมีกราฟิกปนอยู่บ้างก็ตาม เพราะว่าการเรียนในแบบสื่อที่ออกมานั้นสามารถเปรียบ
ผู้เรียนเป็นถัง หรือภาชนะที่จะต้องเท หรือเติมความรู้ โดยครูผู้สอน หนังสือเรียน ตารา สื่อการสอน
ต่าง ๆ แต่ในทางตรงข้ามตามประสงค์เป้าหมายแล้ว ผู้เรียนจะเป็นผู้สร้างความรู้ โดยการสังเกต ลงมือ
กระทา และอธิบายความหมายโลกรอบๆ ตัวผู้เรียน
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่
ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
การเรียนรู้เดิมที่เน้น การเติมความรู้ทุกอย่างลงไป
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่
ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
การเรียนรู้แบบใหม่ที่เน้นกระบวนการคิด วิเคราะห์ ของผู้เรียน
2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามา
จากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากการเชื่อมโยง
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า และการตอบสนอง จะมุ่งเน้นเพียงเฉพาะพฤติกรรมที่สามารถวัดและสังเกต
ได้เท่านั้น โดยไม่ศึกษาถึงกระบวนการภายในของมนุษย์ (Mental process) จากแนวคิดดังกล่าว
บทบาทของผู้เรียนจึงเป็นผู้ที่รอรับ (Passively) ความรู้ ตลอดจนสิ่งเร้าต่างๆที่จัดให้ในขณะที่เรียนรู้ เช่น
รางวัล การลงโทษหรือแม้แต่แรงเสริม เป็นต้น ในขณะที่บทบาทของครูจะเป็นผู้บริหารจัดการสิ่งเร้าที่จะ
ให้ผู้เรียน เช่น การทาแบบฝึกหัดช้าๆ (Drill-and-practice) การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นต้น
ส่วนบทบาทของนักเทคโนโลยีการศึกษาคือผู้ที่สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนทาช้าๆในการ
ตอบสนองที่ง่ายๆ ซึ่งจะได้รับผลตอบสนองกลับทันทีทันใดในขณะที่เรียนรู้ การออกแบบสื่อตาม
พื้นฐานทฤษฎีพฤติกรรมนิยมจะถูกเรียกว่า การออกแบบการสอนในช่วงเริ่มแรก มุ่งเน้นการออกแบบ
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจาความรู้ให้ได้ในปริมาณมากที่สุดบทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ
งานของครูผู้สอนจะเป็นผู้นาเสนอข้อมูลสารสนเทศ
2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามา
จากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและ
ด้านคุณภาพ คือ นอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้
เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ และสามารถถ่ายโยงความรู้และ
ทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้ว ไปสู่บริบทและปัญหาใหม่ (Mayer, 1992) อาจกล่าวได้ว่าการเรียนรู้
ตามแนวคิดนี้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสามารถวางสารสนเทศใหม่ในความจาระยะยาว (Long-term
memory) ซึ่งจะแตกต่างกันการเรียนรู้ของพฤติกรรมนิยมที่จะอธิบายเพียงเฉพาะพฤติกรรมภายนอกที่
แสดงออกมา ซึ่งการได้มาซึ่งความรู้หรือการเรียนรู้ตามแนวคิดนี้ก็คือปริมาณของ สารสนเทศที่ได้รับจาก
การถ่ายทอดโดยตรงจากครูไปยังผู้เรียน ส่วนบทบาทของนักออกแบบสื่อคือ ผู้สร้างสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสามารถรับสารสนเทศไปเก็บไว้ในหน่วยความจา (Memory) ได้ในปริมาณมาก
2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามา
จากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
การออกแบบเทคโนโลยีและสื่อตามแนวคิดนี้จะอยู่บนนิยามเกี่ยวกับการเรียนรู้ไว้ว่า เป็นการ
เปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียน ทั้งทางด้านปริมาณและด้านคุณภาพ หรือการเรียนรู้เป็นผลมา จากการ
จัดระเบียบ หรือ จัดหมวดหมู่ของความจาลงสู่โครงสร้างทางปัญญา หรือเรียกว่า Mental Models คือ
นอกจาก ผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่ เรียนรู้เหล่านั้น ให้เป็น
ระเบียบ เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ
2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามา
จากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ อธิบายว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความรู้อย่างตื่นตัวด้วยตนเองโดย
พยายามสร้างความเข้าใจ (Understanding) นอกเหนือเนื้อหาความรู้ที่ได้รับ โดยการสร้างสิ่งแทน
ความรู้ (Representation) ขึ้นมา ซึ่งต้องอาศัยการเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของตนเอง บทบาท
ของผู้เรียนคือลงมือกระทาการเรียนรู้ ส่วนบทบาทของนักออกแบบสื่อคือผู้สร้างสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับเนื้อหา สื่อ ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ทั้งหลายที่อยู่
รอบตัวผู้เรียน การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ จะมีพื้นฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่
ให้นิยามเกี่ยวกับการเรียนรู้ไว้ว่าเป็นการสร้างความรู้ (Knowledge Construction) ซึ่งมาจากพื้นฐาน
ที่ว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้สร้างสิ่งที่แทนความรู้ใน ความจาในระยะทางาน (Working
Memory) อย่างตื่นตัว
2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามา
จากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์
ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่
พื้นฐานของสิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
พื้นฐานของความเป็นจริง คือ หากสังคมหรือกระบวนทัศน์ของการศึกษามีการเปลี่ยนแปลงไป ต้อง
คานึงว่า สิ่งที่เปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาไปนั้นสามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริงหรือเปล่า แล้ว
นาไปใช้ได้กับทุกสถานที่ได้จริงๆหรือเปล่า เพราะหากนามาใช้ให้เกิดประโยชน์กับคนบางกลุ่ม เกิดการ
เปลี่ยนแปลงแค่บางสถานที่ กาศึกษาไทยก็คงยังถูกมองว่าไม่ได้รับการพัฒนาที่แท้จริง เช่น การสอน
อินเตอร์เน็ต ถึงแม้คนจะมองว่าอินเตอร์เน็ต มีอยู่แล้วทั่วประเทศแต่บางพื้นที่ยังไม่มีแมกระทั่งไฟฟ้า
จึงอยากให้ช่วยเร่งมือพัฒนาในที่ๆนั้นๆด้วย
พื้นฐานของการเรียนรู้ คือ พัฒนาให้มีอิสระทางสังคมโลกแล้วในเรื่องสื่อ ก็ควรจะมีการควบคุมให้อยู่
ในระบอบของการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เทคโนโลยีก็เหมือนดาบสองคมที่มีทั้งคุณและโทษ หาก
ครูผู้สอนปลูกฝังให้เด็กใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์นั้น เด็กก็จะเป็นประสิทธิผลแห่งการเรียนรู้ที่ดี
เช่น การให้เด็กเรียนผ่ายอินเตอร์เน็ต รู้ได้อย่างไรว่าเด็กเขาเข้าไปเรียนจริง เขาอาจจะฝากเพื่อน ฝาก
คนอื่นทาให้ก็เป็นได้

