SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 11
Descargar para leer sin conexión
ซอฟต์แวร์สาเร็จรูปที่ใช้สร้างสรรค์งาน

ความหมายของซอฟต์แวร์
    การใช้งานระบบสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์ จาเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ควบคุมการทางาน เช่น การซื้อ
ของโดยใช้บัตรเครดิต ผู้ขายจะตรวจสอบบัตรเครดิตโดยใช้เครื่องอ่านบัตร แล้วส่งข้อมูลของบัตรเครดิตไป
ยังศูนย์ข้อมูลของบริษัทผู้ออกบัตร การตรวจสอบจะกระทากับฐานข้อมูลกลาง โดยมีกลไกหรือเงื่อนไขของ
การตรวจสอบ จากนั้นจึงให้คาตอบว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธบัตรเครดิตใบนั้น การดาเนินการเหล่านี้เป็นไป
โดยอัตโนมัติตามคาสั่งซอฟต์แวร์
    ทานองเดียวกันเมื่อซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า พนักงานเก็บเงินจะใช้เครื่องกราดตรวจอ่านรหัสแท่ง
บนสินค้าทาให้บนจอภาพปรากฏชื่อสินค้า รหัสสินค้า และราคา ในการดาเนินการนี้ต้องใช้ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้ระบบคอมพิวเตอร์ทางานได้
   ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคาสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลาดับขั้นตอนของการทางาน ชุดคาสั่งเหล่านี้ได้
จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคาสั่งแล้วทางานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็น
สิ่งที่มนุษย์จัดทาขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทางานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
    ชนิดของซอฟต์แวร์แบ่งเป็นสองประเภทใหญ่ คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) และซอฟต์แวร์
ประยุกต์ (application software)
ประเภทของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์แบ่งเป็นสองประเภท คือ
   1. ซอฟต์แวร์ระบบ (systems software) ประกอบด้วย
           1. ระบบปฎิบัติการ
           2. โปรแกรมอรรถประโยชน์
   2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software)
           1. ซอฟต์แวร์สาเร็จรูป
           2. ซอฟต์แวร์เฉพาะ

1. ซอฟต์แวร์ระบบ หมายถึง ชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ ซึ่งจะ
ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การนาเข้าข้อมูลของอุปกรณ์นาเข้า
การประมวลผลของหน่วยประมวลผล การจัดสรรหน่วยความจาสารอง และการแสดงผลของอุปกรณ์
แสดงผล เป็นต้น เมื่อผู้ใช้เริ่มเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ การทางานจะเป็นไปตามชุดคาสั่งที่เขียนขึ้น ชุดคาสั่ง
นั้นก็คือ “ซอฟต์แวร์ระบบ” นั่นเอง
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ไม่ว่าประเภทใดล้วนแต่ต้องทางานบนระบบปฏิบัติการทั้งสิ้น เครื่องคอมพิวเตอร์จะไม่
ทางานถ้าไม่มีระบบปฏิบัติการ การเริ่มใช้งานคอมพิวเตอร์ทุกครั้งจึงต้องบรรจุระบบปฏิบัติการเข้าไว้ใน
หน่วยความจาของเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อน
ที่จะให้เครื่องเริ่มทางานอย่างอื่น ซอฟต์แวร์ระบบที่นิยมใช้ คือ
ระบบปฏิบัติการ (operating system) เอ็มเอสดอส ยูนิกซ์ โอเอสทู วินโดวส์ ลินุกซ์ เป็นต้น

1.1 ระบบปฏิบัติการ
เนื่องจากระบบปฏิบัติการเป็นส่วนสาคัญที่ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานได้
แต่ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันมีสถาปัตยกรรมที่แตกต่างกัน เช่น เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
ที่เราใช้งานทั่วไปจะมีคุณสมบัติและการทางานที่แตกต่างจากคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น มินิคอมพิวเตอร์
ที่ทาหน้าที่เป็นเครื่องให้บริการที่ต้องคอยให้บริการและดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นบริวารจานวนมาก
ระบบปฏิบัติการที่ใช้งานกับคอมพิวเตอร์ประเภทนี้จึงต้องมีความซับซ้อนกว่าระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์

ตัวอย่างระบบปฏิบัติการ

    1. ระบบปฏิบัติการดอส (Disk Operating System :DOS) เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามา
       นานแล้ว การใช้งานจึงใช้คาสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้
       ไมโครคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างลักษณะคาสั่ง ในระบบปฏิบัติการดอส เช่น
       C:>copy C:mydocumentdata.doc A:myfile
       คาสั่งนี้เป็นการใช้คาสั่งคัดลอกแฟ้มข้อมูลชื่อ data.doc ที่อยู่ใน Drive C Folder mydocument เอาไป
       ไว้ที่ Drive A ใน Folder myfile
    2. ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (UNIX) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่อง
       มินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน
       และทางานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ยูนิกซ์จึงใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับเครื่อง
       ปลายทางได้หลายเครื่องพร้อมกัน
    3. ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์ (Microsoft Windows) ระบบปฏิบัติการนี้พัฒนาโดยบริษัท
       ไมโครซอฟต์ เป็นระบบปฏิบัติการที่มีลักษณะการใช้งานแตกต่างจาก 2 ระบบแรก เนื่องจากมีส่วน
       ติดต่อกับผู้ใช้ (user interface) เป็นแบบที่เรียกว่าระบบติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก (Graphical User
       Interface : GUI) หรือที่เรียกว่า จียูไอ คือมีการแสดงผลเป็นรูปภาพ และใช้สัญลักษณ์ในรูปรายการ
       เลือก (menu) หรือสัญรูป (icon) ในการสั่งงานคอมพิวเตอร์แทนการพิมพ์คาสั่งทีละบรรทัด ทาให้
       การใช้งานคอมพิวเตอร์ง่ายขึ้น ทั้งยังมีสีสันทาให้ซอฟต์แวร์น่าใช้งานมากขึ้น ระบบปฏิบัติการ
       วินส์โดวส์นี้เป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมสูงมากในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทั่วไป ทั้งนี้
       นอกจากจะเป็นความง่ายในการใช้งานที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังเป็นเพราะหลังจากที่บริษัท
       ไมโครซอฟต์ได้ผลิตระบบปฏิบัติการนี้ออกสู่ตลาด ก็ได้พัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่สามารถใช้งาน
       บนระบบปฏิบัติการนี้ขึ้นหลายประเภท เช่น ซอฟต์แวร์ในกลุ่มซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวร์
       ตารางทางาน หรือซอฟต์แวร์นาเสนอข้อมูล ซึ่งช่วยอานวยความสะดวกในการทางานของผู้ใช้ใน
       ทุก ๆ ด้าน ทาให้เกิดการใช้งานที่แพร่หลาย นอกจากนี้ยังได้มีการพัฒนาระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ ๆ
       ที่สนับสนุนการใช้งานกับเทคโนโลยีใหม่ที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่วินโดวส์ 3.0 (Windows 3.0)
       ซึ่งเป็นรุ่นแรกที่ทางานบนเครื่องเดียว พัฒนาเป็นรุ่นหรือเวอร์ชั่น ที่สามารถทางานเป็นกลุ่ม หรือ
เครือข่ายภายในองค์กรที่ใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ และพัฒนาต่อมาเป็นวินโดวส์ 95 (Windows 95)
       วินโดวส์ 98 (Windows 98) วินโดวส์เอ็มอี (Windows ME) และพัฒนาเป็นระบบปฏิบัติการ
       เครือข่ายที่สามารถจัดการด้านการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย จัดการด้าน
       การใช้งานอุปกรณ์ร่วมกัน และดูแลจัดสรรและรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เช่น วินโดวส์ เอ็นที
       (Windows NT) วินโดวส์ 2000 (Windows 2000) และวินโดวส์ เอ็กซ์พี (Windows XP) หรือแม้แต่
       ระบบปฏิบัติการสาหรับคอมพิวเตอร์พกพาอย่างวินโดวส์ ซีอี (Windows CE)
    4. ระบบปฏิบัติการโอเอสทู (OS2) เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดวส์ แต่บริษัท ผู้พัฒนาคือ
       บริษัทไอบีเอ็ม เป็นระบบปฏิบัติการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้ทางานได้หลายงานพร้อมกัน และ การใช้
       งานก็เป็นแบบกราฟิกเช่นเดียวกับวินโดวส์
    5. ระบบปฏิบัติการลินุกซ์ (LINUX) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาขึ้นมาโดยนักศึกษาชื่อว่า “Linus
       Torvalds” จากประเภทฟินแลนด์ LINUX เป็นระบบปฏิบัติการที่มีลักษณะคล้ายกับ UNIX แต่มี
       ขนาดเล็กกว่าและทางานได้เร็วกว่า ในช่วงแรกของการพัฒนา LINUX พัฒนาขึ้นมาเพื่อแจกจ่ายให้
       ใช้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และพัฒนาขึ้นมาเพื่อคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเท่านั้น แต่ในช่วงหลังความ
       นิยมใน การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายเพิ่มสูงขึ้น จึงมีผู้พัฒนาส่วนประกอบอื่น ๆ ของ
       LINUX เพื่อเพิ่ม ความสามารถในการทางานทางด้านเครือข่าย และผู้ใช้ต้องเสียค่าใช้จ่ายด้วย

