SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 55
Descargar para leer sin conexión
คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์

                    เรื่อง

        การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์
                (เนื้อหาตอนที่ 3)
        สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล

                    โดย

       อาจารย์ ดร.จิณดิษฐ์ ละออปักษิณ


     สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง
  คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
              กระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                  สื่อการสอน เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์
         สื่อการสอน เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 9 ตอน ซึ่ง
ประกอบด้วย
1. บทนา เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์
2. เนื้อหาตอนที่ 1 การให้เหตุผล
                         - การให้เหตุผลแบบอุปนัย
                         - การให้เหตุผลแบบนิรนัย
3. เนื้อหาตอนที่ 2 ประพจน์และการสมมูล
                         - ประพจน์และค่าความจริง
                         - ตัวเชื่อมประพจน์
                         - การสมมูล
4. เนื้อหาตอนที่ 3 สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
                         - เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์
                         - สัจนิรันดร์
                         - การอ้างเหตุผล
5. เนื้อหาตอนที่ 4 ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
                         - ประโยคเปิด
                         - วลีบ่งปริมาณ
6. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน)
7. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง)
8. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง หอคอยฮานอย
9. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง ตารางค่าความจริง

       คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนสาหรับครู
และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใช้สื่อชุดนี้ร่วมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การให้เหตุผลและ
ตรรกศาสตร์ นอกจากนี้ ห ากท่ า นสนใจสื่ อ การสอนวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ใ นเรื่ อ งอื่ น ๆที่ ค ณะผู้ จั ด ท าได้
ดาเนินการไปแล้ว ท่านสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ทั้งหมดใน
ตอนท้ายของคู่มือฉบับนี้

                                                  1
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


เรื่อง        การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ (สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล)
หมวด          เนื้อหา
ตอนที่        3 (3/4)

หัวข้อย่อย    1. เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์
              2. สัจนิรันดร์
              3. การอ้างเหตุผล



จุดประสงค์การเรียนรู้
    เพื่อให้ผู้เรียน
    1. มีความเข้าใจและสามารถนาเอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
    2. มีความเข้าใจในความหมายของสัจนิรันดร์และสามารถตรวจสอบสัจนิรันดร์ได้
    3. มีความเข้าใจในการอ้างเหตุผลและสามารถนาไปใช้ตรวจสอบความสมเหตุสมผลได้

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
   ผู้เรียนสามารถ
   1. บอกเอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ที่สาคัญ
   2. นาเอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ไปใช้ตรวจสอบการสมมูลของประพจน์ได้
   3. บอกความหมาย และวิธีการตรวจสอบสัจนิรันดร์ได้
   4. ตรวจสอบสัจนิรันดร์ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
   5. อธิบายวิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผลในการอ้างเหตุผลได้
   6. ตรวจสอบได้ว่าการอ้างเหตุผลที่กาหนดให้เป็นการอ้างเหตุผลที่สมเหตุสมผลหรือไม่




                                                2
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                          เนื้อหาในสื่อการสอน




                               เนื้อหาทั้งหมด




                                   3
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




          1. เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์




                                   4
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                            1. เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์


       ในหัวข้อนี้ผู้เรียนจะได้ทราบถึงวิธีการตรวจสอบความสมมูลของประพจน์อีกหนึ่งวิธี คือการใช้
เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ ซึ่งมีความสะดวกและกระชับกว่าการสร้างตารางค่าความจริง




เนื้อหาในสื่อเริ่มต้นด้วยการทบทวนการตรวจสอบการสมมูลของประพจน์ด้วยการสร้างตารางค่าความจริง
และชี้ให้เห็นว่าประพจน์ที่สมมูลกันนั้นสามารถนาไปใช้อ้างอิงต่อไปได้โดยไม่ต้องสร้างตารางตรวจสอบ




                                                 5
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ในที่นี้ผู้สอนอาจให้นักเรียนระบุประพจน์ที่ได้เคยตรวจสอบด้วยตารางค่าความจริงแล้วว่าสมมูลกัน จาก
การเรียนในครั้งที่ผ่านมา โดยเขียนเป็นรายการบนกระดานดา จากนั้นยกตัวอย่างการตรวจสอบความสมมูล
เพิ่มเติม โดยให้นักเรียนนาประพจน์ที่สมมูลกันตามรายการบนกระดานดามาใช้อ้างอิง

        เมื่อผู้เรียนเริ่มเข้าใจและเห็นถึงประโยชน์ของการนาความรู้เก่าคือประพจน์ที่เคยตรวจสอบว่า
สมมูลกัน มาใช้อ้างอิงเพื่อตรวจสอบความสมมูลของประพจน์คู่ต่อๆไป ผู้สอนจึงแนะนา เอกลักษณ์ในการ
เชื่อมประพจน์ และนาเสนอเอกลักษณ์ที่ใช้กันโดยทั่วไปในชั้นนี้ ดังนี้




ผู้สอนควรชี้ให้เห็นถึงลักษณะสาคัญของแต่ละกลุ่มเอกลักษณ์ เช่น การสลับที่ การกระจาย ตลอดจน
เอกลักษณ์ที่มักมีการนาไปใช้คลาดเคลื่อน

                                                 6
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




       ตัวอย่างนี้ เป็นการแสดงการสมมูลของประพจน์ ซึ่งอยู่นอกเหนือจากเอกลักษณ์ที่กล่าวถึงข้างต้น
โดยอาศัยตารางค่าความจริง จากนั้นจึงแสดงวิธีการใช้งานของเอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์นี้ โดยใน
ตอนท้ายได้แสดงการตรวจสอบโดยใช้เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์




      นอกจากนี้ผู้สอนอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมเพื่อเป็นการทบทวนและฝึกการนาเอกลักษณ์การเชื่อม
ประพจน์ไปใช้ในการตรวจสอบการสมมูลของประพจน์ที่กาหนดให้




                                                 7
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ตัวอย่าง 1        ~ p  (q  (r  p))  p  (~ q )  r หรือไม่

        วิธีทา      ~ p  (q  (r  p)               p  ( q  ( r  p ))
                                                     p  (~ q  ( r  p ))
                                                     p  (~ q )  r  p
                                                     p  p  (~ q )  r
                     ~ p  (q  (r  p)             p  (~ q )  r


ตัวอย่าง 2        ~ (( p  q )  (~ q  r ))  p ~ (~ q  r ) หรือไม่

        วิธีทา     ~ (( p  q )  (~ q  r ))       ~ (~ ( p  q )  (~ q  r ))
                                                    ( p  q ) ~ (~ q  r )
                                                    ( p  q )  (q ~ r )
                                                    p  q  q ~ r
                                                    p  ( q  q ) ~ r
                                                    p  q ~ r
                   ~ (( p  q )  (~ q  r ))      p  ~ (~ q  r )


ตัวอย่าง 3         p  ( p  q )  ~p  q หรือไม่


        วิธีทา                  p  ( p  q )  ~p  ( p  q )
                                               (~p  p )  (~ p  q )
                                               t  (~ p  q )
                                               ~ pq
                                                  pq

      ดังนั้น p  ( p  q ) ไม่สมมูลกับ ~p  q
      ในที่นี้ควรอธิบายเพิ่มว่า ~ p  p เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงเสมอ ดังนั้นเมื่อเชื่อม
ประพจน์นี้ด้วยตัวเชื่อม “และ” กับประพจน์ใด ค่าความจริงของประพจน์ใหม่ จะตรงกับค่าความจริง
ของประพจน์นั้น และอาจใช้สัญลักษณ์ t แทนประพจน์ที่มีค่าความจริงดังตัวอย่าง
                                                    8
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



ตัวอย่าง 4         p ~ ( q  p)  ~p  (~ p ~ q ) หรือไม่


        วิธีทา               p ~ ( q  p )  p ~ (~ q  p)
                                                 p  ( q  ~ p)
                                                 ~p  ( q  ~ p )
                                                 ~p  (~ p  q )
         ดังนั้น p ~ (q  p) ไม่สมมูลกับ ~p  (~ p ~ q )

ตัวอย่าง 5        ( p  q )  ( ~q  p)  ( ~p  q ) หรือไม่

        วิธีทา                     ( p  q )  ( p  q )  ( q  p)
                                              ( ~p  q )  ( ~q  p )
                                  ( p  q )  ( ~q  p)  ( ~p  q )




                                                    9
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                     แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
           เรื่อง เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์




                                   10
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                      สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



                                             แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                                   เรื่อง เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์

จงใช้เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์เพื่อแสดงว่าข้อความที่กาหนดให้เป็นจริง หรือยกตัวอย่างค่าความจริงของ
ประพจน์เพื่อแสดงให้เห็นว่าข้อความที่กาหนดให้เป็นเท็จ

1. p  q  ~q  ~p

2. p  (q  r )  ( ~p  q)  r

3. ~ p  (q  p)  ~ q  p

4. ~ (( p  q)  r )  (~ p  q) ~ r

5. ( p  r )  (r  p)  (~ r  p)  (~ p  r )

6. (~ p  q )  r  ( r  p)  ( r  ~ q )

7. ( p  q)  r        (~ q ~ r ) ~ p

8. ( p ~ q)  (r  s)  ~ (q ~ r )  (~ s ~ p)

9. ( p  q)  (q  r )  (r  q)  q  p

10. ~ [~ (~ (~ p  q ))  ( r  q )]  ~ [( p  r )  q]




                                                           11
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                             2. สัจนิรนดร์
                                      ั




                                   12
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                              2. สัจนิรันดร์

       ในหัวข้อนี้ผู้เรียนจะได้ศึกษาถึงความหมายของ สัจนิรันดร์ และการตรวจสอบสัจนิรันดร์ โดย
อาศัยความรู้ที่เรียนมาก่อนหน้าทั้งการสร้างตารางค่าความจริง เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ รวมถึง
เทคนิคในการตรวจสอบแบบอื่นๆ ซึ่งเหมาะสมกับโครงสร้างของประพจน์แตกต่างกันไป




         หลังจากที่เข้าใจความหมายของสัจนิรันดร์ และเห็นการตรวจสอบสัจนิรันดร์โดยใช้วิธีพื้นฐาน ซึ่ง
คือการสร้างตารางค่าความจริงแล้ว จากนั้นจึงเป็นการอธิบายถึงวิธีการตรวจสอบโดยอาศัยเอกลักษณ์ใน
การเชื่อมประพจน์




                                                 13
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



ทั้งผู้สอนอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมดังนี้
ตัวอย่าง 1 จงตรวจสอบว่า ( p  q )  ( p  q ) เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ โดยใช้เอกลักษณ์การเชื่อม
           ประพจน์
วิธีทา          ( p  q)  ( p  q)     ~( p  q )  ( p  q )
                                      ( ~p ~q )  (( p  q )  ( q  p ))
                                      ( ~p ~q )  (( ~p  q )  ( ~q  p ))
                                      ( ~p ~q  ~p  q )  ( ~p ~q  ~q  p ))
                                      ( ~p ~p ~q  q )  ( ~p  p ~q  ~q ))
                                      ( ~p  t )  (t  ~q ))
                                      t t
                ( p  q)  ( p  q)  t


        ดังนั้น ประพจน์ที่กาหนดให้เป็นสัจนิรันดร์



        นอกจากนี้ในการตรวจสอบสัจนิรันดร์ หากต้องการแสดงว่าประพจน์ที่กาหนดให้ไม่เป็น
สัจนิรันดร์ เพียงพอที่จะแสดงโดยการยกตัวอย่างค่าความจริงของประพจน์ เพื่อแสดงให้เห็นว่าประพจน์ที่
กาหนดให้นั้นสามารถมีค่าความจริงเป็น เท็จ ได้ ทั้งนี้ผู้สอนอาจยกตัวอย่างประกอบเพิ่มเติมตามความ
เหมาะสม




                                                  14
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




ผู้สอนนาเสนอวิธีการตรวจสอบสัจนิรันดร์อีกวิธี คือ การตรวจสอบด้วยวิธีการขัดแย้ง




ทั้งนี้อาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมดังนี้




                                                    15
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



ตัวอย่าง 2       จงตรวจสอบว่า ( p  ( p  q ))  q เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่

