SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 38
Descargar para leer sin conexión
คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร
                    เรื่อง
           การนับและความนาจะเปน
               (เนือหาตอนที่ 5)
                   ้
                การทดลองสุม

                      โดย
      ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกาญจน ใจดี

      สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง
   คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
               กระทรวงศึกษาธิการ
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
              สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                          สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน

         สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 16 ตอน ซึ่งประกอบดวย

 1. บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน
 2. เนื้อหาตอนที่ 1 การนับเบื้องตน
                          - กฎเกณฑเบื้องตนเกียวกับการนับ
                                                  ่
                          - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด)
 3. เนื้อหาตอนที่ 2 การเรียงสับเปลี่ยน
                          - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน (สิ่งของไมแตกตางกันทั้งหมด)
                          - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม
 4. เนื้อหาตอนที่ 3 การจัดหมู
                          - วิธีจัดหมู
 5. เนื้อหาตอนที่ 4 ทฤษฎีบททวินาม
                          - ทฤษฎีบททวินาม
                          - ทฤษฎีบทอเนกนาม
 6. เนื้อหาตอนที่ 5 การทดลองสุม
                          - การทดลองสุม
                          - ปริภูมิตัวอยาง
                          - เหตุการณและความนาจะเปน
 7. เนื้อหาตอนที่ 6 ความนาจะเปน 1
                          - สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน
                          - การหาความนาจะเปนแบบงาย
 8. เนื้อหาตอนที่ 7 ความนาจะเปน 2
                          - การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ
                          - การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร
 9. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 1)
10. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 2)
11. แบบฝกหัด (ขันสูง)
                   ้
12. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง หลักการบวกและหลักการคูณสําหรับการนับ
13. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยน
                                                    1
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


14. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ทฤษฎีบททวินาม
15. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความนาจะเปน
16. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การใสบอลลงกลอง

         คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับ
 ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและ
 ความนาจะเปน นอกจากนี้หากทานสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่นๆที่คณะผูจัดทําได
 ดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมด
 ในตอนทายของคูมือฉบับนี้




                                                   2
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


เรื่อง            การนับและความนาจะเปน (การทดลองสุม)
หมวด              เนื้อหา
ตอนที่            5 (5/7)

หัวขอยอย       1. การทดลองสุมและปริภูมตัวอยาง
                                         ิ
                 2. เหตุการณและความนาจะเปน



จุดประสงคการเรียนรู
    เพื่อใหผูเรียน
    1. เขาใจความหมายของการทดลองสุม
    2. เขาใจความหมายและสามารถหาปริภูมิตัวอยางของการทดลองสุมได
    3. เขาใจความหมายของเหตุการณและหาความนาจะเปนของเหตุการณได

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
             
   ผูเรียนสามารถ
   1. อธิบายความหมายของการทดลองสุม ปริภูมิตัวอยางและเหตุการณได
   2. หาปริภูมิตวอยางของการทดลองสุมได
                  ั
   3. หาจํานวนสมาชิกของปริภมตัวอยางและเหตุการณ โดยใชกฎการนับได
                             ู ิ
   4. อธิบายความหมายและวิธีการหาความนาจะเปนของเหตุการณได




                                                   3
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                             เนื้อหาในสื่อการสอน




                             เนื้อหาทั้งหมด




                                      4
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




        1. การทดลองสุมและปริภมิตัวอยาง
                              ู




                                      5
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                     1. การทดลองสุมและปริภูมิตัวอยาง

       ในหัวขอนี้ เราจะศึกษาเรื่อง “การทดลองสุม” และ “ปริภูมิตัวอยาง” เพื่อนําไปสูเรื่อง “เหตุการณและ
ความนาจะเปน” ซึ่งจะไดศึกษาในหัวขอถัดไป โดยในสื่อการสอนเริ่มดวยการยกตัวอยางการทดลอง จากนั้นจึง
ใหความหมายของการทดลองสุม




          เมื่อผูเรียนดูสอการสอนขางตนจบแลว ผูสอนอาจอธิบายผูเรียนเพิ่มเติมวา ผลลัพธที่เปนไปไดของการ
                          ื่                         
ทดลองสุมอาจมีไดหลายแบบ ขึ้นอยูกับวาการทดลองนัน ๆ ผลลัพธที่สนใจคืออะไร ยกตัวอยางเชน ทดลองทอด
                                                          ้
ลูกเตา 1 ลูก ถาเราสนใจแตมของลูกเตาที่ขึ้น ผลลัพธที่เปนไปได คือ ลูกเตาขึ้นแตม 1, 2, 3, 4, 5 หรือ 6 แตถา
เราสนใจวาลูกเตาขึ้นแตมเปนจํานวนคูหรือจํานวนคี่ ผลลัพธที่เปนไปได คือ จํานวนคู หรือ จํานวนคี่
          เพื่อใหผูเรียนเขาใจคําวา “การทดลองสุม” ไดดยิ่งขึ้น ผูสอนอาจยกตัวอยางการทดลองสุมตอไปนี้
                                                            ี
เพิ่มเติม



                                                           6
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง
    1. สุมจํานวน 1 จํานวนที่มีคาอยูระหวาง 0 กับ 1 และสนใจคาของจํานวนที่หยิบได
    2. สุมหยิบลูกแกว 2 ลูกพรอมกัน จากกลองซึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก และสนใจสีของ
         ลูกแกวที่หยิบได
    3. การสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนคนหนึ่ง และสนใจผลการสอบของนักเรียนคนนี้
    4. การตรวจปริมาณแอลกอฮอลของคนขับรถยนตคนหนึ่ง และสนใจปริมาณแอลกอฮอลที่วัดได

          จากนั้น ผูเรียนจะไดศึกษาเรื่อง “ปริภูมิตวอยาง” ซึ่งเปนเรื่องที่ตอเนืองจากเรื่อง “การทดลองสุม” โดย
                                                    ั                              ่
ปริภูมิตัวอยาง คือ เซตของผลลัพธที่เปนไปไดทั้งหมดของการทดลองสุม นั่นเอง




        จากตัวอยางขางตน ทําใหทราบวา ในการทดลองครั้งหนึ่ง ๆ ปริภูมิตัวอยางอาจมีไดหลายแบบ ขึ้นอยูกับ
ผลลัพธที่เราสนใจของการทดลองนั้น ๆ
        เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่องปริภมิตัวอยางไดดยิ่งขึ้น ผูสอนควรใหผูเรียนฝกทําตัวอยางตอไปนี้
                                        ู             ี

                                                           7
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง จงเขียนปริภูมิตวอยางของการทดลองโยนเหรียญ 3 เหรียญพรอมกัน เมื่อผลลัพธที่สนใจ คือ
                        ั
        1. หนาของเหรียญทั้งสามที่ขึ้น
        2. จํานวนหัวที่ขน ึ้
ตอบ 1. ปริภูมิตัวอยาง S1 = {HHH , HHT , HTH , HTT , THH , THT , TTH , TTT }
        2. ปริภูมตัวอยาง S2 = {0,1, 2,3}
                 ิ

หมายเหตุ ในเรื่องการนับและความนาจะเปน ถาโจทยไมไดกําหนดเพิมเติมวาสิ่งของ n สิ่งที่เราสนใจ
                                                                ่
เหมือนกัน หมายความวา สิ่งของ n สิ่งนั้นแตกตางกันทั้งหมด จากตัวอยางขางตน ทําใหไดวา เหรียญ 3 เหรียญ
แตกตางกันทั้งหมด ดังนั้น ผลลัพธ HHT กับ HTH จึงแตกตางกัน

ตัวอยาง จงเขียนปริภูมิตวอยางของการทดลองสุมตอไปนี้
                         ั
        1. สุมหยิบหลอดไฟ 5 หลอด จากกลองซึ่งบรรจุหลอดไฟดี 40 หลอดและหลอดไฟเสีย 4 หลอด
            เมื่อผลลัพธท่สนใจคือจํานวนหลอดไฟเสียที่ได
                           ี
        2. ทดลองหยิบมะมวงครั้งละ 1 ผลไปเรื่อย ๆ จนกวาจะหยิบไดมะมวงมันจากตะกราใบหนึ่งซึ่งบรรจุ
            มะมวงมัน 8 ผลและมะมวงเปรี้ยว 2 ผล เมื่อผลลัพธที่สนใจคือจํานวนครั้งที่ตองหยิบมะมวง
        3. สุมหยิบลูกแกว 1 ลูก จากกลองซึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก ถาผลลัพธที่สนใจคือสีของ
           ลูกแกวที่หยิบได

ตอบ 1. ปริภูมตัวอยาง
             ิ              S1 = {0,1, 2,3, 4}
    2. ปริภูมิตัวอยาง      S 2 = {1, 2,3}

       3. ปริภูมิตัวอยาง   S3 =   {สีแดง, สีขาว}




                                                          8
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


        เมื่อผูเรียนชมสื่อการสอนขางตนแลว ผูสอนอาจย้ําผูเรียนอีกครั้งวา ปริภูมิตัวอยางอาจเปนไดทั้งเซต
จํากัดและเซตอนันต
        สําหรับการทดลองสุมใด ๆ บางครั้งเราไมสนใจวาสมาชิกในปริภูมิตัวอยางเปนอะไรบาง แตเราอยาก
ทราบจํานวนสมาชิกของปริภูมิตวอยางนัน ๆ ดังนั้น ผูสอนอาจยกตัวอยางตอไปนี้ เพื่อใหผูเรียนฝกหาจํานวน
                                ั       ้           
สมาชิกของปริภูมิตัวอยาง เพื่อเปนพื้นฐานในการเรียนเรื่องความนาจะเปนในหัวขอถัดไป

ตัวอยาง จงหาจํานวนสมาชิกของปริภูมิตวอยางของการทดลองสุมตอไปนี้
                                        ั
        1. โยนเหรียญ 1 เหรียญและทอดลูกเตา 1 ลูกพรอมกัน ถาผลลัพธที่สนใจคือหนาของเหรียญและแตม
           ของลูกเตาที่ขึ้น
        2. จัดหนังสือ 8 เลมที่แตกตางกันทั้งหมดวางบนชั้นหนังสือ ถาผลลัพธที่สนใจคือวิธีการจัดเรียง
           หนังสือ
        3. สุมหยิบลูกแกว 1 ลูก จากกลองซึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก ถาผลลัพธที่สนใจคือสีของ
           ลูกแกวที่หยิบได
        4. จัดนักเรียน 6 คนนั่งรอบโตะกลม ถาผลลัพธที่สนใจคือวิธีการจัดทีนั่ง
                                                                            ่
ตอบ 1. 2 × 6 = 12
        2. 8! = 40,320
        3. 2
        4. (6 − 1)! = 5! = 120




                                                           9
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                      แบบฝกหัดเพิ่มเติม
                            เรื่อง การทดลองสุมและปริภูมิตัวอยาง