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาPennapa Kumpang
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนAtigarn Tingchart
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)Uraiwan Chankan
 
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่นิพ พิทา
 
Past 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPast 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPimploy Sornchai
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีPennapa Kumpang
 
Introduction to technologies and educational media.
Introduction  to technologies and educational media.Introduction  to technologies and educational media.
Introduction to technologies and educational media.Lapasrada Parasirisakul
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
Chapter3 part 2
Chapter3 part 2Chapter3 part 2
Chapter3 part 2Dao Msu
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่6
สถานการณ์ปัญหาบทที่6สถานการณ์ปัญหาบทที่6
สถานการณ์ปัญหาบทที่6Popeep Popy
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7Tar Bt
 
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...Prachyanun Nilsook
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1Hathaichon Nonruongrit
 

La actualidad más candente (20)

นวัตกรรม Chapter 2
นวัตกรรม Chapter 2นวัตกรรม Chapter 2
นวัตกรรม Chapter 2
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ Week 4 (ppt)
 
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
 
Past 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational mediaPast 3 Introduction to technologies and educational media
Past 3 Introduction to technologies and educational media
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
Introduction to technologies and educational media.
Introduction  to technologies and educational media.Introduction  to technologies and educational media.
Introduction to technologies and educational media.
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
Chapter3 part 2
Chapter3 part 2Chapter3 part 2
Chapter3 part 2
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่6
สถานการณ์ปัญหาบทที่6สถานการณ์ปัญหาบทที่6
สถานการณ์ปัญหาบทที่6
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 

Similar a 241203 chapter03

บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้T'Rak Daip
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Noom Theerayut
 
งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3micnattawat
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาMarkker Promma
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาDee Arna'
 
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้unpununping
 
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BNkhomAtom
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษาVitamilk
 
สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3Popeep Popy
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...Noppakhun Suebloei
 
นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3Bell Bella
 
Past 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPast 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPimploy Sornchai
 
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2Prachyanun Nilsook
 
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษาบทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษาNalintip Vongsapat
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาlikhit j.
 