วิธีทา           สมมติให้ ( p  ( p  q ))  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                 ดังนั้น p  ( p  q ) มีค่าความจริงเป็นจริง และ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                 จะได้ว่า p มีค่าความจริงเป็นจริงและ p  q มีค่าความจริงเป็นจริง ….(*)
                 แต่จาก p มีค่าความจริงเป็นจริงและ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                  p  q จึงมีค่าความจริงเป็นเท็จ….(**)
                 จาก (*) และ (**) ทาให้เกิดข้อขัดแย้ง
                 ดังนั้น ( p  ( p  q ))  q เป็นสัจนิรันดร์



ตัวอย่าง 3       จงตรวจสอบว่า ( p  q )  p เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่

วิธีทา           สมมติให้ ( p  q )  p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                 ดังนั้น p  q มีค่าความจริงเป็นเท็จและ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ….(*)
                 จาก p  q เป็นเท็จจะได้ว่า q มีค่าความจริงเป็นเท็จ p มีค่าความจริงเป็นเป็นจริง....(**)
                 จาก (*) และ (**) ทาให้เกิดข้อขัดแย้ง
                 ดังนั้น ( p  q )  p เป็นสัจนิรันดร์



        ผู้สอนควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สังเกต และสรุปหลักการของการตรวจสอบโดยวิธีขัดแย้ง
โดยใช้ ค าถามกระตุ้ นให้ นั ก เรี ย นได้ คิ ด ถึ ง การน าการตรวจสอบโดยวิ ธี ขั ด แย้ ง ไปใช้ กั บประพจน์ ใ น
โครงสร้างอื่นๆ




                                                   16
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




          ผู้สอนอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมเกี่ยวกับการตรวจสอบสัจนิรันดร์ สาหรับโครงสร้างประพจน์ที่เชื่อมกันด้วย
“ก็ต่อเมื่อ” ดังนี้
          ตัวอย่าง 4 จงตรวจสอบว่า (( p  q)  (~ q  r ))  ( p  q)  r เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
          วิธีทา           (( p  q )  (~ q  r ))  ((~ p  q )  ( q  r ))
                                                   ~ pqqr
                                                   ~ pqr
                                                   (~ p  q )  r
                                                   ( p  q) r

                        ดังนั้น (( p  q)  (~ q  r ))  ( p  q )  r เป็นสัจนิรันดร์
                                                          17
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



         ก่ อนจบในหัว ข้ อ นี้ ผู้ ส อนควรเปิด โอกาสให้นั ก เรี ย นได้ ส รุ ปหลัก การ วิ ธีก าร การตรวจสอบ
สัจนิรันดร์ ทั้งการสร้างตารางค่าความจริง การใช้เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ การยกตัวอย่างกรณีค่า
ความจริงที่ทาให้ประพจน์มีค่าความจริงเป็นเท็จ และการตรวจสอบโดยวิธีการขัดแย้ง เพื่อช่วยให้นักเรียน
ได้เห็นข้อเด่น และข้อจากัดของการตรวจสอบแต่ละแบบ และเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม ถูกต้อง




                                                  18
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                       แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                        เรื่อง สัจนิรันดร์




                                   19
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                          สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                                                    แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                                                     เรื่อง สัจนิรันดร์

จงตรวจสอบว่าประพจน์ต่อไปนี้ เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่

   1.   ( p  ( p  ~ s ))  s


   2.   [( p  ( p  ~ q ))  ( p  q )]  q


   3.   [~ p  ( q  ( r  p ))]  [~ q  p  r ]


   4.   ~ [( p  q )  (~ q  r )]  [ p ~ ( q  r )]


   5.   ( p  ( q  ~ s ))  ( p  s )  q

   6. [ p  ( p  q )]    [ p  q]


   7.   [( p  q )  ( p  r )]  ( p  r )  q


   8. p  (~ p  ( p  q ))

   9.   ( p ~ ( q  p ))  (~ p  (~ p  q ))


   10. ( q  ( r  p ))  (~ r  ( p  q ))




                                                             20
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                    3. การอ้างเหตุผล




                                   21
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                                            3. การอ้างเหตุผล

       ในหัวข้อนี้ผู้เรียนจะได้ศึกษาถึงเกี่ยวกับการตรวจสอบการอ้างเหตุผล ว่าสมเหตุสมผลหรือไม่ โดย
อาศัยความรู้เรื่องสัจนิรันดร์ที่ได้เรียนมาก่อนหน้านี้




          หลังจากที่เข้าใจความหมายและวิธีการของการตรวจสอบความสมเหตุสมผลแล้ว ผู้สอนควร
ชี้ให้เห็นว่าวิธีการตรวจสอบนี้ เป็นการนาความรู้เรื่องสัจนิรันดร์มาใช้ จากนั้นจึงนาเสนอตัวอย่างที่
หลากหลาย เพื่อช่วยให้นักเรียนได้เห็นถึงวิธีการตรวจสอบแบบอื่น ที่ไม่ต้องอาศัยการตรวจสอบ
สัจนิรันดร์โดยตรง ตลอดจนการอ้างเหตุผลที่เป็นข้อความในชีวิตประจาวัน




                                                  22
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




       ตัวอย่างนี้แสดงการตรวจสอบการอ้างเหตุผลในอีกแบบหนึ่ง จากนั้นจึงเป็นการนาเสนอตัวอย่างที่
ซับซ้อนขึ้น




       ทั้งนี้ผู้สอนการยกตัวอย่างเพิ่มเติม ดังนี้




                                                    23
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



ตัวอย่าง 1     จงพิจารณาว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่
                         เหตุ (1) แมวไม่จับปลาหรือแมวกินปลา
                                  (2) แมวไม่กินปลา
                         ผล แมวไม่จับปลา
        วิธีทา ให้        p       แทนข้อความ “แมวจับปลา”
               และ q              แทนข้อความ “แมวกินปลา”
               จะได้ว่า เหตุ (1) ~ p  q
                                  (2) ~ q
                         ผล        ~p
               ตรวจสอบความสมเหตุสมผล โดยพิจารณาว่า [(~ p  q) ~ q] ~ p
               เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
               สมมติให้ [(~ p  q) ~ q] ~ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
               ดังนั้น (~ p  q ) ~ q มีค่าความจริงเป็นจริงและ ~ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
               จะได้ว่า p มีค่าความจริงเป็นจริง
               จาก (~ p  q ) ~ q มีค่าความจริงเป็นจริง จะได้ว่า ~ p  q มีค่าความจริงเป็นจริง
               และ ~ q มีค่าความจริงเป็นจริง นั่นคือ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
               และจาก ~ p  q มีค่าความจริงเป็นจริง ทาให้ ~p มีค่าความจริงเป็นจริง
               เกิดข้อขัดแย้ง ดังนั้น [(~ p  q) ~ q] ~ p เป็นสัจนิรันดร์
               ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล

ตัวอย่าง 2     จงพิจารณาว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่
                         เหตุ (1) (~ p  r )  s
                                   (2) ~ r  s
                         ผล         p
        วิธีทา สมมติให้ [((~ p  r )  s)  (~ r  s)]  p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
               ดังนั้น ((~ p  r )  s )  (~ r  s ) มีค่าความจริงเป็นจริงและ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
               จาก ((~ p  r )  s )  (~ r  s ) มีค่าความจริงเป็นจริง
               จะได้ว่า (~ p  r )  s มีค่าความจริงเป็นจริง และ ~ r  s มีค่าความจริงเป็นจริง

                                                  24
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                นั่นคือ ~ r มีค่าความจริงเป็นจริง และ s มีค่าความจริงเป็นจริง
                ไม่เกิดข้อขัดแย้ง และเมื่อให้ p, r และ s มีค่าความจริงเป็น เท็จ เท็จ และ จริง ตามลาดับ
                จะได้ว่า [((~ p  r )  s)  (~ r  s)]  p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                [((~ p  r )  s )  (~ r  s )]  p ไม่เป็นสัจนิรันดร์
                ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล

ตัวอย่าง 3     จงพิจารณาว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่
                        เหตุ (1) ( p  ~ r )  ( r  p )
                                (2) r
                        ผล       pr
        วิธีทา สมมติให้เหตุข้อ (1) และ (2) เป็นจริง
               จากเหตุข้อ (2) เป็นจริงจะได้ว่า r มีค่าความจริงเป็นจริง
               ทาให้ p  r มีค่าความจริงเป็นจริง
               ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล

ตัวอย่าง 4     จงพิจารณาว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่
                        เหตุ (1) ( p  r ) ~ ( r  q )
                                 (2) p
                                 (3) r  q
                        ผล       ( p  r)  q
        วิธีทา สมมติให้เหตุทุกข้อเป็นจริง
               จากเหตุข้อ (2) เป็นจริงจะได้ว่า p มีค่าความจริงเป็นจริง
               จากเหตุข้อ (3) เป็นจริงจะได้ว่า r มีค่าความจริงเป็นจริง และ q มีค่าความจริงเป็นจริง
               จะได้ว่าเหตุข้อ (1) เป็นเท็จ
               ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล




                                                  25
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                       แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                      เรื่อง การอ้างเหตุผล




                                   26
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                                        แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                                       เรื่อง การอ้างเหตุผล

จงตรวจสอบว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่
1.           เหตุ (1) ถ้าปลาว่ายน้าแล้วคนเดินได้
                     (2) ปลาไม่ว่ายน้าหรือคนเดินไม่ได้
             ผล ปลาทะเลว่ายน้าหรือคนเดินได้

2.             เหตุ     (1) ถ้าหนูดีไม่ไปตลาดแล้วหนูแดงอยู่บ้าน
                        (2) หนูดีไม่ไปตลาด
               ผล       หนูแดงอยู่บ้าน

3.             เหตุ     (1) ถ้าวันจันทร์ฝนตกแล้ววันอังคารฝนตก
                        (2) ถ้าวันพุธฝนตกแล้ววันจันทร์ฝนตก
                        (3) วันจันทร์ฝนไม่ตก
               ผล       วันอังคารฝนไม่ตก

4.             เหตุ     (1) p  ~ q
                        (2) q  r
                        (3) ~ r
               ผล        p

5.             เหตุ     (1) p  q
                        (2) ~ q  r
               ผล        pr




                                                 27
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
      สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


6.     เหตุ     (1) ~ r  (~ p  q )
                (2) ( p  r ) ~ s
                (3) ~ q
       ผล        ~s

7.     เหตุ     (1) ( p ~ q )  ( q  p )
                (2) ~ q
       ผล        pq

8.     เหตุ     (1) p  (~ p  q )
                (2) ~ q  r
                (3) ~ r
       ผล        p

9.     เหตุ     (1) p  q
                (2) q  r
                (3) ~ r  s
       ผล        s



10.    เหตุ     (1) p  ( q  r )
                (2) p
                (3) ~ t  q
       ผล        r t




                                         28
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                สรุปสาระสาคัญประจาตอน




                                   29
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                  สรุปสาระสาคัญประจาตอน




                                   30
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                                   31
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                      ภาคผนวกที่ 1
                 แบบฝึกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม




                                   32
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                                                 แบบฝึกหัดระคน

จงเลือกข้อที่ถูกต้อง
1. ~ p  (~ q  (~ r  ~ p)) สมมูลกับข้อใดต่อไปนี้
    ก. (~ p  r )  q                              ข. ( p  r )  q
    ค. ( p ~ r )  q                              ง. (~ p ~ r )  q

2. ~ (( p  q )  (~ q  r )) สมมูลกับข้อใดต่อไปนี้
   ก. p ~ (~ q  r )                                       ข. p  (~ q  r )
   ค. p ~ (q  r )                                         ง. p  (~ q ~ r )

3. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
   ก. ( p  r ) ~ (q  p) สมมูลกับ (( p  r )  q)  ( p  ( p  r ))
   ข. ( p  r ) ~ (q  p) สมมูลกับ (( p  r )  q)  ( p  ( p  ~r ))
   ค. ( p  r ) ~ (q  p) ไม่สมมูลกับ (( p  r )  q)  ( p  ~( ~p  r ))
   ง. ( p  r ) ~ (q  p) ไม่สมมูลกับ (( p  r )  q)  ( p  ( ~p  r ))

