SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 86
ว�ทยากร : ดร.กฤษณพงศ เลิศบำรุงชัย
TouchPoint.in.th
facebook.com/TouchPoint.in.th
การสรางเว็บไซตคลังความรูดิจิทัลดวย
GOOGLE SITES
1
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
สารบัญ
เรื่อง หน้า
รู้จักกับ Google Sites 1
การวางโครงสร้างเว็บไซต์ 2
การลงชื่อเข้าใช้ Google 2
ส่วนประกอบของ Google Sites 3
การสร้างเว็บไซต์ใหม่ 4
การจัดการหน้าเว็บ 6
การจัดการส่วนหัวของเว็บไซต์ 17
การเพิ่มแบบอักษร 22
การแทรกวัตถุในหน้าเว็บ 24
การลบวัตถุ 61
การเพิ่มส่วนท้ายของเว็บไซต์ 62
การจัดการส่วน 63
การจัดการธีมของเว็บ 65
การทดสอบการแสดงผล 66
การแชร์กับผู้อื่น 67
การตั้งค่าเว็บไซต์ 68
การจัดการเวอร์ชั่น 72
การทำซ้ำเว็บไซต์ 74
การเผยแพร่เว็บไซต์ 75
1
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
รู้จักกับ Google Sites
Google Sites เป็นแอพพลิเคชั่นบนเทคโนโลยีคลาวด์ของกูเกิ้ล ใช้สำหรับสร้างเว็บไซต์ได้ง่ายและฟรี
ผ่านเบราว์เซอร์ โดยไม่จำเป็นต้องรู้ภาษาเขียนเว็บ สามารถนำสื่อต่างๆ มาจัดวางให้สวยงาม เช่น เอกสาร
รูปภาพ วิดีโอ แผนที่ และอื่นๆ ที่รองรับการค้นหาจากเว็บไซต์ Google ผู้ใช้เพียงมีบัญชีกูเกิ้ลก็สามารถลงชื่อ
เข้าใช้งานได้ทันที
2 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การวางโครงสร้างเว็บไซต์
การสร้างเว็บไซต์จำเป็นต้องวางโครงสร้างเว็บไซต์ ผู้ใช้จะต้องวางแผนลำดับการทำงานและการ
เชื่อมโยงกันในแต่ละหน้าของเว็บไซต์ โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้มีทิศทางในการทำงาน การ
จัดเตรียมเนื้อหาที่ง่ายต่อการเข้าถึงหน้าต่างๆ ในเว็บไซต์
การลงชื่อเข้าใช้ Google
การใช้งาน Google Sites ผู้ใช้จำเป็นต้องลงชื่อเข้าใช้ด้วยบัญชี Google สามารถทำได้โดยมีขั้นตอน
ดังนี้
1. ไปที่เว็บไซต์ google.com
2. คลิกลงชื่อเข้าสู่ระบบ
3
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
3. กรอกอีเมล์
4. คลิกถัดไป
5. กรอกรหัสผ่าน
6. คลิกถัดไป
ส่วนประกอบของ Google Sites
หน้าแรกของไซต์ ใช้กลับหน้าหลักของ Google Sites
ชื่อเอกสารของไซต์ ใช้กำหนดชื่อไฟล์เว็บไซต์
แถบคำสั่ง ใช้ควบคุมการทำงานของเว็บไซต์
เผยแพร่ ใช้เผยแพร่เว็บไซต์
พื้นที่การทำงาน ใช้จัดวางองค์ประกอบของเว็บไซต์
กลุ่มพาเนล ใช้แทรกวัตถุ หน้าเว็บ และเลือกธีม
4 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การสร้างเว็บไซต์ใหม่
การสร้างผ่านเว็บ Google Sites
ผู้ใช้สามารถเริ่มสร้างเว็บไซต์จากหน้าเว็บ Google Sites ได้ทันที ไฟล์เว็บไซต์จะถูกสร้างขึ้นใน
Google Drive โดยอัตโนมัติ ไม่สามารถเลือกโฟลเดอร์เพื่อจัดเก็บไฟล์เว็บไซต์ได้ แต่สามารถย้ายไฟล์ได้ใน
ภายหลัง สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่ sites.google.com
2. คลิกว่าง
5
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
3. จะปรากฏเว็บไซต์ใหม่
การสร้างผ่าน Google Drive
ผู้ใช้สามารถเริ่มต้นจากการเข้าไปที่ Google Drive ก่อน แล้วสร้างโฟลเดอร์เพื่อเป็นพื้นที่สำหรับ
จัดเก็บไฟล์อย่างเป็นระเบียบ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่จุด 9 จุด > ไดรฟ์
2. เลือกโฟลเดอร์ที่จัดเก็บเว็บไซต์
3. คลิกใหม่ > เพิ่มเติม > Google Sites
6 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
4. จะปรากฏเว็บไซต์ใหม่
การจัดการหน้าเว็บ
การสร้างหน้าเว็บ
1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ
2. นำเมาส์ไปชี้ที่ใหม่
7
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
3. คลิกหน้าเว็บใหม่
4. กรอกชื่อหน้าเว็บ
5. คลิกเสร็จสิ้น
6. จะปรากฏหน้าเว็บที่สร้างขึ้น
7. สร้างหน้าเว็บใหม่โดยทำซ้ำขั้นตอนที่ 1-5
8 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การสร้างหน้าเว็บย่อย
1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ
2. คลิกที่จุด 3 จุด ในหน้าที่ต้องการสร้างหน้าเว็บย่อย > เพิ่มหน้าย่อย
3. กำหนดชื่อหน้าเว็บ
4. คลิกเสร็จสิ้น
5. จะปรากฏหน้าเว็บย่อยที่สร้างขึ้น
9
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การสร้างหน้าเว็บจากลิงก์
1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ
2. นำเมาส์ไปชี้ที่ใหม่
3. คลิกลิงก์ใหม่
4. กำหนดชื่อลิงก์
5. กำหนดลิงก์
6. เลือกเปิดในแท็บใหม่
7. คลิกเสร็จสิ้น
10 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
8. จะปรากฏหน้าเว็บลิงก์
การจัดลำดับหน้าเว็บ
หากผู้ใช้สร้างหน้าเว็บแล้วต้องการจัดลำดับหน้าเว็บไซต์ในแถบเมนู สามารถทำได้โดยคลิกเมาส์ค้างไว้
แล้วลากไปไว้ในลำดับที่ต้องการ
11
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การกำหนดให้หน้าเว็บเป็นหน้าแรก
หากผู้ใช้ต้องการกำหนดให้หน้าเว็บที่ต้องการให้เป็นหน้าแรกของเว็บไซต์ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอน
ดังนี้
1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ
2. คลิกที่จุด 3 จุด ที่หน้าที่ต้องการ > ทำให้เป็นหน้าแรก
3. หน้าที่เลือกไว้จะปรากฏเป็นหน้าแรก
12 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การทำซ้ำหน้าเว็บ
1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ
2. คลิกที่จุด 3 จุด ที่หน้าที่ต้องการ > ทำซ้ำหน้าเว็บ
3. กำหนดชื่อหน้าเว็บ
4. คลิกเสร็จสิ้น
13
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
5. จะปรากฏหน้าเว็บใหม่ที่เหมือนกับหน้าเว็บที่ทำซ้ำ
การกำหนดคุณสมบัติของหน้าเว็บ
หากผู้ใช้สร้างหน้าเว็บมาแล้ว ต้องการที่จะเปลี่ยนชื่อหน้าเว็บและกำหนดเส้นทาง URL จะต้องเข้าไป
กำหนดคุณสมบัติของหน้าเว็บ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ
2. คลิกที่จุด 3 จุด ที่หน้าที่ต้องการ > คุณสมบัติ
3. คลิกขั้นสูง
4. กำหนดเส้นทางที่กำหนดเองเป็นภาษาอังกฤษ
14 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
5. คลิกเสร็จสิ้น
การซ่อนจากการนำทาง
หากผู้ใช้ต้องการสร้างหน้าเว็บแต่ไม่ต้องการให้หน้าเว็บปราฏในส่วนของเมนูนำทาง สามารถทำได้
โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ
2. คลิกที่จุด 3 จุด ที่หน้าที่ต้องการ > ซ่อนจากการนำทาง
15
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
3. จะปรากฏสัญลักษณ์ ในส่วนของรายการหน้าเว็บ และเมนูหน้าเว็บที่เลือกจะถูกซ่อน
การยกเลิกการซ่อนจากการนำทาง
หากผู้ใช้ต้องการนำหน้าเว็บที่ซ่อนไว้ให้กลับมาแสดงในส่วนของเมนูเหมือนเดิม สามารถทำได้โดยมี
ขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ
2. คลิกที่จุด 3 จุด ที่หน้าที่ต้องการ > แสดงในการนำทาง
16 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
3. หน้าเว็บจะปรากฏในเมนู
การลบหน้าเว็บ
1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ
2. คลิกที่จุด 3 จุด ที่หน้าที่ต้องการ > ลบ
3. หน้าเว็บที่ถูกลบจะหายไปจากรายการหน้าเว็บ
17
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การจัดการส่วนหัวของเว็บไซต์
ส่วนหัวเป็นส่วนที่ใช้แสดงชื่อหน้าเว็บทุกหน้า ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขรูปภาพและการแสดง
ข้อความ โดยเริ่มจากการนำเมาส์ไปชี้ในบริเวณส่วนหัวแล้วปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ตามต้องการ
การเลือกรูปภาพส่วนหัว
การเลือกรูปภาพจาก Google Sites
1. คลิกเปลี่ยนรูปภาพ > เลือกรูปภาพ
2. เลือกรูปภาพที่ต้องการ
3. คลิกเลือก