Theoretical foundation by math ed kku sec2
Theoretical  foundation by math ed kku sec2Theoretical  foundation by math ed kku sec2
Theoretical foundation by math ed kku sec2chatruedi
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 

Similar a 241203 chapter03 (20)

บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
 
บทที่ึ7
บทที่ึ7บทที่ึ7
บทที่ึ7
 
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
 
สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3
 
Past 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPast 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational media
 
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2
การเรียนรู้เสริมด้วย Technology enhanced learning2
 
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษาบทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Theoretical foundation by math ed kku sec2
Theoretical  foundation by math ed kku sec2Theoretical  foundation by math ed kku sec2
Theoretical foundation by math ed kku sec2
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Más de Kanoknut Seehanam (13)

ผลการสังเกตการณ์ในชั้นเรียน
ผลการสังเกตการณ์ในชั้นเรียนผลการสังเกตการณ์ในชั้นเรียน
ผลการสังเกตการณ์ในชั้นเรียน
 
241203 chapter10
241203 chapter10241203 chapter10
241203 chapter10
 
241203 chapter09
241203 chapter09241203 chapter09
241203 chapter09
 
241203 chapter08
241203 chapter08241203 chapter08
241203 chapter08
 
241203 chapter07
241203 chapter07241203 chapter07
241203 chapter07
 
241203 chapter06
241203 chapter06241203 chapter06
241203 chapter06
 
241203 chapter05
241203 chapter05241203 chapter05
241203 chapter05
 
241203 chapter04
241203 chapter04241203 chapter04
241203 chapter04
 
231213
231213231213
231213
 
231213
231213231213
231213
 
Makeaplan_ppt
Makeaplan_pptMakeaplan_ppt
Makeaplan_ppt
 
Makeaplan
MakeaplanMakeaplan
Makeaplan
 
Mind map241203 chapter01
Mind map241203 chapter01Mind map241203 chapter01
Mind map241203 chapter01
 

