SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร
                    เรื่อง
           สถิติและการวิเคราะหขอมูล
                (เนือหาตอนที่ 12)
                    ้
          ความสัมพันธระหวางขอมูล 2

                      โดย
      ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกาญจน ใจดี

      สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง
   คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
               กระทรวงศึกษาธิการ
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
           สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                  สื่อการสอน เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล
        สื่อการสอน เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 27 ตอน
ซึ่งประกอบดวย

1. บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล
2. เนื้อหาตอนที่ 1 บทนํา (เนื้อหา)
                       - ความหมายของสถิติ
                       - ขอมูลและการนําเสนอขอมูล
                       - การสํารวจความคิดเห็น
3. เนื้อหาตอนที่ 2 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1
                       - คากลางของขอมูล
4. เนื้อหาตอนที่ 3 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2
                       - แนวโนมเขาสูสวนกลาง
5. เนื้อหาตอนที่ 4 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3
                       - คาเฉลี่ยเลขคณิต
                       - มัธยฐาน
                       - ฐานนิยม
                       - คาเฉลี่ยเรขาคณิต
                       - คากลางฮารโมนิก
6. เนื้อหาตอนที่ 5 การกระจายของขอมูล
                       - ตําแหนงของขอมูล
7. เนื้อหาตอนที่ 6 การกระจายสัมบูรณ 1
                       - การกระจายสัมบูรณและการกระจายสัมพัทธ
                       - พิสัย (ขอมูลไมแจกแจงความถี่)
                       - สวนเบี่ยงเบนควอไทล (ขอมูลไมแจกแจงความถี่)
                       - สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (ขอมูลไมแจกแจงความถี่)
8. เนื้อหาตอนที่ 7 การกระจายสัมบูรณ 2
                       - สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ขอมูลไมแจกแจงความถี่)
                       - ความแปรปรวน



                                                 1
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


 9. เนื้อหาตอนที่ 8       การกระจายสัมบูรณ 3
                          - พิสัย (ขอมูลแจกแจงความถี)  ่
                          - สวนเบี่ยงเบนควอไทล (ขอมูลแจกแจงความถี่)
                          - สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (ขอมูลแจกแจงความถี) ่
                          - สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ขอมูลแจกแจงความถี่)
10. เนื้อหาตอนที่ 9 การกระจายสัมพัทธ
                          - สัมประสิทธพิสัย
                          - สัมประสิทธของสวนเบี่ยงเบนควอไทล
                          - สัมประสิทธของสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
                          - สัมประสิทธของความแปรผัน
11. เนื้อหาตอนที่ 10 คะแนนมาตรฐาน
                          - คะแนนมาตรฐาน
                          - การแจกแจงปกติ
12. เนื้อหาตอนที่ 11 ความสัมพันธระหวางขอมูล 1
                          - ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล
13. เนื้อหาตอนที่ 12 ความสัมพันธระหวางขอมูล 2
                          - ความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลา
14. เนื้อหาตอนที่ 13 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
                          - โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
15. เนื้อหาตอนที่ 14 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
                          - โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
16. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 1)
17. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 2)
18. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 3)
19. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 4)
20. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 5)
21. แบบฝกหัด (ขันสูง)
                  ้
22. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การนําเสนอขอมูล
23. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การวัดคากลางของขอมูล
24. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การวัดการกระจายของขอมูล
25. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การแจกแจงปกติ
                                                   2
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


26. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความสัมพันธเชิงเสนตรง
27. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความสัมพันธเชิงพาราโบลาและความสัมพันธเชิงชี้กําลัง

         คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับ
 ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง สถิติและการ
 วิเคราะหขอมูล นอกจากนี้หากทานสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่นๆที่คณะผูจัดทําได
 ดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมด
 ในตอนทายของคูมือฉบับนี้




                                                   3
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


เรื่อง            สถิติและการวิเคราะหขอมูล (ความสัมพันธระหวางขอมูล 2)
หมวด              เนื้อหา
ตอนที่            12 (12/14)

หัวขอยอย       ความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลา

จุดประสงคการเรียนรู
    เพื่อใหผูเรียน
    1. หาความสัมพันธระหวางขอมูลที่กราฟเปนเสนตรงของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลาได
    2. หาความสัมพันธระหวางขอมูลที่กราฟเปนพาราโบลาและเอกซโพเนนเชียลของขอมูล
         ที่อยูในรูปอนุกรมเวลาได

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
              
   ผูเรียนสามารถ
   1. อธิบายความหมายและวิธีจัดกระทําของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลาเพื่อใชในการแกปญหาได
   2. อธิบายวิธีการหาและหาความสัมพันธระหวางขอมูลที่กราฟเปนเสนตรงของขอมูลที่อยูในรูป
          อนุกรมเวลาได
   3. อธิบายวิธีการหาและหาความสัมพันธระหวางขอมูลที่กราฟเปนพาราโบลาและ
          เอกซโพเนนเชียลของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลาได




                                                   4
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                             เนื้อหาในสื่อการสอน