18 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
4. รูปภาพที่เลือกจะปรากฏที่ส่วนหัว
การอัปโหลดรูปภาพส่วนหัว
1. คลิกเปลี่ยนรูปภาพ > อัปโหลด
2. เลือกรูปภาพที่ต้องการ
3. คลิก Open
19
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
4. รูปภาพที่เลือกจะปรากฏที่ส่วนหัว
การจัดการประเภทส่วนหัว
1. คลิกประเภทส่วนหัว
2. เลือกประเภทส่วนหัวที่ต้องการ
20 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
3. ส่วนหัวจะเปลี่ยนเป็นประเภทที่เลือก
การจัดการข้อความส่วนหัว
ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขข้อความและการจัดรูปแบบตัวอักษรในส่วนหัวได้ โดยการเลือก
ข้อความแล้วแก้ไขหรือจัดรูปแบบได้ตามต้องการ เช่น สไตล์ ฟอนต์ ขนาดตัวอักษร ตัวหนา ตัวเอียง ตัวขีดเส้นใต้
การเติมสีข้อความ การแทรกลิงก์ที่ข้อความ การจัดข้อความ และการลบข้อความ เป็นต้น
21
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การลบข้อความส่วนหัว
หากผู้ใช้สร้างรูปภาพกราฟิกสำหรับส่วนหัวด้วยโปรแกรมทำกราฟิก อาจไม่ต้องการให้มีข้อความที่
ส่วนหัว สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกที่กล่องข้อความ
2. คลิกนำออก
3. ข้อความจะถูกลบ
22 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การเพิ่มแบบอักษร
หากผู้ใช้ต้องการเลือกแบบอักษรที่นอกเหนือจากฟอนต์พื้นฐานที่ Google Sites จัดเตรียมไว้
สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่ fonts.google.com แล้วจำชื่อฟอนต์ที่ต้องการ
2. คลิกเลือกข้อความ
3. คลิกแบบอักษรเพิ่มเติม
23
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
4. ค้นหาและเลือกฟอนต์ที่ต้องการ
5. คลิก OK
6. เลือกฟอนต์ที่ต้องการ
24 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
7. ข้อความจะถูกจัดรูปแบบ
การแทรกวัตถุในหน้าเว็บ
การแทรกกล่องข้อความ
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกกล่องข้อความ
3. กำหนดขนาดกล่องข้อความ
4. พิมพ์ข้อความที่ต้องการ
5. จัดรูปแบบข้อความ
25
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพ
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกรูปภาพ > อัปโหลด
3. เลือกรูปภาพที่ต้องการ
4. คลิก Open
26 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
5. กำหนดขนาดและตำแหน่งของรูปภาพ
การครอบตัดรูปภาพ
1. คลิกที่รูปภาพ
2. คลิกครอบตัด
27
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
3. เลื่อนแถบเพื่อเลือกพื้นที่การครอบตัด แล้วคลิกแก้ไขเสร็จแล้ว
4. รูปภาพจะถูกครอบตัด
การยกเลิกการครอบตัด
1. คลิกที่รูปภาพ
2. คลิกยกเลิกการครอบตัด
3. รูปภาพจะแสดงผลทั้งภาพ
28 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การแทรกลิงก์ในรูปภาพ
1. คลิกที่รูปภาพ
2. คลิกแทรกลิงก์
3. กำหนดลิงก์ตามต้องการ แล้วคลิกใช้
29
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การแทนที่รูปภาพ
1. คลิกที่รูปภาพ
2. คลิกจุด 3 จุด > แทนที่รูปภาพ > อัปโหลด
3. เลือกรูปภาพที่ต้องการ
4. คลิก Open
5. รูปภาพใหม่จะแทนที่รูปภาพเดิม
30 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การฝัง
หากผู้ใช้ต้องการนำสื่อจากแหล่งอื่น เช่น Slideshare, ISSUU, Anyflip, Facebook Page และอื่นๆ
มาฝังไว้ในหน้าเว็บ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกฝัง
3. คัดลอกโค้ดที่ต้องการฝัง
31
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
4. วางโค้ดที่คัดลอก
5. คลิกถัดไป
6. คลิกแทรก
7. กำหนดขนาดและตำแหน่งของวัตถุที่ฝัง
32 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การแทรกไฟล์จาก Google Drive
หากผู้ใช้มีการอัพโหลดไฟล์หรือโฟลเดอร์
ไว้ใน Google Drive สำหรับดูหรือดาวน์โหลด
สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกไดรฟ์
3. เลือกไฟล์ที่ต้องการ
4. คลิกแทรก
5. กำหนดขนาดและตำแหน่งการแสดงผลไฟล์
33
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การแทรกเลย์เอาท์
เลย์เอาท์จะช่วยให้ผู้ใช้จัดองค์ประกอบของหน้าเว็บให้สวยงามตามหลักการออกแบบได้อย่างรวดเร็ว
มีหลายรูปแบบให้เลือก สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. ไปที่เลย์เอาท์ > คลิกเลือกเลย์เอาท์ที่ต้องการ
3. จะปรากฏเลย์เอาท์ในหน้าเว็บ
34 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
4. ให้คลิกเพิ่ม แล้วเลือกสิ่งที่ต้องการแทรก
5. พิมพ์ข้อความและจัดให้เรียบร้อย
การแทรกข้อความแบบยุบได้
ข้อความแบบยุบได้เป็นการสร้างหัวข้อสำหรับข้อความ แล้วสามารถคลี่เพื่อแสดงรายละเอียดเพิ่มเติม
สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
35
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกข้อความแบบยุบได้
3. กำหนดขนาดและตำแหน่ง แล้วพิมพ์ข้อความที่ต้องการและจัดรูปแบบข้อความ
การแทรกสารบัญ
การแทรกสารบัญ
สารบัญเป็นเมนูลัดในหน้าเว็บใดหน้าเว็บหนึ่ง ในหน้าเว็บนั้นจะต้องมีการใช้สไตล์ข้อความในรูปแบบ
ส่วนหัวก่อน จึงจะใช้สารบัญได้ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกสารบัญ
3. กำหนดขนาดและตำแหน่งของสารบัญ
36 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การซ่อนรายการสารบัญ
หากในหน้าเว็บมีข้อความที่ใช้รูปแบบส่วนหัวจำนวนมาก แต่ไม่ต้องการแสดงรายการในส่วนของ
สารบัญ สามารถทำได้โดยการนำเมาส์ไปชี้ข้อความสารบัญที่ต้องการซ่อน แล้วคลิก เพื่อซ่อน จะปรากฏ
สัญลักษณ์
การยกเลิกซ่อนรายการสารบัญ
เมื่อซ่อนรายการสารบัญแล้ว ในหน้าแก้ไขจะแสดงเป็นข้อความสีเทาพร้อมสัญลักษณ์ ซึ่งจะไม่
แสดงผลจริง หากต้องการยกเลิกการซ่อน สามารถทำได้โดยการนำเมาส์ไปชี้ข้อความสารบัญที่ต้องการแสดง
แล้วคลิก รายการสารบัญจะกลับมาแสดงผล
37
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การแทรกภาพหมุน
การแทรกภาพหมุน
ภาพหมุนเป็นการแสดงผลภาพหลายภาพโดยการเลื่อนไปทางซ้ายหรือขวา เหมาะกับการทำภาพ
แบนเนอร์หรือสไลด์โชว์ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกภาพหมุน
3. คลิกเพิ่ม > อัปโหลดรูปภาพ
4. เลือกรูปภาพที่ต้องการ
5. คลิก Open
38 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
6. คลิกแทรก
7. กำหนดขนาดและตำแหน่งของภาพหมุน
การแก้ไขภาพหมุน
หากผู้ใช้ต้องการกำหนดค่าเพิ่มเติมให้กับภาพหมุน ได้แก่ การแสดงจุด แสดงคำบรรยายภาพ เล่น
อัตโนมัติ และปรับความเร็วของการเปลี่ยนสไลด์ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกที่ภาพหมุน แล้วคลิกการตั้งค่า
39
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
2. คลิกการตั้งค่า
3. กำหนดค่าตามต้องการ
4. คลิกอัปเดต
การเพิ่มข้อความอธิบายภาพ
ข้อความอธิบายภาพใช้สำหรับให้โปรแกรมอ่านหน้าจอ อ่านข้อความแสดงแทนสำหรับผู้ที่อาจมี
ปัญหาด้านการมองเห็น โดยข้อความจะไม่ปรากฏในหน้าเว็บ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
40 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
1. คลิกที่ภาพหมุน แล้วคลิกการตั้งค่า
2. นำเมาส์ไปชี้ที่ภาพที่ต้องการ แล้วคลิกเพิ่มข้อความ > เพิ่มข้อความอธิบายภาพ
3. กำหนดคำอธิบาย
4. คลิกใช้
41
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
5. คลิกอัปเดต
การเพิ่มคำบรรยาย
คำบรรยายเป็นการแสดงข้อความใต้ภาพหมุน และจะปรากฏเมื่อภาพที่มีคำบรรยายเท่านั้น สามารถ
ทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกที่ภาพหมุน แล้วคลิกการตั้งค่า
42 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