1. จงเขียนปริภูมตัวอยางของการทดลองตอไปนี้
                  ิ
   1.1 โยนเหรียญ 1 เหรียญและทอดลูกเตา 1 ลูกพรอมกัน ถาผลลัพธที่สนใจคือหนาของเหรียญและ
       แตมของลูกเตาที่ขึ้น
   1.2 สุมหยิบหลอดไฟ 2 หลอดจากกลองใบหนึงซึ่งบรรจุหลอดไฟดี 5 หลอดและหลอดไฟเสีย 1 หลอด
                                                ่
       โดยหยิบทีละครั้งและไมใสกลับคืนกอนหยิบครั้งถัดไป ถาผลลัพธที่สนใจคือสภาพของหลอดไฟ
       ทั้ง 2 หลอดที่หยิบได
   1.3 การสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนคนหนึ่งซึ่งขอสอบชุดนี้เปนขอสอบแบบปรนัยมีทั้งหมด
        5 ขอ คะแนนเต็มขอละ 2 คะแนน ถาผลลัพธที่สนใจคือคะแนนทีนกเรียนคนนี้ได
                                                                         ่ ั
   1.4 สอบถามแมบาน 3 คนวาใชยาสีฟนยีหอ “สดชื่น” หรือไม ถาผลลัพธที่สนใจคือคําตอบของแมบาน
                                        ่
       ทั้ง 3 คน
   1.5 นําแบตเตอรี่ 1 อันมาทดสอบ ถาผลลัพธที่สนใจคืออายุการใชงานของแบตเตอรี่
   1.6 ทอดลูกเตา 1 ลูกไปเรื่อย ๆ จนกวาลูกเตาจะขึ้นแตม 6 เปนครั้งที่สอง ถาผลลัพธที่สนใจคือจํานวน
       ครั้งที่ตองทอดลูกเตา
                

2. จงหาจํานวนสมาชิกของปริภมตัวอยางของการทดลองสุมตอไปนี้
                              ู ิ
   2.1 การสอบวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนคนหนึ่ง ซึ่งขอสอบแบงเปนสองสวน สวนแรกเปนขอสอบ
       แบบถูก-ผิด จํานวน 5 ขอ และสวนที่สองเปนขอสอบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จํานวน 10 ขอ สมมติให
       นักเรียนคนนี้ทําขอสอบครบทุกขอ ถาผลลัพธที่สนใจคือคําตอบของนักเรียนคนนี้
   2.2 สุมหยิบไพ 2 ใบจากสํารับซึ่งมีไพ 52 ใบ ถาผลลัพธที่สนใจคือหนาไพทั้งสองใบที่หยิบได
   2.3 เลือกอาหารคาว 2 อยางและขนมหวาน 1 อยาง จากรานอาหารซึ่งขายอาหารคาว 10 อยางและขนม
       หวาน 3 อยาง ถาผลลัพธที่สนใจคืออาหารคาวและขนมหวานทีได     ่
   2.4 เลือกคณะกรรมการ 3 คนจากผูสมัครทั้งหมด 10 คน ถาผลลัพธที่สนใจคือผูที่ไดรับคัดเลือกเปน
       กรรมการ




                                                     10
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




            2. เหตุการณและความนาจะเปน




                                     11
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                          2. เหตุการณและความนาจะเปน

         ในหัวขอนี้ ผูเรียนจะไดศกษาเรื่อง “เหตุการณและความนาจะเปน” โดยในสื่อการสอน จะเริ่มดวยการ
                                   ึ
ใหความหมายของคําวา “เหตุการณ” และ “เหตุการณไมเกิดรวมกัน” พรอมยกตัวอยาง จากนั้นจึงใหความหมาย
พรอมทั้งสมบัติของ “ความนาจะเปนของเหตุการณ”




          เมื่อผูเรียนไดชมสื่อการสอนขางตนแลว ผูสอนอาจเนนย้าวาการหาเหตุการณตองขึ้นอยูกบปริภูมิตวอยาง
                                                               ํ                              ั        ั
ที่เรากําลังสนใจ ดังตัวอยางขางตน ถาผลลัพธที่ไดจากการทดลองสุมตางกัน เหตุการณที่ไดกอาจตางกันดวย
                                                                                            ็
จากนั้นผูสอนยกตัวอยางตอไปนี้เพิ่มเติม

ตัวอยาง ทําการทดลองโยนเหรียญ 3 เหรียญพรอมกัน จะไดวา

                                                สนใจหนาของเหรียญทั้งสามที่ขึ้น                         สนใจจํานวนหัว
                                                                                                            ที่ขึ้น
 1. ปริภูมิตัวอยาง              S1 = {HHH , HHT , HTH , HTT , THH , THT , TTH , TTT } S = {0,1, 2,3}
                                                                                        2




 2. เหตุการณที่เหรียญขึ้น        A1 = {HTT , THT , TTH }                                               A2 = {1}
    หัว 1 เหรียญ
 3. เหตุการณที่เหรียญขึ้น       B1 = {HHT , HTH , HTT , THH , THT , TTH , TTT }                        B2 = {0,1, 2}
    กอยอยางนอย 1 เหรียญ
 4. เหตุการณที่เหรียญขึ้น       C1 = ∅                                                                 C2 = ∅
    หัวมากกวา 3 เหรียญ
                                                           12
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่อง “เหตุการณ” ไดดย่งขึ้น ผูสอนควรใหผูเรียนทําตัวอยางตอไปนี้
                                                    ีิ

ตัวอยาง โยนลูกเตา 2 ลูกพรอมกัน ถาผลลัพธที่สนใจคือแตมของลูกเตาทั้งสองที่ข้น จงหา   ึ
         1. A ซึ่งแทนเหตุการณที่ลูกเตาขึ้นแตม 1 อยางนอย 1 ลูก
         2. B ซึ่งแทนเหตุการณที่ลูกเตาทั้ง 2 ลูกขึ้นแตมเทากัน
         3. C ซึ่งแทนเหตุการณที่ผลรวมของแตมหารดวย 6 ลงตัว
         4. เหตุการณที่ลูกเตาทั้ง 2 ลูกขึ้นแตมเทากันและผลรวมของแตมหารดวย 6 ลงตัว
         5. เหตุการณที่ลูกเตาขึ้นแตม 1 อยางนอย 1 ลูกและผลรวมของแตมหารดวย 6 ไมลงตัว
ตอบ 1. A = {(1,1), (1, 2), (1,3), (1, 4), (1,5), (1, 6), (2,1), (3,1), (4,1), (5,1), (6,1)}
         2. B = {(1,1), (2, 2), (3,3), (4, 4), (5,5), (6, 6) }
         3. C = {(1,5), (2, 4), (3,3), (4, 2), (5,1), (6, 6)}
         4. B ∩ C = {(3,3), (6, 6)}
         5. A ∩ C ′ = {(1,1), (1, 2), (1,3), (1, 4), (1, 6), (2,1), (3,1), (4,1), (6,1)}




                                                         13
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                  สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




ตัวอยาง ทดลองโยนลูกเตา 1 ลูก ถาผลลัพธที่สนใจคือแตมของลูกเตาที่ข้นึ
          ให A แทนเหตุการณที่ลูกเตาขึ้นแตมเปนจํานวนคี่ และ
               B แทนเหตุการณที่ลูกเตาขึ้นแตมเปนจํานวนคู
ดังนั้น ปริภูมตวอยาง S = {1, 2,3, 4,5, 6} , A = {1,3,5} และ B = {2, 4, 6}
              ิั
จะไดวา A ∩ B = ∅ ดังนัน เหตุการณ A และเหตุการณ B เปนเหตุการณไมเกิดรวมกัน
                          ้

ตัวอยาง ทดลองโยนเหรียญ 2 เหรียญ ถาผลลัพธที่สนใจคือหนาของเหรียญทั้งสองเหรียญที่ขึ้น
          ให A แทนเหตุการณที่เหรียญขึ้นหัว 1 เหรียญ และ
                B แทนเหตุการณที่เหรียญขึ้นกอยอยางนอย 1 เหรียญ
ดังนั้น ปริภูมตัวอยาง S = {HH , HT , TH , TT } , A = {HT , TH } และ B = {HT , TH , TT }
              ิ
จะไดวา A ∩ B = {HT , TH } ≠ ∅ ดังนัน เหตุการณ A และเหตุการณ B ไมเปนเหตุการณไมเกิดรวมกัน
                                       ้




                                                       14
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




        เมื่อผูเรียนไดชมสื่อการสอนขางตนจบแลว ผูสอนควรเนนใหผูเรียนเห็นความสําคัญในการเลือกปริภูมิ
ตัวอยางทีจะนํามาชวยในการหาความนาจะเปนของเหตุการณ จากที่ผูเรียนไดทราบแลววา สําหรับการทดลอง
          ่
สุมใด ๆ ปริภูมิตัวอยาง S อาจมีไดมากกวาหนึ่งแบบขึนอยูกับผลลัพธที่เปนไปไดทั้งหมดของการทดลองที่เรา
                                                      ้
สนใจ
        ดังนั้นในการหาความนาจะเปนของเหตุการณ E ใด ๆ โดย

                                                               n( E )
                                                    P( E ) =
                                                               n( S )


สิ่งสําคัญ คือ ปริภูมิตัวอยาง S นั้นตองมีสมบัติที่วา สมาชิกทุกตัวในปริภมิตัวอยางตองมีโอกาสเกิดขึ้นไดเทา ๆ
                                                                          ู
กัน



                                                          15
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                        สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


            เพื่อใหผูเรียนหา “ความนาจะเปนของเหตุการณ” ไดคลองยิ่งขึ้น ผูสอนควรใหผูเรียนทําตัวอยางตอไปนี้
เพิ่มเติม

ตัวอยาง ทอดลูกเตา 2 ลูกพรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่
             1. ผลรวมของแตมมีคามากกวา 7
             2. ผลรวมของแตมมีคานอยกวา 7 และหารดวย 3 ลงตัว
วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตัวอยาง
            A แทนเหตุการณที่ผลรวมของแตมมีคามากกวา 7 และ
            B แทนเหตุการณที่ผลรวมของแตมมีคานอยกวา 7 และหารดวย 3 ลงตัว


                       แตม
              แตม ลูกที่ 1          1         2            3           4            5            6
              ลูกที่ 2
                    1               2          3           4            5           6             7

                    2               3          4           5            6           7             8

                    3               4          5           6           7            8             9

                    4               5          6           7           8            9            10

                    5               6          7           8           9          10             11

                    6               7          8           9          10          11             12


            1. ความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมมีคามากกวา 7 = P( A) = n( A) = 15 =                   5
                                                                                  n( S )    36    12
            2. ความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมมีคานอยกวา 7 และหารดวย 3 ลงตัว
                              n( B ) 7
                = P( B) =           =
                              n( S ) 36




                                                               16
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง กลองใบหนึ่งมีสลากอยู 100 ใบ หมายเลข 00 ถึง 99 สุมหยิบสลาก 1 ใบจากกลองใบนี้ จงหาความ
นาจะเปนที่ไดสลากที่มีหมายเลขประกอบดวยเลขโดดที่เรียงถัดกัน
วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตัวอยาง และ
           E แทนเหตุการณทไดสลากที่มีหมายเลขประกอบดวยเลขโดดที่เรียงถัดกัน
                             ่ี
ดังนั้น
                        S = {00, 01, 02,… ,99}
และ
                        E = {01,12, 23,34, 45,56, 67, 78,89,10, 21,32, 43,54, 65, 76,87,98}
ทําใหไดวา
          
ความนาจะเปนที่ไดสลากทีมีหมายเลขประกอบดวยเลขโดดที่เรียงถัดกัน = P( E ) = n( E ) =
                         ่                                                                            18
                                                                                                         =
                                                                                                           9
                                                                                          n( S )     100 50