มีรายละเอียดเพิ่มเติม

1.2 ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ (Utility Software)
เป็นโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่ช่วยสนับสนุน เพิ่ม หรือขยายขีดความสามารถของโปรแกรมที่ใช้งาน
อยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ระบบปฏิบัติการโดยส่วนใหญ่จะมีโปรแกรมอรรถประโยชน์มาให้ใช้งาน
อยู่แล้ว เช่น

       Windows Explorer เป็นเครื่องมือแสดงไฟล์ที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถดูภาพ และแก้ไของค์ประกอบ
        ของไฟล์ได้
       Uninstaller เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่ใช้ในการยกเลิกโปรแกรมที่ทาการติดตั้งไว้ในระบบ
        เมื่อผู้ใช้ทาการติดตั้งโปรแกรม ระบบปฏิบัติการจะทาการบันทึกโปรแกรมนั้นไว้ในระบบไฟล์ หาก
        ผู้ใช้ต้องการลบโปรแกรมนั้นออกจากเครื่องก็สามารถใช้ เครื่องมือยกเลิกการติดตั้งโปรแกรมได้
       Disk Scanner เป็นเครื่องมือตรวจสอบดิสก์ เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่ใช้ในการตรวจหาความ
        เสียหายที่เกิดขึ้นกับฮาร์ดดิสก์ ผู้ใช้สามารถกาหนดให้เครื่องมือตรวจสอบดิสก์นี้ทาการซ่อมส่วนที่
        เสียหายได้
       ฯลฯ
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้ผลิตได้พัฒนาขึ้นมาเพื่อจาหน่าย ให้ผู้ใช้สามารถนาไปใช้งานได้
โดยตรง โดยไม่ต้องไปพัฒนาเอง ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

2.1 ซอฟต์แวร์สาเร็จรูป .เป็นซอฟต์แวร์ที่มีบริษัทผู้ผลิตได้สร้างขึ้น และวางขายทั่วไป ผู้ใช้สามารถหาซื้อมา
ประยุกต์ใช้งานทั่วไปได้ ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ไม่ได้มุ่งเน้นเฉพาะสาหรับงานใดงานหนึ่ง ผู้ใช้งานจะต้อง
เป็นผู้นาไปประยุกต์กับงานของตน เช่น ครูนามาใช้ในการผลิตสื่อการสอน นักเรียนนามาใช้ในการทา
รายงาน เป็นต้น หรือผู้ใช้อาจต้องมีการสร้างหรือพัฒนาชิ้นงานภายในซอฟต์แวร์ต่อไปอีก ราคาของ
ซอฟต์แวร์ใช้งานทั่วไปนี้จะไม่สูงมากเกินไป ซอฟต์แวร์ใช้งานทั่วไปซึ่งนิยมเรียกว่า ซอฟต์แวร์สาเร็จ แบ่ง
ออกเป็นหลายกลุ่มตามลักษณะการใช้งาน คือ

    1.   ด้านประมวลผลคา
    2.   ด้านการวิเคราะห์ข้อมูล หรือตารางทางาน
    3.   ด้านการเก็บและเลือกค้นข้อมูลเป็นระบบฐานข้อมูล
    4.   ด้านกราฟิก และนาเสนอข้อมูล
    5.   ด้านการติดต่อสื่อสารทางไกล
    6.   ด้านการพิมพ์ตั้งโต๊ะ
    7.   ด้านการลงทุนและจัดการการเงิน
    8.   ด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรม
    9.   ด้านการจาลอง เกม และการตัดสินใจ

กลุ่มซอฟต์แวร์ที่มีการใช้งานมาก และจาเป็นต้องมีประจาหน่วยงาน คือ ซอฟต์แวร์ ด้านการประมวลผลคา
ด้านตารางทางาน ด้านระบบฐานข้อมูล และด้านกราฟิก ซอฟต์แวร์สาเร็จส่วนใหญ่เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์
เชิงพาณิชย์ที่นาเข้าจากต่างประเทศ ยกเว้นเฉพาะ
กลุ่มแรก คือโปรแกรมประมวลคาที่ประเทศไทยมีการสร้าง และพัฒนาขึ้นมาเอง เพื่อให้สามารถนามาใช้
งานร่วมกับภาษาไทย และยังมีการนาซอฟต์แวร์เดิมมาดัดแปลงและเพิ่มเติมส่วนที่ใช้งานเป็นภาษาไทย

1) ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา (Word Processing Software)
เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์สาหรับการพิมพ์เอกสาร หน้าที่ของซอฟต์แวร์ประมวลผลคาคือ เป็นซอฟต์แวร์ใช้
สาหรับจัดพิมพ์เอกสาร จัดทารายงาน รวมทั้งงานพิมพ์ต่าง ๆ โดยบันทึกหรือพิมพ์ข้อความต่าง ๆ ลงใน
คอมพิวเตอร์ รวมทั้งสามารถจัดเก็บเอกสารที่พิมพ์แล้วลงในหน่วยความจารองเพื่อใช้งานในภายหลังได้ด้วย
ซึ่งในสมัยก่อนการพิมพ์เอกสารต่าง ๆ ต้องใช้เครื่องพิมพ์ดีดพิมพ์ ซึ่งจะต้องอาศัยฝีมือและความชานาญของ
ผู้พิมพ์ ซึ่งเมื่อเกิดการพิมพ์ผิดพลาดต้องใช้ยางลบ หรือน้ายาลบคาผิด หรือบางครั้งต้องพิมพ์เอกสารนั้นใหม่
เพราะไม่สามารถจะแก้ไขในเอกสารเดิมได้ หรือการเคลื่อนย้ายกลุ่มข้อความที่พิมพ์แล้ว ก็ไม่สามารถทาได้
ในกรณีที่มีงานพิมพ์ปริมาณมาก หรือเนื้อหามีรูปแบบซ้า ๆ กันผู้พิมพ์ดีดก็ต้องพิมพ์เอกสารเหล่านั้นใหม่ทุก
ครั้ง ทาให้เกิดปัญหาการพิมพ์ผิดพลาด การทางานซ้า ๆ ทางานปริมาณมาก ในปัจจุบันมีการนาเอา
ซอฟต์แวร์ประมวลผลมาใช้งาน ซึ่งอานวยความสะดวกในการทางานเป็นอย่างมาก สามารถทางานได้อย่าง
รวดเร็ว ช่วยลดต้นทุนการพิมพ์เอกสารอีกด้วย

ซอฟต์แวร์ประมวลผลคามีคุณสมบัติพื้นฐานในการทางานดังต่อไปนี้

    1. สามารถพิมพ์เอกสารโดยแสดงผลบนจอภาพทาให้ง่ายต่อการตรวจทาน และแก้ไข
    2. สามารถแก้ไขข้อความที่พิมพ์ผิดพลาดได้โดยง่าย เช่น การลบข้อความที่พิมพ์เกินหรือการแทรก
       ข้อความที่ตกหล่น รวมทั้งการแก้ไขคาผิด เป็นต้น
    3. สามารถเคลื่อนย้ายข้อความหรือประโยคจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งภายในเอกสารเดียวกัน หรือต่าง
       เอกสารกันได้โดยง่าย
    4. สามารถจัดเก็บเอกสารที่พิมพ์ขึ้น ในหน่วยความจารองเพื่อนามาใช้งานได้ภายหลัง โดยไม่
       จาเป็นต้องพิมพ์เอกสารนั้นซ้าอีก
    5. สามารถค้นหาคา หรือประโยค ได้
    6. ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของรูปแบบของประโยค ซึ่งจะเป็นการตรวจสอบไวยากรณ์ทางภาษา
       และวิเคราะห์ความน่าอ่าน หรือความสละสลวยของเอกสาร วิธีการของการตรวจสอบนี้จะใช้หลัก
       วิชาทางปัญญาประดิษฐ์ว่าด้วยกฏ และข้อเท็จจริงของภาษาศาสตร์
ต่าง ๆ เช่น การสะกดคา การตรวจสอบความถูกต้องในการใช้ไวยากรณ์ในภาษาอังกฤษ รวมทั้งการ
      ใช้ศัพท์บัญญัติต่าง ๆ
      เป็นต้น
   7. เอกสารที่จัดพิมพ์สวยงามน่าอ่าน เช่น สามารถกาหนดขนาด และรูปแบบของตัวอักษร รูปแบบของ
      เอกสาร กาหนดสีตัวอักษร การนาภาพมาประกอบในเอกสารที่พิมพ์ได้ และการสร้างข้อมูลใน
      รูปแบบตารางได้อีกด้วย ซอฟต์แวร์ประมวลผลคาที่นิยมใช้ได้แก่ Microsoft Word, Pladao Writer