2. นำเมาส์ไปชี้ที่ภาพที่ต้องการ แล้วคลิกเพิ่มข้อความ > เพิ่มคำบรรยาย
3. กำหนดคำบรรยาย
4. คลิกตกลง
5. คลิกอัปเดต
43
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การลบรูปภาพในภาพหมุน
1. คลิกที่ภาพหมุน แล้วคลิกการตั้งค่า
2. นำเมาส์ไปชี้ที่ภาพที่ต้องการลบ แล้วคลิกนำรูปภาพออก
3. คลิกอัปเดต
44 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การแทรกปุ่ม
การแทรกปุ่ม
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกปุ่ม
3. กำหนดชื่อปุ่ม
4. กำหนดลิงก์ที่ต้องการ
5. คลิกแทรก
45
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
6. กำหนดขนาดและตำแหน่งของปุ่ม
การปรับเปลี่ยนรูปแบบปุ่ม
การปรับเปลี่ยนรูปแบบปุ่มสามารถทำได้โดยการคลิกที่ปุ่ม แล้วกำหนดรูปแบบปุ่มได้ตามต้องการ ซึง่
มี 3 รูปแบบ ได้แก่ เติมพื้น เติมขอบ และข้อความ
การแก้ไขปุ่ม
1. คลิกปุ่มที่ต้องการแก้ไข
2. คลิกแก้ไข
46 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
3. แก้ไขรายละเอียดตามต้องการ
4. คลิกอัปเดต
5. ปุ่มจะถูกแก้ไข
การแทรกตัวแบ่ง
ตัวแบ่งเป็นเส้นบางๆ ใช้สำหรับแบ่งระหว่างส่วนแต่ละส่วนให้เห็นได้อย่างชัดเจน สามารถทำได้โดยมี
ขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกตัวแบ่ง
3. กำหนดตำแหน่งของตัวแบ่ง
47
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การแทรกตัวยึดตำแหน่ง
ตัวยึดตำแหน่งเป็นการวางบล็อกสำหรับจัดวางองค์ประกอบในตำแหน่งต่างๆ ในหน้าเว็บ โดยยังไม่มี
การใส่เนื้อหาจริง สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกตัวยึดตำแหน่ง
3. กำหนดขนาดและตำแหน่งของตัวยึดตำแหน่ง
4. คลิกเพิ่ม แล้วแทรกวัตถุตามต้องการ
48 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การแทรก YouTube
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิก YouTube
3. เลือกคลิปวิดีโอที่ต้องการ
4. คลิกเลือก
49
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
5. กำหนดขนาดและตำแหน่งของ YouTube
การแทรกปฎิทิน
การแทรกปฎิทิน
ปฏิทินเป็นสิ่งที่ใช้แสดงกำหนดการต่างๆ ในแต่ละวัน ผู้ใช้จะต้องเพิ่มข้อมูลกำหนดการใน Google
Calendar ก่อน แล้วนำข้อมูลปฏิทินมาแสดงในหน้าเว็บ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกปฏิทิน
50 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
3. คลิกเลือกปฏิทินที่ต้องการ
4. คลิกแทรก
5. กำหนดขนาดและตำแหน่งปฏิทิน
51
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การแก้ไขการแสดงผลปฏิทิน
1. คลิกที่ปฏิทิน
2. คลิกการตั้งค่า
3. กำหนดค่าปฏิทินตามต้องการ
4. คลิกเสร็จสิ้น
52 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
5. ปฏิทินจะถูกปรับเปลี่ยนการแสดงผล
การแทรกแผนที่
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกแผนที่
53
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
3. ค้นหาตำแหน่งที่ต้องการ
4. คลิกเลือก
5. กำหนดขนาดและตำแหน่งแผนที่
การแทรกเอกสาร
ผู้ใช้จำเป็นต้องสร้างไฟล์เอกสารเก็บไว้ใน Google Drive ก่อน หากต้องการนำไฟล์เอกสารมา
แสดงผลในหน้าเว็บ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
54 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกเอกสาร
3. คลิกเลือกไฟล์เอกสารที่ต้องการ
4. คลิกแทรก
55
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
5. กำหนดขนาดและตำแหน่งของเอกสาร
การแทรกสไลด์
ผู้ใช้จำเป็นต้องสร้างไฟล์สไลด์เก็บไว้ใน Google Drive ก่อน หากต้องการนำไฟล์สไลด์มาแสดงผลใน
หน้าเว็บ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกสไลด์
56 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
3. คลิกเลือกสไลด์ที่ต้องการ
4. คลิกแทรก
5. กำหนดขนาดและตำแหน่งสไลด์
57
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การแทรกชีต
ผู้ใช้จำเป็นต้องสร้างไฟล์ชีตเก็บไว้ใน Google Drive ก่อน หากต้องการนำไฟล์ชีตมาแสดงผลในหน้าเว็บ
สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกชีต
3. คลิกเลือกชีตที่ต้องการ
4. คลิกแทรก
58 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
5. กำหนดขนาดและตำแหน่งชีต
การแทรกฟอร์ม
ผู้ใช้จำเป็นต้องสร้างฟอร์มเก็บไว้ใน Google Drive ก่อน หากต้องการนำฟอร์มมาแสดงผลในหน้าเว็บ
สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกฟอร์ม
59
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
3. คลิกเลือกฟอร์มที่ต้องการ
4. คลิกแทรก
5. กำหนดขนาดและตำแหน่งฟอร์ม
การแทรกแผนภูมิ
ผู้ใช้จำเป็นต้องสร้างไฟล์ชีตที่มีแผนภูมิเก็บไว้ใน Google Drive ก่อน หากต้องการนำแผนภูมิจากชีต
มาแสดงผลในหน้าเว็บ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
60 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
1. ไปที่พาเนลแทรก
2. คลิกแผนภูมิ
3. คลิกเลือกชีตที่มีแผนภูมิ
4. คลิกแทรก
61
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
5. เลือกแผนภูมิที่ต้องการ
6. คลิกเพิ่ม
7. กำหนดขนาดและตำแหน่งแผนภูมิ
การลบวัตถุ
1. คลิกที่วัตถุที่ต้องการลบ
2. คลิกนำออก
62 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การเพิ่มส่วนท้ายของเว็บไซต์
ส่วนท้ายของเว็บไซต์จะแสดงผลอยู่ด้านล่างสุดในหน้าเว็บทุกหน้า ผู้ใช้สามารถแทรกวัตถุและจัดวาง
องค์ประกอบได้เหมือนส่วนอื่นๆ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. นำเมาส์ไปชี้ที่ด้านล่างของเว็บไซต์ แล้วคลิกเพิ่มส่วนท้าย
2. แทรกวัตถุและจัดองค์ประกอบ
63
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การจัดการส่วน
การกำหนดพื้นหลังส่วน
1. นำเมาส์ไปชี้ที่ส่วน
2. คลิกพื้นหลังของส่วน แล้วเลือกรูปแบบการเน้นที่ต้องการ
การทำสำเนาส่วน
หากผู้ใช้ต้องการคัดลอกแล้ววางส่วนแล้วนำไปแก้ไขใส่เนื้อหาอื่น การทำนำเนาส่วนสามารถทำได้โดย
มีขั้นตอนดังนี้
1. นำเมาส์ไปชี้ที่ส่วน
2. คลิกทำสำเนาส่วน
64 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
3. แทรกเนื้อหาใหม่ตามต้องการ
การจัดลำดับส่วน
ผู้ใช้สามารถจัดลำดับส่วนได้โดยการนำเมาส์ไปชี้ที่สัญลักษณ์ ที่ส่วนที่ต้องการจัดลำดับ เคอร์เซอร์
เมาส์จะแสดงสัญลักษณ์ ให้คลิกเมาส์ค้างไว้แล้วลากขึ้นหรือลงเพื่อจัดลำดับส่วนตามต้องการ
65
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การลบส่วนที่ไม่ต้องการ
ผู้ใช้สามารถลบส่วนที่ไม่ต้องการออกจากหน้าเว็บได้ เนื้อหาที่จัดวางไว้ในส่วนนั้นทั้งหมดจะถูกลบ
ออกไปด้วย การลบส่วนสามารถทำได้โดยนำเมาส์ไปชี้ที่ส่วนที่ต้องการลบ แล้วคลิกลบส่วน
การจัดการธีมของเว็บ
ธีมเป็นรูปแบบการแสดงผลของเว็บไซต์ ผู้ใช้สามารถกำหนดรูปแบบการแสดงผลของเว็บไซต์จากธีม
และปรับแต่งสีสันเพิ่มเติมได้ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ไปที่พาเนลธีม
2. คลิกเลือกธีมและสีที่ต้องการ
66 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การทดสอบการแสดงผล
การทดสอบการแสดงผลจะถูกทำควบคู่กันระหว่างการทำเว็บไซต์ เพื่อจำลองการแสดงผลจริงใน
อุปกรณ์ต่างๆ ได้แก่ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกแสดงตัวอย่าง
2. เลือกรูปแบบการแสดงผล
3. คลิกออกจากการดูตัวอย่าง
67
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การแชร์กับผู้อื่น
ระหว่างการทำเว็บไซต์ผู้ใช้สามารถแชร์ให้ผู้อื่นมาร่วมแก้ไขเว็บไซต์ได้แบบเรียลไทม์ สามารถทำได้
โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกแชร์กับผู้อื่น