4. (q  (~ p  q )) ~ p ไม่สมมูลกับข้อใด
   ก. (q  ( p ~ q )) ~ p                                 ข. (q  ( p ~ q ))  p
   ค. p  ( q  ( p ~ q ))                                 ง. ~ p  (q  ( p ~ q ))

5. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
            ก) ( p  ~q )  (q  r ) สมมูลกับ ~(q  r  p)  (( p  q )  (q  r ))
            ข) ( p  ~q )  (q  r ) สมมูลกับ ( ~q  p)  ( ~p  q )
   ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
   ก. ข้อ ก) และ ข) ถูก                               ข. ข้อ ก) ถูก และ ข) ผิด
   ค. ข้อ ก) ผิด และ ข) ถูก                           ง. ข้อ ก) และ ข) ผิด

                                                       33
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


6. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
            ก) (~ p  ( p ~ q )) ~ q เป็นสัจนิรันดร์
            ข) (( p  q )  ( p  q ))  ((r  q )  ( p  p )) เป็นสัจนิรันดร์
   ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
   ก. ข้อ ก) และ ข) ถูก                                   ข. ข้อ ก) ถูก และ ข) ผิด
   ค. ข้อ ก) ผิด และ ข) ถูก                               ง. ข้อ ก) และ ข) ผิด

7. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
            ก) (~ p  q )  ( p  r )  ( q  r ) เป็นสัจนิรันดร์
            ข) (( p ~ q)  (~ q  (r ~ p))  ~ [((q  ( p  r )) ~ ( q  p)] เป็นสัจนิรันดร์
   ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
   ก. ข้อ ก) และ ข) ถูก                                   ข. ข้อ ก) ถูก และ ข) ผิด
   ค. ข้อ ก) ผิด และ ข) ถูก                               ง. ข้อ ก) และ ข) ผิด

8. พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
          ก)      เหตุ (1) ถ้าแดงไม่อ่านหนังสือหรือดาไปเที่ยว แล้วเขียวไปโรงเรียน
                          (2) เขียวไม่ไปโรงเรียนและเหลืองว่ายน้า
                  ผล แดงอ่านหนังสือและดาไม่ไปเที่ยว

             ข)       เหตุ    (1) p ~ q
                              (2) q  r
                              (3) ~ r
                    ผล         pr
    ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
    ก. การอ้างเหตุผลข้อ ก) และ ข) สมเหตุสมผล
    ข. การอ้างเหตุผลข้อ ก) สมเหตุสมผล แต่ข้อ ข) ไม่สมเหตุสมผล
    ค. การอ้างเหตุผลข้อ ก) ไม่สมเหตุสมผล แต่ข้อ ข) สมเหตุสมผล
    ง. การอ้างเหตุผลข้อ ก) และ ข) ไม่สมเหตุสมผล


                                                       34
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                        สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


9. พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
          ก)      เหตุ (1) p ~ q
                          (2) q  r
                          (3) ~ r
                  ผล      (r  p)  p

               ข)         เหตุ       (1) r  ( r  q )
                                     (2) ( p  t )  r
                                     (3) ( r  q )  p
                                     (4) t  ~ r
                          ผล         ( p  r ) ~ t


     ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
     ก. การอ้างเหตุผลข้อ ก) และ ข) สมเหตุสมผล
     ข. การอ้างเหตุผลข้อ ก) สมเหตุสมผล แต่ข้อ ข) ไม่สมเหตุสมผล
     ค. การอ้างเหตุผลข้อ ก) ไม่สมเหตุสมผล แต่ข้อ ข) สมเหตุสมผล
     ง. การอ้างเหตุผลข้อ ก) และ ข) ไม่สมเหตุสมผล

10. พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
                     เหตุ (1) นัดกินก๋วยเตี๋ยวและแชมป์ไม่กินข้าวมันไก่
                               (2) วิไลกินขนมหวานก็ต่อเมื่อนัดกินก๋วยเตี๋ยว
                     ผล ......................................................................
    ผล ควรเป็นข้อใดต่อไปนี้ จึงทาให้การอ้างเหตุผลนี้ สมเหตุสมผล
    ก. แชมป์กินข้าวมันไก่ หรือ วิไลไม่กินขนมหวาน
    ข. แชมป์กินข้าวมันไก่ ก็ต่อเมื่อ วิไลกินขนมหวาน
    ค. วิไลกินขนมหวาน และ นัดไม่กินก๋วยเตี๋ยว
    ง. ถ้านัดกินก๋วยเตี๋ยว แล้ว วิไลกินขนมหวาน



                                                               35
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                      ภาคผนวกที่ 2
                     เฉลยแบบฝึกหัด




                                   36
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                   สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                                 เฉลยแบบฝึกหัด
                                  เรื่อง เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์
จงใช้เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์เพื่อแสดงว่าข้อความที่กาหนดให้เป็นจริง หรือยกตัวอย่างค่าความจริงของ
ประพจน์เพื่อแสดงให้เห็นว่าข้อความที่กาหนดให้เป็นเท็จ
1. p  q  ~q  ~p
            วิธีทา             p  q  ~p  q
                                          q  ~p
                                  p  q  ~q  ~p


2. p  (q  r )  ( ~p  q)  r
          วิธีทา          p  ( q  r )  ~p  ( ~q  r )
                                            ( ~p  ~q )  r
                                            ~( p  q )  r
                               p  (q  r )  ( p  q )  r
 และเมื่อให้ p q มีค่าความจริงเป็นจริง และ r มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่าประพจน์ที่กาหนดให้ไม่สมมูลกัน

3. ~ p  (q  p)  ~ q  p
          วิธีทา        ~ p  ( q  p )  p  (~ q  p )
                                           ~ q  ( p  p)
                                           ~q p
                            ~ p  (q  p)  q  p
   และเมื่อให้ p และ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่าประพจน์ที่กาหนดให้ไม่สมมูลกัน

4. ~ (( p  q)  r )  (~ p  q) ~ r
           วิธีทา ~ (( p  q )  r )        ~ (~ ( p  q )  r )
                                            ~ (~ (~ p  q )  r )
                       ~ (( p  q )  r )  (~ p  q )  ~ r


                                                      37
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


5. ( p  r )  (r  p)  (~ r  p)  (~ p  r )
           วิธีทา ( p  r )  ( r  p )  ( p  r )  ( r  p )  ( r  p )
                                               ( p  r )  (r  p)
                                               (~ p  r )  (~ r  p )
                       ( p  r )  ( r  p )  (~ r  p )  (~ p  r )



6. (~ p  q)  r  (r  p)  (r  ~ q )
           วิธีทา      (~ p  q )  r  ~ (~ p  q )  r
                                             ( p ~ q )  r
                                             r  ( p ~ q )
                           ( ~ p  q )  r  (r  p)  (r ~ q )


7. ( p  q)  r  (~ q ~ r ) ~ p
           วิธีทา      ( p  q)  r               (~ p  q )  r
                                                  ( q  r ) ~ p
                                                   ~ ( q  r ) ~ p
                              ( p  q)  r       (~ q  ~ r )  ~ p



8. ( p ~ q)  (r  s)  ~ (q ~ r )  (~ s ~ p)
          วิธีทา           ( p  ~ q )  ( r  s )  (~ p  ~ q )  (~ r  s )
                                                         (~ q  ~ r )  ( s  ~ p )
                                                         ~ (~ q  ~ r )  ( s  ~ p )
                                ( p  ~ q )  ( r  s )  ~ ( q ~ r )  (~ s ~ p )


9. ( p  q)  (q  r )  (r  q)  q  p
           วิธีทา ( p  q )  ( q  r )  ( r  q )  (~ p  q )  (~ q  r )  (~ r  p )
                                                       ~ p  (q ~ q )  (r  ~ r )  q
                                                       ~ pt t q
                                                       ~ pq
                       ( p  q )  (q  r )  (r  q )  p  q

                                                        38
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



เมื่อให้ p และ q มีค่าความจริงเป็นจริงและเท็จ ตามลาดับ จะได้ว่าประพจน์ที่กาหนดให้ไม่สมมูลกัน

10. ~ [~ (~ (~ p  q ))  ( r  q )]  ~ [( p  r )  q]
             วิธีทา ~ [~ (~ (~ p  q ))  ( r  q )]  ~ [(~ p  q )  ( r  q )]
                                                         ~ [(~ p  q )  (~ r  q )]
                                                         ~ (~ p  q )  ~ (~ r  q )
                                                         ( p ~ q )  (r  ~ q )
                                                         ( p  r )  (~ q  ~ q )
                                                         ( p  r ) ~ q
                                                         ~ [~ ( p  r )  q ]
                       ~ [~ (~ (~ p  q ))  ( r  q )]  ~ [( p  r )  q ]




                                                       39
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                                                     เฉลยแบบฝึกหัด
                                                     เรื่อง สัจนิรันดร์


จงตรวจสอบว่าประพจน์ต่อไปนี้ เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
1. ( p  ( p  ~ s ))  s
             วิธีทา       สมมติให้ ( p  ( p ~ s))  s มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                          ดังนั้น p  ( p  ~ s ) มีค่าความจริงเป็นจริงและ s มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                          จะได้ว่า p มีค่าความจริงเป็นจริง และ p  ~ s มีค่าความจริงเป็นจริง
                          จาก p  ~ s มีค่าความจริงเป็นจริงและ p มีค่าความจริงเป็นจริง
                          จะได้ว่า ~ s มีค่าความจริงเป็นจริง ไม่เกิดข้อขัดแย้ง
                          ทาให้ได้ว่า เมื่อ p มีค่าความจริงเป็นจริง และ s มีค่าความเท็จ
                          ( p  ( p  ~ s ))  s จะมีค่าความจริงเป็นเท็จ นั่นคือไม่เป็นสัจนิรันดร์


2. [( p  ( p  ~ q ))  ( p  q )]  q
              วิธีทา             สมมติให้ [( p  ( p  ~ q ))  ( p  q )]  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                                 ดังนั้น ( p  ( p  ~ q ))  ( p  q ) มีค่าความจริงเป็นจริงและ q
                                 มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                                 จะได้ว่า p  q มีค่าความจริงเป็นจริง และ p  ( p  ~ q ) มีค่าความจริงเป็นจริง
                                 จาก q มีค่าความจริงเป็นเท็จ และจากจะได้ว่า p  q มีค่าความจริงเป็นจริง
                                 ทาให้ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                                 ดังนั้น p  ( p  ~ q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ เกิดข้อขัดแย้ง
                                 ดังนั้น [( p  ( p  ~ q ))  ( p  q )]  q เป็นสัจนิรันดร์

3. [~ p  ( q  ( r  p ))]  [~ q  p  r ]
              วิธีทา             ให้ p, q และ r มีค่าความจริงเป็น เท็จ จริง และ เท็จ ตามลาดับ จะได้ว่า
                                 ~ q  p  r มีค่าความจริงเป็นเท็จ

                                                          40
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                  ดังนั้น [~ p  ( q  ( r  p ))]  [~ q  p  r ] ไม่เป็นสัจนิรันดร์

4. ~ [( p  q )  (~ q  r )]  [ p  ~ ( q  r )]
              วิธีทา              ให้ p, q และ r มีค่าความจริงเป็น เท็จ จริง และ จริง ตามลาดับ จะได้ว่า
                                   p ~ ( q  r ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                                  ดังนั้น ~ [( p  q )  (~ q  r )]  [ p ~ ( q  r )] ไม่เป็นสัจนิรันดร์