2) ซอฟต์แวร์ตารางทางาน เป็นซอฟต์แวร์เพื่อใช้ในงานด้านการคานวณ หลักการทางานของซอฟต์แวร์
ตารางทางาน คือ การให้คอมพิวเตอร์ทาหน้าที่เสมือนกระดาษทาการหรือเวิร์คชีด (worksheet) ของผู้ใช้งาน
ซึ่งทางานในรูปของคอลัมน์ (column) และแถว (row) โดยนาตัวเลขที่บันทึกในแต่ละแถว หรือคอลัมน์ มา
ทาการคานวณตามสูตรคณิตศาสตร์ที่กาหนดไว้เช่น การนาตัวเลขในแถวหรือคอลัมน์ใดมาคานวณเพื่อ
จัดเป็นค่าของคอลัมน์ใหม่ เมื่อมีค่าในคอลัมน์ หรือแถวใดเปลี่ยนไป ค่าที่สัมพันธ์กันจะเปลี่ยนตามไปด้วย
โดยอัตโนมัติ
จุดเด่นที่สาคัญของซอฟต์แวร์ประยุกต์นี้คือ ช่วยทาให้งานคานวณสะดวก รวดเร็ว ซึ่งสามารถกาหนดค่าของ
ข้อมูลเพื่อคานวณผลลัพธ์
ในลักษณะต่าง ๆ ได้ รวมทั้งความสามารถในการแสดงผลลัพธ์ในรูปของตาราง และกราฟ หรือแผนภูมิต่าง
ๆ ได้ซึ่งทาให้สามารถอ่านผลลัพธ์ได้ง่ายขึ้น

ซอฟต์แวร์ตารางคานวณ มีคุณสมบัติพื้นฐานในการทางานด้านต่อไปนี้

   1. สามารถบันทึกข้อมูลซึ่งเป็นได้ทั้งตัวเลขข้อความ และสูตรทางคณิตศาสตร์ในแต่ละช่องของ
      กระดาษทาการ โดยคอมพิวเตอร์จะทาการคานวณตามสูตรคณิตศาสตร์ที่กาหนดไว้ได้
   2. สามารถเคลื่อนย้ายข้อมูลจากตาแหน่งหนึ่ง ไปยังอีกตาแหน่งหนึ่งในกระดาษทาการ
      ซึ่งปรากฏบนจอภาพได้โดยง่าย
   3. สามารถคัดลอกข้อความ ตัวเลข หรือสูตรคณิตศาสตร์จากตาแหน่งหนึ่ง ไปยังอีกตาแหน่งได้โดยไม่
      จาเป็นต้องป้อนข้อมูลชุดดังกล่าวใหม่
   4. สามารถแก้ไขเพิ่มเติม ลบข้อมูลตัวเลข ข้อความ หรือสูตรคณิตศาสตร์ ได้สะดวก
   5. สามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ ในกระดาษทาการไว้ในหน่วยความจาำรองเพื่อใช้งานในภายหลังได้
   6. สามารถแสดงผลที่ได้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตาราง แผนภูมิ
   7. การพิมพ์ผลลัพธ์อาจจะพิมพ์ผลออกทางเครื่องพิมพ์ในรูปของเอกสาร หรือจัดทาเป็นสไลด์หรือ
      แผ่นใสเพื่อใช้ในการนาเสนอได้
      ซอฟต์แวร์ตารางคานวณที่นิยมใช้ เช่น Microsoft Excel และ Pladoa Clc เป็นต้น
3) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล ปัจจุบันนี้มีข้อมูลมีบทบาทสาคัญทุก ๆ ด้าน ทั้งในด้านการปฏิบัติงาน และ
การวางแผนการตัดสินใจ ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานด้านการจัดการฐานข้อมูลจึงนับว่าเป็นเครื่องมือ
สาคัญที่เข้ามาช่วยงานด้านการจัดเก็บข้อมูล ให้มีประสิทธิภาพทั้งในด้านการจัดเก็บ และการเรียกข้อมูลที่
จัดเก็บออกมาใช้ได้ง่าย

คุณสมบัติพื้นฐานในการทางานของซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาในการจัดการข้อมูล
คือ

    1. การจัดเก็บข้อมูลมีความซ้าซ้อน ทาให้สิ้นเปลืองเนื้อที่ และค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บ
    2. การค้นหาข้อมูลจะทาได้ยาก เนื่องจากข้อมูลที่จัดเก็บมีหลายชุด ซึ่งต้องใช้เวลาในการค้นหา
    3. การดูแลรักษา และปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องและทันสมัยจะยุ่งยาก เนื่องจากความซ้าซ้อนของข้อู
       ลซึ่งจัดเก็บหลายชุด ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลมีมากมายหลายโปรแกรม ส่วนใหญ่เน้นการใช้
       งานที่ง่าย และใช้งาน ในระดับตั้งแต่ผู้ใช้คนเดียว หรือเชื่อมโยงเป็นกลุ่ม ตลอดจนเชื่อมต่อ
       ฐานข้อมูลอื่น ซอฟต์แวร์ที่นิยมใช้ ได้แก่ Microsoft Access และ MySQL เป็นต้น

4) ซอฟต์แวร์นาเสนอ เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานด้านการนาเสนอข้อมูล (Presentation) ในรูปแบบ
สไลด์ ซึ่งในการแสดงผลจะต้องมีรูปแบบที่น่าสนใจ ข้อความเข้าใจง่าย กระชับได้ใจความ สามารถแสดงผล
ในรูปแบบกราฟ ข้อความ รูปภาพ หรือเสียงได้ ซอฟต์แวร์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน ได้แก่ Microsoft
Power Point เป็นต้น

5 ) ซอฟต์แวร์จัดการด้านกราฟิก
ซอฟต์แวร์ชนิดนี้มีเครื่องมือสามารถปรับเปลี่ยนรูปภาพให้ได้ ตามความต้องการของผู้ใช้ เช่น ปรับความเข้ม
ของแสง ปรับเปลี่ยนความแตกต่างของสีวัตถุในภาพ และสามารถตัดแปะองค์ประกอบของภาพหลาย ๆ
ภาพมาสร้างเป็นภาพใหม่ได้เหมือนการสร้างศิลปะ นอกจากนี้ ยังสามารถเปลี่ยนลักษณะของภาพ ลักษณะ
ของสีให้มีพื้นสีแบบต่าง ๆ ได้ บางโปรแกรมสามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์นาเข้า เช่น เครื่องกราดตรวจ จาก
กล้องดิจิทัล สามารถจัดเก็บข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบของแฟ้มข้อมูลสามารถนามาแก้ไขได้อีก ซอฟต์แวร์ที่นิยม
ใช้ เช่น Photoshop, Paint Brush เป็นต้น

6) ซอฟต์แวร์ติดต่อสื่อสาร ในปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกขนาดสามารถเชื่อมโยงถึงกัน เพื่อติดต่อ
สื่อสารกันได้ผ่านระบบเครือข่าย เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศต่าง ๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ ชนิดนี้
ควบคุมการติดต่อสื่อสารทั้งในเครื่องผู้ส่ง และในเครื่องผู้รับด้วย ซอฟต์แวร์สาเร็จรูปเพื่อการติดต่อสื่อสาร
และการเข้าถึงข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีหลายชนิดตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่น ซอฟต์แวร์
สาเร็จรูปเพื่อการรับส่งแฟกซ์ การสนทนา การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การพูดคุยด้วยไมโครโฟน การ
ค้นหาข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่จะต้องใช้ซอฟต์แวร์สาเร็จรูปที่เรียกว่า Web Browser หรือเรียกสั้น
ๆ ว่า Browser ซอฟต์แวร์เหล่านี้บางครั้งเป็นซอฟต์แวร์สาเร็จรูปที่มีพร้อมกับซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ
เช่น Browser Internet Explorer ที่มาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Windows