2. ระบุอีเมล์ที่ต้องการ
3. กำหนดข้อความ
4. คลิกส่ง
5. ระบบจะส่งอีเมล์ไปยังอีเมล์ที่ระบุไว้ ให้คลิกเปิด
68 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
6. ปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ตามต้องการ
การตั้งค่าเว็บไซต์
ผู้ใช้สามารถตั้งค่าเว็บไซต์ก่อนการเผยแพร่ได้ ในส่วนของการใช้งานฟรีจะสามารถตั้งค่าได้บ่างคำสั่ง
ได้แก่ การตั้งค่าการนำทาง การตั้งค่ารูปภาพแบรนด์ และการตั้งค่าแบนเนอร์ประกาศ สามารถทำได้โดยมี
ขั้นตอนดังนี้
การตั้งค่าการนำทาง
การนำทางเป็นแถบเมนูที่อยู่ด้านบนสุดของเว็บไซต์ ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขรูปแบบการนำทาง
ได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกการตั้งค่า
2. ไปที่การนำทาง
3. กำหนดโหมดและสีตามต้องการ
4. คลิกปิด
69
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การตั้งค่ารูปภาพแบรนด์
การเพิ่มโลโก้
โลโก้เป็นรูปภาพที่แสดงอยู่ในส่วนของเมนูนำทาง โดยจะอยู่ที่ด้านบนซ้ายมือในทุกหน้าเว็บ ผู้รับชม
เว็บไซต์สามารถคลิกที่รูปภาพโลโก้เพื่อกลับหน้าแรกได้ การเพิ่มรูปภาพโลโก้สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกการตั้งค่า
2. ไปที่รูปภาพแบรนด์
3. ไปที่โลโก้แล้วคลิกอัปโหลด
4. เลือกรูปภาพที่ต้องการ
5. คลิก Open
6. คลิกปิด
70 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
7. ลบชื่อเว็บไซต์
การเพิ่มไอคอน Fav
ไอคอน Fav เป็นรูปภาพขนาดเล็กที่แสดงอยู่บนแท็บของเบราว์เซอร์ ผู้ใช้สามารถเพิ่มไอคอน Fav ได้
โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกการตั้งค่า
2. ไปที่รูปภาพแบรนด์
3. ไปที่ไอคอน Fav แล้วคลิกอัปโหลด
4. เลือกรูปภาพที่ต้องการ
5. คลิก Open
6. คลิกปิด
71
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การตั้งค่าแบนเนอร์ประกาศ
แบนเนอร์ประกาศเป็นแถบที่แสดงอยู่เหนือเมนูนำทาง ใช้สำหรับแจ้งข่าวสารสำคัญ สามารถ
กำหนดให้แสดงเฉพาะหน้าแรกหรือทุกหน้าเว็บก็ได้ การตั้งค่าแบนเนอร์ประกาศสามารถทำได้โดยมีขั้นตอน
ดังนี้
1. คลิกการตั้งค่า
2. ไปที่แบนเนอร์ประกาศ
3. กำหนดค่าต่างๆ ตามต้องการ
▪ แสดงแบนเนอร์ : กำหนดให้แสดงแบนเนอร์
▪ สีของแบนเนอร์ : กำหนดสีตามต้องการ
▪ ประกาศ : กำหนดข้อความประกาศ ป้ายกำกับของปุ่ม และลิงก์
▪ เปิดในแท็บใหม่ : กำหนดให้เปิดในแท็บใหม่
▪ ระดับการมองเห็น : กำหนดการแสดงผลของแบนเนอร์ประกาศ
4. คลิกปิด
72 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
5. แบนเนอร์ประกาศจะถูกแสดงเหนือแถบเมนู
การจัดการเวอร์ชั่น
การคืนค่าเวอร์ชั่น
ระหว่างการอัปเดตเว็บไซต์ โปรแกรมจะมีการจัดเก็บการเปลี่ยนแปลงเวอร์ชั่นโดยอัตโนมัติ หาก
ผู้ใช้อัปเดตเว็บไซต์ผิดพลาด สามารถคืนค่ากลับไปใช้เวอร์ชั่นก่อนหน้าได้ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกที่จุด 3 จุด > ประวัติเวอร์ชั่น
2. เลือกเวอร์ชั่นที่ต้องการคืนค่า
73
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
3. คลิกคืนค่า
4. เว็บไซต์จะคืนค่าตามเวอร์ชั่นที่ผู้ใช้เลือก
การกำหนดชื่อเวอร์ชั่น
1. คลิกที่จุด 3 จุด > ประวัติเวอร์ชั่น
74 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
2. คลิกที่จุด 3 จุด ในเวอร์ชั่นที่ต้องการกำหนดชื่อ > ตั้งชื่อเวอร์ชั่นนี้
3. กำหนดชื่อตามต้องการ
การทำซ้ำเว็บไซต์
หากผู้ใช้ต้องการคัดลอกเว็บไซต์ไปสร้างเว็บไซต์อื่นต่อ สามารถทำซ้ำเว็บไซต์แล้วไปปรับเปลี่ยนแก้ไข
เนื้อหาใหม่ได้ตามต้องการ การทำซ้ำเว็บไซต์สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกที่จุด 3 จุด > ทำซ้ำเว็บไซต์
2. กำหนดชื่อไฟล์
3. กำหนดโฟลเดอร์จัดเก็บไฟล์
4. คลิกทำสำเนา
75
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
5. เว็บไซต์จะถูกทำสำเนาและจัดเก็บไว้ในโฟลเดอร์ที่กำหนด
การเผยแพร่เว็บไซต์
การเผยแพร่
หากผู้ใช้สร้างเว็บไซต์เสร็จเรียบร้อยแล้ว ต้องการให้คนทั่วไปรับชมผ่านลิงก์ผ่านอุปกรณ์ต่างๆ ได้แก่
คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเผยแพร่
2. กำหนดที่อยู่เว็บ
3. คลิกเผยแพร่
76 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การตั้งค่าการเผยแพร่
หากผู้ใช้เผยแพร่เว็บไซต์ไปแล้ว ต้องการกำหนดค่าบางอย่าง เช่น กำหนดที่อยู่เว็บใหม่ กำหนดการ
ค้นหาจาก Serch Engine และการตรวจสอบ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกตัวเลือกการเผยแพร่ > การตั้งค่าการเผยแพร่
2. กำหนดค่าตามต้องการ
▪ กำหนดที่อยู่เว็บ
▪ ขอให้เครื่องมือค้นหาสาธารณะไม่แสดงเว็บไซต์ของฉัน
▪ เอดิเตอร์ต้องตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงก่อนเผยแพร่
3. คลิกบันทึก
การดูเว็บไซต์ที่เผยแพร่
เมื่อเผยแพร่เว็บไซต์แล้ว ให้ผู้ใช้คลิกตัวเลือกการเผยแพร่ > ดูเว็บไซต์ที่เผยแพร่ เพื่อแสดงผล
เว็บไซต์ที่สมบูรณ์
77
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
การคัดลอกลิงก์เว็บไซต์ที่เผยแพร่
เมื่อเผยแพร่เว็บไซต์แล้ว ผู้ใช้ต้องการคัดลอกลิงก์เว็บไซต์ที่เผยแพร่ส่งต่อให้ผู้อื่น สามารถทำได้โดยมี
ขั้นตอนดังนี้
1. คลิกคัดลอกลิงก์ของไซต์ที่เผยแพร่แล้ว
2. คลิกคัดลอกลิงก์
การยกเลิกการเผยแพร่
เมื่อเผยแพร่เว็บไซต์แล้ว ผู้ใช้ต้องการปรับเปลี่ยนแก้ไขข้อมูลในเว็บไซต์โดยที่ยังไม่ต้องการให้ผู้อื่นเข้า
มาเยี่ยมชมเว็บไซต์ได้ สามารถยกเลิกการเผยแพร่ก่อนแล้วเผยแพร่ได้ใหม่อีกครั้งตามต้องการ สามารถทำได้
โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกตัวเลือกการเผยแพร่ > ยกเลิกการเผยแพร่
2. คลิกรับทราบ
78 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
NOTE
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
79
วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย
NOTE
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
80 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
NOTE
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________
TouchPoint.in.th facebook.com/TouchPoint.in.th

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
Siriporn Kusolpiamsuk
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
Nuchy Geez
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
website22556
 
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
Nattapon
 

La actualidad más candente (20)

ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
 

Más de Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Más de Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (20)

การสื่อสารภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ (Communication Effectively in an Orga...
การสื่อสารภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ (Communication Effectively in an Orga...การสื่อสารภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ (Communication Effectively in an Orga...
การสื่อสารภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ (Communication Effectively in an Orga...
 
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 

การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites

  • 1. ว�ทยากร : ดร.กฤษณพงศ เลิศบำรุงชัย TouchPoint.in.th facebook.com/TouchPoint.in.th การสรางเว็บไซตคลังความรูดิจิทัลดวย GOOGLE SITES
  • 2.