5. [( p  ( q  ~ s ))  ( p  s )]  q
              วิธีทา              สมมติให้ [( p  ( q ~ s ))  ( p  s)]  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                                  ดังนั้น ( p  ( q ~ s ))  ( p  s ) มีค่าความจริงเป็นจริง
                                  และ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                                  จะได้ว่า p  ( q ~ s ) มีค่าความจริงเป็นจริงและ p  s มีค่าความจริงเป็นจริง
                                  จาก p  s มีค่าความจริงเป็นจริง
                                  ดังนั้น p มีค่าความจริงเป็นจริงและ s มีค่าความจริงเป็นจริง
                                  จาก p  ( q ~ s ) มีค่าความจริงเป็นจริง และ p มีค่าความจริงเป็นจริง
                                  ดังนั้น q  ~ s มีค่าความจริงเป็นจริง จาก ~s มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                                  จะได้ว่า q มีค่าความจริงเป็นเท็จ ไม่เกิดข้อขัดแย้ง
                                  ทาให้ได้ว่า เมื่อให้ p, q และ s มีค่าความจริงเป็น จริง เท็จ และ จริง ตามลาดับ
                                  จะได้ว่า [( p  ( q ~ s ))  ( p  s)]  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                                  ดังนั้น [( p  ( q ~ s ))  ( p  s)]  q ไม่เป็นสัจนิรันดร์

6. [ p  ( p  q )]  [ p  q ]
              วิธีทา              จาก p  ( p  q )      ~ p  ( p  q)
                                                              (~ p  p )  (~ p  q )
                                                              ~ pq
                                                              pq

                                  ดังนั้น [ p  ( p  q )]    [ p  q]     เป็นสัจนิรันดร์




                                                             41
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



7. [( p  q )  ( p  r )]  ( p  r )  q
              วิธีทา       ( p  q )  ( p  r )  (~ p  q )  (~ p  r )
                                                    ~ p  (q  r )
                                                      p  (q  r )
                        สังเกตว่า ( p  q )  ( p  r ) และ ( p  r )  q ไม่สมมูลกัน โดยเมื่อให้ p, q และ r มีค่า
                        ความจริงเป็น เท็จ ทั้งหมดแล้ว [( p  q )  ( p  r )]  ( p  r )  q
                        มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                        ดังนั้น [( p  q )  ( p  r )]  ( p  r )  q ไม่เป็นสัจนิรันดร์

8.   p  (~ p  ( p  q ))
              วิธีทา สมมติให้ p  (~ p  ( p  q )) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                       ดังนั้น p มีค่าความจริงเป็นเท็จและ ~ p  ( p  q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                       จาก ~ p  ( p  q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                       จะได้ว่า ~ p มีค่าความจริงเป็นจริง และ p  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                       จาก p  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                       ดังนั้น q อาจมีค่าความจริงเป็นจริงหรือเท็จได้ ไม่เกิดข้อขัดแย้ง
                       ทาให้ได้ว่า เมื่อให้ p และ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า
                        p  (~ p  ( p  q )) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                       ดังนั้น p  (~ p  ( p  q )) ไม่เป็นสัจนิรันดร์

9. ( p  ~ ( q  p ))  (~ p  (~ p  q ))
              วิธีทา สมมติให้ ( p ~ ( q  p ))  (~ p  (~ p  q )) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                     ดังนั้น p ~ ( q  p ) มีค่าความจริงเป็นเท็จและ ~ p  (~ p  q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                     ทาให้ p และ ~p มีค่าความจริงเป็นเท็จ เกิดข้อขัดแย้ง
                     ดังนั้น ( p ~ ( q  p ))  (~ p  (~ p  q )) เป็นสัจนิรันดร์


10. ( q  ( r  p ))  (~ r  ( p  q ))
              วิธีทา สมมติให้ ( q  ( r  p ))  (~ r  ( p  q )) มีค่าความจริงเป็นเท็จ

                                                          42
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


 ดังนั้น q  ( r  p ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ ~ r  ( p  q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
 จาก q  ( r  p ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
 และ r  p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
 ดังนั้น r จึงมีค่าความจริงเป็นจริงและ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
 จาก ~ r  ( p  q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
 ดังนั้น ~ r มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ p  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
 จะได้ว่า q มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ p มีค่าความจริงเป็นจริง
 เกิดข้อขัดแย้ง ดังนั้น ( q  ( r  p ))  (~ r  ( p  q )) เป็นสัจนิรันดร์




                                   43
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                                               เฉลยแบบฝึกหัด
                                            เรื่อง การอ้างเหตุผล
   จงตรวจสอบว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่
1.              เหตุ (1) ถ้าปลาว่ายน้าแล้วคนเดินได้
                        (2) ปลาไม่ว่ายน้าหรือคนเดินไม่ได้
                ผล ปลาทะเลว่ายน้าหรือคนเดินได้

           วิธีทา ให้       p        แทนข้อความ “ปลาว่ายน้า”
                  และ q              แทนข้อความ “คนเดินได้”
                  จะได้ว่า เหตุ      (1) p  q
                                     (2) ~ p ~ q
                           ผล         pq

                  ตรวจสอบความสมเหตุสมผล โดยพิจารณาว่า (( p  q )  (~ p ~ q ))  ( p  q )
                  เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
                  ให้ p และ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า (( p  q )  (~ p ~ q ))  ( p  q )
                  มีค่าความจริงเป็นเท็จ
                  นั่นคือ (( p  q )  (~ p ~ q ))  ( p  q ) ไม่เป็นสัจนิรันดร์
                  นั่นคือ การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล

   2.              เหตุ    (1) ถ้าหนูดีไม่ไปตลาดแล้วหนูแดงอยู่บ้าน
                           (2) หนูดีไม่ไปตลาด
                   ผล      หนูแดงอยู่บ้าน

           วิธีทา ให้        p       แทนข้อความ “หนูดีไปตลาด”
                  และ       q        แทนข้อความ “หนูแดงอยู่บ้าน”

                                                    44
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
           สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




            จะได้ว่า เหตุ      (1) ~ p  q
                               (2) ~ p
                      ผล       q
            ตรวจสอบความสมเหตุสมผลซึ่งพิจารณาว่า ((~ p  q )  (~ p ))  q เป็น
            สัจนิรันดร์หรือไม่
            สมมติให้ ((~ p  q )  (~ p ))  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
            ดังนั้น (~ p  q ) และ ~ p มีค่าความจริงเป็นจริง และ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
            จาก (~ p  q ) มีค่าความจริงเป็นจริง และ ~ p มีค่าความจริงเป็นจริง ทาให้
            q มีค่าความจริงเป็นจริง เกิดข้อขัดแย้ง
            ดังนั้น ((~ p  q )  (~ p ))  q เป็นสัจนิรันดร์
            ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล

3.          เหตุ     (1) ถ้าวันจันทร์ฝนตกแล้ววันอังคารฝนตก
                     (2) ถ้าวันพุธฝนตกแล้ววันจันทร์ฝนตก
                     (3) วันจันทร์ฝนไม่ตก
            ผล       วันอังคารฝนไม่ตก

     วิธีทา ให้         p      แทนข้อความ “วันจันทร์ฝนตก”
                      q        แทนข้อความ “วันอังคารฝนตก”
            และ       r        แทนข้อความ “วันพุธฝนตก”
            จะได้ว่า เหตุ      (1) p  q
                               (2) r  p
                               (3) ~ p
                      ผล        ~q
            ตรวจสอบความสมเหตุสมผล โดยพิจารณาว่า
            (( p  q )  ( r  p )  ~ p )  (~ q ) เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่



                                              45
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
            สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


             สมมติให้ (( p  q )  ( r  p ) ~ p )  (~ q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
             ดังนั้น (( p  q )  ( r  p ) ~ p ) มีค่าความจริงเป็นจริงและ ~ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
             จาก (( p  q )  ( r  p ) ~ p ) มีค่าความจริงเป็นจริง
             จะได้ว่า p  q มีค่าความจริงเป็นจริง r  p มีค่าความจริงเป็นจริง และ ~ p มีค่าความ
             จริงเป็นจริง ดังนั้น p มีค่าความจริงเป็นเท็จ q มีค่าความจริงเป็นจริง
             จาก r  p มีค่าความจริงเป็นจริง และ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
             จะได้ r มีค่าความจริงเป็นเท็จ
             ไม่เกิดข้อขัดแย้ง และเมื่อให้ p, q และ r มีค่าความจริงเป็น เท็จ จริง และ เท็จ ตามลาดับ
             (( p  q )  ( r  p )  ~ p )  (~ q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
             ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล

4.           เหตุ     (1) p  ~ q
                      (2) q  r
                      (3) ~ r
             ผล        p

     วิธีทา สมมติให้ (( p ~ q )  ( q  r ) ~ r )  p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
            ดังนั้น ( p ~ q )  ( q  r )  ~ r มีค่าความจริงเป็นจริง p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
            จาก ( p ~ q )  ( q  r )  ~ r มีค่าความจริงเป็นจริง
            จะได้ว่า p  ~ q มีค่าความจริงเป็นจริง q  r มีค่าความจริงเป็นจริง
            ~ r มีค่าความจริงเป็นจริง
            ดังนั้น r มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ q มีค่าความจริงเป็นจริง
            ไม่เกิดข้อขัดแย้ง และเมื่อให้ p, q และ r มีค่าความจริงเป็น เท็จ จริง และ เท็จ ตามลาดับ
            จะได้ว่า (( p ~ q )  ( q  r ) ~ r )  p มีค่าความจริงเป็นเท็จ
            (( p ~ q )  ( q  r )  ~ r )  p จึงไม่เป็นสัจนิรันดร์
            ดังนั้นการอ้างเหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล



5.           เหตุ     (1) p  q

                                               46
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
            สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                      (2) ~ q  r
            ผล         pr
     วิธีทา สมมติให้ (( p  q )  (~ q  r ))  ( p  r ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
            ดังนั้น ( p  q )  (~ q  r ) มีค่าความจริงเป็นจริง p  r มีค่าความจริงเป็นเท็จ
            จาก p  r มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า p มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ
             r มีค่าความจริงเป็นเท็จ
            จาก ( p  q )  (~ q  r ) มีค่าความจริงเป็นจริง ดังนั้น p  q มีค่าความจริงเป็นจริง ทาให้
             p มีค่าความจริงเป็นจริง
            เกิดข้อขัดแย้ง ดังนั้น (( p  q )  (~ q  r ))  ( p  r ) เป็นสัจนิรันดร์
            ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล

6.           เหตุ     (1) ~ r  (~ p  q )
                      (2) ( p  r ) ~ s
                      (3) ~ q
             ผล        ~s

     วิธีทา สมมติให้ [[~ r  (~ p  q )]  [( p  r ) ~ s] ~ q] ~ s มีค่าความจริงเป็นเท็จ
            ดังนั้น [~ r  (~ p  q )]  [( p  r ) ~ s] ~ q มีค่าความจริงเป็นจริงและ
             ~ s มีค่าความจริงเป็นเท็จ
            จาก [~ r  (~ p  q )]  [( p  r ) ~ s] ~ q มีค่าความจริงเป็นจริง
            จะได้ว่า ~ r  (~ p  q ) มีค่าความจริงเป็นจริง ( p  r ) ~ s มีค่าความจริงเป็นจริง
             ~ q มีค่าความจริงเป็นจริง ทาให้ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
            จาก ( p  r ) ~ s มีค่าความจริงเป็นจริง และ ~ s มีค่าความจริงเป็นเท็จ ทาให้ได้ว่า
             p  r มีค่าความจริงเป็นเท็จ นั่นคือ p มีค่าความจริงเป็นจริง และ r มีค่าความจริงเป็นเท็จ
            จาก ~ r  (~ p  q ) มีค่าความจริงเป็นจริง q มีค่าความจริงเป็นเท็จ p มีค่าความจริงเป็น
            จริง ทาให้ ~ r มีค่าความจริงเป็นเท็จ นั่นคือ r มีค่าความจริงเป็นจริง
            เกิดข้อขัดแย้ง ดังนั้น [[~ r  (~ p  q )]  [( p  r ) ~ s] ~ q] ~ s เป็นสัจนิรันดร์
            ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล


                                               47
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
            สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




7.           เหตุ     (1) ( p ~ q )  ( q  p )
                      (2) ~ q
             ผล        pq


     วิธีทา สมมติให้เหตุข้อ (1) และ (2) เป็นจริง
            จากเหตุข้อ (2) เป็นจริงจะได้ว่า ~ q มีค่าความจริงเป็นจริง ทาให้ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
            จะได้ว่า p  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ
            ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล

8.           เหตุ     (1) p  (~ p  q )
                      (2) ~ q  r
                      (3) ~ r
             ผล        p

     วิธีทา สมมติให้เหตุทั้งสามข้อเป็นจริง
            จากเหตุข้อ (3) เป็นจริงจะได้ว่า ~ r มีค่าความจริงเป็นจริง ทาให้ r มีค่าความจริงเป็นเท็จ
            จากเหตุข้อ (2) เป็นจริงและ r มีค่าความจริงเป็นเท็จได้ว่า ~ q มีค่าความจริงเป็นจริง
            ทาให้ q เป็นเท็จ
            จากเหตุข้อ (1) เป็นจริง และสมมูลกับ p  q ทาให้ p มีค่าความจริงเป็นจริง
            ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล

9.           เหตุ     (1) p  q
                      (2) q  r
                      (3) ~ r  s
             ผล        s


     วิธีทา สมมติให้เหตุทุกข้อเป็นจริง

                                               48
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


              จากเหตุข้อ (1) เป็นจริงจะได้ว่า p มีค่าความจริงเป็นจริง q มีค่าความจริงเป็นจริง
              จากเหตุข้อ (2) เป็นจริง และ q มีค่าความจริงเป็นจริง จะได้ว่า r มีค่าความจริงเป็นจริง
              จากเหตุข้อ (3) เป็นจริง r มีค่าความจริงเป็นจริง จะได้ว่า s มีค่าความจริงเป็นจริง
              ทาให้ผล s มีค่าความจริงเป็นจริง
              ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล

10.           เหตุ     (1) p  ( q  r )
                       (2) p
                       (3) ~ t  q
              ผล        r t


      วิธีทา ให้ p, q, r มีค่าความจริงเป็นจริง และ t มีค่าความจริงเป็นเท็จ
             จะได้ว่า เหตุทั้งสามข้อเป็นจริง แต่ผลเป็นเท็จ
             ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล


                                  เฉลยแบบฝึกหัดระคน
1.     ค
2.     ก
3.     ง
4.     ข
5.     ข
6.     ค
7.     ก
8.     ข
9.     ก
10.    ง


                                                49
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




         รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์
                    จานวน 92 ตอน




                                   50
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการJirathorn Buenglee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังyingsinee
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Jiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวJirathorn Buenglee
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 

La actualidad más candente (20)

เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการ
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 

Similar a 09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล

Similar a 09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล (20)

Logicc
LogiccLogicc
Logicc
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
 
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล184 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
 
57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด
57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด
57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด
 
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น171 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น272 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
 
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
 
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล285 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
 

Más de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Más de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล

  • 1. คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ (เนื้อหาตอนที่ 3) สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล โดย อาจารย์ ดร.จิณดิษฐ์ ละออปักษิณ สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อการสอน เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 9 ตอน ซึ่ง ประกอบด้วย 1. บทนา เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ 2. เนื้อหาตอนที่ 1 การให้เหตุผล - การให้เหตุผลแบบอุปนัย - การให้เหตุผลแบบนิรนัย 3. เนื้อหาตอนที่ 2 ประพจน์และการสมมูล - ประพจน์และค่าความจริง - ตัวเชื่อมประพจน์ - การสมมูล 4. เนื้อหาตอนที่ 3 สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล - เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ - สัจนิรันดร์ - การอ้างเหตุผล 5. เนื้อหาตอนที่ 4 ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ - ประโยคเปิด - วลีบ่งปริมาณ 6. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน) 7. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง) 8. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง หอคอยฮานอย 9. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง ตารางค่าความจริง คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนสาหรับครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใช้สื่อชุดนี้ร่วมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การให้เหตุผลและ ตรรกศาสตร์ นอกจากนี้ ห ากท่ า นสนใจสื่ อ การสอนวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ใ นเรื่ อ งอื่ น ๆที่ ค ณะผู้ จั ด ท าได้ ดาเนินการไปแล้ว ท่านสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ทั้งหมดใน ตอนท้ายของคู่มือฉบับนี้ 1
  • 3. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ (สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล) หมวด เนื้อหา ตอนที่ 3 (3/4) หัวข้อย่อย 1. เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ 2. สัจนิรันดร์ 3. การอ้างเหตุผล จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน 1. มีความเข้าใจและสามารถนาเอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม 2. มีความเข้าใจในความหมายของสัจนิรันดร์และสามารถตรวจสอบสัจนิรันดร์ได้ 3. มีความเข้าใจในการอ้างเหตุผลและสามารถนาไปใช้ตรวจสอบความสมเหตุสมผลได้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ผู้เรียนสามารถ 1. บอกเอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ที่สาคัญ 2. นาเอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ไปใช้ตรวจสอบการสมมูลของประพจน์ได้ 3. บอกความหมาย และวิธีการตรวจสอบสัจนิรันดร์ได้ 4. ตรวจสอบสัจนิรันดร์ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม 5. อธิบายวิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผลในการอ้างเหตุผลได้ 6. ตรวจสอบได้ว่าการอ้างเหตุผลที่กาหนดให้เป็นการอ้างเหตุผลที่สมเหตุสมผลหรือไม่ 2
  • 4. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนื้อหาในสื่อการสอน เนื้อหาทั้งหมด 3
  • 5. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1. เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ 4
  • 6. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1. เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ ในหัวข้อนี้ผู้เรียนจะได้ทราบถึงวิธีการตรวจสอบความสมมูลของประพจน์อีกหนึ่งวิธี คือการใช้ เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ ซึ่งมีความสะดวกและกระชับกว่าการสร้างตารางค่าความจริง เนื้อหาในสื่อเริ่มต้นด้วยการทบทวนการตรวจสอบการสมมูลของประพจน์ด้วยการสร้างตารางค่าความจริง และชี้ให้เห็นว่าประพจน์ที่สมมูลกันนั้นสามารถนาไปใช้อ้างอิงต่อไปได้โดยไม่ต้องสร้างตารางตรวจสอบ 5
  • 7. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในที่นี้ผู้สอนอาจให้นักเรียนระบุประพจน์ที่ได้เคยตรวจสอบด้วยตารางค่าความจริงแล้วว่าสมมูลกัน จาก การเรียนในครั้งที่ผ่านมา โดยเขียนเป็นรายการบนกระดานดา จากนั้นยกตัวอย่างการตรวจสอบความสมมูล เพิ่มเติม โดยให้นักเรียนนาประพจน์ที่สมมูลกันตามรายการบนกระดานดามาใช้อ้างอิง เมื่อผู้เรียนเริ่มเข้าใจและเห็นถึงประโยชน์ของการนาความรู้เก่าคือประพจน์ที่เคยตรวจสอบว่า สมมูลกัน มาใช้อ้างอิงเพื่อตรวจสอบความสมมูลของประพจน์คู่ต่อๆไป ผู้สอนจึงแนะนา เอกลักษณ์ในการ เชื่อมประพจน์ และนาเสนอเอกลักษณ์ที่ใช้กันโดยทั่วไปในชั้นนี้ ดังนี้ ผู้สอนควรชี้ให้เห็นถึงลักษณะสาคัญของแต่ละกลุ่มเอกลักษณ์ เช่น การสลับที่ การกระจาย ตลอดจน เอกลักษณ์ที่มักมีการนาไปใช้คลาดเคลื่อน 6
  • 8. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัวอย่างนี้ เป็นการแสดงการสมมูลของประพจน์ ซึ่งอยู่นอกเหนือจากเอกลักษณ์ที่กล่าวถึงข้างต้น โดยอาศัยตารางค่าความจริง จากนั้นจึงแสดงวิธีการใช้งานของเอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์นี้ โดยใน ตอนท้ายได้แสดงการตรวจสอบโดยใช้เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ นอกจากนี้ผู้สอนอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมเพื่อเป็นการทบทวนและฝึกการนาเอกลักษณ์การเชื่อม ประพจน์ไปใช้ในการตรวจสอบการสมมูลของประพจน์ที่กาหนดให้ 7
  • 9. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัวอย่าง 1 ~ p  (q  (r  p))  p  (~ q )  r หรือไม่ วิธีทา ~ p  (q  (r  p)  p  ( q  ( r  p ))  p  (~ q  ( r  p ))  p  (~ q )  r  p  p  p  (~ q )  r  ~ p  (q  (r  p)  p  (~ q )  r ตัวอย่าง 2 ~ (( p  q )  (~ q  r ))  p ~ (~ q  r ) หรือไม่ วิธีทา ~ (( p  q )  (~ q  r ))  ~ (~ ( p  q )  (~ q  r ))  ( p  q ) ~ (~ q  r )  ( p  q )  (q ~ r )  p  q  q ~ r  p  ( q  q ) ~ r  p  q ~ r  ~ (( p  q )  (~ q  r ))  p  ~ (~ q  r ) ตัวอย่าง 3 p  ( p  q )  ~p  q หรือไม่ วิธีทา p  ( p  q )  ~p  ( p  q )  (~p  p )  (~ p  q )  t  (~ p  q )  ~ pq  pq ดังนั้น p  ( p  q ) ไม่สมมูลกับ ~p  q ในที่นี้ควรอธิบายเพิ่มว่า ~ p  p เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงเสมอ ดังนั้นเมื่อเชื่อม ประพจน์นี้ด้วยตัวเชื่อม “และ” กับประพจน์ใด ค่าความจริงของประพจน์ใหม่ จะตรงกับค่าความจริง ของประพจน์นั้น และอาจใช้สัญลักษณ์ t แทนประพจน์ที่มีค่าความจริงดังตัวอย่าง 8
  • 10. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัวอย่าง 4 p ~ ( q  p)  ~p  (~ p ~ q ) หรือไม่ วิธีทา p ~ ( q  p )  p ~ (~ q  p)  p  ( q  ~ p)  ~p  ( q  ~ p )  ~p  (~ p  q ) ดังนั้น p ~ (q  p) ไม่สมมูลกับ ~p  (~ p ~ q ) ตัวอย่าง 5 ( p  q )  ( ~q  p)  ( ~p  q ) หรือไม่ วิธีทา ( p  q )  ( p  q )  ( q  p)  ( ~p  q )  ( ~q  p )  ( p  q )  ( ~q  p)  ( ~p  q ) 9
  • 11. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ 10
  • 12. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ จงใช้เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์เพื่อแสดงว่าข้อความที่กาหนดให้เป็นจริง หรือยกตัวอย่างค่าความจริงของ ประพจน์เพื่อแสดงให้เห็นว่าข้อความที่กาหนดให้เป็นเท็จ 1. p  q  ~q  ~p 2. p  (q  r )  ( ~p  q)  r 3. ~ p  (q  p)  ~ q  p 4. ~ (( p  q)  r )  (~ p  q) ~ r 5. ( p  r )  (r  p)  (~ r  p)  (~ p  r ) 6. (~ p  q )  r  ( r  p)  ( r  ~ q ) 7. ( p  q)  r  (~ q ~ r ) ~ p 8. ( p ~ q)  (r  s)  ~ (q ~ r )  (~ s ~ p) 9. ( p  q)  (q  r )  (r  q)  q  p 10. ~ [~ (~ (~ p  q ))  ( r  q )]  ~ [( p  r )  q] 11
  • 14. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. สัจนิรันดร์ ในหัวข้อนี้ผู้เรียนจะได้ศึกษาถึงความหมายของ สัจนิรันดร์ และการตรวจสอบสัจนิรันดร์ โดย อาศัยความรู้ที่เรียนมาก่อนหน้าทั้งการสร้างตารางค่าความจริง เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ รวมถึง เทคนิคในการตรวจสอบแบบอื่นๆ ซึ่งเหมาะสมกับโครงสร้างของประพจน์แตกต่างกันไป หลังจากที่เข้าใจความหมายของสัจนิรันดร์ และเห็นการตรวจสอบสัจนิรันดร์โดยใช้วิธีพื้นฐาน ซึ่ง คือการสร้างตารางค่าความจริงแล้ว จากนั้นจึงเป็นการอธิบายถึงวิธีการตรวจสอบโดยอาศัยเอกลักษณ์ใน การเชื่อมประพจน์ 13
  • 15. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทั้งผู้สอนอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมดังนี้ ตัวอย่าง 1 จงตรวจสอบว่า ( p  q )  ( p  q ) เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ โดยใช้เอกลักษณ์การเชื่อม ประพจน์ วิธีทา ( p  q)  ( p  q)  ~( p  q )  ( p  q )  ( ~p ~q )  (( p  q )  ( q  p ))  ( ~p ~q )  (( ~p  q )  ( ~q  p ))  ( ~p ~q  ~p  q )  ( ~p ~q  ~q  p ))  ( ~p ~p ~q  q )  ( ~p  p ~q  ~q ))  ( ~p  t )  (t  ~q ))  t t  ( p  q)  ( p  q)  t ดังนั้น ประพจน์ที่กาหนดให้เป็นสัจนิรันดร์ นอกจากนี้ในการตรวจสอบสัจนิรันดร์ หากต้องการแสดงว่าประพจน์ที่กาหนดให้ไม่เป็น สัจนิรันดร์ เพียงพอที่จะแสดงโดยการยกตัวอย่างค่าความจริงของประพจน์ เพื่อแสดงให้เห็นว่าประพจน์ที่ กาหนดให้นั้นสามารถมีค่าความจริงเป็น เท็จ ได้ ทั้งนี้ผู้สอนอาจยกตัวอย่างประกอบเพิ่มเติมตามความ เหมาะสม 14
  • 16. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้สอนนาเสนอวิธีการตรวจสอบสัจนิรันดร์อีกวิธี คือ การตรวจสอบด้วยวิธีการขัดแย้ง ทั้งนี้อาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมดังนี้ 15
  • 17. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัวอย่าง 2 จงตรวจสอบว่า ( p  ( p  q ))  q เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ วิธีทา สมมติให้ ( p  ( p  q ))  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น p  ( p  q ) มีค่าความจริงเป็นจริง และ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า p มีค่าความจริงเป็นจริงและ p  q มีค่าความจริงเป็นจริง ….(*) แต่จาก p มีค่าความจริงเป็นจริงและ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ p  q จึงมีค่าความจริงเป็นเท็จ….(**) จาก (*) และ (**) ทาให้เกิดข้อขัดแย้ง ดังนั้น ( p  ( p  q ))  q เป็นสัจนิรันดร์ ตัวอย่าง 3 จงตรวจสอบว่า ( p  q )  p เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ วิธีทา สมมติให้ ( p  q )  p มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น p  q มีค่าความจริงเป็นเท็จและ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ….(*) จาก p  q เป็นเท็จจะได้ว่า q มีค่าความจริงเป็นเท็จ p มีค่าความจริงเป็นเป็นจริง....(**) จาก (*) และ (**) ทาให้เกิดข้อขัดแย้ง ดังนั้น ( p  q )  p เป็นสัจนิรันดร์ ผู้สอนควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สังเกต และสรุปหลักการของการตรวจสอบโดยวิธีขัดแย้ง โดยใช้ ค าถามกระตุ้ นให้ นั ก เรี ย นได้ คิ ด ถึ ง การน าการตรวจสอบโดยวิ ธี ขั ด แย้ ง ไปใช้ กั บประพจน์ ใ น โครงสร้างอื่นๆ 16
  • 18. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้สอนอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมเกี่ยวกับการตรวจสอบสัจนิรันดร์ สาหรับโครงสร้างประพจน์ที่เชื่อมกันด้วย “ก็ต่อเมื่อ” ดังนี้ ตัวอย่าง 4 จงตรวจสอบว่า (( p  q)  (~ q  r ))  ( p  q)  r เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ วิธีทา (( p  q )  (~ q  r ))  ((~ p  q )  ( q  r ))  ~ pqqr  ~ pqr  (~ p  q )  r  ( p  q) r ดังนั้น (( p  q)  (~ q  r ))  ( p  q )  r เป็นสัจนิรันดร์ 17
  • 19. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่ อนจบในหัว ข้ อ นี้ ผู้ ส อนควรเปิด โอกาสให้นั ก เรี ย นได้ ส รุ ปหลัก การ วิ ธีก าร การตรวจสอบ สัจนิรันดร์ ทั้งการสร้างตารางค่าความจริง การใช้เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ การยกตัวอย่างกรณีค่า ความจริงที่ทาให้ประพจน์มีค่าความจริงเป็นเท็จ และการตรวจสอบโดยวิธีการขัดแย้ง เพื่อช่วยให้นักเรียน ได้เห็นข้อเด่น และข้อจากัดของการตรวจสอบแต่ละแบบ และเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม ถูกต้อง 18
  • 20. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง สัจนิรันดร์ 19
  • 21. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง สัจนิรันดร์ จงตรวจสอบว่าประพจน์ต่อไปนี้ เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ 1. ( p  ( p  ~ s ))  s 2. [( p  ( p  ~ q ))  ( p  q )]  q 3. [~ p  ( q  ( r  p ))]  [~ q  p  r ] 4. ~ [( p  q )  (~ q  r )]  [ p ~ ( q  r )] 5. ( p  ( q  ~ s ))  ( p  s )  q 6. [ p  ( p  q )]  [ p  q] 7. [( p  q )  ( p  r )]  ( p  r )  q 8. p  (~ p  ( p  q )) 9. ( p ~ ( q  p ))  (~ p  (~ p  q )) 10. ( q  ( r  p ))  (~ r  ( p  q )) 20