                                                                                         n( E )
หมายเหตุ ในการหาความนาจะเปนของเหตุการณ                A   ใด ๆ โดย         P( E ) =             เราไมจําเปนตองเขียน
                                                                                         n( S )
เหตุการณ E แบบแจกแจงสมาชิก เพราะสิ่งที่เราตองการทราบคือจํานวนสมาชิกของ E เทานั้น ซึ่งเราสามารถ
ใชความรูเรื่องการนับที่ไดศกษาไปกอนหนานี้มาชวยได
                             ึ
       สําหรับตัวอยางขางตน เราสามารถใชความรูเรื่องการนับชวยในการหาสมาชิกของเหตุการณ E ดังนี้
                                      หลักสิบ หลักหนวย

                                0, 1, 2, 3,                       1 วิธี
                               4, 5, 6, 7, 8           (คาเพิ่มจากตัวหนาอีก 1)


        ดังนั้น จํานวนสมาชิกของเหตุการณ E เทากับ 9 ×1× 2! = 18 ตัว

                                                         สลับตําแหนง
                                                          หลักหนวย
                                                         และหลักสิบ




                                                        17
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง กลองใบหนึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก และสีดํา 4 ลูก สุม หยิบลูกแกว 2 ลูกจากกลองใบ
นี้ จงหาความนาจะเปนที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก เมื่อ
         1. หยิบทีละลูกและใสกลับคืนกอนหยิบลูกถัดไป
         2. หยิบทีละลูกและไมใสกลับคืนกอนหยิบลูกถัดไป
         3. หยิบสองลูกพรอมกัน
วิธีทํา 1. ให S1 แทนปริภูมิตวอยาง และ E1 แทนเหตุการณที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก
                              ั
            ดังนั้น
                                                        n( E1 ) 3 × 3 1
                                           P ( E1 ) =          =     =
                                                        n( S1 ) 9 × 9 9
       2. ให S2 แทนปริภูมิตวอยาง และ E2 แทนเหตุการณที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก
                            ั
          ดังนั้น
                                                        n( E2 ) 3 × 2 1
                                          P ( E2 ) =            =     =
                                                        n( S 2 ) 9 × 8 12
        3. ให S3 แทนปริภูมิตัวอยาง และ      E3   แทนเหตุการณที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก
            ดังนั้น
                                                            3 6
                                                             
                                                 n( E3 )  2   0  3    1
                                      P ( E3 ) =         =          =   =
                                                 n( S3 )     9      36 12
                                                              
                                                              2


ขอสังเกต จากตัวอยางขางตน ความนาจะเปนที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูกทั้งแบบที่หยิบทีละลูกและไมใส
กลับคืน กับแบบที่หยิบสองลูกพรอมกัน มีคาเทากัน เพราะวา
                                                             3
                                                          2! 
                                              3 × 2 P3,2      2
                                   P ( E2 ) =      =     =   = P( E3 )
                                              9 × 8 P9,2    9
                                                          2! 
                                                             2
จากขอสังเกตนี้ และความสัมพันธที่วา
                                                               n
                                                    Pn ,r = r ! 
                                                               r
เมื่อ 0 ≤ r ≤ n สามารถนําไปสูขอสรุปในกรณีทวไปไดวา ความนาจะเปนของเหตุการณที่เราสนใจจากการ
                                                 ั่
ทดลองสุมหยิบสิ่งของ r สิ่งจากสิ่งของที่แตกตางกันทั้งหมด n สิ่ง ทั้งแบบหยิบพรอมกันและแบบหยิบทีละลูก
และไมใสกลับคืน จะมีคาเทากัน



                                                           18
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง สลากชุดหนึ่งมี 10 ใบ มีหมายเลขกํากับไวโดยไมซ้ํากันเริ่มจาก 1 ถึง 10 สุมหยิบสลาก 3 ใบ จงหาความ
นาจะเปนที่ผลรวมของแตมเปน 10 และไมมีสลากใบใดมีหมายเลขสูงกวา 5
วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตวอยาง และ
                             ั
                E แทนเหตุการณท่ผลรวมของแตมเปน 10 และไมมีสลากใบใดมีหมายเลขสูงกวา 5
                                 ี
         ดังนั้น
                                        E = {{1, 4,5},{2,3,5}}
        ทําใหไดวา
                                                     n( E )    2    2   1
                                          P( E ) =          =     =   =
                                                     n( S ) 10  120 60
                                                               
                                                              3


ขอตกลง สัญลักษณ {a1 , a2 ,… , ar } หมายถึง หยิบไดสิ่งของ a1, a2 ,… , ar โดยไมคานึงถึงลําดับกอนหลังที่ได
                                                                                  ํ

ตัวอยาง กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 5 ใบ โดยมีหมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5 กํากับไว สุมหยิบสลาก 3 ใบจากกลอง
ใบนี้พรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมนอยกวา 9
วิธีทา ให S แทนปริภูมิตวอยาง และ
     ํ                      ั
                E แทนเหตุการณท่ผลรวมของแตมนอยกวา 9
                                ี
         ดังนั้น
                                  E = {{1, 2,3},{1, 2, 4},{1, 2,5},{1,3, 4}}
        ทําใหไดวา
                                          n( E )     4   4 2
                               P( E ) =          =      = =
                                          n( S )  5  10 5
                                                    
                                                    3


ตัวอยาง โยนเหรียญ 1 เหรียญ และทอดลูกเตา 1 ลูก จงหาความนาจะเปนที่เหรียญขึนหัวและลูกเตาขึ้นแตม
                                                                            ้
มากกวา 4
วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตวอยาง และ
                            ั
                E แทนเหตุการณท่เหรียญขึ้นหัวและลูกเตาขึ้นแตมมากกวา 4
                                ี
         ดังนั้น
                                                n( S ) = 2 × 6 = 12

                                                     H, T        1,2,…,6

                                                            19
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


        และ
                                                       n( E ) = 1× 2 = 2

                                                        H             5, 6
        ทําใหไดวา
                                                               n( E ) 2 1
                                                    P( E ) =         = =
                                                               n( S ) 12 6


ตัวอยาง นําสินคาที่ผลิตโดยเครื่องจักร A และเครื่องจักร B มาตรวจสภาพ ไดผลดังตาราง

                                                                    จํานวนสินคา(ชิ้น)
                                  เครื่องจักร
                                                               A                         B
                     สภาพสินคา
                              ดี                               37                        55
                            ชํารุด                              3                         5

       1.      สุมหยิบสินคามา 1 ชิ้น จงหาความนาจะเปนที่จะหยิบไดสินคาชํารุด
       2.      สุมหยิบสินคาที่ผลิตโดยเครื่องจักร A มา 1 ชิ้น จงหาความนาจะเปนที่จะหยิบไดสนคาชํารุด
                                                                                             ิ
วิธทํา 1.
   ี
                                 เครื่องจักร A           เครื่องจักร B


                                             ชํารุด
                                37              3       5
                                                                 55

            เนื่องจากสินคามีทั้งหมด 100 ชิ้น เปนสินคาชํารุด 8 ชิ้น ดังนั้น
                                                                              8   2
                           ความนาจะเปนที่จะหยิบไดสินคาชํารุด =              =
                                                                             100 25




                                                               20
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
               สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


2.                      เครื่องจักร A


                                     ชํารุด
                                        3        5




     เนื่องจากสินคาทีผลิตโดยเครื่องจักร A มีทั้งหมด 40 ชิ้น เปนสินคาชํารุด 3 ชิ้น ดังนัน
                      ่                                                                   ้
                                                                                          3
     ความนาจะเปนทีจะหยิบไดสินคาชํารุดเมื่อสุมหยิบสินคาจากเครื่องจักร A =
                    ่
                                                                                         40




                                                     21
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
               สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                      แบบฝกหัดเพิ่มเติม
                             เรื่อง เหตุการณและความนาจะเปน

1. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีขาว 2 ลูกและสีแดง 1 ลูก สุมหยิบลูกบอล 2 ลูกจากกลองใบนี้พรอมกัน
   จงหา
   1.1 ปริภูมิตวอยาง เมื่อผลลัพธที่สนใจคือสีของลูกบอลที่หยิบได และเหตุการณที่หยิบไดลูกบอล
                ั
        สีแดง 1 ลูก
   1.2 ปริภูมิตวอยาง เมื่อผลลัพธที่สนใจคือลูกบอลที่หยิบได และเหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีขาว 2 ลูก
                  ั
   1.3 ปริภูมิตัวอยาง เมื่อผลลัพธที่สนใจคือจํานวนลูกบอลสีแดงที่ได และเหตุการณที่หยิบไดลูกบอล
        สีขาว 1 ลูก
2. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูกและสีน้ําเงิน 1 ลูก สุมหยิบลูกบอล 2 ลูกจากกลอง
   ใบนี้พรอมกัน ถาผลลัพธที่สนใจคือลูกบอลที่หยิบได จงหา
   2.1 ปริภูมิตัวอยาง
   2.2 A ซึ่งแทนเหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีเดียวกัน
   2.3 B ซึ่งแทนเหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีแดงอยางนอย 1 ลูก
   2.4 เหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีแดง 3 ลูก
   2.5 A′
   2.6 A ∪ B
   2.7 A ∩ B
3. นักเรียนคนหนึ่งมีหนังสือ 5 เลมที่แตกตางกันทั้งหมด โดยเปนหนังสือวิชาคณิตศาสตร 2 เลม วิชา
   ชีววิทยา 2 เลม และวิชาฟสิกส 1 เลม ถานักเรียนคนนี้สุมหยิบหนังสือ 3 เลม จงหาความนาจะเปนที่
    หยิบได
   3.1 วิชาคณิตศาสตรอยางนอย 1 เลม
   3.2 วิชาคณิตศาสตรและวิชาชีววิทยาอยางละ 2 เลม
   3.3 ไดครบทุกวิชา
4. ทอดลูกเตา 1 ลูกจํานวน 3 ครั้ง จงหาความนาจะเปนที่
   4.1 ลูกเตาขึ้นแตมมากกวา 4 ทุกลูก
   4.2 ลูกเตาขึ้นแตมเทากันทุกลูก
   4.3 ผลรวมของแตมที่ขึ้นของลูกเตาทั้ง 3 ลูกมีคาไมเกิน 16




                                                    22
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
               สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


5. โยนเหรียญ 1 เหรียญและทอดลูกเตา 1 ลูกพรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่
   5.1 เหรียญขึ้นกอยและลูกเตาขึ้นแตมเปนจํานวนคี่
   5.2 เหรียญขึ้นหัวหรือลูกเตาขึ้นแตมมากกวา 4
   5.3 ลูกเตาขึ้นแตมไมเกิน 3
6. กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 10 ใบ มีหมายเลข 1 – 10 กํากับไว สุมหยิบสลาก 1 ใบจากกลองใบนี้ จากนั้น
   ทอดลูกเตา 1 ลูก จงหาความนาจะเปนที่
   6.1 หมายเลขสลากที่หยิบไดและแตมของลูกเตาที่ขึ้นมีคาเทากัน
   6.2 หมายเลขสลากที่หยิบไดเปนจํานวนคูแตแตมของลูกเตาที่ข้นเปนจํานวนคี่
                                                               ึ
   6.3 หมายเลขสลากที่หยิบไดหารดวย 3 ลงตัว
   6.4 หมายเลขสลากที่หยิบไดหารดวย 3 หรือ 5 ลงตัว
   6.5 ผลรวมของหมายเลขสลากที่หยิบไดกับแตมของลูกเตาที่ขึ้นมีคาไมเกิน 5
                                                                  
7. นักเรียนหองหนึ่งมีทั้งหมด 40 คน ปรากฏขอมูลดังตาราง

                                                         จํานวนนักเรียน(คน)
                         ดานที่ถนัด
                                                 ถนัดขวา                     ถนัดซาย
            เพศ
                      ชาย                           16                           5
                      หญิง                          15                           4

   7.1 สุมนักเรียนหองนี้มา 1 คน จงหาความนาจะเปนทีนักเรียนที่สมไดจะถนัดซาย
                                                     ่            ุ
   7.2 สุมนักเรียนชายหองนี้มา 1 คน จงหาความนาจะเปนที่นกเรียนที่สมไดจะถนัดขวา
                                                           ั         ุ




                                                    23
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




             สรุปสาระสําคัญประจําตอน




                                     24
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                   สรุปสาระสําคัญประจําตอน




                                     25
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                  สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                               เอกสารอางอิง

1.   สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร
     เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
     พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ.