  • 3. 1 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย สารบัญ เรื่อง หน้า รู้จักกับ Google Sites 1 การวางโครงสร้างเว็บไซต์ 2 การลงชื่อเข้าใช้ Google 2 ส่วนประกอบของ Google Sites 3 การสร้างเว็บไซต์ใหม่ 4 การจัดการหน้าเว็บ 6 การจัดการส่วนหัวของเว็บไซต์ 17 การเพิ่มแบบอักษร 22 การแทรกวัตถุในหน้าเว็บ 24 การลบวัตถุ 61 การเพิ่มส่วนท้ายของเว็บไซต์ 62 การจัดการส่วน 63 การจัดการธีมของเว็บ 65 การทดสอบการแสดงผล 66 การแชร์กับผู้อื่น 67 การตั้งค่าเว็บไซต์ 68 การจัดการเวอร์ชั่น 72 การทำซ้ำเว็บไซต์ 74 การเผยแพร่เว็บไซต์ 75
  • 4.
  • 5. 1 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย รู้จักกับ Google Sites Google Sites เป็นแอพพลิเคชั่นบนเทคโนโลยีคลาวด์ของกูเกิ้ล ใช้สำหรับสร้างเว็บไซต์ได้ง่ายและฟรี ผ่านเบราว์เซอร์ โดยไม่จำเป็นต้องรู้ภาษาเขียนเว็บ สามารถนำสื่อต่างๆ มาจัดวางให้สวยงาม เช่น เอกสาร รูปภาพ วิดีโอ แผนที่ และอื่นๆ ที่รองรับการค้นหาจากเว็บไซต์ Google ผู้ใช้เพียงมีบัญชีกูเกิ้ลก็สามารถลงชื่อ เข้าใช้งานได้ทันที
  • 6. 2 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites การวางโครงสร้างเว็บไซต์ การสร้างเว็บไซต์จำเป็นต้องวางโครงสร้างเว็บไซต์ ผู้ใช้จะต้องวางแผนลำดับการทำงานและการ เชื่อมโยงกันในแต่ละหน้าของเว็บไซต์ โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้มีทิศทางในการทำงาน การ จัดเตรียมเนื้อหาที่ง่ายต่อการเข้าถึงหน้าต่างๆ ในเว็บไซต์ การลงชื่อเข้าใช้ Google การใช้งาน Google Sites ผู้ใช้จำเป็นต้องลงชื่อเข้าใช้ด้วยบัญชี Google สามารถทำได้โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. ไปที่เว็บไซต์ google.com 2. คลิกลงชื่อเข้าสู่ระบบ
  • 7. 3 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 3. กรอกอีเมล์ 4. คลิกถัดไป 5. กรอกรหัสผ่าน 6. คลิกถัดไป ส่วนประกอบของ Google Sites หน้าแรกของไซต์ ใช้กลับหน้าหลักของ Google Sites ชื่อเอกสารของไซต์ ใช้กำหนดชื่อไฟล์เว็บไซต์ แถบคำสั่ง ใช้ควบคุมการทำงานของเว็บไซต์ เผยแพร่ ใช้เผยแพร่เว็บไซต์ พื้นที่การทำงาน ใช้จัดวางองค์ประกอบของเว็บไซต์ กลุ่มพาเนล ใช้แทรกวัตถุ หน้าเว็บ และเลือกธีม
  • 8. 4 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites การสร้างเว็บไซต์ใหม่ การสร้างผ่านเว็บ Google Sites ผู้ใช้สามารถเริ่มสร้างเว็บไซต์จากหน้าเว็บ Google Sites ได้ทันที ไฟล์เว็บไซต์จะถูกสร้างขึ้นใน Google Drive โดยอัตโนมัติ ไม่สามารถเลือกโฟลเดอร์เพื่อจัดเก็บไฟล์เว็บไซต์ได้ แต่สามารถย้ายไฟล์ได้ใน ภายหลัง สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่ sites.google.com 2. คลิกว่าง
  • 9. 5 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 3. จะปรากฏเว็บไซต์ใหม่ การสร้างผ่าน Google Drive ผู้ใช้สามารถเริ่มต้นจากการเข้าไปที่ Google Drive ก่อน แล้วสร้างโฟลเดอร์เพื่อเป็นพื้นที่สำหรับ จัดเก็บไฟล์อย่างเป็นระเบียบ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่จุด 9 จุด > ไดรฟ์ 2. เลือกโฟลเดอร์ที่จัดเก็บเว็บไซต์ 3. คลิกใหม่ > เพิ่มเติม > Google Sites
  • 10. 6 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 4. จะปรากฏเว็บไซต์ใหม่ การจัดการหน้าเว็บ การสร้างหน้าเว็บ 1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ 2. นำเมาส์ไปชี้ที่ใหม่
  • 11. 7 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 3. คลิกหน้าเว็บใหม่ 4. กรอกชื่อหน้าเว็บ 5. คลิกเสร็จสิ้น 6. จะปรากฏหน้าเว็บที่สร้างขึ้น 7. สร้างหน้าเว็บใหม่โดยทำซ้ำขั้นตอนที่ 1-5
  • 12. 8 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites การสร้างหน้าเว็บย่อย 1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ 2. คลิกที่จุด 3 จุด ในหน้าที่ต้องการสร้างหน้าเว็บย่อย > เพิ่มหน้าย่อย 3. กำหนดชื่อหน้าเว็บ 4. คลิกเสร็จสิ้น 5. จะปรากฏหน้าเว็บย่อยที่สร้างขึ้น
  • 13. 9 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การสร้างหน้าเว็บจากลิงก์ 1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ 2. นำเมาส์ไปชี้ที่ใหม่ 3. คลิกลิงก์ใหม่ 4. กำหนดชื่อลิงก์ 5. กำหนดลิงก์ 6. เลือกเปิดในแท็บใหม่ 7. คลิกเสร็จสิ้น
  • 14. 10 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 8. จะปรากฏหน้าเว็บลิงก์ การจัดลำดับหน้าเว็บ หากผู้ใช้สร้างหน้าเว็บแล้วต้องการจัดลำดับหน้าเว็บไซต์ในแถบเมนู สามารถทำได้โดยคลิกเมาส์ค้างไว้ แล้วลากไปไว้ในลำดับที่ต้องการ
  • 15. 11 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การกำหนดให้หน้าเว็บเป็นหน้าแรก หากผู้ใช้ต้องการกำหนดให้หน้าเว็บที่ต้องการให้เป็นหน้าแรกของเว็บไซต์ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ 2. คลิกที่จุด 3 จุด ที่หน้าที่ต้องการ > ทำให้เป็นหน้าแรก 3. หน้าที่เลือกไว้จะปรากฏเป็นหน้าแรก
  • 16. 12 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites การทำซ้ำหน้าเว็บ 1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ 2. คลิกที่จุด 3 จุด ที่หน้าที่ต้องการ > ทำซ้ำหน้าเว็บ 3. กำหนดชื่อหน้าเว็บ 4. คลิกเสร็จสิ้น
  • 17. 13 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 5. จะปรากฏหน้าเว็บใหม่ที่เหมือนกับหน้าเว็บที่ทำซ้ำ การกำหนดคุณสมบัติของหน้าเว็บ หากผู้ใช้สร้างหน้าเว็บมาแล้ว ต้องการที่จะเปลี่ยนชื่อหน้าเว็บและกำหนดเส้นทาง URL จะต้องเข้าไป กำหนดคุณสมบัติของหน้าเว็บ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ 2. คลิกที่จุด 3 จุด ที่หน้าที่ต้องการ > คุณสมบัติ 3. คลิกขั้นสูง 4. กำหนดเส้นทางที่กำหนดเองเป็นภาษาอังกฤษ
  • 18. 14 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 5. คลิกเสร็จสิ้น การซ่อนจากการนำทาง หากผู้ใช้ต้องการสร้างหน้าเว็บแต่ไม่ต้องการให้หน้าเว็บปราฏในส่วนของเมนูนำทาง สามารถทำได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ 2. คลิกที่จุด 3 จุด ที่หน้าที่ต้องการ > ซ่อนจากการนำทาง
  • 19. 15 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 3. จะปรากฏสัญลักษณ์ ในส่วนของรายการหน้าเว็บ และเมนูหน้าเว็บที่เลือกจะถูกซ่อน การยกเลิกการซ่อนจากการนำทาง หากผู้ใช้ต้องการนำหน้าเว็บที่ซ่อนไว้ให้กลับมาแสดงในส่วนของเมนูเหมือนเดิม สามารถทำได้โดยมี ขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ 2. คลิกที่จุด 3 จุด ที่หน้าที่ต้องการ > แสดงในการนำทาง
  • 20. 16 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 3. หน้าเว็บจะปรากฏในเมนู การลบหน้าเว็บ 1. ไปที่พาเนลหน้าเว็บ 2. คลิกที่จุด 3 จุด ที่หน้าที่ต้องการ > ลบ 3. หน้าเว็บที่ถูกลบจะหายไปจากรายการหน้าเว็บ
  • 21. 17 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การจัดการส่วนหัวของเว็บไซต์ ส่วนหัวเป็นส่วนที่ใช้แสดงชื่อหน้าเว็บทุกหน้า ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขรูปภาพและการแสดง ข้อความ โดยเริ่มจากการนำเมาส์ไปชี้ในบริเวณส่วนหัวแล้วปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ตามต้องการ การเลือกรูปภาพส่วนหัว การเลือกรูปภาพจาก Google Sites 1. คลิกเปลี่ยนรูปภาพ > เลือกรูปภาพ 2. เลือกรูปภาพที่ต้องการ 3. คลิกเลือก