2.2 ซอฟต์แวร์เฉพาะ เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่จะต้องมีการรวบรวมความต้องการของผู้ใช้ ก่อนการ
พัฒนาขึ้นมาเป็นซอฟต์แวร์ที่สามารถทางานได้ตามความต้องการนั้น การพัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ชนิดนี้
ส่วนใหญ่เพื่อเป็นการตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ในงานด้านธุรกิจ ที่ผู้ใช้ไม่สามารถหาซอฟต์แวร์
สาเร็จรูปมาใช้งานได้อย่างตรงตามวัตถุประสงค์ เช่น ระบบงานบัญชี ระบบงานคลังสินค้า ระบบงานขาย
ระบบงานห้องสมุด ระบบงานทะเบียนประวัติ ระบบบริหารงานบุคคล ระบบการเรียนการสอนทางไกลผ่าน
เว็บ เป็นต้น จึงจาเป็นต้องว่าจ้างนักพัฒนาระบบหรือบริษัทรับพัฒนาระบบ ให้วิเคราะห์ความต้องการ
ออกแบบระบบ เขียนโปรแกรม และติดตั้งเพื่อใช้งาน ดังนั้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ได้จึงตรงตามความ
ต้องการของผู้ใช้อย่างแท้จริง

3. ภาษาคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ใช้งานกันทั่วไป จะต้องได้รับการพัฒนาหรือสร้างขึ้นโดย
ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ ซึ่งเรียกว่า โปรแกรมเมอร์ โดยโปรแกรมเมอร์จะต้องเขียนชุดคาสั่งอย่างเป็นลาดับ
ขั้นตอนเพื่อให้กลายเป็นซอฟต์แวร์ที่สามารถควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ และชุดคาสั่ง
เหล่านั้นจะต้องเป็น”ภาษา” (Language) ที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ หรือภาษาที่เครื่อง
คอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจก็จะต้องใช้ “ตัวแปลภาษา” (Translator) เป็นสื่อกลาง ภาษาคอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็น 3
ระดับ คือภาษาเครื่อง ภาษาระดับต่า และภาษาระดับสูง
3.1 ภาษาเครื่อง
การเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานในยุคแรก ๆ จะต้องเขียนด้วยภาษาซึ่งเป็นที่ยอมรับของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ภาษาเครื่อง ภาษานี้ประกอบด้วยตัวเลขล้วน ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถ
ทางานได้ทันที ผู้ที่จะเขียนโปรแกรมภาษาเครื่องได้ต้องสามารถจารหัสแทนคาสั่งต่าง ๆ ได้ และในการ
คานวณต้องสามารถจาได้ว่าจานวนต่าง ๆ ที่ใช้ในการคานวณนั้นถูกเก็บไว้ที่ตาแหน่งใด ดังนั้นโอกาสที่จะ
เกิดความผิดพลาดในการเขียนโปรแกรมจึงมีมาก นอกจากนี้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละระบบมีภาษาเครื่องที่
แตกต่างกันออกไป ทาให้เกิดความไม่สะดวกเมื่อมีการเปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอร์เพราะจะต้องเขียน
โปรแกรมใหม่ทั้งหมด

3.2 ภาษาระดับต่า
เนื่องจากภาษาเครื่องเป็นภาษาที่มีความยุ่งยากในการเขียน ดังนั้นจึงมีผู้นิยมใช้น้อย ได้มีการพัฒนาภาษ
คอมพิวเตอร์ขึ้นอีกระดับหนึ่ง โดยการใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษเป็นรหัสแทนการทางาน และใช้การตั้งชื่อตัว
แปรแทนตาแหน่งที่ใช้เก็บจานวนต่าง ๆ ซึ่งเป็นค่าของตัวแปรนั้น ๆ การใช้สัญลักษณ์ช่วยให้การเขียน
โปรแกรมนี้เรียกว่า ภาษาระดับต่า ภาษาระดับต่าเป็นภาษาที่มีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก ดังนั้น
บางครั้งจึงเรียกภาษานี้ว่า ภาษาอิงเครื่อง (machine – oriented language) ตัวอย่างของภาษาระดับต่าได้แก่
ภาษาแอสเซมบลี เป็นภาษาที่ใช้คาในอักษรภาษาอังกฤษเป็นคาสั่งให้เครื่องทางาน เช่น ADD หมายถึง บวก
SUB หมายถึง ลบ เป็นต้น การใช้คาเหล่านี้ช่วยให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้นกว่าการใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็น
ตัวเลขล้วน การใช้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลีนั้น เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานได้ทันที
จาเป็นต้องมีการแปลโปรแกรมจากภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่องก่อน โดยอาศัยโปรแกรมในการแปล
ที่มีชื่อว่า แอสเซมเบลอร์ (assembler) ซึ่งแตกต่างไปตามเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละชนิด ดังนั้นแอสเซม
เบลอร์ของเครื่องชนิดหนึ่งจะไม่สามารถใช้แปล โปแกรมภาษาแอสเซมบลีของชนิดอื่น ๆ ได้
ภาษาแอสเซมบลีนี้ยังคงใช้ยาก เพราะผู้เขียนโปรแกรมจะต้องเข้าใจการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์อย่าง
ละเอียด ต้องรู้ว่าจานวนที่จะนามาคานวณนั้น
อยู่ ณ ตาแหน่งใดในหน่วยความจาในทานองเดียวกับการเขียนโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี
จึงมีผู้ใช้น้อย และมักจะใช้ในกรณีที่ต้องการควบคุมการทางานภายในของตัวเครื่องคอมพิวเตอร์

3.3 ภาษาระดับสูง
ภาษาระดับสูงเป็นภาษาที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรม กล่าวคือ ลักษณะของ
คาสั่งจะประกอบด้วยคาต่าง ๆ ในภาษาอังกฤษซึ่งผู้อ่านสามารถเข้าใจความหมายในทันที ผู้เขียนโปรแกรม
จึงเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงได้ง่ายกว่าเขียนด้วยภาษาแอสเซมบลีหรือภาษาเครื่อง ภาษาระดับสูงมี
มากมายหลายภาษา เช่น ภาษาฟอร์แทน (FORTRAN) ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล (Pascal) ภาษาเบสิก
(BASIC) ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic) ภาษาซี C และภาษาจาวา (Java) เป็นต้น โปรแกรมที่เขียนด้วย
ภาษาระดับสูงแต่ละภาษาจะต้องมีโปรแกรมที่ทาหน้าที่แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง เช่น
โปรแกรมภาษาฟอร์แทรนเป็นภาษาเครื่อง โปรแกรมแปลภาษาปาสคาลเป็นภาษาเครื่อง คาสั่งหนึ่งคาสั่งใน
ภาษาระดับสูงจะถูกแปลเป็นภาษาเครื่องหลายคาสั่งเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้

การแปลภาษาระดับสูงให้ภาษาเครื่องโปรแกรมแปลภาษาที่ใช้แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะได้แก่

   1. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่ในการแปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาระดับสูงที่
      เรียกกันว่า โปรแกรมต้นฉบับ (source program) ให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่อง (object program)
      ถ้ามีข้อผิดพลาดเครื่องจะพิมพ์รหัสหรือข้อผิดพลาดออกมาด้วยภายหลังการแปลถ้าไม่มีข้อผิดพลาด
      ผู้ใช้สามารถสั่งประมวลผลโปรแกรม และสามารถเก็บโปรแกรมที่แปลภาษาเครื่องไว้ใช้งานต่อไป
      ได้อีกโดยไม่ต้องทาการแปลโปรแกรมซ้าอีก ตัวอย่างโปรแกรมแปลภาษาแบบนี้ ได้แก่ โปรแกรม
      แปลภาษาฟอร์แทรน โปรแกรมแปลภาษาโคบอล โปรแกรมแปลภาษาปาสคาล โปรแกรมแปล
      ภาษาซี
   2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่ในการแปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา
      ระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง เช่นเดียวกับคอมไพเลอร์ ความแตกต่างจะอยู่ที่อินเทอร์พรีเตอร์จะทา
      การแปล และประมวลผลทีละคาสั่ง ข้อเสียของอินเทอร์พรีเตอร์ก็คือ ถ้านาโปรแกรมนี้มาใช้งานอีก
      จะต้องทาการแปลโปรแกรมทุกครั้ง ภาษาบางภาษามีโปรแกรมแปลทั้งสองลักษณะ เช่น ภาษา
      เบสิก เป็นต้น