2.   สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร
     เลม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
     พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ.




                                                       26
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                    ภาคผนวกที่ 1
               แบบฝกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม




                                     27
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                                      แบบฝกหัดระคน

1. ในการขนสงโทรทัศนจํานวน 50 เครื่อง จากโรงงานไปยังรานคาแหงหนึ่ง ทําใหโทรทัศนชํารุด 3 เครื่อง
    เจาของรานคาสุมโทรทัศน 10 เครื่องเพื่อตรวจสอบคุณภาพ ปริภมิตัวอยางคือขอใดตอไปนี้ เมื่อผลลัพธที่
                                                                ู
    สนใจคือจํานวนโทรทัศนที่ชํารุด
         1.       {0,1, 2,3}                             2.       {3, 4,… ,10}
         3.       {1, 2,… ,10}                           4.       {1, 2,… ,50}


2. สําหรับการทดลองสุมใด ๆ ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
        1.     มีเหตุการณ A ที่ P( A) = 0
        2.     มีเหตุการณ A ที่ P( A) = 1
        3.     มีเหตุการณ A ที่ P( A) = 0.5
        4.     มีเหตุการณ A ที่ P( A) > 0.3

3. กลองใบหนึ่งมีสลาก n ใบ (n ≥ 3) ซึ่งมีหมายเลขกํากับไวโดยไมซ้ํากันเริ่มจาก 1 ถึง n ถาสุมหยิบสลาก
   จากกลองใบนี้ 2 ใบ แลวความนาจะเปนที่ไดใบหนึงเปนสลากหมายเลข 3 และอีกใบหนึ่งเปนสลาก
                                                     ่
   หมายเลขต่ํากวา 3 เทากับขอใดตอไปนี้
                 2                                                             1
        1.                                                       2.
                 n2                                                         n(n − 1)
                    2                                                          4
        3.                                                       4.
                 n(n − 1)                                                   n(n − 1)


4. กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 9 ใบ มีหมายเลข 1 – 9 กํากับไว ถาสุมหยิบสลาก 2 ใบจากกลองใบนี้ โดยหยิบทีละ
   1 ใบและไมใสกลับคืนกอนหยิบใบถัดไป ความนาจะเปนที่ผลรวมของหมายเลขบนสลากทั้งสองใบนั้นหาร
   ดวย 5 ลงตัวเทากับขอใดตอไปนี้
                  1                                                         1
        1.                                                       2.
                 12                                                         6
                 1                                                          2
        3.                                                       4.
                 9                                                          9




                                                           28
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


5. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอล 8 ลูก(แตกตางกันทั้งหมด) โดยเปนลูกบอลสีขาว 2 ลูก สีแดง 3 ลูก และสีดํา
   3 ลูก สุมหยิบลูกบอล 2 ลูกจากกลองใบนี้พรอมกัน ความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกบอลสีเดียวกันตรงกับ
   ขอใดตอไปนี้
                 3                                                         5
        1.                                                      2.
                28                                                         28
                 3                                                         1
        3.                                                      4.
                14                                                         4


6. ทอดลูกเตา 2 ลูกพรอมกัน ความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมของลูกเตาที่ขึ้นจะหารดวย 5 ไมลงตัวตรงกับ
   ขอใดตอไปนี้
                 2                                                         7
        1.                                                      2.
                11                                                        36
                29                                                        9
        3.                                                      4.
                36                                                        11


7. ไพสารับหนึ่งซึ่งมีทั้งหมด 52 ใบ ประกอบดวยไพหนาโพดํา โพแดง ขาวหลามตัดและดอกจิก อยางละ 13 ใบ
        ํ
    สุมหยิบไพ 3 ใบจากสํารับนี้พรอมกัน ความนาจะเปนที่ไพทั้งสามที่หยิบไดมีแตมมากกวา 2 แตนอยกวา 8
   เปนเทาใด
                 5                                                        7
                                                                           
        1.        3                                           2.           3
                 52                                                       52 
                                                                          
                3                                                        3
                 20                                                       28 
                                                                          
        3.      3                                             4.         3
                 52                                                       52 
                                                                          
                3                                                        3


8. กลองใบหนึ่งบรรจุปากกา 10 ดามที่แตกตางกัน โดยเปนปากกาสีแดง 3 ดาม สีนาเงิน 3 ดามและสีดํา 4 ดาม
                                                                           ้ํ
   สุมหยิบปากกา 3 ดามจากกลองใบนี้ ความนาจะเปนที่หยิบไดปากกาครบทุกสีเปนเทาใด
                 2                                                         3
        1.                                                      2.
                10                                                        10
                1                                                         7
        3.                                                      4.
                3                                                         9




                                                          29
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


9. หนังสือสารานุกรมชุดหนึ่งมีทั้งหมด 8 เลม มีหมายเลข 1 – 8 กํากับ สุมหยิบหนังสือทีละ 1 เลมเรียงบนชั้น
   หนังสือจนครบ 8 เลม ความนาจะเปนที่หนังสือหมายเลขตอเนื่องกันจะอยูติดกันเปนเทาใด
                  1                                                         2
        1.                                                        2.
                  8!                                                        8!
                   1                                                         2
        3.                                                        4.
                  72                                                        72
10. ตารางแสดงความสัมพันธของสุขภาพผูสูบบุหรี่ทั้งหมด 300 คน เปนดังนี้

                                                                 จํานวนผูสูบบุหรี่(คน)
                จํานวนบุหรี่ที่สูบตอวัน
                                  (มวน)          0-4                      5-20                  มากกวา 20
             สุขภาพ
             เปนมะเร็ง                           8                         7                        25
             ไมเปนมะเร็ง                       150                       70                        40

  สําหรับผูสูบบุหรี่มากกวา 20 มวนใน 1 วัน มีความนาจะเปนที่จะไมเปนมะเร็งเทากับขอใดตอไปนี้
                   8                                                         2
        1.                                                        2.
                  13                                                        13
                   2                                                        13
        3.                                                        4.
                  15                                                        15




                                                            30
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                         ภาคผนวกที่ 2
                        เฉลยแบบฝกหัด




                                     31
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                            เฉลยแบบฝกหัด
                            เรื่อง การทดลองสุมและปริภูมิตัวอยาง
1. 1.1 ปริภูมิตัวอยาง S = {H 1, H 2, H 3, H 4, H 5, H 6, T1, T 2, T 3, T 4, T 5, T 6 }
   1.2 ปริภูมตัวอยาง S = { NN , ND, DN } เมื่อ N แทน หลอดไฟดี และ D แทน หลอดไฟเสีย
              ิ
   1.3 ปริภูมตัวอยาง S = {0, 2, 4, 6,8,10}
                    ิ
   1.4 ปริภูมตัวอยาง S = {YYY , YYN , YNY , YNN , NYY , NYN , NNY , NNN }
                  ิ
       เมื่อ Y แทน ใชยาสีฟนยีหอนี้ และ N แทน ไมใชยาสีฟนยี่หอนี้
                               ่                                
   1.5 ปริภูมิตัวอยาง S = {t ∈ | t ≥ 0 } = [0, ∞)
   1.6 ปริภูมตัวอยาง S = {2,3, 4,5,…}
                ิ
2. 2.1 225              2.2 16           2.3 135           2.4 120


                                            เฉลยแบบฝกหัด
                              เรื่อง เหตุการณและความนาจะเปน

1. 1.1 ปริภูมิตัวอยาง S = {{สีแดง, สีขาว}, {สีขาว, สีขาว}}
          เหตุการณ     E={{สีแดง, สีขาว}}
    1.2 ปริภูมิตวอยาง S = {{สีแดง, สีขาว1}, {สีแดง, สีขาว2}, {สีขาว1, สีขาว2}}
                ั
        เหตุการณ E = {{สีขาว1, สีขาว2}}
    1.3 ปริภมิตัวอยาง S = {0,1}
             ู
         เหตุการณ E = {1}
2. ให Ri แทน ลูกบอลสีแดงลูกที่ i เมื่อ i = 1, 2,3
       Wi แทน ลูกบอลสีขาวลูกที่ i เมื่อ i = 1, 2
       B แทน ลูกบอลสีน้ําเงิน
   2.1 ปริภูมิตัวอยาง S = {{R1, R2 },{R1, R3},{R2 , R3},{R1,W1},{R1,W2 },
                               {R2 , W1},{R2 ,W2 },{R3 ,W1},{R3 , W2 },{R1 , B},
                                {R2 , B}, {R3 , B}, {W1 , W2 }, {W1 , B}, {W2 , B}}
    2.2   A = {{R1 , R2 },{R1 , R3},{R2 , R3},{W1 , W2 }}



                                                 32
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
               สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


    2.3   B = {{R1 , R2 },{R1 , R3},{R2 , R3},{R1 , W1},{R1 , W2 }, {R2 , W1},{R2 ,W2 },{R3 , W1},
                  {R3 ,W2 },{R1 , B}, {R2 , B}, {R3 , B}}
    2.4 เหตุการณ E = ∅
    2.5 A′ = {{R1,W1},{R1,W2 }, {R2 ,W1},{R2 ,W2 },{R3 ,W1},{R3 ,W2 },{R1, B},
               {R2 , B}, {R3 , B}, {W1 , B}, {W2 , B}}
    2.6 A ∪ B = {{R1 , R2 },{R1, R3},{R2 , R3},{R1 ,W1},{R1,W2 }, {R2 ,W1},{R2 ,W2 },{R3 ,W1},
                  {R3 ,W2 },{R1 , B}, {R2 , B}, {R3 , B},{W1 , W2 }}
    2.7 A ∩ B = {{R1, R2 },{R1, R3},{R2 , R3}}
           9                                               2
3. 3.1                        3.2     0              3.3
          10                                               5
           1                           1                   53
4. 4.1                        4.2                   4.3
          27                          36                   54
          1                           2                    1
5. 5.1                        5.2                   5.3
          4                           3                    2
           1                          1                     3
6. 6.1                        6.2                   6.3
          10                          4                    10
           1                         1
   6.4                        6.5
           2                         6
           9                         16
7. 7.1                        7.2
          40                         21