  • 22. 18 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 4. รูปภาพที่เลือกจะปรากฏที่ส่วนหัว การอัปโหลดรูปภาพส่วนหัว 1. คลิกเปลี่ยนรูปภาพ > อัปโหลด 2. เลือกรูปภาพที่ต้องการ 3. คลิก Open
  • 23. 19 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 4. รูปภาพที่เลือกจะปรากฏที่ส่วนหัว การจัดการประเภทส่วนหัว 1. คลิกประเภทส่วนหัว 2. เลือกประเภทส่วนหัวที่ต้องการ
  • 24. 20 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 3. ส่วนหัวจะเปลี่ยนเป็นประเภทที่เลือก การจัดการข้อความส่วนหัว ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขข้อความและการจัดรูปแบบตัวอักษรในส่วนหัวได้ โดยการเลือก ข้อความแล้วแก้ไขหรือจัดรูปแบบได้ตามต้องการ เช่น สไตล์ ฟอนต์ ขนาดตัวอักษร ตัวหนา ตัวเอียง ตัวขีดเส้นใต้ การเติมสีข้อความ การแทรกลิงก์ที่ข้อความ การจัดข้อความ และการลบข้อความ เป็นต้น
  • 25. 21 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การลบข้อความส่วนหัว หากผู้ใช้สร้างรูปภาพกราฟิกสำหรับส่วนหัวด้วยโปรแกรมทำกราฟิก อาจไม่ต้องการให้มีข้อความที่ ส่วนหัว สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกที่กล่องข้อความ 2. คลิกนำออก 3. ข้อความจะถูกลบ
  • 26. 22 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites การเพิ่มแบบอักษร หากผู้ใช้ต้องการเลือกแบบอักษรที่นอกเหนือจากฟอนต์พื้นฐานที่ Google Sites จัดเตรียมไว้ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่ fonts.google.com แล้วจำชื่อฟอนต์ที่ต้องการ 2. คลิกเลือกข้อความ 3. คลิกแบบอักษรเพิ่มเติม
  • 27. 23 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 4. ค้นหาและเลือกฟอนต์ที่ต้องการ 5. คลิก OK 6. เลือกฟอนต์ที่ต้องการ
  • 28. 24 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 7. ข้อความจะถูกจัดรูปแบบ การแทรกวัตถุในหน้าเว็บ การแทรกกล่องข้อความ 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกกล่องข้อความ 3. กำหนดขนาดกล่องข้อความ 4. พิมพ์ข้อความที่ต้องการ 5. จัดรูปแบบข้อความ
  • 29. 25 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การแทรกรูปภาพ การแทรกรูปภาพ 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกรูปภาพ > อัปโหลด 3. เลือกรูปภาพที่ต้องการ 4. คลิก Open
  • 30. 26 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 5. กำหนดขนาดและตำแหน่งของรูปภาพ การครอบตัดรูปภาพ 1. คลิกที่รูปภาพ 2. คลิกครอบตัด
  • 31. 27 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 3. เลื่อนแถบเพื่อเลือกพื้นที่การครอบตัด แล้วคลิกแก้ไขเสร็จแล้ว 4. รูปภาพจะถูกครอบตัด การยกเลิกการครอบตัด 1. คลิกที่รูปภาพ 2. คลิกยกเลิกการครอบตัด 3. รูปภาพจะแสดงผลทั้งภาพ
  • 32. 28 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites การแทรกลิงก์ในรูปภาพ 1. คลิกที่รูปภาพ 2. คลิกแทรกลิงก์ 3. กำหนดลิงก์ตามต้องการ แล้วคลิกใช้
  • 33. 29 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การแทนที่รูปภาพ 1. คลิกที่รูปภาพ 2. คลิกจุด 3 จุด > แทนที่รูปภาพ > อัปโหลด 3. เลือกรูปภาพที่ต้องการ 4. คลิก Open 5. รูปภาพใหม่จะแทนที่รูปภาพเดิม
  • 34. 30 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites การฝัง หากผู้ใช้ต้องการนำสื่อจากแหล่งอื่น เช่น Slideshare, ISSUU, Anyflip, Facebook Page และอื่นๆ มาฝังไว้ในหน้าเว็บ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกฝัง 3. คัดลอกโค้ดที่ต้องการฝัง
  • 35. 31 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 4. วางโค้ดที่คัดลอก 5. คลิกถัดไป 6. คลิกแทรก 7. กำหนดขนาดและตำแหน่งของวัตถุที่ฝัง
  • 36. 32 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites การแทรกไฟล์จาก Google Drive หากผู้ใช้มีการอัพโหลดไฟล์หรือโฟลเดอร์ ไว้ใน Google Drive สำหรับดูหรือดาวน์โหลด สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกไดรฟ์ 3. เลือกไฟล์ที่ต้องการ 4. คลิกแทรก 5. กำหนดขนาดและตำแหน่งการแสดงผลไฟล์
  • 37. 33 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การแทรกเลย์เอาท์ เลย์เอาท์จะช่วยให้ผู้ใช้จัดองค์ประกอบของหน้าเว็บให้สวยงามตามหลักการออกแบบได้อย่างรวดเร็ว มีหลายรูปแบบให้เลือก สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. ไปที่เลย์เอาท์ > คลิกเลือกเลย์เอาท์ที่ต้องการ 3. จะปรากฏเลย์เอาท์ในหน้าเว็บ
  • 38. 34 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 4. ให้คลิกเพิ่ม แล้วเลือกสิ่งที่ต้องการแทรก 5. พิมพ์ข้อความและจัดให้เรียบร้อย การแทรกข้อความแบบยุบได้ ข้อความแบบยุบได้เป็นการสร้างหัวข้อสำหรับข้อความ แล้วสามารถคลี่เพื่อแสดงรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
  • 39. 35 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกข้อความแบบยุบได้ 3. กำหนดขนาดและตำแหน่ง แล้วพิมพ์ข้อความที่ต้องการและจัดรูปแบบข้อความ การแทรกสารบัญ การแทรกสารบัญ สารบัญเป็นเมนูลัดในหน้าเว็บใดหน้าเว็บหนึ่ง ในหน้าเว็บนั้นจะต้องมีการใช้สไตล์ข้อความในรูปแบบ ส่วนหัวก่อน จึงจะใช้สารบัญได้ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกสารบัญ 3. กำหนดขนาดและตำแหน่งของสารบัญ
  • 40. 36 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites การซ่อนรายการสารบัญ หากในหน้าเว็บมีข้อความที่ใช้รูปแบบส่วนหัวจำนวนมาก แต่ไม่ต้องการแสดงรายการในส่วนของ สารบัญ สามารถทำได้โดยการนำเมาส์ไปชี้ข้อความสารบัญที่ต้องการซ่อน แล้วคลิก เพื่อซ่อน จะปรากฏ สัญลักษณ์ การยกเลิกซ่อนรายการสารบัญ เมื่อซ่อนรายการสารบัญแล้ว ในหน้าแก้ไขจะแสดงเป็นข้อความสีเทาพร้อมสัญลักษณ์ ซึ่งจะไม่ แสดงผลจริง หากต้องการยกเลิกการซ่อน สามารถทำได้โดยการนำเมาส์ไปชี้ข้อความสารบัญที่ต้องการแสดง แล้วคลิก รายการสารบัญจะกลับมาแสดงผล
  • 41. 37 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การแทรกภาพหมุน การแทรกภาพหมุน ภาพหมุนเป็นการแสดงผลภาพหลายภาพโดยการเลื่อนไปทางซ้ายหรือขวา เหมาะกับการทำภาพ แบนเนอร์หรือสไลด์โชว์ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกภาพหมุน 3. คลิกเพิ่ม > อัปโหลดรูปภาพ 4. เลือกรูปภาพที่ต้องการ 5. คลิก Open
  • 42. 38 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 6. คลิกแทรก 7. กำหนดขนาดและตำแหน่งของภาพหมุน การแก้ไขภาพหมุน หากผู้ใช้ต้องการกำหนดค่าเพิ่มเติมให้กับภาพหมุน ได้แก่ การแสดงจุด แสดงคำบรรยายภาพ เล่น อัตโนมัติ และปรับความเร็วของการเปลี่ยนสไลด์ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกที่ภาพหมุน แล้วคลิกการตั้งค่า
  • 43. 39 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 2. คลิกการตั้งค่า 3. กำหนดค่าตามต้องการ 4. คลิกอัปเดต การเพิ่มข้อความอธิบายภาพ ข้อความอธิบายภาพใช้สำหรับให้โปรแกรมอ่านหน้าจอ อ่านข้อความแสดงแทนสำหรับผู้ที่อาจมี ปัญหาด้านการมองเห็น โดยข้อความจะไม่ปรากฏในหน้าเว็บ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