Más contenido relacionado

Destacado

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Destacado (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

ซอฟต์แวร์สำเร็จรูปที่ใช้สร้างสรรค์งาน

  • 1. ซอฟต์แวร์สาเร็จรูปที่ใช้สร้างสรรค์งาน ความหมายของซอฟต์แวร์ การใช้งานระบบสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์ จาเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ควบคุมการทางาน เช่น การซื้อ ของโดยใช้บัตรเครดิต ผู้ขายจะตรวจสอบบัตรเครดิตโดยใช้เครื่องอ่านบัตร แล้วส่งข้อมูลของบัตรเครดิตไป ยังศูนย์ข้อมูลของบริษัทผู้ออกบัตร การตรวจสอบจะกระทากับฐานข้อมูลกลาง โดยมีกลไกหรือเงื่อนไขของ การตรวจสอบ จากนั้นจึงให้คาตอบว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธบัตรเครดิตใบนั้น การดาเนินการเหล่านี้เป็นไป โดยอัตโนมัติตามคาสั่งซอฟต์แวร์ ทานองเดียวกันเมื่อซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า พนักงานเก็บเงินจะใช้เครื่องกราดตรวจอ่านรหัสแท่ง บนสินค้าทาให้บนจอภาพปรากฏชื่อสินค้า รหัสสินค้า และราคา ในการดาเนินการนี้ต้องใช้ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้ระบบคอมพิวเตอร์ทางานได้ ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคาสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลาดับขั้นตอนของการทางาน ชุดคาสั่งเหล่านี้ได้ จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคาสั่งแล้วทางานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็น สิ่งที่มนุษย์จัดทาขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทางานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น ชนิดของซอฟต์แวร์แบ่งเป็นสองประเภทใหญ่ คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) และซอฟต์แวร์ ประยุกต์ (application software)
  • 2. ประเภทของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์แบ่งเป็นสองประเภท คือ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (systems software) ประกอบด้วย 1. ระบบปฎิบัติการ 2. โปรแกรมอรรถประโยชน์ 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) 1. ซอฟต์แวร์สาเร็จรูป 2. ซอฟต์แวร์เฉพาะ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ หมายถึง ชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ ซึ่งจะ ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การนาเข้าข้อมูลของอุปกรณ์นาเข้า การประมวลผลของหน่วยประมวลผล การจัดสรรหน่วยความจาสารอง และการแสดงผลของอุปกรณ์ แสดงผล เป็นต้น เมื่อผู้ใช้เริ่มเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ การทางานจะเป็นไปตามชุดคาสั่งที่เขียนขึ้น ชุดคาสั่ง นั้นก็คือ “ซอฟต์แวร์ระบบ” นั่นเอง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ไม่ว่าประเภทใดล้วนแต่ต้องทางานบนระบบปฏิบัติการทั้งสิ้น เครื่องคอมพิวเตอร์จะไม่ ทางานถ้าไม่มีระบบปฏิบัติการ การเริ่มใช้งานคอมพิวเตอร์ทุกครั้งจึงต้องบรรจุระบบปฏิบัติการเข้าไว้ใน หน่วยความจาของเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อน ที่จะให้เครื่องเริ่มทางานอย่างอื่น ซอฟต์แวร์ระบบที่นิยมใช้ คือ ระบบปฏิบัติการ (operating system) เอ็มเอสดอส ยูนิกซ์ โอเอสทู วินโดวส์ ลินุกซ์ เป็นต้น 1.1 ระบบปฏิบัติการ เนื่องจากระบบปฏิบัติการเป็นส่วนสาคัญที่ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานได้
  • 3. แต่ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันมีสถาปัตยกรรมที่แตกต่างกัน เช่น เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เราใช้งานทั่วไปจะมีคุณสมบัติและการทางานที่แตกต่างจากคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น มินิคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่เป็นเครื่องให้บริการที่ต้องคอยให้บริการและดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นบริวารจานวนมาก ระบบปฏิบัติการที่ใช้งานกับคอมพิวเตอร์ประเภทนี้จึงต้องมีความซับซ้อนกว่าระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างระบบปฏิบัติการ 1. ระบบปฏิบัติการดอส (Disk Operating System :DOS) เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามา นานแล้ว การใช้งานจึงใช้คาสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ ไมโครคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างลักษณะคาสั่ง ในระบบปฏิบัติการดอส เช่น C:>copy C:mydocumentdata.doc A:myfile คาสั่งนี้เป็นการใช้คาสั่งคัดลอกแฟ้มข้อมูลชื่อ data.doc ที่อยู่ใน Drive C Folder mydocument เอาไป ไว้ที่ Drive A ใน Folder myfile 2. ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (UNIX) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่อง มินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และทางานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ยูนิกซ์จึงใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับเครื่อง ปลายทางได้หลายเครื่องพร้อมกัน 3. ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์ (Microsoft Windows) ระบบปฏิบัติการนี้พัฒนาโดยบริษัท ไมโครซอฟต์ เป็นระบบปฏิบัติการที่มีลักษณะการใช้งานแตกต่างจาก 2 ระบบแรก เนื่องจากมีส่วน ติดต่อกับผู้ใช้ (user interface) เป็นแบบที่เรียกว่าระบบติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก (Graphical User Interface : GUI) หรือที่เรียกว่า จียูไอ คือมีการแสดงผลเป็นรูปภาพ และใช้สัญลักษณ์ในรูปรายการ เลือก (menu) หรือสัญรูป (icon) ในการสั่งงานคอมพิวเตอร์แทนการพิมพ์คาสั่งทีละบรรทัด ทาให้ การใช้งานคอมพิวเตอร์ง่ายขึ้น ทั้งยังมีสีสันทาให้ซอฟต์แวร์น่าใช้งานมากขึ้น ระบบปฏิบัติการ วินส์โดวส์นี้เป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมสูงมากในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทั่วไป ทั้งนี้ นอกจากจะเป็นความง่ายในการใช้งานที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังเป็นเพราะหลังจากที่บริษัท ไมโครซอฟต์ได้ผลิตระบบปฏิบัติการนี้ออกสู่ตลาด ก็ได้พัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่สามารถใช้งาน บนระบบปฏิบัติการนี้ขึ้นหลายประเภท เช่น ซอฟต์แวร์ในกลุ่มซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวร์ ตารางทางาน หรือซอฟต์แวร์นาเสนอข้อมูล ซึ่งช่วยอานวยความสะดวกในการทางานของผู้ใช้ใน ทุก ๆ ด้าน ทาให้เกิดการใช้งานที่แพร่หลาย นอกจากนี้ยังได้มีการพัฒนาระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ ๆ ที่สนับสนุนการใช้งานกับเทคโนโลยีใหม่ที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่วินโดวส์ 3.0 (Windows 3.0) ซึ่งเป็นรุ่นแรกที่ทางานบนเครื่องเดียว พัฒนาเป็นรุ่นหรือเวอร์ชั่น ที่สามารถทางานเป็นกลุ่ม หรือ