  • 23. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. การอ้างเหตุผล ในหัวข้อนี้ผู้เรียนจะได้ศึกษาถึงเกี่ยวกับการตรวจสอบการอ้างเหตุผล ว่าสมเหตุสมผลหรือไม่ โดย อาศัยความรู้เรื่องสัจนิรันดร์ที่ได้เรียนมาก่อนหน้านี้ หลังจากที่เข้าใจความหมายและวิธีการของการตรวจสอบความสมเหตุสมผลแล้ว ผู้สอนควร ชี้ให้เห็นว่าวิธีการตรวจสอบนี้ เป็นการนาความรู้เรื่องสัจนิรันดร์มาใช้ จากนั้นจึงนาเสนอตัวอย่างที่ หลากหลาย เพื่อช่วยให้นักเรียนได้เห็นถึงวิธีการตรวจสอบแบบอื่น ที่ไม่ต้องอาศัยการตรวจสอบ สัจนิรันดร์โดยตรง ตลอดจนการอ้างเหตุผลที่เป็นข้อความในชีวิตประจาวัน 22
  • 24. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัวอย่างนี้แสดงการตรวจสอบการอ้างเหตุผลในอีกแบบหนึ่ง จากนั้นจึงเป็นการนาเสนอตัวอย่างที่ ซับซ้อนขึ้น ทั้งนี้ผู้สอนการยกตัวอย่างเพิ่มเติม ดังนี้ 23
  • 25. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัวอย่าง 1 จงพิจารณาว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ (1) แมวไม่จับปลาหรือแมวกินปลา (2) แมวไม่กินปลา ผล แมวไม่จับปลา วิธีทา ให้ p แทนข้อความ “แมวจับปลา” และ q แทนข้อความ “แมวกินปลา” จะได้ว่า เหตุ (1) ~ p  q (2) ~ q ผล ~p ตรวจสอบความสมเหตุสมผล โดยพิจารณาว่า [(~ p  q) ~ q] ~ p เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ สมมติให้ [(~ p  q) ~ q] ~ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น (~ p  q ) ~ q มีค่าความจริงเป็นจริงและ ~ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า p มีค่าความจริงเป็นจริง จาก (~ p  q ) ~ q มีค่าความจริงเป็นจริง จะได้ว่า ~ p  q มีค่าความจริงเป็นจริง และ ~ q มีค่าความจริงเป็นจริง นั่นคือ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ และจาก ~ p  q มีค่าความจริงเป็นจริง ทาให้ ~p มีค่าความจริงเป็นจริง เกิดข้อขัดแย้ง ดังนั้น [(~ p  q) ~ q] ~ p เป็นสัจนิรันดร์ ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล ตัวอย่าง 2 จงพิจารณาว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ (1) (~ p  r )  s (2) ~ r  s ผล p วิธีทา สมมติให้ [((~ p  r )  s)  (~ r  s)]  p มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น ((~ p  r )  s )  (~ r  s ) มีค่าความจริงเป็นจริงและ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ จาก ((~ p  r )  s )  (~ r  s ) มีค่าความจริงเป็นจริง จะได้ว่า (~ p  r )  s มีค่าความจริงเป็นจริง และ ~ r  s มีค่าความจริงเป็นจริง 24
  • 26. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นั่นคือ ~ r มีค่าความจริงเป็นจริง และ s มีค่าความจริงเป็นจริง ไม่เกิดข้อขัดแย้ง และเมื่อให้ p, r และ s มีค่าความจริงเป็น เท็จ เท็จ และ จริง ตามลาดับ จะได้ว่า [((~ p  r )  s)  (~ r  s)]  p มีค่าความจริงเป็นเท็จ [((~ p  r )  s )  (~ r  s )]  p ไม่เป็นสัจนิรันดร์ ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล ตัวอย่าง 3 จงพิจารณาว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ (1) ( p  ~ r )  ( r  p ) (2) r ผล pr วิธีทา สมมติให้เหตุข้อ (1) และ (2) เป็นจริง จากเหตุข้อ (2) เป็นจริงจะได้ว่า r มีค่าความจริงเป็นจริง ทาให้ p  r มีค่าความจริงเป็นจริง ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล ตัวอย่าง 4 จงพิจารณาว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ (1) ( p  r ) ~ ( r  q ) (2) p (3) r  q ผล ( p  r)  q วิธีทา สมมติให้เหตุทุกข้อเป็นจริง จากเหตุข้อ (2) เป็นจริงจะได้ว่า p มีค่าความจริงเป็นจริง จากเหตุข้อ (3) เป็นจริงจะได้ว่า r มีค่าความจริงเป็นจริง และ q มีค่าความจริงเป็นจริง จะได้ว่าเหตุข้อ (1) เป็นเท็จ ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล 25
  • 27. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง การอ้างเหตุผล 26
  • 28. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง การอ้างเหตุผล จงตรวจสอบว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่ 1. เหตุ (1) ถ้าปลาว่ายน้าแล้วคนเดินได้ (2) ปลาไม่ว่ายน้าหรือคนเดินไม่ได้ ผล ปลาทะเลว่ายน้าหรือคนเดินได้ 2. เหตุ (1) ถ้าหนูดีไม่ไปตลาดแล้วหนูแดงอยู่บ้าน (2) หนูดีไม่ไปตลาด ผล หนูแดงอยู่บ้าน 3. เหตุ (1) ถ้าวันจันทร์ฝนตกแล้ววันอังคารฝนตก (2) ถ้าวันพุธฝนตกแล้ววันจันทร์ฝนตก (3) วันจันทร์ฝนไม่ตก ผล วันอังคารฝนไม่ตก 4. เหตุ (1) p  ~ q (2) q  r (3) ~ r ผล p 5. เหตุ (1) p  q (2) ~ q  r ผล pr 27
  • 29. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6. เหตุ (1) ~ r  (~ p  q ) (2) ( p  r ) ~ s (3) ~ q ผล ~s 7. เหตุ (1) ( p ~ q )  ( q  p ) (2) ~ q ผล pq 8. เหตุ (1) p  (~ p  q ) (2) ~ q  r (3) ~ r ผล p 9. เหตุ (1) p  q (2) q  r (3) ~ r  s ผล s 10. เหตุ (1) p  ( q  r ) (2) p (3) ~ t  q ผล r t 28
  • 33. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 1 แบบฝึกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม 32
  • 34. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดระคน จงเลือกข้อที่ถูกต้อง 1. ~ p  (~ q  (~ r  ~ p)) สมมูลกับข้อใดต่อไปนี้ ก. (~ p  r )  q ข. ( p  r )  q ค. ( p ~ r )  q ง. (~ p ~ r )  q 2. ~ (( p  q )  (~ q  r )) สมมูลกับข้อใดต่อไปนี้ ก. p ~ (~ q  r ) ข. p  (~ q  r ) ค. p ~ (q  r ) ง. p  (~ q ~ r ) 3. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. ( p  r ) ~ (q  p) สมมูลกับ (( p  r )  q)  ( p  ( p  r )) ข. ( p  r ) ~ (q  p) สมมูลกับ (( p  r )  q)  ( p  ( p  ~r )) ค. ( p  r ) ~ (q  p) ไม่สมมูลกับ (( p  r )  q)  ( p  ~( ~p  r )) ง. ( p  r ) ~ (q  p) ไม่สมมูลกับ (( p  r )  q)  ( p  ( ~p  r )) 4. (q  (~ p  q )) ~ p ไม่สมมูลกับข้อใด ก. (q  ( p ~ q )) ~ p ข. (q  ( p ~ q ))  p ค. p  ( q  ( p ~ q )) ง. ~ p  (q  ( p ~ q )) 5. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก) ( p  ~q )  (q  r ) สมมูลกับ ~(q  r  p)  (( p  q )  (q  r )) ข) ( p  ~q )  (q  r ) สมมูลกับ ( ~q  p)  ( ~p  q ) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. ข้อ ก) และ ข) ถูก ข. ข้อ ก) ถูก และ ข) ผิด ค. ข้อ ก) ผิด และ ข) ถูก ง. ข้อ ก) และ ข) ผิด 33
  • 35. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก) (~ p  ( p ~ q )) ~ q เป็นสัจนิรันดร์ ข) (( p  q )  ( p  q ))  ((r  q )  ( p  p )) เป็นสัจนิรันดร์ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. ข้อ ก) และ ข) ถูก ข. ข้อ ก) ถูก และ ข) ผิด ค. ข้อ ก) ผิด และ ข) ถูก ง. ข้อ ก) และ ข) ผิด 7. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก) (~ p  q )  ( p  r )  ( q  r ) เป็นสัจนิรันดร์ ข) (( p ~ q)  (~ q  (r ~ p))  ~ [((q  ( p  r )) ~ ( q  p)] เป็นสัจนิรันดร์ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. ข้อ ก) และ ข) ถูก ข. ข้อ ก) ถูก และ ข) ผิด ค. ข้อ ก) ผิด และ ข) ถูก ง. ข้อ ก) และ ข) ผิด 8. พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้ ก) เหตุ (1) ถ้าแดงไม่อ่านหนังสือหรือดาไปเที่ยว แล้วเขียวไปโรงเรียน (2) เขียวไม่ไปโรงเรียนและเหลืองว่ายน้า ผล แดงอ่านหนังสือและดาไม่ไปเที่ยว ข) เหตุ (1) p ~ q (2) q  r (3) ~ r ผล pr ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. การอ้างเหตุผลข้อ ก) และ ข) สมเหตุสมผล ข. การอ้างเหตุผลข้อ ก) สมเหตุสมผล แต่ข้อ ข) ไม่สมเหตุสมผล ค. การอ้างเหตุผลข้อ ก) ไม่สมเหตุสมผล แต่ข้อ ข) สมเหตุสมผล ง. การอ้างเหตุผลข้อ ก) และ ข) ไม่สมเหตุสมผล 34
  • 36. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 9. พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้ ก) เหตุ (1) p ~ q (2) q  r (3) ~ r ผล (r  p)  p ข) เหตุ (1) r  ( r  q ) (2) ( p  t )  r (3) ( r  q )  p (4) t  ~ r ผล ( p  r ) ~ t ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. การอ้างเหตุผลข้อ ก) และ ข) สมเหตุสมผล ข. การอ้างเหตุผลข้อ ก) สมเหตุสมผล แต่ข้อ ข) ไม่สมเหตุสมผล ค. การอ้างเหตุผลข้อ ก) ไม่สมเหตุสมผล แต่ข้อ ข) สมเหตุสมผล ง. การอ้างเหตุผลข้อ ก) และ ข) ไม่สมเหตุสมผล 10. พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้ เหตุ (1) นัดกินก๋วยเตี๋ยวและแชมป์ไม่กินข้าวมันไก่ (2) วิไลกินขนมหวานก็ต่อเมื่อนัดกินก๋วยเตี๋ยว ผล ...................................................................... ผล ควรเป็นข้อใดต่อไปนี้ จึงทาให้การอ้างเหตุผลนี้ สมเหตุสมผล ก. แชมป์กินข้าวมันไก่ หรือ วิไลไม่กินขนมหวาน ข. แชมป์กินข้าวมันไก่ ก็ต่อเมื่อ วิไลกินขนมหวาน ค. วิไลกินขนมหวาน และ นัดไม่กินก๋วยเตี๋ยว ง. ถ้านัดกินก๋วยเตี๋ยว แล้ว วิไลกินขนมหวาน 35
  • 37. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 2 เฉลยแบบฝึกหัด 36
  • 38. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์ จงใช้เอกลักษณ์ในการเชื่อมประพจน์เพื่อแสดงว่าข้อความที่กาหนดให้เป็นจริง หรือยกตัวอย่างค่าความจริงของ ประพจน์เพื่อแสดงให้เห็นว่าข้อความที่กาหนดให้เป็นเท็จ 1. p  q  ~q  ~p วิธีทา p  q  ~p  q  q  ~p  p  q  ~q  ~p 2. p  (q  r )  ( ~p  q)  r วิธีทา p  ( q  r )  ~p  ( ~q  r )  ( ~p  ~q )  r  ~( p  q )  r p  (q  r )  ( p  q )  r และเมื่อให้ p q มีค่าความจริงเป็นจริง และ r มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่าประพจน์ที่กาหนดให้ไม่สมมูลกัน 3. ~ p  (q  p)  ~ q  p วิธีทา ~ p  ( q  p )  p  (~ q  p )  ~ q  ( p  p)  ~q p ~ p  (q  p)  q  p และเมื่อให้ p และ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่าประพจน์ที่กาหนดให้ไม่สมมูลกัน 4. ~ (( p  q)  r )  (~ p  q) ~ r วิธีทา ~ (( p  q )  r )  ~ (~ ( p  q )  r )  ~ (~ (~ p  q )  r )  ~ (( p  q )  r )  (~ p  q )  ~ r 37
  • 39. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5. ( p  r )  (r  p)  (~ r  p)  (~ p  r ) วิธีทา ( p  r )  ( r  p )  ( p  r )  ( r  p )  ( r  p )  ( p  r )  (r  p)  (~ p  r )  (~ r  p )  ( p  r )  ( r  p )  (~ r  p )  (~ p  r ) 6. (~ p  q)  r  (r  p)  (r  ~ q ) วิธีทา (~ p  q )  r  ~ (~ p  q )  r  ( p ~ q )  r  r  ( p ~ q )  ( ~ p  q )  r  (r  p)  (r ~ q ) 7. ( p  q)  r  (~ q ~ r ) ~ p วิธีทา ( p  q)  r  (~ p  q )  r  ( q  r ) ~ p  ~ ( q  r ) ~ p  ( p  q)  r  (~ q  ~ r )  ~ p 8. ( p ~ q)  (r  s)  ~ (q ~ r )  (~ s ~ p) วิธีทา ( p  ~ q )  ( r  s )  (~ p  ~ q )  (~ r  s )  (~ q  ~ r )  ( s  ~ p )  ~ (~ q  ~ r )  ( s  ~ p )  ( p  ~ q )  ( r  s )  ~ ( q ~ r )  (~ s ~ p ) 9. ( p  q)  (q  r )  (r  q)  q  p วิธีทา ( p  q )  ( q  r )  ( r  q )  (~ p  q )  (~ q  r )  (~ r  p )  ~ p  (q ~ q )  (r  ~ r )  q  ~ pt t q  ~ pq  ( p  q )  (q  r )  (r  q )  p  q 38
  • 40. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อให้ p และ q มีค่าความจริงเป็นจริงและเท็จ ตามลาดับ จะได้ว่าประพจน์ที่กาหนดให้ไม่สมมูลกัน 10. ~ [~ (~ (~ p  q ))  ( r  q )]  ~ [( p  r )  q] วิธีทา ~ [~ (~ (~ p  q ))  ( r  q )]  ~ [(~ p  q )  ( r  q )]  ~ [(~ p  q )  (~ r  q )]  ~ (~ p  q )  ~ (~ r  q )  ( p ~ q )  (r  ~ q )  ( p  r )  (~ q  ~ q )  ( p  r ) ~ q  ~ [~ ( p  r )  q ]  ~ [~ (~ (~ p  q ))  ( r  q )]  ~ [( p  r )  q ] 39
  • 41. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง สัจนิรันดร์ จงตรวจสอบว่าประพจน์ต่อไปนี้ เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ 1. ( p  ( p  ~ s ))  s วิธีทา สมมติให้ ( p  ( p ~ s))  s มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น p  ( p  ~ s ) มีค่าความจริงเป็นจริงและ s มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า p มีค่าความจริงเป็นจริง และ p  ~ s มีค่าความจริงเป็นจริง จาก p  ~ s มีค่าความจริงเป็นจริงและ p มีค่าความจริงเป็นจริง จะได้ว่า ~ s มีค่าความจริงเป็นจริง ไม่เกิดข้อขัดแย้ง ทาให้ได้ว่า เมื่อ p มีค่าความจริงเป็นจริง และ s มีค่าความเท็จ ( p  ( p  ~ s ))  s จะมีค่าความจริงเป็นเท็จ นั่นคือไม่เป็นสัจนิรันดร์ 2. [( p  ( p  ~ q ))  ( p  q )]  q วิธีทา สมมติให้ [( p  ( p  ~ q ))  ( p  q )]  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น ( p  ( p  ~ q ))  ( p  q ) มีค่าความจริงเป็นจริงและ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า p  q มีค่าความจริงเป็นจริง และ p  ( p  ~ q ) มีค่าความจริงเป็นจริง จาก q มีค่าความจริงเป็นเท็จ และจากจะได้ว่า p  q มีค่าความจริงเป็นจริง ทาให้ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น p  ( p  ~ q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ เกิดข้อขัดแย้ง ดังนั้น [( p  ( p  ~ q ))  ( p  q )]  q เป็นสัจนิรันดร์ 3. [~ p  ( q  ( r  p ))]  [~ q  p  r ] วิธีทา ให้ p, q และ r มีค่าความจริงเป็น เท็จ จริง และ เท็จ ตามลาดับ จะได้ว่า ~ q  p  r มีค่าความจริงเป็นเท็จ 40