  • 44. 40 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 1. คลิกที่ภาพหมุน แล้วคลิกการตั้งค่า 2. นำเมาส์ไปชี้ที่ภาพที่ต้องการ แล้วคลิกเพิ่มข้อความ > เพิ่มข้อความอธิบายภาพ 3. กำหนดคำอธิบาย 4. คลิกใช้
  • 45. 41 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 5. คลิกอัปเดต การเพิ่มคำบรรยาย คำบรรยายเป็นการแสดงข้อความใต้ภาพหมุน และจะปรากฏเมื่อภาพที่มีคำบรรยายเท่านั้น สามารถ ทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกที่ภาพหมุน แล้วคลิกการตั้งค่า
  • 46. 42 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 2. นำเมาส์ไปชี้ที่ภาพที่ต้องการ แล้วคลิกเพิ่มข้อความ > เพิ่มคำบรรยาย 3. กำหนดคำบรรยาย 4. คลิกตกลง 5. คลิกอัปเดต
  • 47. 43 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การลบรูปภาพในภาพหมุน 1. คลิกที่ภาพหมุน แล้วคลิกการตั้งค่า 2. นำเมาส์ไปชี้ที่ภาพที่ต้องการลบ แล้วคลิกนำรูปภาพออก 3. คลิกอัปเดต
  • 48. 44 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites การแทรกปุ่ม การแทรกปุ่ม 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกปุ่ม 3. กำหนดชื่อปุ่ม 4. กำหนดลิงก์ที่ต้องการ 5. คลิกแทรก
  • 49. 45 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 6. กำหนดขนาดและตำแหน่งของปุ่ม การปรับเปลี่ยนรูปแบบปุ่ม การปรับเปลี่ยนรูปแบบปุ่มสามารถทำได้โดยการคลิกที่ปุ่ม แล้วกำหนดรูปแบบปุ่มได้ตามต้องการ ซึง่ มี 3 รูปแบบ ได้แก่ เติมพื้น เติมขอบ และข้อความ การแก้ไขปุ่ม 1. คลิกปุ่มที่ต้องการแก้ไข 2. คลิกแก้ไข
  • 50. 46 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 3. แก้ไขรายละเอียดตามต้องการ 4. คลิกอัปเดต 5. ปุ่มจะถูกแก้ไข การแทรกตัวแบ่ง ตัวแบ่งเป็นเส้นบางๆ ใช้สำหรับแบ่งระหว่างส่วนแต่ละส่วนให้เห็นได้อย่างชัดเจน สามารถทำได้โดยมี ขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกตัวแบ่ง 3. กำหนดตำแหน่งของตัวแบ่ง
  • 51. 47 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การแทรกตัวยึดตำแหน่ง ตัวยึดตำแหน่งเป็นการวางบล็อกสำหรับจัดวางองค์ประกอบในตำแหน่งต่างๆ ในหน้าเว็บ โดยยังไม่มี การใส่เนื้อหาจริง สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกตัวยึดตำแหน่ง 3. กำหนดขนาดและตำแหน่งของตัวยึดตำแหน่ง 4. คลิกเพิ่ม แล้วแทรกวัตถุตามต้องการ
  • 52. 48 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites การแทรก YouTube 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิก YouTube 3. เลือกคลิปวิดีโอที่ต้องการ 4. คลิกเลือก
  • 53. 49 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 5. กำหนดขนาดและตำแหน่งของ YouTube การแทรกปฎิทิน การแทรกปฎิทิน ปฏิทินเป็นสิ่งที่ใช้แสดงกำหนดการต่างๆ ในแต่ละวัน ผู้ใช้จะต้องเพิ่มข้อมูลกำหนดการใน Google Calendar ก่อน แล้วนำข้อมูลปฏิทินมาแสดงในหน้าเว็บ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกปฏิทิน
  • 54. 50 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 3. คลิกเลือกปฏิทินที่ต้องการ 4. คลิกแทรก 5. กำหนดขนาดและตำแหน่งปฏิทิน
  • 55. 51 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การแก้ไขการแสดงผลปฏิทิน 1. คลิกที่ปฏิทิน 2. คลิกการตั้งค่า 3. กำหนดค่าปฏิทินตามต้องการ 4. คลิกเสร็จสิ้น
  • 56. 52 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 5. ปฏิทินจะถูกปรับเปลี่ยนการแสดงผล การแทรกแผนที่ 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกแผนที่
  • 57. 53 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 3. ค้นหาตำแหน่งที่ต้องการ 4. คลิกเลือก 5. กำหนดขนาดและตำแหน่งแผนที่ การแทรกเอกสาร ผู้ใช้จำเป็นต้องสร้างไฟล์เอกสารเก็บไว้ใน Google Drive ก่อน หากต้องการนำไฟล์เอกสารมา แสดงผลในหน้าเว็บ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
  • 58. 54 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกเอกสาร 3. คลิกเลือกไฟล์เอกสารที่ต้องการ 4. คลิกแทรก
  • 59. 55 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 5. กำหนดขนาดและตำแหน่งของเอกสาร การแทรกสไลด์ ผู้ใช้จำเป็นต้องสร้างไฟล์สไลด์เก็บไว้ใน Google Drive ก่อน หากต้องการนำไฟล์สไลด์มาแสดงผลใน หน้าเว็บ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกสไลด์
  • 60. 56 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 3. คลิกเลือกสไลด์ที่ต้องการ 4. คลิกแทรก 5. กำหนดขนาดและตำแหน่งสไลด์
  • 61. 57 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การแทรกชีต ผู้ใช้จำเป็นต้องสร้างไฟล์ชีตเก็บไว้ใน Google Drive ก่อน หากต้องการนำไฟล์ชีตมาแสดงผลในหน้าเว็บ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกชีต 3. คลิกเลือกชีตที่ต้องการ 4. คลิกแทรก
  • 62. 58 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 5. กำหนดขนาดและตำแหน่งชีต การแทรกฟอร์ม ผู้ใช้จำเป็นต้องสร้างฟอร์มเก็บไว้ใน Google Drive ก่อน หากต้องการนำฟอร์มมาแสดงผลในหน้าเว็บ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกฟอร์ม
  • 63. 59 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 3. คลิกเลือกฟอร์มที่ต้องการ 4. คลิกแทรก 5. กำหนดขนาดและตำแหน่งฟอร์ม การแทรกแผนภูมิ ผู้ใช้จำเป็นต้องสร้างไฟล์ชีตที่มีแผนภูมิเก็บไว้ใน Google Drive ก่อน หากต้องการนำแผนภูมิจากชีต มาแสดงผลในหน้าเว็บ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้
  • 64. 60 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 1. ไปที่พาเนลแทรก 2. คลิกแผนภูมิ 3. คลิกเลือกชีตที่มีแผนภูมิ 4. คลิกแทรก
  • 65. 61 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 5. เลือกแผนภูมิที่ต้องการ 6. คลิกเพิ่ม 7. กำหนดขนาดและตำแหน่งแผนภูมิ การลบวัตถุ 1. คลิกที่วัตถุที่ต้องการลบ 2. คลิกนำออก
  • 66. 62 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites การเพิ่มส่วนท้ายของเว็บไซต์ ส่วนท้ายของเว็บไซต์จะแสดงผลอยู่ด้านล่างสุดในหน้าเว็บทุกหน้า ผู้ใช้สามารถแทรกวัตถุและจัดวาง องค์ประกอบได้เหมือนส่วนอื่นๆ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. นำเมาส์ไปชี้ที่ด้านล่างของเว็บไซต์ แล้วคลิกเพิ่มส่วนท้าย 2. แทรกวัตถุและจัดองค์ประกอบ
  • 67. 63 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การจัดการส่วน การกำหนดพื้นหลังส่วน 1. นำเมาส์ไปชี้ที่ส่วน 2. คลิกพื้นหลังของส่วน แล้วเลือกรูปแบบการเน้นที่ต้องการ การทำสำเนาส่วน หากผู้ใช้ต้องการคัดลอกแล้ววางส่วนแล้วนำไปแก้ไขใส่เนื้อหาอื่น การทำนำเนาส่วนสามารถทำได้โดย มีขั้นตอนดังนี้ 1. นำเมาส์ไปชี้ที่ส่วน 2. คลิกทำสำเนาส่วน
  • 68. 64 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 3. แทรกเนื้อหาใหม่ตามต้องการ การจัดลำดับส่วน ผู้ใช้สามารถจัดลำดับส่วนได้โดยการนำเมาส์ไปชี้ที่สัญลักษณ์ ที่ส่วนที่ต้องการจัดลำดับ เคอร์เซอร์ เมาส์จะแสดงสัญลักษณ์ ให้คลิกเมาส์ค้างไว้แล้วลากขึ้นหรือลงเพื่อจัดลำดับส่วนตามต้องการ