241203 chapter03

  • 1. 241203 INNOVATION AND INFORMATION TECHNOLOGY FOR LEARNING นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียน โดย นาย อลงกรณ์ เคี่ยนบุ้น 553050113-8 นาย อัษฎา พงษ์พัฒน์ 553050115-4 นางสาวกนกณัฐ สีหานาม 553050271-0 นักศึกษาชั้นปีที่2 ปีการศึกษา 1/2556 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาจารย์ที่ปรึกษา อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร อ.ดร.จารุณี ซามาตย์
  • 2. Part 2 Theoretical Foundation Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับ เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
  • 3. 1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา สาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อไม่ตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้ เนื่องจากการที่สื่อขาด ความสันพันธ์กับตัวของผู้เรียน เนื่องจาก สื่อที่ครูสมศรีใช้นั้น เป็นสื่อที่เน้นแต่การป้อนข้อมูลเพียง อย่างเดียวถึงแม้จะมีกราฟิกปนอยู่บ้างก็ตาม เพราะว่าการเรียนในแบบสื่อที่ออกมานั้นสามารถเปรียบ ผู้เรียนเป็นถัง หรือภาชนะที่จะต้องเท หรือเติมความรู้ โดยครูผู้สอน หนังสือเรียน ตารา สื่อการสอน ต่าง ๆ แต่ในทางตรงข้ามตามประสงค์เป้าหมายแล้ว ผู้เรียนจะเป็นผู้สร้างความรู้ โดยการสังเกต ลงมือ กระทา และอธิบายความหมายโลกรอบๆ ตัวผู้เรียน
  • 4. 1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา การเรียนรู้เดิมที่เน้น การเติมความรู้ทุกอย่างลงไป
  • 5. 1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา การเรียนรู้แบบใหม่ที่เน้นกระบวนการคิด วิเคราะห์ ของผู้เรียน
  • 6. 2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามา จากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากการเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า และการตอบสนอง จะมุ่งเน้นเพียงเฉพาะพฤติกรรมที่สามารถวัดและสังเกต ได้เท่านั้น โดยไม่ศึกษาถึงกระบวนการภายในของมนุษย์ (Mental process) จากแนวคิดดังกล่าว บทบาทของผู้เรียนจึงเป็นผู้ที่รอรับ (Passively) ความรู้ ตลอดจนสิ่งเร้าต่างๆที่จัดให้ในขณะที่เรียนรู้ เช่น รางวัล การลงโทษหรือแม้แต่แรงเสริม เป็นต้น ในขณะที่บทบาทของครูจะเป็นผู้บริหารจัดการสิ่งเร้าที่จะ ให้ผู้เรียน เช่น การทาแบบฝึกหัดช้าๆ (Drill-and-practice) การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นต้น ส่วนบทบาทของนักเทคโนโลยีการศึกษาคือผู้ที่สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนทาช้าๆในการ ตอบสนองที่ง่ายๆ ซึ่งจะได้รับผลตอบสนองกลับทันทีทันใดในขณะที่เรียนรู้ การออกแบบสื่อตาม พื้นฐานทฤษฎีพฤติกรรมนิยมจะถูกเรียกว่า การออกแบบการสอนในช่วงเริ่มแรก มุ่งเน้นการออกแบบ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจาความรู้ให้ได้ในปริมาณมากที่สุดบทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ งานของครูผู้สอนจะเป็นผู้นาเสนอข้อมูลสารสนเทศ
  • 7. 2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามา จากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและ ด้านคุณภาพ คือ นอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้ เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ และสามารถถ่ายโยงความรู้และ ทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้ว ไปสู่บริบทและปัญหาใหม่ (Mayer, 1992) อาจกล่าวได้ว่าการเรียนรู้ ตามแนวคิดนี้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสามารถวางสารสนเทศใหม่ในความจาระยะยาว (Long-term memory) ซึ่งจะแตกต่างกันการเรียนรู้ของพฤติกรรมนิยมที่จะอธิบายเพียงเฉพาะพฤติกรรมภายนอกที่ แสดงออกมา ซึ่งการได้มาซึ่งความรู้หรือการเรียนรู้ตามแนวคิดนี้ก็คือปริมาณของ สารสนเทศที่ได้รับจาก การถ่ายทอดโดยตรงจากครูไปยังผู้เรียน ส่วนบทบาทของนักออกแบบสื่อคือ ผู้สร้างสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสามารถรับสารสนเทศไปเก็บไว้ในหน่วยความจา (Memory) ได้ในปริมาณมาก
  • 8. 2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามา จากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา การออกแบบเทคโนโลยีและสื่อตามแนวคิดนี้จะอยู่บนนิยามเกี่ยวกับการเรียนรู้ไว้ว่า เป็นการ เปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียน ทั้งทางด้านปริมาณและด้านคุณภาพ หรือการเรียนรู้เป็นผลมา จากการ จัดระเบียบ หรือ จัดหมวดหมู่ของความจาลงสู่โครงสร้างทางปัญญา หรือเรียกว่า Mental Models คือ นอกจาก ผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่ เรียนรู้เหล่านั้น ให้เป็น ระเบียบ เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ
  • 9. 2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามา จากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ อธิบายว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความรู้อย่างตื่นตัวด้วยตนเองโดย พยายามสร้างความเข้าใจ (Understanding) นอกเหนือเนื้อหาความรู้ที่ได้รับ โดยการสร้างสิ่งแทน ความรู้ (Representation) ขึ้นมา ซึ่งต้องอาศัยการเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของตนเอง บทบาท ของผู้เรียนคือลงมือกระทาการเรียนรู้ ส่วนบทบาทของนักออกแบบสื่อคือผู้สร้างสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับเนื้อหา สื่อ ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ทั้งหลายที่อยู่ รอบตัวผู้เรียน การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ จะมีพื้นฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่ ให้นิยามเกี่ยวกับการเรียนรู้ไว้ว่าเป็นการสร้างความรู้ (Knowledge Construction) ซึ่งมาจากพื้นฐาน ที่ว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้สร้างสิ่งที่แทนความรู้ใน ความจาในระยะทางาน (Working Memory) อย่างตื่นตัว
  • 11. 3. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่ พื้นฐานของสิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ Charter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา พื้นฐานของความเป็นจริง คือ หากสังคมหรือกระบวนทัศน์ของการศึกษามีการเปลี่ยนแปลงไป ต้อง คานึงว่า สิ่งที่เปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาไปนั้นสามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริงหรือเปล่า แล้ว นาไปใช้ได้กับทุกสถานที่ได้จริงๆหรือเปล่า เพราะหากนามาใช้ให้เกิดประโยชน์กับคนบางกลุ่ม เกิดการ เปลี่ยนแปลงแค่บางสถานที่ กาศึกษาไทยก็คงยังถูกมองว่าไม่ได้รับการพัฒนาที่แท้จริง เช่น การสอน อินเตอร์เน็ต ถึงแม้คนจะมองว่าอินเตอร์เน็ต มีอยู่แล้วทั่วประเทศแต่บางพื้นที่ยังไม่มีแมกระทั่งไฟฟ้า จึงอยากให้ช่วยเร่งมือพัฒนาในที่ๆนั้นๆด้วย พื้นฐานของการเรียนรู้ คือ พัฒนาให้มีอิสระทางสังคมโลกแล้วในเรื่องสื่อ ก็ควรจะมีการควบคุมให้อยู่ ในระบอบของการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ เทคโนโลยีก็เหมือนดาบสองคมที่มีทั้งคุณและโทษ หาก ครูผู้สอนปลูกฝังให้เด็กใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์นั้น เด็กก็จะเป็นประสิทธิผลแห่งการเรียนรู้ที่ดี เช่น การให้เด็กเรียนผ่ายอินเตอร์เน็ต รู้ได้อย่างไรว่าเด็กเขาเข้าไปเรียนจริง เขาอาจจะฝากเพื่อน ฝาก คนอื่นทาให้ก็เป็นได้