                                           เฉลยแบบฝกหัดระคน
 1. 1                      2. 4                    3. 4                       4. 4
 5. 4                      6. 3                    7. 3                       8. 2
9. 2                      10. 1




                                                    33
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร
                  จํานวน 92 ตอน




                                     34
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                             รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน
                 เรื่อง                                                              ตอน
เซต                                      บทนํา เรื่อง เซต
                                         ความหมายของเซต
                                         เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต
                                         เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร
การใหเหตุผลและตรรกศาสตร                บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
                                         การใหเหตุผล
                                         ประพจนและการสมมูล
                                         สัจนิรันดรและการอางเหตุผล
                                         ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง
จํานวนจริง                               บทนํา เรื่อง จํานวนจริง
                                         สมบัติของจํานวนจริง
                                         การแยกตัวประกอบ
                                         ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                         สมการพหุนาม
                                         อสมการ
                                         เทคนิคการแกอสมการ
                                         คาสัมบูรณ
                                         การแกอสมการคาสัมบูรณ
                                         กราฟคาสัมบูรณ
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ
ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน                     บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
                                         การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ
                                         ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย
ความสัมพันธและฟงกชัน                  บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชน  ั
                                         ความสัมพันธ




                                                                   35
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                  เรื่อง                                                                 ตอน
ความสัมพันธและฟงกชัน                       โดเมนและเรนจ
                                              อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน
                                              ฟงกชันเบื้องตน
                                              พีชคณิตของฟงกชน   ั
                                              อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส
                                              ฟงกชันประกอบ
ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม         บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชนลอการิทม
                                                                                     ั       ึ
                                              เลขยกกําลัง
                                              ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
                                              ลอการิทึม
                                              อสมการเลขชี้กําลัง
                                              อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                    บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                              อัตราสวนตรีโกณมิติ
                                              เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 1
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 2
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 3
                                              กฎของไซนและโคไซน
                                              กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน
กําหนดการเชิงเสน                             บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน
                                              การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร
                                              การหาคาสุดขีด
ลําดับและอนุกรม                               บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม
                                              ลําดับ
                                              การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                              ลิมิตของลําดับ
                                              ผลบวกยอย
                                              อนุกรม
                                              ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม




                                                                  36
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็นKrukomnuan
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายInmylove Nupad
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมsomdetpittayakom school
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 

La actualidad más candente (20)

67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 

Similar a 70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม

ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยPiyarerk Bunkoson
 
ท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณaapiaa
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 

Similar a 70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม (20)

61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล184 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
 
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
 
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
 
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 
ท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 

Más de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Más de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม

  • 1. คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและความนาจะเปน (เนือหาตอนที่ 5) ้ การทดลองสุม โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกาญจน ใจดี สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 16 ตอน ซึ่งประกอบดวย 1. บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน 2. เนื้อหาตอนที่ 1 การนับเบื้องตน - กฎเกณฑเบื้องตนเกียวกับการนับ ่ - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด) 3. เนื้อหาตอนที่ 2 การเรียงสับเปลี่ยน - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน (สิ่งของไมแตกตางกันทั้งหมด) - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม 4. เนื้อหาตอนที่ 3 การจัดหมู - วิธีจัดหมู 5. เนื้อหาตอนที่ 4 ทฤษฎีบททวินาม - ทฤษฎีบททวินาม - ทฤษฎีบทอเนกนาม 6. เนื้อหาตอนที่ 5 การทดลองสุม - การทดลองสุม - ปริภูมิตัวอยาง - เหตุการณและความนาจะเปน 7. เนื้อหาตอนที่ 6 ความนาจะเปน 1 - สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน - การหาความนาจะเปนแบบงาย 8. เนื้อหาตอนที่ 7 ความนาจะเปน 2 - การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ - การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร 9. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 1) 10. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 2) 11. แบบฝกหัด (ขันสูง) ้ 12. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง หลักการบวกและหลักการคูณสําหรับการนับ 13. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยน 1
  • 3. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 14. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ทฤษฎีบททวินาม 15. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความนาจะเปน 16. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การใสบอลลงกลอง คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับ ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและ ความนาจะเปน นอกจากนี้หากทานสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่นๆที่คณะผูจัดทําได ดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมด ในตอนทายของคูมือฉบับนี้ 2
  • 4. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง การนับและความนาจะเปน (การทดลองสุม) หมวด เนื้อหา ตอนที่ 5 (5/7) หัวขอยอย 1. การทดลองสุมและปริภูมตัวอยาง ิ 2. เหตุการณและความนาจะเปน จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหผูเรียน 1. เขาใจความหมายของการทดลองสุม 2. เขาใจความหมายและสามารถหาปริภูมิตัวอยางของการทดลองสุมได 3. เขาใจความหมายของเหตุการณและหาความนาจะเปนของเหตุการณได ผลการเรียนรูที่คาดหวัง  ผูเรียนสามารถ 1. อธิบายความหมายของการทดลองสุม ปริภูมิตัวอยางและเหตุการณได 2. หาปริภูมิตวอยางของการทดลองสุมได ั 3. หาจํานวนสมาชิกของปริภมตัวอยางและเหตุการณ โดยใชกฎการนับได ู ิ 4. อธิบายความหมายและวิธีการหาความนาจะเปนของเหตุการณได 3
  • 5. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนื้อหาในสื่อการสอน เนื้อหาทั้งหมด 4
  • 6. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. การทดลองสุมและปริภมิตัวอยาง ู 5
  • 7. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. การทดลองสุมและปริภูมิตัวอยาง ในหัวขอนี้ เราจะศึกษาเรื่อง “การทดลองสุม” และ “ปริภูมิตัวอยาง” เพื่อนําไปสูเรื่อง “เหตุการณและ ความนาจะเปน” ซึ่งจะไดศึกษาในหัวขอถัดไป โดยในสื่อการสอนเริ่มดวยการยกตัวอยางการทดลอง จากนั้นจึง ใหความหมายของการทดลองสุม เมื่อผูเรียนดูสอการสอนขางตนจบแลว ผูสอนอาจอธิบายผูเรียนเพิ่มเติมวา ผลลัพธที่เปนไปไดของการ ื่  ทดลองสุมอาจมีไดหลายแบบ ขึ้นอยูกับวาการทดลองนัน ๆ ผลลัพธที่สนใจคืออะไร ยกตัวอยางเชน ทดลองทอด ้ ลูกเตา 1 ลูก ถาเราสนใจแตมของลูกเตาที่ขึ้น ผลลัพธที่เปนไปได คือ ลูกเตาขึ้นแตม 1, 2, 3, 4, 5 หรือ 6 แตถา เราสนใจวาลูกเตาขึ้นแตมเปนจํานวนคูหรือจํานวนคี่ ผลลัพธที่เปนไปได คือ จํานวนคู หรือ จํานวนคี่ เพื่อใหผูเรียนเขาใจคําวา “การทดลองสุม” ไดดยิ่งขึ้น ผูสอนอาจยกตัวอยางการทดลองสุมตอไปนี้ ี เพิ่มเติม 6
  • 8. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง 1. สุมจํานวน 1 จํานวนที่มีคาอยูระหวาง 0 กับ 1 และสนใจคาของจํานวนที่หยิบได 2. สุมหยิบลูกแกว 2 ลูกพรอมกัน จากกลองซึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก และสนใจสีของ ลูกแกวที่หยิบได 3. การสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนคนหนึ่ง และสนใจผลการสอบของนักเรียนคนนี้ 4. การตรวจปริมาณแอลกอฮอลของคนขับรถยนตคนหนึ่ง และสนใจปริมาณแอลกอฮอลที่วัดได จากนั้น ผูเรียนจะไดศึกษาเรื่อง “ปริภูมิตวอยาง” ซึ่งเปนเรื่องที่ตอเนืองจากเรื่อง “การทดลองสุม” โดย ั ่ ปริภูมิตัวอยาง คือ เซตของผลลัพธที่เปนไปไดทั้งหมดของการทดลองสุม นั่นเอง จากตัวอยางขางตน ทําใหทราบวา ในการทดลองครั้งหนึ่ง ๆ ปริภูมิตัวอยางอาจมีไดหลายแบบ ขึ้นอยูกับ ผลลัพธที่เราสนใจของการทดลองนั้น ๆ เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่องปริภมิตัวอยางไดดยิ่งขึ้น ผูสอนควรใหผูเรียนฝกทําตัวอยางตอไปนี้ ู ี 7
  • 9. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง จงเขียนปริภูมิตวอยางของการทดลองโยนเหรียญ 3 เหรียญพรอมกัน เมื่อผลลัพธที่สนใจ คือ ั 1. หนาของเหรียญทั้งสามที่ขึ้น 2. จํานวนหัวที่ขน ึ้ ตอบ 1. ปริภูมิตัวอยาง S1 = {HHH , HHT , HTH , HTT , THH , THT , TTH , TTT } 2. ปริภูมตัวอยาง S2 = {0,1, 2,3} ิ หมายเหตุ ในเรื่องการนับและความนาจะเปน ถาโจทยไมไดกําหนดเพิมเติมวาสิ่งของ n สิ่งที่เราสนใจ ่ เหมือนกัน หมายความวา สิ่งของ n สิ่งนั้นแตกตางกันทั้งหมด จากตัวอยางขางตน ทําใหไดวา เหรียญ 3 เหรียญ แตกตางกันทั้งหมด ดังนั้น ผลลัพธ HHT กับ HTH จึงแตกตางกัน ตัวอยาง จงเขียนปริภูมิตวอยางของการทดลองสุมตอไปนี้ ั 1. สุมหยิบหลอดไฟ 5 หลอด จากกลองซึ่งบรรจุหลอดไฟดี 40 หลอดและหลอดไฟเสีย 4 หลอด เมื่อผลลัพธท่สนใจคือจํานวนหลอดไฟเสียที่ได ี 2. ทดลองหยิบมะมวงครั้งละ 1 ผลไปเรื่อย ๆ จนกวาจะหยิบไดมะมวงมันจากตะกราใบหนึ่งซึ่งบรรจุ มะมวงมัน 8 ผลและมะมวงเปรี้ยว 2 ผล เมื่อผลลัพธที่สนใจคือจํานวนครั้งที่ตองหยิบมะมวง 3. สุมหยิบลูกแกว 1 ลูก จากกลองซึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก ถาผลลัพธที่สนใจคือสีของ ลูกแกวที่หยิบได ตอบ 1. ปริภูมตัวอยาง ิ S1 = {0,1, 2,3, 4} 2. ปริภูมิตัวอยาง S 2 = {1, 2,3} 3. ปริภูมิตัวอยาง S3 = {สีแดง, สีขาว} 8
  • 10. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อผูเรียนชมสื่อการสอนขางตนแลว ผูสอนอาจย้ําผูเรียนอีกครั้งวา ปริภูมิตัวอยางอาจเปนไดทั้งเซต จํากัดและเซตอนันต สําหรับการทดลองสุมใด ๆ บางครั้งเราไมสนใจวาสมาชิกในปริภูมิตัวอยางเปนอะไรบาง แตเราอยาก ทราบจํานวนสมาชิกของปริภูมิตวอยางนัน ๆ ดังนั้น ผูสอนอาจยกตัวอยางตอไปนี้ เพื่อใหผูเรียนฝกหาจํานวน ั ้  สมาชิกของปริภูมิตัวอยาง เพื่อเปนพื้นฐานในการเรียนเรื่องความนาจะเปนในหัวขอถัดไป ตัวอยาง จงหาจํานวนสมาชิกของปริภูมิตวอยางของการทดลองสุมตอไปนี้ ั 1. โยนเหรียญ 1 เหรียญและทอดลูกเตา 1 ลูกพรอมกัน ถาผลลัพธที่สนใจคือหนาของเหรียญและแตม ของลูกเตาที่ขึ้น 2. จัดหนังสือ 8 เลมที่แตกตางกันทั้งหมดวางบนชั้นหนังสือ ถาผลลัพธที่สนใจคือวิธีการจัดเรียง หนังสือ 3. สุมหยิบลูกแกว 1 ลูก จากกลองซึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก ถาผลลัพธที่สนใจคือสีของ ลูกแกวที่หยิบได 4. จัดนักเรียน 6 คนนั่งรอบโตะกลม ถาผลลัพธที่สนใจคือวิธีการจัดทีนั่ง ่ ตอบ 1. 2 × 6 = 12 2. 8! = 40,320 3. 2 4. (6 − 1)! = 5! = 120 9
  • 11. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดเพิ่มเติม เรื่อง การทดลองสุมและปริภูมิตัวอยาง 1. จงเขียนปริภูมตัวอยางของการทดลองตอไปนี้ ิ 1.1 โยนเหรียญ 1 เหรียญและทอดลูกเตา 1 ลูกพรอมกัน ถาผลลัพธที่สนใจคือหนาของเหรียญและ แตมของลูกเตาที่ขึ้น 1.2 สุมหยิบหลอดไฟ 2 หลอดจากกลองใบหนึงซึ่งบรรจุหลอดไฟดี 5 หลอดและหลอดไฟเสีย 1 หลอด ่ โดยหยิบทีละครั้งและไมใสกลับคืนกอนหยิบครั้งถัดไป ถาผลลัพธที่สนใจคือสภาพของหลอดไฟ ทั้ง 2 หลอดที่หยิบได 1.3 การสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนคนหนึ่งซึ่งขอสอบชุดนี้เปนขอสอบแบบปรนัยมีทั้งหมด 5 ขอ คะแนนเต็มขอละ 2 คะแนน ถาผลลัพธที่สนใจคือคะแนนทีนกเรียนคนนี้ได ่ ั 1.4 สอบถามแมบาน 3 คนวาใชยาสีฟนยีหอ “สดชื่น” หรือไม ถาผลลัพธที่สนใจคือคําตอบของแมบาน  ่ ทั้ง 3 คน 1.5 นําแบตเตอรี่ 1 อันมาทดสอบ ถาผลลัพธที่สนใจคืออายุการใชงานของแบตเตอรี่ 1.6 ทอดลูกเตา 1 ลูกไปเรื่อย ๆ จนกวาลูกเตาจะขึ้นแตม 6 เปนครั้งที่สอง ถาผลลัพธที่สนใจคือจํานวน ครั้งที่ตองทอดลูกเตา  2. จงหาจํานวนสมาชิกของปริภมตัวอยางของการทดลองสุมตอไปนี้ ู ิ 2.1 การสอบวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนคนหนึ่ง ซึ่งขอสอบแบงเปนสองสวน สวนแรกเปนขอสอบ แบบถูก-ผิด จํานวน 5 ขอ และสวนที่สองเปนขอสอบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จํานวน 10 ขอ สมมติให นักเรียนคนนี้ทําขอสอบครบทุกขอ ถาผลลัพธที่สนใจคือคําตอบของนักเรียนคนนี้ 2.2 สุมหยิบไพ 2 ใบจากสํารับซึ่งมีไพ 52 ใบ ถาผลลัพธที่สนใจคือหนาไพทั้งสองใบที่หยิบได 2.3 เลือกอาหารคาว 2 อยางและขนมหวาน 1 อยาง จากรานอาหารซึ่งขายอาหารคาว 10 อยางและขนม หวาน 3 อยาง ถาผลลัพธที่สนใจคืออาหารคาวและขนมหวานทีได ่ 2.4 เลือกคณะกรรมการ 3 คนจากผูสมัครทั้งหมด 10 คน ถาผลลัพธที่สนใจคือผูที่ไดรับคัดเลือกเปน กรรมการ 10
  • 12. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. เหตุการณและความนาจะเปน 11