  • 69. 65 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การลบส่วนที่ไม่ต้องการ ผู้ใช้สามารถลบส่วนที่ไม่ต้องการออกจากหน้าเว็บได้ เนื้อหาที่จัดวางไว้ในส่วนนั้นทั้งหมดจะถูกลบ ออกไปด้วย การลบส่วนสามารถทำได้โดยนำเมาส์ไปชี้ที่ส่วนที่ต้องการลบ แล้วคลิกลบส่วน การจัดการธีมของเว็บ ธีมเป็นรูปแบบการแสดงผลของเว็บไซต์ ผู้ใช้สามารถกำหนดรูปแบบการแสดงผลของเว็บไซต์จากธีม และปรับแต่งสีสันเพิ่มเติมได้ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่พาเนลธีม 2. คลิกเลือกธีมและสีที่ต้องการ
  • 70. 66 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites การทดสอบการแสดงผล การทดสอบการแสดงผลจะถูกทำควบคู่กันระหว่างการทำเว็บไซต์ เพื่อจำลองการแสดงผลจริงใน อุปกรณ์ต่างๆ ได้แก่ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกแสดงตัวอย่าง 2. เลือกรูปแบบการแสดงผล 3. คลิกออกจากการดูตัวอย่าง
  • 71. 67 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การแชร์กับผู้อื่น ระหว่างการทำเว็บไซต์ผู้ใช้สามารถแชร์ให้ผู้อื่นมาร่วมแก้ไขเว็บไซต์ได้แบบเรียลไทม์ สามารถทำได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกแชร์กับผู้อื่น 2. ระบุอีเมล์ที่ต้องการ 3. กำหนดข้อความ 4. คลิกส่ง 5. ระบบจะส่งอีเมล์ไปยังอีเมล์ที่ระบุไว้ ให้คลิกเปิด
  • 72. 68 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 6. ปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ตามต้องการ การตั้งค่าเว็บไซต์ ผู้ใช้สามารถตั้งค่าเว็บไซต์ก่อนการเผยแพร่ได้ ในส่วนของการใช้งานฟรีจะสามารถตั้งค่าได้บ่างคำสั่ง ได้แก่ การตั้งค่าการนำทาง การตั้งค่ารูปภาพแบรนด์ และการตั้งค่าแบนเนอร์ประกาศ สามารถทำได้โดยมี ขั้นตอนดังนี้ การตั้งค่าการนำทาง การนำทางเป็นแถบเมนูที่อยู่ด้านบนสุดของเว็บไซต์ ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขรูปแบบการนำทาง ได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกการตั้งค่า 2. ไปที่การนำทาง 3. กำหนดโหมดและสีตามต้องการ 4. คลิกปิด
  • 73. 69 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การตั้งค่ารูปภาพแบรนด์ การเพิ่มโลโก้ โลโก้เป็นรูปภาพที่แสดงอยู่ในส่วนของเมนูนำทาง โดยจะอยู่ที่ด้านบนซ้ายมือในทุกหน้าเว็บ ผู้รับชม เว็บไซต์สามารถคลิกที่รูปภาพโลโก้เพื่อกลับหน้าแรกได้ การเพิ่มรูปภาพโลโก้สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกการตั้งค่า 2. ไปที่รูปภาพแบรนด์ 3. ไปที่โลโก้แล้วคลิกอัปโหลด 4. เลือกรูปภาพที่ต้องการ 5. คลิก Open 6. คลิกปิด
  • 74. 70 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 7. ลบชื่อเว็บไซต์ การเพิ่มไอคอน Fav ไอคอน Fav เป็นรูปภาพขนาดเล็กที่แสดงอยู่บนแท็บของเบราว์เซอร์ ผู้ใช้สามารถเพิ่มไอคอน Fav ได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกการตั้งค่า 2. ไปที่รูปภาพแบรนด์ 3. ไปที่ไอคอน Fav แล้วคลิกอัปโหลด 4. เลือกรูปภาพที่ต้องการ 5. คลิก Open 6. คลิกปิด
  • 75. 71 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การตั้งค่าแบนเนอร์ประกาศ แบนเนอร์ประกาศเป็นแถบที่แสดงอยู่เหนือเมนูนำทาง ใช้สำหรับแจ้งข่าวสารสำคัญ สามารถ กำหนดให้แสดงเฉพาะหน้าแรกหรือทุกหน้าเว็บก็ได้ การตั้งค่าแบนเนอร์ประกาศสามารถทำได้โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. คลิกการตั้งค่า 2. ไปที่แบนเนอร์ประกาศ 3. กำหนดค่าต่างๆ ตามต้องการ ▪ แสดงแบนเนอร์ : กำหนดให้แสดงแบนเนอร์ ▪ สีของแบนเนอร์ : กำหนดสีตามต้องการ ▪ ประกาศ : กำหนดข้อความประกาศ ป้ายกำกับของปุ่ม และลิงก์ ▪ เปิดในแท็บใหม่ : กำหนดให้เปิดในแท็บใหม่ ▪ ระดับการมองเห็น : กำหนดการแสดงผลของแบนเนอร์ประกาศ 4. คลิกปิด
  • 76. 72 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 5. แบนเนอร์ประกาศจะถูกแสดงเหนือแถบเมนู การจัดการเวอร์ชั่น การคืนค่าเวอร์ชั่น ระหว่างการอัปเดตเว็บไซต์ โปรแกรมจะมีการจัดเก็บการเปลี่ยนแปลงเวอร์ชั่นโดยอัตโนมัติ หาก ผู้ใช้อัปเดตเว็บไซต์ผิดพลาด สามารถคืนค่ากลับไปใช้เวอร์ชั่นก่อนหน้าได้ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกที่จุด 3 จุด > ประวัติเวอร์ชั่น 2. เลือกเวอร์ชั่นที่ต้องการคืนค่า
  • 77. 73 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 3. คลิกคืนค่า 4. เว็บไซต์จะคืนค่าตามเวอร์ชั่นที่ผู้ใช้เลือก การกำหนดชื่อเวอร์ชั่น 1. คลิกที่จุด 3 จุด > ประวัติเวอร์ชั่น
  • 78. 74 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites 2. คลิกที่จุด 3 จุด ในเวอร์ชั่นที่ต้องการกำหนดชื่อ > ตั้งชื่อเวอร์ชั่นนี้ 3. กำหนดชื่อตามต้องการ การทำซ้ำเว็บไซต์ หากผู้ใช้ต้องการคัดลอกเว็บไซต์ไปสร้างเว็บไซต์อื่นต่อ สามารถทำซ้ำเว็บไซต์แล้วไปปรับเปลี่ยนแก้ไข เนื้อหาใหม่ได้ตามต้องการ การทำซ้ำเว็บไซต์สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกที่จุด 3 จุด > ทำซ้ำเว็บไซต์ 2. กำหนดชื่อไฟล์ 3. กำหนดโฟลเดอร์จัดเก็บไฟล์ 4. คลิกทำสำเนา
  • 79. 75 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย 5. เว็บไซต์จะถูกทำสำเนาและจัดเก็บไว้ในโฟลเดอร์ที่กำหนด การเผยแพร่เว็บไซต์ การเผยแพร่ หากผู้ใช้สร้างเว็บไซต์เสร็จเรียบร้อยแล้ว ต้องการให้คนทั่วไปรับชมผ่านลิงก์ผ่านอุปกรณ์ต่างๆ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกเผยแพร่ 2. กำหนดที่อยู่เว็บ 3. คลิกเผยแพร่
  • 80. 76 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites การตั้งค่าการเผยแพร่ หากผู้ใช้เผยแพร่เว็บไซต์ไปแล้ว ต้องการกำหนดค่าบางอย่าง เช่น กำหนดที่อยู่เว็บใหม่ กำหนดการ ค้นหาจาก Serch Engine และการตรวจสอบ สามารถทำได้โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกตัวเลือกการเผยแพร่ > การตั้งค่าการเผยแพร่ 2. กำหนดค่าตามต้องการ ▪ กำหนดที่อยู่เว็บ ▪ ขอให้เครื่องมือค้นหาสาธารณะไม่แสดงเว็บไซต์ของฉัน ▪ เอดิเตอร์ต้องตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงก่อนเผยแพร่ 3. คลิกบันทึก การดูเว็บไซต์ที่เผยแพร่ เมื่อเผยแพร่เว็บไซต์แล้ว ให้ผู้ใช้คลิกตัวเลือกการเผยแพร่ > ดูเว็บไซต์ที่เผยแพร่ เพื่อแสดงผล เว็บไซต์ที่สมบูรณ์
  • 81. 77 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย การคัดลอกลิงก์เว็บไซต์ที่เผยแพร่ เมื่อเผยแพร่เว็บไซต์แล้ว ผู้ใช้ต้องการคัดลอกลิงก์เว็บไซต์ที่เผยแพร่ส่งต่อให้ผู้อื่น สามารถทำได้โดยมี ขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกคัดลอกลิงก์ของไซต์ที่เผยแพร่แล้ว 2. คลิกคัดลอกลิงก์ การยกเลิกการเผยแพร่ เมื่อเผยแพร่เว็บไซต์แล้ว ผู้ใช้ต้องการปรับเปลี่ยนแก้ไขข้อมูลในเว็บไซต์โดยที่ยังไม่ต้องการให้ผู้อื่นเข้า มาเยี่ยมชมเว็บไซต์ได้ สามารถยกเลิกการเผยแพร่ก่อนแล้วเผยแพร่ได้ใหม่อีกครั้งตามต้องการ สามารถทำได้ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกตัวเลือกการเผยแพร่ > ยกเลิกการเผยแพร่ 2. คลิกรับทราบ
  • 82. 78 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites NOTE ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________
  • 83. 79 วิทยากร : ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย NOTE ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________
  • 84. 80 การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites NOTE ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________
  • 85.