  • 42. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดังนั้น [~ p  ( q  ( r  p ))]  [~ q  p  r ] ไม่เป็นสัจนิรันดร์ 4. ~ [( p  q )  (~ q  r )]  [ p  ~ ( q  r )] วิธีทา ให้ p, q และ r มีค่าความจริงเป็น เท็จ จริง และ จริง ตามลาดับ จะได้ว่า p ~ ( q  r ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น ~ [( p  q )  (~ q  r )]  [ p ~ ( q  r )] ไม่เป็นสัจนิรันดร์ 5. [( p  ( q  ~ s ))  ( p  s )]  q วิธีทา สมมติให้ [( p  ( q ~ s ))  ( p  s)]  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น ( p  ( q ~ s ))  ( p  s ) มีค่าความจริงเป็นจริง และ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า p  ( q ~ s ) มีค่าความจริงเป็นจริงและ p  s มีค่าความจริงเป็นจริง จาก p  s มีค่าความจริงเป็นจริง ดังนั้น p มีค่าความจริงเป็นจริงและ s มีค่าความจริงเป็นจริง จาก p  ( q ~ s ) มีค่าความจริงเป็นจริง และ p มีค่าความจริงเป็นจริง ดังนั้น q  ~ s มีค่าความจริงเป็นจริง จาก ~s มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า q มีค่าความจริงเป็นเท็จ ไม่เกิดข้อขัดแย้ง ทาให้ได้ว่า เมื่อให้ p, q และ s มีค่าความจริงเป็น จริง เท็จ และ จริง ตามลาดับ จะได้ว่า [( p  ( q ~ s ))  ( p  s)]  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น [( p  ( q ~ s ))  ( p  s)]  q ไม่เป็นสัจนิรันดร์ 6. [ p  ( p  q )]  [ p  q ] วิธีทา จาก p  ( p  q )  ~ p  ( p  q)  (~ p  p )  (~ p  q )  ~ pq  pq ดังนั้น [ p  ( p  q )]  [ p  q] เป็นสัจนิรันดร์ 41
  • 43. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7. [( p  q )  ( p  r )]  ( p  r )  q วิธีทา ( p  q )  ( p  r )  (~ p  q )  (~ p  r )  ~ p  (q  r )  p  (q  r ) สังเกตว่า ( p  q )  ( p  r ) และ ( p  r )  q ไม่สมมูลกัน โดยเมื่อให้ p, q และ r มีค่า ความจริงเป็น เท็จ ทั้งหมดแล้ว [( p  q )  ( p  r )]  ( p  r )  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น [( p  q )  ( p  r )]  ( p  r )  q ไม่เป็นสัจนิรันดร์ 8. p  (~ p  ( p  q )) วิธีทา สมมติให้ p  (~ p  ( p  q )) มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น p มีค่าความจริงเป็นเท็จและ ~ p  ( p  q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ จาก ~ p  ( p  q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า ~ p มีค่าความจริงเป็นจริง และ p  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ จาก p  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น q อาจมีค่าความจริงเป็นจริงหรือเท็จได้ ไม่เกิดข้อขัดแย้ง ทาให้ได้ว่า เมื่อให้ p และ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า p  (~ p  ( p  q )) มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น p  (~ p  ( p  q )) ไม่เป็นสัจนิรันดร์ 9. ( p  ~ ( q  p ))  (~ p  (~ p  q )) วิธีทา สมมติให้ ( p ~ ( q  p ))  (~ p  (~ p  q )) มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น p ~ ( q  p ) มีค่าความจริงเป็นเท็จและ ~ p  (~ p  q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ ทาให้ p และ ~p มีค่าความจริงเป็นเท็จ เกิดข้อขัดแย้ง ดังนั้น ( p ~ ( q  p ))  (~ p  (~ p  q )) เป็นสัจนิรันดร์ 10. ( q  ( r  p ))  (~ r  ( p  q )) วิธีทา สมมติให้ ( q  ( r  p ))  (~ r  ( p  q )) มีค่าความจริงเป็นเท็จ 42
  • 44. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดังนั้น q  ( r  p ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ ~ r  ( p  q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ จาก q  ( r  p ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า q มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ r  p มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น r จึงมีค่าความจริงเป็นจริงและ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ จาก ~ r  ( p  q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น ~ r มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ p  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า q มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ p มีค่าความจริงเป็นจริง เกิดข้อขัดแย้ง ดังนั้น ( q  ( r  p ))  (~ r  ( p  q )) เป็นสัจนิรันดร์ 43
  • 45. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง การอ้างเหตุผล จงตรวจสอบว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่ 1. เหตุ (1) ถ้าปลาว่ายน้าแล้วคนเดินได้ (2) ปลาไม่ว่ายน้าหรือคนเดินไม่ได้ ผล ปลาทะเลว่ายน้าหรือคนเดินได้ วิธีทา ให้ p แทนข้อความ “ปลาว่ายน้า” และ q แทนข้อความ “คนเดินได้” จะได้ว่า เหตุ (1) p  q (2) ~ p ~ q ผล pq ตรวจสอบความสมเหตุสมผล โดยพิจารณาว่า (( p  q )  (~ p ~ q ))  ( p  q ) เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ ให้ p และ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า (( p  q )  (~ p ~ q ))  ( p  q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ นั่นคือ (( p  q )  (~ p ~ q ))  ( p  q ) ไม่เป็นสัจนิรันดร์ นั่นคือ การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล 2. เหตุ (1) ถ้าหนูดีไม่ไปตลาดแล้วหนูแดงอยู่บ้าน (2) หนูดีไม่ไปตลาด ผล หนูแดงอยู่บ้าน วิธีทา ให้ p แทนข้อความ “หนูดีไปตลาด” และ q แทนข้อความ “หนูแดงอยู่บ้าน” 44
  • 46. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะได้ว่า เหตุ (1) ~ p  q (2) ~ p ผล q ตรวจสอบความสมเหตุสมผลซึ่งพิจารณาว่า ((~ p  q )  (~ p ))  q เป็น สัจนิรันดร์หรือไม่ สมมติให้ ((~ p  q )  (~ p ))  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น (~ p  q ) และ ~ p มีค่าความจริงเป็นจริง และ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ จาก (~ p  q ) มีค่าความจริงเป็นจริง และ ~ p มีค่าความจริงเป็นจริง ทาให้ q มีค่าความจริงเป็นจริง เกิดข้อขัดแย้ง ดังนั้น ((~ p  q )  (~ p ))  q เป็นสัจนิรันดร์ ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล 3. เหตุ (1) ถ้าวันจันทร์ฝนตกแล้ววันอังคารฝนตก (2) ถ้าวันพุธฝนตกแล้ววันจันทร์ฝนตก (3) วันจันทร์ฝนไม่ตก ผล วันอังคารฝนไม่ตก วิธีทา ให้ p แทนข้อความ “วันจันทร์ฝนตก” q แทนข้อความ “วันอังคารฝนตก” และ r แทนข้อความ “วันพุธฝนตก” จะได้ว่า เหตุ (1) p  q (2) r  p (3) ~ p ผล ~q ตรวจสอบความสมเหตุสมผล โดยพิจารณาว่า (( p  q )  ( r  p )  ~ p )  (~ q ) เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ 45
  • 47. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมมติให้ (( p  q )  ( r  p ) ~ p )  (~ q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น (( p  q )  ( r  p ) ~ p ) มีค่าความจริงเป็นจริงและ ~ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ จาก (( p  q )  ( r  p ) ~ p ) มีค่าความจริงเป็นจริง จะได้ว่า p  q มีค่าความจริงเป็นจริง r  p มีค่าความจริงเป็นจริง และ ~ p มีค่าความ จริงเป็นจริง ดังนั้น p มีค่าความจริงเป็นเท็จ q มีค่าความจริงเป็นจริง จาก r  p มีค่าความจริงเป็นจริง และ p มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ r มีค่าความจริงเป็นเท็จ ไม่เกิดข้อขัดแย้ง และเมื่อให้ p, q และ r มีค่าความจริงเป็น เท็จ จริง และ เท็จ ตามลาดับ (( p  q )  ( r  p )  ~ p )  (~ q ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล 4. เหตุ (1) p  ~ q (2) q  r (3) ~ r ผล p วิธีทา สมมติให้ (( p ~ q )  ( q  r ) ~ r )  p มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น ( p ~ q )  ( q  r )  ~ r มีค่าความจริงเป็นจริง p มีค่าความจริงเป็นเท็จ จาก ( p ~ q )  ( q  r )  ~ r มีค่าความจริงเป็นจริง จะได้ว่า p  ~ q มีค่าความจริงเป็นจริง q  r มีค่าความจริงเป็นจริง ~ r มีค่าความจริงเป็นจริง ดังนั้น r มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ q มีค่าความจริงเป็นจริง ไม่เกิดข้อขัดแย้ง และเมื่อให้ p, q และ r มีค่าความจริงเป็น เท็จ จริง และ เท็จ ตามลาดับ จะได้ว่า (( p ~ q )  ( q  r ) ~ r )  p มีค่าความจริงเป็นเท็จ (( p ~ q )  ( q  r )  ~ r )  p จึงไม่เป็นสัจนิรันดร์ ดังนั้นการอ้างเหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล 5. เหตุ (1) p  q 46
  • 48. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2) ~ q  r ผล pr วิธีทา สมมติให้ (( p  q )  (~ q  r ))  ( p  r ) มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น ( p  q )  (~ q  r ) มีค่าความจริงเป็นจริง p  r มีค่าความจริงเป็นเท็จ จาก p  r มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า p มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ r มีค่าความจริงเป็นเท็จ จาก ( p  q )  (~ q  r ) มีค่าความจริงเป็นจริง ดังนั้น p  q มีค่าความจริงเป็นจริง ทาให้ p มีค่าความจริงเป็นจริง เกิดข้อขัดแย้ง ดังนั้น (( p  q )  (~ q  r ))  ( p  r ) เป็นสัจนิรันดร์ ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล 6. เหตุ (1) ~ r  (~ p  q ) (2) ( p  r ) ~ s (3) ~ q ผล ~s วิธีทา สมมติให้ [[~ r  (~ p  q )]  [( p  r ) ~ s] ~ q] ~ s มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น [~ r  (~ p  q )]  [( p  r ) ~ s] ~ q มีค่าความจริงเป็นจริงและ ~ s มีค่าความจริงเป็นเท็จ จาก [~ r  (~ p  q )]  [( p  r ) ~ s] ~ q มีค่าความจริงเป็นจริง จะได้ว่า ~ r  (~ p  q ) มีค่าความจริงเป็นจริง ( p  r ) ~ s มีค่าความจริงเป็นจริง ~ q มีค่าความจริงเป็นจริง ทาให้ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ จาก ( p  r ) ~ s มีค่าความจริงเป็นจริง และ ~ s มีค่าความจริงเป็นเท็จ ทาให้ได้ว่า p  r มีค่าความจริงเป็นเท็จ นั่นคือ p มีค่าความจริงเป็นจริง และ r มีค่าความจริงเป็นเท็จ จาก ~ r  (~ p  q ) มีค่าความจริงเป็นจริง q มีค่าความจริงเป็นเท็จ p มีค่าความจริงเป็น จริง ทาให้ ~ r มีค่าความจริงเป็นเท็จ นั่นคือ r มีค่าความจริงเป็นจริง เกิดข้อขัดแย้ง ดังนั้น [[~ r  (~ p  q )]  [( p  r ) ~ s] ~ q] ~ s เป็นสัจนิรันดร์ ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล 47
  • 49. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7. เหตุ (1) ( p ~ q )  ( q  p ) (2) ~ q ผล pq วิธีทา สมมติให้เหตุข้อ (1) และ (2) เป็นจริง จากเหตุข้อ (2) เป็นจริงจะได้ว่า ~ q มีค่าความจริงเป็นจริง ทาให้ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า p  q มีค่าความจริงเป็นเท็จ ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล 8. เหตุ (1) p  (~ p  q ) (2) ~ q  r (3) ~ r ผล p วิธีทา สมมติให้เหตุทั้งสามข้อเป็นจริง จากเหตุข้อ (3) เป็นจริงจะได้ว่า ~ r มีค่าความจริงเป็นจริง ทาให้ r มีค่าความจริงเป็นเท็จ จากเหตุข้อ (2) เป็นจริงและ r มีค่าความจริงเป็นเท็จได้ว่า ~ q มีค่าความจริงเป็นจริง ทาให้ q เป็นเท็จ จากเหตุข้อ (1) เป็นจริง และสมมูลกับ p  q ทาให้ p มีค่าความจริงเป็นจริง ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล 9. เหตุ (1) p  q (2) q  r (3) ~ r  s ผล s วิธีทา สมมติให้เหตุทุกข้อเป็นจริง 48
  • 50. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากเหตุข้อ (1) เป็นจริงจะได้ว่า p มีค่าความจริงเป็นจริง q มีค่าความจริงเป็นจริง จากเหตุข้อ (2) เป็นจริง และ q มีค่าความจริงเป็นจริง จะได้ว่า r มีค่าความจริงเป็นจริง จากเหตุข้อ (3) เป็นจริง r มีค่าความจริงเป็นจริง จะได้ว่า s มีค่าความจริงเป็นจริง ทาให้ผล s มีค่าความจริงเป็นจริง ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล 10. เหตุ (1) p  ( q  r ) (2) p (3) ~ t  q ผล r t วิธีทา ให้ p, q, r มีค่าความจริงเป็นจริง และ t มีค่าความจริงเป็นเท็จ จะได้ว่า เหตุทั้งสามข้อเป็นจริง แต่ผลเป็นเท็จ ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล เฉลยแบบฝึกหัดระคน 1. ค 2. ก 3. ง 4. ข 5. ข 6. ค 7. ก 8. ข 9. ก 10. ง 49
  • 51. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน 50