  • 13. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. เหตุการณและความนาจะเปน ในหัวขอนี้ ผูเรียนจะไดศกษาเรื่อง “เหตุการณและความนาจะเปน” โดยในสื่อการสอน จะเริ่มดวยการ ึ ใหความหมายของคําวา “เหตุการณ” และ “เหตุการณไมเกิดรวมกัน” พรอมยกตัวอยาง จากนั้นจึงใหความหมาย พรอมทั้งสมบัติของ “ความนาจะเปนของเหตุการณ” เมื่อผูเรียนไดชมสื่อการสอนขางตนแลว ผูสอนอาจเนนย้าวาการหาเหตุการณตองขึ้นอยูกบปริภูมิตวอยาง  ํ ั ั ที่เรากําลังสนใจ ดังตัวอยางขางตน ถาผลลัพธที่ไดจากการทดลองสุมตางกัน เหตุการณที่ไดกอาจตางกันดวย ็ จากนั้นผูสอนยกตัวอยางตอไปนี้เพิ่มเติม ตัวอยาง ทําการทดลองโยนเหรียญ 3 เหรียญพรอมกัน จะไดวา สนใจหนาของเหรียญทั้งสามที่ขึ้น สนใจจํานวนหัว ที่ขึ้น 1. ปริภูมิตัวอยาง S1 = {HHH , HHT , HTH , HTT , THH , THT , TTH , TTT } S = {0,1, 2,3} 2 2. เหตุการณที่เหรียญขึ้น A1 = {HTT , THT , TTH } A2 = {1} หัว 1 เหรียญ 3. เหตุการณที่เหรียญขึ้น B1 = {HHT , HTH , HTT , THH , THT , TTH , TTT } B2 = {0,1, 2} กอยอยางนอย 1 เหรียญ 4. เหตุการณที่เหรียญขึ้น C1 = ∅ C2 = ∅ หัวมากกวา 3 เหรียญ 12
  • 14. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่อง “เหตุการณ” ไดดย่งขึ้น ผูสอนควรใหผูเรียนทําตัวอยางตอไปนี้ ีิ ตัวอยาง โยนลูกเตา 2 ลูกพรอมกัน ถาผลลัพธที่สนใจคือแตมของลูกเตาทั้งสองที่ข้น จงหา ึ 1. A ซึ่งแทนเหตุการณที่ลูกเตาขึ้นแตม 1 อยางนอย 1 ลูก 2. B ซึ่งแทนเหตุการณที่ลูกเตาทั้ง 2 ลูกขึ้นแตมเทากัน 3. C ซึ่งแทนเหตุการณที่ผลรวมของแตมหารดวย 6 ลงตัว 4. เหตุการณที่ลูกเตาทั้ง 2 ลูกขึ้นแตมเทากันและผลรวมของแตมหารดวย 6 ลงตัว 5. เหตุการณที่ลูกเตาขึ้นแตม 1 อยางนอย 1 ลูกและผลรวมของแตมหารดวย 6 ไมลงตัว ตอบ 1. A = {(1,1), (1, 2), (1,3), (1, 4), (1,5), (1, 6), (2,1), (3,1), (4,1), (5,1), (6,1)} 2. B = {(1,1), (2, 2), (3,3), (4, 4), (5,5), (6, 6) } 3. C = {(1,5), (2, 4), (3,3), (4, 2), (5,1), (6, 6)} 4. B ∩ C = {(3,3), (6, 6)} 5. A ∩ C ′ = {(1,1), (1, 2), (1,3), (1, 4), (1, 6), (2,1), (3,1), (4,1), (6,1)} 13
  • 15. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง ทดลองโยนลูกเตา 1 ลูก ถาผลลัพธที่สนใจคือแตมของลูกเตาที่ข้นึ ให A แทนเหตุการณที่ลูกเตาขึ้นแตมเปนจํานวนคี่ และ B แทนเหตุการณที่ลูกเตาขึ้นแตมเปนจํานวนคู ดังนั้น ปริภูมตวอยาง S = {1, 2,3, 4,5, 6} , A = {1,3,5} และ B = {2, 4, 6} ิั จะไดวา A ∩ B = ∅ ดังนัน เหตุการณ A และเหตุการณ B เปนเหตุการณไมเกิดรวมกัน  ้ ตัวอยาง ทดลองโยนเหรียญ 2 เหรียญ ถาผลลัพธที่สนใจคือหนาของเหรียญทั้งสองเหรียญที่ขึ้น ให A แทนเหตุการณที่เหรียญขึ้นหัว 1 เหรียญ และ B แทนเหตุการณที่เหรียญขึ้นกอยอยางนอย 1 เหรียญ ดังนั้น ปริภูมตัวอยาง S = {HH , HT , TH , TT } , A = {HT , TH } และ B = {HT , TH , TT } ิ จะไดวา A ∩ B = {HT , TH } ≠ ∅ ดังนัน เหตุการณ A และเหตุการณ B ไมเปนเหตุการณไมเกิดรวมกัน  ้ 14
  • 16. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อผูเรียนไดชมสื่อการสอนขางตนจบแลว ผูสอนควรเนนใหผูเรียนเห็นความสําคัญในการเลือกปริภูมิ ตัวอยางทีจะนํามาชวยในการหาความนาจะเปนของเหตุการณ จากที่ผูเรียนไดทราบแลววา สําหรับการทดลอง ่ สุมใด ๆ ปริภูมิตัวอยาง S อาจมีไดมากกวาหนึ่งแบบขึนอยูกับผลลัพธที่เปนไปไดทั้งหมดของการทดลองที่เรา ้ สนใจ ดังนั้นในการหาความนาจะเปนของเหตุการณ E ใด ๆ โดย n( E ) P( E ) = n( S ) สิ่งสําคัญ คือ ปริภูมิตัวอยาง S นั้นตองมีสมบัติที่วา สมาชิกทุกตัวในปริภมิตัวอยางตองมีโอกาสเกิดขึ้นไดเทา ๆ ู กัน 15
  • 17. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อใหผูเรียนหา “ความนาจะเปนของเหตุการณ” ไดคลองยิ่งขึ้น ผูสอนควรใหผูเรียนทําตัวอยางตอไปนี้ เพิ่มเติม ตัวอยาง ทอดลูกเตา 2 ลูกพรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่ 1. ผลรวมของแตมมีคามากกวา 7 2. ผลรวมของแตมมีคานอยกวา 7 และหารดวย 3 ลงตัว วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตัวอยาง A แทนเหตุการณที่ผลรวมของแตมมีคามากกวา 7 และ B แทนเหตุการณที่ผลรวมของแตมมีคานอยกวา 7 และหารดวย 3 ลงตัว แตม แตม ลูกที่ 1 1 2 3 4 5 6 ลูกที่ 2 1 2 3 4 5 6 7 2 3 4 5 6 7 8 3 4 5 6 7 8 9 4 5 6 7 8 9 10 5 6 7 8 9 10 11 6 7 8 9 10 11 12 1. ความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมมีคามากกวา 7 = P( A) = n( A) = 15 = 5 n( S ) 36 12 2. ความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมมีคานอยกวา 7 และหารดวย 3 ลงตัว n( B ) 7 = P( B) = = n( S ) 36 16
  • 18. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง กลองใบหนึ่งมีสลากอยู 100 ใบ หมายเลข 00 ถึง 99 สุมหยิบสลาก 1 ใบจากกลองใบนี้ จงหาความ นาจะเปนที่ไดสลากที่มีหมายเลขประกอบดวยเลขโดดที่เรียงถัดกัน วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตัวอยาง และ E แทนเหตุการณทไดสลากที่มีหมายเลขประกอบดวยเลขโดดที่เรียงถัดกัน ่ี ดังนั้น S = {00, 01, 02,… ,99} และ E = {01,12, 23,34, 45,56, 67, 78,89,10, 21,32, 43,54, 65, 76,87,98} ทําใหไดวา  ความนาจะเปนที่ไดสลากทีมีหมายเลขประกอบดวยเลขโดดที่เรียงถัดกัน = P( E ) = n( E ) = ่ 18 = 9 n( S ) 100 50 n( E ) หมายเหตุ ในการหาความนาจะเปนของเหตุการณ A ใด ๆ โดย P( E ) = เราไมจําเปนตองเขียน n( S ) เหตุการณ E แบบแจกแจงสมาชิก เพราะสิ่งที่เราตองการทราบคือจํานวนสมาชิกของ E เทานั้น ซึ่งเราสามารถ ใชความรูเรื่องการนับที่ไดศกษาไปกอนหนานี้มาชวยได ึ สําหรับตัวอยางขางตน เราสามารถใชความรูเรื่องการนับชวยในการหาสมาชิกของเหตุการณ E ดังนี้ หลักสิบ หลักหนวย 0, 1, 2, 3, 1 วิธี 4, 5, 6, 7, 8 (คาเพิ่มจากตัวหนาอีก 1) ดังนั้น จํานวนสมาชิกของเหตุการณ E เทากับ 9 ×1× 2! = 18 ตัว สลับตําแหนง หลักหนวย และหลักสิบ 17
  • 19. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง กลองใบหนึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก และสีดํา 4 ลูก สุม หยิบลูกแกว 2 ลูกจากกลองใบ นี้ จงหาความนาจะเปนที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก เมื่อ 1. หยิบทีละลูกและใสกลับคืนกอนหยิบลูกถัดไป 2. หยิบทีละลูกและไมใสกลับคืนกอนหยิบลูกถัดไป 3. หยิบสองลูกพรอมกัน วิธีทํา 1. ให S1 แทนปริภูมิตวอยาง และ E1 แทนเหตุการณที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก ั ดังนั้น n( E1 ) 3 × 3 1 P ( E1 ) = = = n( S1 ) 9 × 9 9 2. ให S2 แทนปริภูมิตวอยาง และ E2 แทนเหตุการณที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก ั ดังนั้น n( E2 ) 3 × 2 1 P ( E2 ) = = = n( S 2 ) 9 × 8 12 3. ให S3 แทนปริภูมิตัวอยาง และ E3 แทนเหตุการณที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก ดังนั้น  3 6    n( E3 )  2   0  3 1 P ( E3 ) = = = = n( S3 ) 9 36 12    2 ขอสังเกต จากตัวอยางขางตน ความนาจะเปนที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูกทั้งแบบที่หยิบทีละลูกและไมใส กลับคืน กับแบบที่หยิบสองลูกพรอมกัน มีคาเทากัน เพราะวา  3 2!  3 × 2 P3,2 2 P ( E2 ) = = =   = P( E3 ) 9 × 8 P9,2 9 2!   2 จากขอสังเกตนี้ และความสัมพันธที่วา n Pn ,r = r !  r เมื่อ 0 ≤ r ≤ n สามารถนําไปสูขอสรุปในกรณีทวไปไดวา ความนาจะเปนของเหตุการณที่เราสนใจจากการ ั่ ทดลองสุมหยิบสิ่งของ r สิ่งจากสิ่งของที่แตกตางกันทั้งหมด n สิ่ง ทั้งแบบหยิบพรอมกันและแบบหยิบทีละลูก และไมใสกลับคืน จะมีคาเทากัน 18
  • 20. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง สลากชุดหนึ่งมี 10 ใบ มีหมายเลขกํากับไวโดยไมซ้ํากันเริ่มจาก 1 ถึง 10 สุมหยิบสลาก 3 ใบ จงหาความ นาจะเปนที่ผลรวมของแตมเปน 10 และไมมีสลากใบใดมีหมายเลขสูงกวา 5 วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตวอยาง และ ั E แทนเหตุการณท่ผลรวมของแตมเปน 10 และไมมีสลากใบใดมีหมายเลขสูงกวา 5 ี ดังนั้น E = {{1, 4,5},{2,3,5}} ทําใหไดวา n( E ) 2 2 1 P( E ) = = = = n( S ) 10  120 60   3 ขอตกลง สัญลักษณ {a1 , a2 ,… , ar } หมายถึง หยิบไดสิ่งของ a1, a2 ,… , ar โดยไมคานึงถึงลําดับกอนหลังที่ได ํ ตัวอยาง กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 5 ใบ โดยมีหมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5 กํากับไว สุมหยิบสลาก 3 ใบจากกลอง ใบนี้พรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมนอยกวา 9 วิธีทา ให S แทนปริภูมิตวอยาง และ ํ ั E แทนเหตุการณท่ผลรวมของแตมนอยกวา 9 ี ดังนั้น E = {{1, 2,3},{1, 2, 4},{1, 2,5},{1,3, 4}} ทําใหไดวา n( E ) 4 4 2 P( E ) = = = = n( S )  5  10 5    3 ตัวอยาง โยนเหรียญ 1 เหรียญ และทอดลูกเตา 1 ลูก จงหาความนาจะเปนที่เหรียญขึนหัวและลูกเตาขึ้นแตม ้ มากกวา 4 วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตวอยาง และ ั E แทนเหตุการณท่เหรียญขึ้นหัวและลูกเตาขึ้นแตมมากกวา 4 ี ดังนั้น n( S ) = 2 × 6 = 12 H, T 1,2,…,6 19
  • 21. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ n( E ) = 1× 2 = 2 H 5, 6 ทําใหไดวา n( E ) 2 1 P( E ) = = = n( S ) 12 6 ตัวอยาง นําสินคาที่ผลิตโดยเครื่องจักร A และเครื่องจักร B มาตรวจสภาพ ไดผลดังตาราง จํานวนสินคา(ชิ้น) เครื่องจักร A B สภาพสินคา ดี 37 55 ชํารุด 3 5 1. สุมหยิบสินคามา 1 ชิ้น จงหาความนาจะเปนที่จะหยิบไดสินคาชํารุด 2. สุมหยิบสินคาที่ผลิตโดยเครื่องจักร A มา 1 ชิ้น จงหาความนาจะเปนที่จะหยิบไดสนคาชํารุด ิ วิธทํา 1. ี เครื่องจักร A เครื่องจักร B ชํารุด 37 3 5 55 เนื่องจากสินคามีทั้งหมด 100 ชิ้น เปนสินคาชํารุด 8 ชิ้น ดังนั้น 8 2 ความนาจะเปนที่จะหยิบไดสินคาชํารุด = = 100 25 20
  • 22. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. เครื่องจักร A ชํารุด 3 5 เนื่องจากสินคาทีผลิตโดยเครื่องจักร A มีทั้งหมด 40 ชิ้น เปนสินคาชํารุด 3 ชิ้น ดังนัน ่ ้ 3 ความนาจะเปนทีจะหยิบไดสินคาชํารุดเมื่อสุมหยิบสินคาจากเครื่องจักร A = ่ 40 21