  • 4. เครือข่ายภายในองค์กรที่ใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ และพัฒนาต่อมาเป็นวินโดวส์ 95 (Windows 95) วินโดวส์ 98 (Windows 98) วินโดวส์เอ็มอี (Windows ME) และพัฒนาเป็นระบบปฏิบัติการ เครือข่ายที่สามารถจัดการด้านการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย จัดการด้าน การใช้งานอุปกรณ์ร่วมกัน และดูแลจัดสรรและรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เช่น วินโดวส์ เอ็นที (Windows NT) วินโดวส์ 2000 (Windows 2000) และวินโดวส์ เอ็กซ์พี (Windows XP) หรือแม้แต่ ระบบปฏิบัติการสาหรับคอมพิวเตอร์พกพาอย่างวินโดวส์ ซีอี (Windows CE) 4. ระบบปฏิบัติการโอเอสทู (OS2) เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดวส์ แต่บริษัท ผู้พัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม เป็นระบบปฏิบัติการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้ทางานได้หลายงานพร้อมกัน และ การใช้ งานก็เป็นแบบกราฟิกเช่นเดียวกับวินโดวส์ 5. ระบบปฏิบัติการลินุกซ์ (LINUX) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาขึ้นมาโดยนักศึกษาชื่อว่า “Linus Torvalds” จากประเภทฟินแลนด์ LINUX เป็นระบบปฏิบัติการที่มีลักษณะคล้ายกับ UNIX แต่มี ขนาดเล็กกว่าและทางานได้เร็วกว่า ในช่วงแรกของการพัฒนา LINUX พัฒนาขึ้นมาเพื่อแจกจ่ายให้ ใช้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และพัฒนาขึ้นมาเพื่อคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเท่านั้น แต่ในช่วงหลังความ นิยมใน การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายเพิ่มสูงขึ้น จึงมีผู้พัฒนาส่วนประกอบอื่น ๆ ของ LINUX เพื่อเพิ่ม ความสามารถในการทางานทางด้านเครือข่าย และผู้ใช้ต้องเสียค่าใช้จ่ายด้วย มีรายละเอียดเพิ่มเติม 1.2 ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ (Utility Software) เป็นโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่ช่วยสนับสนุน เพิ่ม หรือขยายขีดความสามารถของโปรแกรมที่ใช้งาน อยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ระบบปฏิบัติการโดยส่วนใหญ่จะมีโปรแกรมอรรถประโยชน์มาให้ใช้งาน อยู่แล้ว เช่น  Windows Explorer เป็นเครื่องมือแสดงไฟล์ที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถดูภาพ และแก้ไของค์ประกอบ ของไฟล์ได้  Uninstaller เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่ใช้ในการยกเลิกโปรแกรมที่ทาการติดตั้งไว้ในระบบ เมื่อผู้ใช้ทาการติดตั้งโปรแกรม ระบบปฏิบัติการจะทาการบันทึกโปรแกรมนั้นไว้ในระบบไฟล์ หาก ผู้ใช้ต้องการลบโปรแกรมนั้นออกจากเครื่องก็สามารถใช้ เครื่องมือยกเลิกการติดตั้งโปรแกรมได้  Disk Scanner เป็นเครื่องมือตรวจสอบดิสก์ เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่ใช้ในการตรวจหาความ เสียหายที่เกิดขึ้นกับฮาร์ดดิสก์ ผู้ใช้สามารถกาหนดให้เครื่องมือตรวจสอบดิสก์นี้ทาการซ่อมส่วนที่ เสียหายได้  ฯลฯ
  • 5. 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้ผลิตได้พัฒนาขึ้นมาเพื่อจาหน่าย ให้ผู้ใช้สามารถนาไปใช้งานได้ โดยตรง โดยไม่ต้องไปพัฒนาเอง ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 2.1 ซอฟต์แวร์สาเร็จรูป .เป็นซอฟต์แวร์ที่มีบริษัทผู้ผลิตได้สร้างขึ้น และวางขายทั่วไป ผู้ใช้สามารถหาซื้อมา ประยุกต์ใช้งานทั่วไปได้ ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ไม่ได้มุ่งเน้นเฉพาะสาหรับงานใดงานหนึ่ง ผู้ใช้งานจะต้อง เป็นผู้นาไปประยุกต์กับงานของตน เช่น ครูนามาใช้ในการผลิตสื่อการสอน นักเรียนนามาใช้ในการทา รายงาน เป็นต้น หรือผู้ใช้อาจต้องมีการสร้างหรือพัฒนาชิ้นงานภายในซอฟต์แวร์ต่อไปอีก ราคาของ ซอฟต์แวร์ใช้งานทั่วไปนี้จะไม่สูงมากเกินไป ซอฟต์แวร์ใช้งานทั่วไปซึ่งนิยมเรียกว่า ซอฟต์แวร์สาเร็จ แบ่ง ออกเป็นหลายกลุ่มตามลักษณะการใช้งาน คือ 1. ด้านประมวลผลคา 2. ด้านการวิเคราะห์ข้อมูล หรือตารางทางาน 3. ด้านการเก็บและเลือกค้นข้อมูลเป็นระบบฐานข้อมูล 4. ด้านกราฟิก และนาเสนอข้อมูล 5. ด้านการติดต่อสื่อสารทางไกล 6. ด้านการพิมพ์ตั้งโต๊ะ 7. ด้านการลงทุนและจัดการการเงิน 8. ด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรม 9. ด้านการจาลอง เกม และการตัดสินใจ กลุ่มซอฟต์แวร์ที่มีการใช้งานมาก และจาเป็นต้องมีประจาหน่วยงาน คือ ซอฟต์แวร์ ด้านการประมวลผลคา ด้านตารางทางาน ด้านระบบฐานข้อมูล และด้านกราฟิก ซอฟต์แวร์สาเร็จส่วนใหญ่เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ เชิงพาณิชย์ที่นาเข้าจากต่างประเทศ ยกเว้นเฉพาะ กลุ่มแรก คือโปรแกรมประมวลคาที่ประเทศไทยมีการสร้าง และพัฒนาขึ้นมาเอง เพื่อให้สามารถนามาใช้ งานร่วมกับภาษาไทย และยังมีการนาซอฟต์แวร์เดิมมาดัดแปลงและเพิ่มเติมส่วนที่ใช้งานเป็นภาษาไทย 1) ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา (Word Processing Software)
  • 6. เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์สาหรับการพิมพ์เอกสาร หน้าที่ของซอฟต์แวร์ประมวลผลคาคือ เป็นซอฟต์แวร์ใช้ สาหรับจัดพิมพ์เอกสาร จัดทารายงาน รวมทั้งงานพิมพ์ต่าง ๆ โดยบันทึกหรือพิมพ์ข้อความต่าง ๆ ลงใน คอมพิวเตอร์ รวมทั้งสามารถจัดเก็บเอกสารที่พิมพ์แล้วลงในหน่วยความจารองเพื่อใช้งานในภายหลังได้ด้วย ซึ่งในสมัยก่อนการพิมพ์เอกสารต่าง ๆ ต้องใช้เครื่องพิมพ์ดีดพิมพ์ ซึ่งจะต้องอาศัยฝีมือและความชานาญของ ผู้พิมพ์ ซึ่งเมื่อเกิดการพิมพ์ผิดพลาดต้องใช้ยางลบ หรือน้ายาลบคาผิด หรือบางครั้งต้องพิมพ์เอกสารนั้นใหม่ เพราะไม่สามารถจะแก้ไขในเอกสารเดิมได้ หรือการเคลื่อนย้ายกลุ่มข้อความที่พิมพ์แล้ว ก็ไม่สามารถทาได้ ในกรณีที่มีงานพิมพ์ปริมาณมาก หรือเนื้อหามีรูปแบบซ้า ๆ กันผู้พิมพ์ดีดก็ต้องพิมพ์เอกสารเหล่านั้นใหม่ทุก ครั้ง ทาให้เกิดปัญหาการพิมพ์ผิดพลาด การทางานซ้า ๆ ทางานปริมาณมาก ในปัจจุบันมีการนาเอา ซอฟต์แวร์ประมวลผลมาใช้งาน ซึ่งอานวยความสะดวกในการทางานเป็นอย่างมาก สามารถทางานได้อย่าง รวดเร็ว ช่วยลดต้นทุนการพิมพ์เอกสารอีกด้วย ซอฟต์แวร์ประมวลผลคามีคุณสมบัติพื้นฐานในการทางานดังต่อไปนี้ 1. สามารถพิมพ์เอกสารโดยแสดงผลบนจอภาพทาให้ง่ายต่อการตรวจทาน และแก้ไข 2. สามารถแก้ไขข้อความที่พิมพ์ผิดพลาดได้โดยง่าย เช่น การลบข้อความที่พิมพ์เกินหรือการแทรก ข้อความที่ตกหล่น รวมทั้งการแก้ไขคาผิด เป็นต้น 3. สามารถเคลื่อนย้ายข้อความหรือประโยคจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งภายในเอกสารเดียวกัน หรือต่าง เอกสารกันได้โดยง่าย 4. สามารถจัดเก็บเอกสารที่พิมพ์ขึ้น ในหน่วยความจารองเพื่อนามาใช้งานได้ภายหลัง โดยไม่ จาเป็นต้องพิมพ์เอกสารนั้นซ้าอีก 5. สามารถค้นหาคา หรือประโยค ได้ 6. ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของรูปแบบของประโยค ซึ่งจะเป็นการตรวจสอบไวยากรณ์ทางภาษา และวิเคราะห์ความน่าอ่าน หรือความสละสลวยของเอกสาร วิธีการของการตรวจสอบนี้จะใช้หลัก วิชาทางปัญญาประดิษฐ์ว่าด้วยกฏ และข้อเท็จจริงของภาษาศาสตร์