  • 23. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดเพิ่มเติม เรื่อง เหตุการณและความนาจะเปน 1. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีขาว 2 ลูกและสีแดง 1 ลูก สุมหยิบลูกบอล 2 ลูกจากกลองใบนี้พรอมกัน จงหา 1.1 ปริภูมิตวอยาง เมื่อผลลัพธที่สนใจคือสีของลูกบอลที่หยิบได และเหตุการณที่หยิบไดลูกบอล ั สีแดง 1 ลูก 1.2 ปริภูมิตวอยาง เมื่อผลลัพธที่สนใจคือลูกบอลที่หยิบได และเหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีขาว 2 ลูก ั 1.3 ปริภูมิตัวอยาง เมื่อผลลัพธที่สนใจคือจํานวนลูกบอลสีแดงที่ได และเหตุการณที่หยิบไดลูกบอล สีขาว 1 ลูก 2. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูกและสีน้ําเงิน 1 ลูก สุมหยิบลูกบอล 2 ลูกจากกลอง ใบนี้พรอมกัน ถาผลลัพธที่สนใจคือลูกบอลที่หยิบได จงหา 2.1 ปริภูมิตัวอยาง 2.2 A ซึ่งแทนเหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีเดียวกัน 2.3 B ซึ่งแทนเหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีแดงอยางนอย 1 ลูก 2.4 เหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีแดง 3 ลูก 2.5 A′ 2.6 A ∪ B 2.7 A ∩ B 3. นักเรียนคนหนึ่งมีหนังสือ 5 เลมที่แตกตางกันทั้งหมด โดยเปนหนังสือวิชาคณิตศาสตร 2 เลม วิชา ชีววิทยา 2 เลม และวิชาฟสิกส 1 เลม ถานักเรียนคนนี้สุมหยิบหนังสือ 3 เลม จงหาความนาจะเปนที่ หยิบได 3.1 วิชาคณิตศาสตรอยางนอย 1 เลม 3.2 วิชาคณิตศาสตรและวิชาชีววิทยาอยางละ 2 เลม 3.3 ไดครบทุกวิชา 4. ทอดลูกเตา 1 ลูกจํานวน 3 ครั้ง จงหาความนาจะเปนที่ 4.1 ลูกเตาขึ้นแตมมากกวา 4 ทุกลูก 4.2 ลูกเตาขึ้นแตมเทากันทุกลูก 4.3 ผลรวมของแตมที่ขึ้นของลูกเตาทั้ง 3 ลูกมีคาไมเกิน 16 22
  • 24. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 5. โยนเหรียญ 1 เหรียญและทอดลูกเตา 1 ลูกพรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่ 5.1 เหรียญขึ้นกอยและลูกเตาขึ้นแตมเปนจํานวนคี่ 5.2 เหรียญขึ้นหัวหรือลูกเตาขึ้นแตมมากกวา 4 5.3 ลูกเตาขึ้นแตมไมเกิน 3 6. กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 10 ใบ มีหมายเลข 1 – 10 กํากับไว สุมหยิบสลาก 1 ใบจากกลองใบนี้ จากนั้น ทอดลูกเตา 1 ลูก จงหาความนาจะเปนที่ 6.1 หมายเลขสลากที่หยิบไดและแตมของลูกเตาที่ขึ้นมีคาเทากัน 6.2 หมายเลขสลากที่หยิบไดเปนจํานวนคูแตแตมของลูกเตาที่ข้นเปนจํานวนคี่ ึ 6.3 หมายเลขสลากที่หยิบไดหารดวย 3 ลงตัว 6.4 หมายเลขสลากที่หยิบไดหารดวย 3 หรือ 5 ลงตัว 6.5 ผลรวมของหมายเลขสลากที่หยิบไดกับแตมของลูกเตาที่ขึ้นมีคาไมเกิน 5  7. นักเรียนหองหนึ่งมีทั้งหมด 40 คน ปรากฏขอมูลดังตาราง จํานวนนักเรียน(คน) ดานที่ถนัด ถนัดขวา ถนัดซาย เพศ ชาย 16 5 หญิง 15 4 7.1 สุมนักเรียนหองนี้มา 1 คน จงหาความนาจะเปนทีนักเรียนที่สมไดจะถนัดซาย ่ ุ 7.2 สุมนักเรียนชายหองนี้มา 1 คน จงหาความนาจะเปนที่นกเรียนที่สมไดจะถนัดขวา ั ุ 23
  • 27. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เอกสารอางอิง 1. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ. 2. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ. 26
  • 28. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 1 แบบฝกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม 27
  • 29. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดระคน 1. ในการขนสงโทรทัศนจํานวน 50 เครื่อง จากโรงงานไปยังรานคาแหงหนึ่ง ทําใหโทรทัศนชํารุด 3 เครื่อง เจาของรานคาสุมโทรทัศน 10 เครื่องเพื่อตรวจสอบคุณภาพ ปริภมิตัวอยางคือขอใดตอไปนี้ เมื่อผลลัพธที่ ู สนใจคือจํานวนโทรทัศนที่ชํารุด 1. {0,1, 2,3} 2. {3, 4,… ,10} 3. {1, 2,… ,10} 4. {1, 2,… ,50} 2. สําหรับการทดลองสุมใด ๆ ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง 1. มีเหตุการณ A ที่ P( A) = 0 2. มีเหตุการณ A ที่ P( A) = 1 3. มีเหตุการณ A ที่ P( A) = 0.5 4. มีเหตุการณ A ที่ P( A) > 0.3 3. กลองใบหนึ่งมีสลาก n ใบ (n ≥ 3) ซึ่งมีหมายเลขกํากับไวโดยไมซ้ํากันเริ่มจาก 1 ถึง n ถาสุมหยิบสลาก จากกลองใบนี้ 2 ใบ แลวความนาจะเปนที่ไดใบหนึงเปนสลากหมายเลข 3 และอีกใบหนึ่งเปนสลาก ่ หมายเลขต่ํากวา 3 เทากับขอใดตอไปนี้ 2 1 1. 2. n2 n(n − 1) 2 4 3. 4. n(n − 1) n(n − 1) 4. กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 9 ใบ มีหมายเลข 1 – 9 กํากับไว ถาสุมหยิบสลาก 2 ใบจากกลองใบนี้ โดยหยิบทีละ 1 ใบและไมใสกลับคืนกอนหยิบใบถัดไป ความนาจะเปนที่ผลรวมของหมายเลขบนสลากทั้งสองใบนั้นหาร ดวย 5 ลงตัวเทากับขอใดตอไปนี้ 1 1 1. 2. 12 6 1 2 3. 4. 9 9 28
  • 30. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 5. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอล 8 ลูก(แตกตางกันทั้งหมด) โดยเปนลูกบอลสีขาว 2 ลูก สีแดง 3 ลูก และสีดํา 3 ลูก สุมหยิบลูกบอล 2 ลูกจากกลองใบนี้พรอมกัน ความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกบอลสีเดียวกันตรงกับ ขอใดตอไปนี้ 3 5 1. 2. 28 28 3 1 3. 4. 14 4 6. ทอดลูกเตา 2 ลูกพรอมกัน ความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมของลูกเตาที่ขึ้นจะหารดวย 5 ไมลงตัวตรงกับ ขอใดตอไปนี้ 2 7 1. 2. 11 36 29 9 3. 4. 36 11 7. ไพสารับหนึ่งซึ่งมีทั้งหมด 52 ใบ ประกอบดวยไพหนาโพดํา โพแดง ขาวหลามตัดและดอกจิก อยางละ 13 ใบ ํ สุมหยิบไพ 3 ใบจากสํารับนี้พรอมกัน ความนาจะเปนที่ไพทั้งสามที่หยิบไดมีแตมมากกวา 2 แตนอยกวา 8 เปนเทาใด 5 7     1.  3 2.  3  52   52      3 3  20   28      3. 3 4. 3  52   52      3 3 8. กลองใบหนึ่งบรรจุปากกา 10 ดามที่แตกตางกัน โดยเปนปากกาสีแดง 3 ดาม สีนาเงิน 3 ดามและสีดํา 4 ดาม ้ํ สุมหยิบปากกา 3 ดามจากกลองใบนี้ ความนาจะเปนที่หยิบไดปากกาครบทุกสีเปนเทาใด 2 3 1. 2. 10 10 1 7 3. 4. 3 9 29
  • 31. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 9. หนังสือสารานุกรมชุดหนึ่งมีทั้งหมด 8 เลม มีหมายเลข 1 – 8 กํากับ สุมหยิบหนังสือทีละ 1 เลมเรียงบนชั้น หนังสือจนครบ 8 เลม ความนาจะเปนที่หนังสือหมายเลขตอเนื่องกันจะอยูติดกันเปนเทาใด 1 2 1. 2. 8! 8! 1 2 3. 4. 72 72 10. ตารางแสดงความสัมพันธของสุขภาพผูสูบบุหรี่ทั้งหมด 300 คน เปนดังนี้ จํานวนผูสูบบุหรี่(คน) จํานวนบุหรี่ที่สูบตอวัน (มวน) 0-4 5-20 มากกวา 20 สุขภาพ เปนมะเร็ง 8 7 25 ไมเปนมะเร็ง 150 70 40 สําหรับผูสูบบุหรี่มากกวา 20 มวนใน 1 วัน มีความนาจะเปนที่จะไมเปนมะเร็งเทากับขอใดตอไปนี้ 8 2 1. 2. 13 13 2 13 3. 4. 15 15 30
  • 32. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 2 เฉลยแบบฝกหัด 31
  • 33. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง การทดลองสุมและปริภูมิตัวอยาง 1. 1.1 ปริภูมิตัวอยาง S = {H 1, H 2, H 3, H 4, H 5, H 6, T1, T 2, T 3, T 4, T 5, T 6 } 1.2 ปริภูมตัวอยาง S = { NN , ND, DN } เมื่อ N แทน หลอดไฟดี และ D แทน หลอดไฟเสีย ิ 1.3 ปริภูมตัวอยาง S = {0, 2, 4, 6,8,10} ิ 1.4 ปริภูมตัวอยาง S = {YYY , YYN , YNY , YNN , NYY , NYN , NNY , NNN } ิ เมื่อ Y แทน ใชยาสีฟนยีหอนี้ และ N แทน ไมใชยาสีฟนยี่หอนี้  ่  1.5 ปริภูมิตัวอยาง S = {t ∈ | t ≥ 0 } = [0, ∞) 1.6 ปริภูมตัวอยาง S = {2,3, 4,5,…} ิ 2. 2.1 225 2.2 16 2.3 135 2.4 120 เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง เหตุการณและความนาจะเปน 1. 1.1 ปริภูมิตัวอยาง S = {{สีแดง, สีขาว}, {สีขาว, สีขาว}} เหตุการณ E={{สีแดง, สีขาว}} 1.2 ปริภูมิตวอยาง S = {{สีแดง, สีขาว1}, {สีแดง, สีขาว2}, {สีขาว1, สีขาว2}} ั เหตุการณ E = {{สีขาว1, สีขาว2}} 1.3 ปริภมิตัวอยาง S = {0,1} ู เหตุการณ E = {1} 2. ให Ri แทน ลูกบอลสีแดงลูกที่ i เมื่อ i = 1, 2,3 Wi แทน ลูกบอลสีขาวลูกที่ i เมื่อ i = 1, 2 B แทน ลูกบอลสีน้ําเงิน 2.1 ปริภูมิตัวอยาง S = {{R1, R2 },{R1, R3},{R2 , R3},{R1,W1},{R1,W2 }, {R2 , W1},{R2 ,W2 },{R3 ,W1},{R3 , W2 },{R1 , B}, {R2 , B}, {R3 , B}, {W1 , W2 }, {W1 , B}, {W2 , B}} 2.2 A = {{R1 , R2 },{R1 , R3},{R2 , R3},{W1 , W2 }} 32
  • 34. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2.3 B = {{R1 , R2 },{R1 , R3},{R2 , R3},{R1 , W1},{R1 , W2 }, {R2 , W1},{R2 ,W2 },{R3 , W1}, {R3 ,W2 },{R1 , B}, {R2 , B}, {R3 , B}} 2.4 เหตุการณ E = ∅ 2.5 A′ = {{R1,W1},{R1,W2 }, {R2 ,W1},{R2 ,W2 },{R3 ,W1},{R3 ,W2 },{R1, B}, {R2 , B}, {R3 , B}, {W1 , B}, {W2 , B}} 2.6 A ∪ B = {{R1 , R2 },{R1, R3},{R2 , R3},{R1 ,W1},{R1,W2 }, {R2 ,W1},{R2 ,W2 },{R3 ,W1}, {R3 ,W2 },{R1 , B}, {R2 , B}, {R3 , B},{W1 , W2 }} 2.7 A ∩ B = {{R1, R2 },{R1, R3},{R2 , R3}} 9 2 3. 3.1 3.2 0 3.3 10 5 1 1 53 4. 4.1 4.2 4.3 27 36 54 1 2 1 5. 5.1 5.2 5.3 4 3 2 1 1 3 6. 6.1 6.2 6.3 10 4 10 1 1 6.4 6.5 2 6 9 16 7. 7.1 7.2 40 21 เฉลยแบบฝกหัดระคน 1. 1 2. 4 3. 4 4. 4 5. 4 6. 3 7. 3 8. 2 9. 2 10. 1 33
  • 35. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน 34
  • 36. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนํา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร การใหเหตุผลและตรรกศาสตร บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร การใหเหตุผล ประพจนและการสมมูล สัจนิรันดรและการอางเหตุผล ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง จํานวนจริง บทนํา เรื่อง จํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแกอสมการ คาสัมบูรณ การแกอสมการคาสัมบูรณ กราฟคาสัมบูรณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย ความสัมพันธและฟงกชัน บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชน ั ความสัมพันธ 35
  • 37. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน ความสัมพันธและฟงกชัน โดเมนและเรนจ อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน ฟงกชันเบื้องตน พีชคณิตของฟงกชน ั อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส ฟงกชันประกอบ ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชนลอการิทม ั ึ เลขยกกําลัง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม ลอการิทึม อสมการเลขชี้กําลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราสวนตรีโกณมิติ เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย ฟงกชันตรีโกณมิติ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 2 ฟงกชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซนและโคไซน กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน กําหนดการเชิงเสน บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร การหาคาสุดขีด ลําดับและอนุกรม บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม ลําดับ การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลําดับ ผลบวกยอย อนุกรม ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม 36