  • 7. ต่าง ๆ เช่น การสะกดคา การตรวจสอบความถูกต้องในการใช้ไวยากรณ์ในภาษาอังกฤษ รวมทั้งการ ใช้ศัพท์บัญญัติต่าง ๆ เป็นต้น 7. เอกสารที่จัดพิมพ์สวยงามน่าอ่าน เช่น สามารถกาหนดขนาด และรูปแบบของตัวอักษร รูปแบบของ เอกสาร กาหนดสีตัวอักษร การนาภาพมาประกอบในเอกสารที่พิมพ์ได้ และการสร้างข้อมูลใน รูปแบบตารางได้อีกด้วย ซอฟต์แวร์ประมวลผลคาที่นิยมใช้ได้แก่ Microsoft Word, Pladao Writer 2) ซอฟต์แวร์ตารางทางาน เป็นซอฟต์แวร์เพื่อใช้ในงานด้านการคานวณ หลักการทางานของซอฟต์แวร์ ตารางทางาน คือ การให้คอมพิวเตอร์ทาหน้าที่เสมือนกระดาษทาการหรือเวิร์คชีด (worksheet) ของผู้ใช้งาน ซึ่งทางานในรูปของคอลัมน์ (column) และแถว (row) โดยนาตัวเลขที่บันทึกในแต่ละแถว หรือคอลัมน์ มา ทาการคานวณตามสูตรคณิตศาสตร์ที่กาหนดไว้เช่น การนาตัวเลขในแถวหรือคอลัมน์ใดมาคานวณเพื่อ จัดเป็นค่าของคอลัมน์ใหม่ เมื่อมีค่าในคอลัมน์ หรือแถวใดเปลี่ยนไป ค่าที่สัมพันธ์กันจะเปลี่ยนตามไปด้วย โดยอัตโนมัติ จุดเด่นที่สาคัญของซอฟต์แวร์ประยุกต์นี้คือ ช่วยทาให้งานคานวณสะดวก รวดเร็ว ซึ่งสามารถกาหนดค่าของ ข้อมูลเพื่อคานวณผลลัพธ์ ในลักษณะต่าง ๆ ได้ รวมทั้งความสามารถในการแสดงผลลัพธ์ในรูปของตาราง และกราฟ หรือแผนภูมิต่าง ๆ ได้ซึ่งทาให้สามารถอ่านผลลัพธ์ได้ง่ายขึ้น ซอฟต์แวร์ตารางคานวณ มีคุณสมบัติพื้นฐานในการทางานด้านต่อไปนี้ 1. สามารถบันทึกข้อมูลซึ่งเป็นได้ทั้งตัวเลขข้อความ และสูตรทางคณิตศาสตร์ในแต่ละช่องของ กระดาษทาการ โดยคอมพิวเตอร์จะทาการคานวณตามสูตรคณิตศาสตร์ที่กาหนดไว้ได้ 2. สามารถเคลื่อนย้ายข้อมูลจากตาแหน่งหนึ่ง ไปยังอีกตาแหน่งหนึ่งในกระดาษทาการ ซึ่งปรากฏบนจอภาพได้โดยง่าย 3. สามารถคัดลอกข้อความ ตัวเลข หรือสูตรคณิตศาสตร์จากตาแหน่งหนึ่ง ไปยังอีกตาแหน่งได้โดยไม่ จาเป็นต้องป้อนข้อมูลชุดดังกล่าวใหม่ 4. สามารถแก้ไขเพิ่มเติม ลบข้อมูลตัวเลข ข้อความ หรือสูตรคณิตศาสตร์ ได้สะดวก 5. สามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ ในกระดาษทาการไว้ในหน่วยความจาำรองเพื่อใช้งานในภายหลังได้ 6. สามารถแสดงผลที่ได้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตาราง แผนภูมิ 7. การพิมพ์ผลลัพธ์อาจจะพิมพ์ผลออกทางเครื่องพิมพ์ในรูปของเอกสาร หรือจัดทาเป็นสไลด์หรือ แผ่นใสเพื่อใช้ในการนาเสนอได้ ซอฟต์แวร์ตารางคานวณที่นิยมใช้ เช่น Microsoft Excel และ Pladoa Clc เป็นต้น
  • 8. 3) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล ปัจจุบันนี้มีข้อมูลมีบทบาทสาคัญทุก ๆ ด้าน ทั้งในด้านการปฏิบัติงาน และ การวางแผนการตัดสินใจ ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานด้านการจัดการฐานข้อมูลจึงนับว่าเป็นเครื่องมือ สาคัญที่เข้ามาช่วยงานด้านการจัดเก็บข้อมูล ให้มีประสิทธิภาพทั้งในด้านการจัดเก็บ และการเรียกข้อมูลที่ จัดเก็บออกมาใช้ได้ง่าย คุณสมบัติพื้นฐานในการทางานของซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาในการจัดการข้อมูล คือ 1. การจัดเก็บข้อมูลมีความซ้าซ้อน ทาให้สิ้นเปลืองเนื้อที่ และค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บ 2. การค้นหาข้อมูลจะทาได้ยาก เนื่องจากข้อมูลที่จัดเก็บมีหลายชุด ซึ่งต้องใช้เวลาในการค้นหา 3. การดูแลรักษา และปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องและทันสมัยจะยุ่งยาก เนื่องจากความซ้าซ้อนของข้อู ลซึ่งจัดเก็บหลายชุด ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลมีมากมายหลายโปรแกรม ส่วนใหญ่เน้นการใช้ งานที่ง่าย และใช้งาน ในระดับตั้งแต่ผู้ใช้คนเดียว หรือเชื่อมโยงเป็นกลุ่ม ตลอดจนเชื่อมต่อ ฐานข้อมูลอื่น ซอฟต์แวร์ที่นิยมใช้ ได้แก่ Microsoft Access และ MySQL เป็นต้น 4) ซอฟต์แวร์นาเสนอ เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานด้านการนาเสนอข้อมูล (Presentation) ในรูปแบบ สไลด์ ซึ่งในการแสดงผลจะต้องมีรูปแบบที่น่าสนใจ ข้อความเข้าใจง่าย กระชับได้ใจความ สามารถแสดงผล ในรูปแบบกราฟ ข้อความ รูปภาพ หรือเสียงได้ ซอฟต์แวร์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน ได้แก่ Microsoft Power Point เป็นต้น 5 ) ซอฟต์แวร์จัดการด้านกราฟิก
  • 9. ซอฟต์แวร์ชนิดนี้มีเครื่องมือสามารถปรับเปลี่ยนรูปภาพให้ได้ ตามความต้องการของผู้ใช้ เช่น ปรับความเข้ม ของแสง ปรับเปลี่ยนความแตกต่างของสีวัตถุในภาพ และสามารถตัดแปะองค์ประกอบของภาพหลาย ๆ ภาพมาสร้างเป็นภาพใหม่ได้เหมือนการสร้างศิลปะ นอกจากนี้ ยังสามารถเปลี่ยนลักษณะของภาพ ลักษณะ ของสีให้มีพื้นสีแบบต่าง ๆ ได้ บางโปรแกรมสามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์นาเข้า เช่น เครื่องกราดตรวจ จาก กล้องดิจิทัล สามารถจัดเก็บข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบของแฟ้มข้อมูลสามารถนามาแก้ไขได้อีก ซอฟต์แวร์ที่นิยม ใช้ เช่น Photoshop, Paint Brush เป็นต้น 6) ซอฟต์แวร์ติดต่อสื่อสาร ในปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกขนาดสามารถเชื่อมโยงถึงกัน เพื่อติดต่อ สื่อสารกันได้ผ่านระบบเครือข่าย เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศต่าง ๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ ชนิดนี้ ควบคุมการติดต่อสื่อสารทั้งในเครื่องผู้ส่ง และในเครื่องผู้รับด้วย ซอฟต์แวร์สาเร็จรูปเพื่อการติดต่อสื่อสาร และการเข้าถึงข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีหลายชนิดตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่น ซอฟต์แวร์ สาเร็จรูปเพื่อการรับส่งแฟกซ์ การสนทนา การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การพูดคุยด้วยไมโครโฟน การ ค้นหาข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่จะต้องใช้ซอฟต์แวร์สาเร็จรูปที่เรียกว่า Web Browser หรือเรียกสั้น ๆ ว่า Browser ซอฟต์แวร์เหล่านี้บางครั้งเป็นซอฟต์แวร์สาเร็จรูปที่มีพร้อมกับซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ เช่น Browser Internet Explorer ที่มาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Windows 2.2 ซอฟต์แวร์เฉพาะ เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่จะต้องมีการรวบรวมความต้องการของผู้ใช้ ก่อนการ พัฒนาขึ้นมาเป็นซอฟต์แวร์ที่สามารถทางานได้ตามความต้องการนั้น การพัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ชนิดนี้ ส่วนใหญ่เพื่อเป็นการตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ในงานด้านธุรกิจ ที่ผู้ใช้ไม่สามารถหาซอฟต์แวร์ สาเร็จรูปมาใช้งานได้อย่างตรงตามวัตถุประสงค์ เช่น ระบบงานบัญชี ระบบงานคลังสินค้า ระบบงานขาย ระบบงานห้องสมุด ระบบงานทะเบียนประวัติ ระบบบริหารงานบุคคล ระบบการเรียนการสอนทางไกลผ่าน เว็บ เป็นต้น จึงจาเป็นต้องว่าจ้างนักพัฒนาระบบหรือบริษัทรับพัฒนาระบบ ให้วิเคราะห์ความต้องการ ออกแบบระบบ เขียนโปรแกรม และติดตั้งเพื่อใช้งาน ดังนั้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ได้จึงตรงตามความ ต้องการของผู้ใช้อย่างแท้จริง 3. ภาษาคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ใช้งานกันทั่วไป จะต้องได้รับการพัฒนาหรือสร้างขึ้นโดย ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ ซึ่งเรียกว่า โปรแกรมเมอร์ โดยโปรแกรมเมอร์จะต้องเขียนชุดคาสั่งอย่างเป็นลาดับ ขั้นตอนเพื่อให้กลายเป็นซอฟต์แวร์ที่สามารถควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ และชุดคาสั่ง เหล่านั้นจะต้องเป็น”ภาษา” (Language) ที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ หรือภาษาที่เครื่อง คอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจก็จะต้องใช้ “ตัวแปลภาษา” (Translator) เป็นสื่อกลาง ภาษาคอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือภาษาเครื่อง ภาษาระดับต่า และภาษาระดับสูง
  • 10. 3.1 ภาษาเครื่อง การเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานในยุคแรก ๆ จะต้องเขียนด้วยภาษาซึ่งเป็นที่ยอมรับของ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ภาษาเครื่อง ภาษานี้ประกอบด้วยตัวเลขล้วน ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถ ทางานได้ทันที ผู้ที่จะเขียนโปรแกรมภาษาเครื่องได้ต้องสามารถจารหัสแทนคาสั่งต่าง ๆ ได้ และในการ คานวณต้องสามารถจาได้ว่าจานวนต่าง ๆ ที่ใช้ในการคานวณนั้นถูกเก็บไว้ที่ตาแหน่งใด ดังนั้นโอกาสที่จะ เกิดความผิดพลาดในการเขียนโปรแกรมจึงมีมาก นอกจากนี้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละระบบมีภาษาเครื่องที่ แตกต่างกันออกไป ทาให้เกิดความไม่สะดวกเมื่อมีการเปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอร์เพราะจะต้องเขียน โปรแกรมใหม่ทั้งหมด 3.2 ภาษาระดับต่า เนื่องจากภาษาเครื่องเป็นภาษาที่มีความยุ่งยากในการเขียน ดังนั้นจึงมีผู้นิยมใช้น้อย ได้มีการพัฒนาภาษ คอมพิวเตอร์ขึ้นอีกระดับหนึ่ง โดยการใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษเป็นรหัสแทนการทางาน และใช้การตั้งชื่อตัว แปรแทนตาแหน่งที่ใช้เก็บจานวนต่าง ๆ ซึ่งเป็นค่าของตัวแปรนั้น ๆ การใช้สัญลักษณ์ช่วยให้การเขียน โปรแกรมนี้เรียกว่า ภาษาระดับต่า ภาษาระดับต่าเป็นภาษาที่มีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก ดังนั้น บางครั้งจึงเรียกภาษานี้ว่า ภาษาอิงเครื่อง (machine – oriented language) ตัวอย่างของภาษาระดับต่าได้แก่ ภาษาแอสเซมบลี เป็นภาษาที่ใช้คาในอักษรภาษาอังกฤษเป็นคาสั่งให้เครื่องทางาน เช่น ADD หมายถึง บวก SUB หมายถึง ลบ เป็นต้น การใช้คาเหล่านี้ช่วยให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้นกว่าการใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็น ตัวเลขล้วน การใช้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลีนั้น เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานได้ทันที จาเป็นต้องมีการแปลโปรแกรมจากภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่องก่อน โดยอาศัยโปรแกรมในการแปล ที่มีชื่อว่า แอสเซมเบลอร์ (assembler) ซึ่งแตกต่างไปตามเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละชนิด ดังนั้นแอสเซม เบลอร์ของเครื่องชนิดหนึ่งจะไม่สามารถใช้แปล โปแกรมภาษาแอสเซมบลีของชนิดอื่น ๆ ได้ ภาษาแอสเซมบลีนี้ยังคงใช้ยาก เพราะผู้เขียนโปรแกรมจะต้องเข้าใจการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์อย่าง ละเอียด ต้องรู้ว่าจานวนที่จะนามาคานวณนั้น อยู่ ณ ตาแหน่งใดในหน่วยความจาในทานองเดียวกับการเขียนโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี จึงมีผู้ใช้น้อย และมักจะใช้ในกรณีที่ต้องการควบคุมการทางานภายในของตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ 3.3 ภาษาระดับสูง ภาษาระดับสูงเป็นภาษาที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรม กล่าวคือ ลักษณะของ คาสั่งจะประกอบด้วยคาต่าง ๆ ในภาษาอังกฤษซึ่งผู้อ่านสามารถเข้าใจความหมายในทันที ผู้เขียนโปรแกรม จึงเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงได้ง่ายกว่าเขียนด้วยภาษาแอสเซมบลีหรือภาษาเครื่อง ภาษาระดับสูงมี มากมายหลายภาษา เช่น ภาษาฟอร์แทน (FORTRAN) ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล (Pascal) ภาษาเบสิก (BASIC) ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic) ภาษาซี C และภาษาจาวา (Java) เป็นต้น โปรแกรมที่เขียนด้วย
  • 11. ภาษาระดับสูงแต่ละภาษาจะต้องมีโปรแกรมที่ทาหน้าที่แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง เช่น โปรแกรมภาษาฟอร์แทรนเป็นภาษาเครื่อง โปรแกรมแปลภาษาปาสคาลเป็นภาษาเครื่อง คาสั่งหนึ่งคาสั่งใน ภาษาระดับสูงจะถูกแปลเป็นภาษาเครื่องหลายคาสั่งเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้ การแปลภาษาระดับสูงให้ภาษาเครื่องโปรแกรมแปลภาษาที่ใช้แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะได้แก่ 1. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่ในการแปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาระดับสูงที่ เรียกกันว่า โปรแกรมต้นฉบับ (source program) ให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่อง (object program) ถ้ามีข้อผิดพลาดเครื่องจะพิมพ์รหัสหรือข้อผิดพลาดออกมาด้วยภายหลังการแปลถ้าไม่มีข้อผิดพลาด ผู้ใช้สามารถสั่งประมวลผลโปรแกรม และสามารถเก็บโปรแกรมที่แปลภาษาเครื่องไว้ใช้งานต่อไป ได้อีกโดยไม่ต้องทาการแปลโปรแกรมซ้าอีก ตัวอย่างโปรแกรมแปลภาษาแบบนี้ ได้แก่ โปรแกรม แปลภาษาฟอร์แทรน โปรแกรมแปลภาษาโคบอล โปรแกรมแปลภาษาปาสคาล โปรแกรมแปล ภาษาซี 2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่ในการแปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา ระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง เช่นเดียวกับคอมไพเลอร์ ความแตกต่างจะอยู่ที่อินเทอร์พรีเตอร์จะทา การแปล และประมวลผลทีละคาสั่ง ข้อเสียของอินเทอร์พรีเตอร์ก็คือ ถ้านาโปรแกรมนี้มาใช้งานอีก จะต้องทาการแปลโปรแกรมทุกครั้ง ภาษาบางภาษามีโปรแกรมแปลทั้งสองลักษณะ เช่น ภาษา เบสิก เป็นต้น