                             เนื้อหาทั้งหมด




                                      5
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




ความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลา




                                           6
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                     ความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลา

         ในสื่อการสอนตอนนี้ เราเริมดวยการใหความหมายของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลา จากนั้นจึงทบทวน
                                   ่
เรื่องความสัมพันธเชิงฟงกชนของขอมูลที่ไดศึกษาไปแลวในสื่อการสอนเรื่องสถิติและการวิเคราะหขอมูล
                            ั
เนื้อหาตอนที่ 11 ซึ่งแบงความสัมพันธดังกลาวเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ
             1. ความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟเปนเสนตรง
             2. ความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟไมเปนเสนตรง
                2.1 กราฟเปนพาราโบลา
                2.2 กราฟเปนเอกซโพเนนเชียล
         โดยในสื่อการสอนตอนนี้ ยังคงศึกษาความสัมพันธทั้งหมดขางตน เพียงแตตัวแปรอิสระที่เราศึกษาใน
สื่อการสอนตอนนี้จะอยูในรูปของเวลา เชน เดือน ปพทธศักราช เปนตน
                                                     ุ




        เพื่อความเขาใจยิ่งขึ้นจึงไดยกตัวอยางขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลา ดังนี้




                                                          7
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       จากนั้นผูเรียนจะไดชมตัวอยางตอไปนี้ ซึ่งผูสอนอาจใหผูเรียนชวยกันคิดหาคําตอบกอน




       หลังจากที่ผูเรียนไดพยายามคิดหาคําตอบของตัวอยางขางตน อาจมีผูเรียนหลายคนพบปญหาในเรื่อง
ของการคํานวณเนื่องจากตัวเลขคอนขางสูง จากนั้นผูสอนจึงใหผูเรียนชมสื่อการสอนซึ่งไดแนะนําวิธีการ
แกปญหาดังกลาว




                                                         8
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




เมื่อผูเรียนไดชมตัวอยางขางตนจบแลว ผูสอนควรสรุปและใหขอสังเกตผูเรียนเพิ่มเติม ดังนี้

                                                                    ti
             พ.ศ.                                แบบที่ 1                        แบบที่ 2
             2549                                  -2                              0
ผลตางเปน 1
             2550                                  -1                              1
ผลตางเปน 1 2551                                   0                              2
ผลตางเปน 1 2552                                   1                              3
ผลตางเปน 1
             2553                                   2                              4
 สมการความสัมพันธ                      y=
                                        ˆ
                                           15 19
                                              t+                         y=
                                                                         ˆ
                                                                            15 4
                                                                               t+
                                           10    5                          10 5
ป พ.ศ. 2560 จะขายเครื่องจักร              15
                                        y = (9) +
                                        ˆ
                                                   19
                                                      = 17.3
                                                                            15     4
                                                                         y = (11) + = 17.3
                                                                         ˆ
                                           10       5                       10     5
ไดประมาณ


                                                  9
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


จากตารางจะพบวา
1. ผลตางของปพ.ศ.ของขอมูลที่อยูติดกันจะมีคาเทากันทุกชวง(เทากับ 1) ดังนั้นการกําหนดคา ti เราจึง
    กําหนดใหผลตางของ ti ของขอมูลที่อยูติดกันมีคาเทากันทุกชวงเชนกัน
2. ในการกําหนดคา ti แบบที่ 1 และแบบที่ 2 ทําใหไดสมการความสัมพันธที่แตกตางกัน แตคาประมาณที่โจทย
                                                                                           
    ตองการยังคงมีคาเทากัน ดังนั้นโจทยที่อยูในรูปอนุกรมเวลาสวนใหญจึงไมไดใหหาสมการความสัมพันธ
    เนื่องจากสมการที่ไดขึ้นอยูกับวิธีการกําหนดคา ti ของแตละบุคคล
3. ในการหาคาคงตัว a และ b จากสมการ
                                                   n              n

                                                 ∑ yi = a∑ ti + nb
                                                  i =1           i =1
                                                 n                 n          n

                                               ∑ ti yi = a∑ ti2 + b∑ ti
                                                i =1             i =1        i =1
                                                       n
       ถาเรากําหนดคา ti แบบที่ 1 จะทําให ∑ ti = 0 (เมื่อ n เปนจํานวนคี่) ซึ่งสงผลใหหาคาคงตัว a และ b ได
                                                  i =1

       จากสมการ
                                                       n

                                                  ∑y
                                                   i =1
                                                           i   = nb
                                                   n                  n

                                                 ∑ ti yi = a∑ ti2
                                                  i =1             i =1

       ซึ่งหาไดงายและสะดวกยิ่งขึ้น ดังนัน ถาขอมูลที่กําหนดใหมีจํานวนชวงเวลาทีนํามาสรางความสัมพันธเปน
                                         ้                                            ่
       จํานวนคี่ เราจึงกําหนดคา ti แบบที่ 1 นันคือ ใหขอมูลตัวที่อยูตรงกลางมีคาเปน 0 และขอมูลตัวที่อยูถัดขึ้น
                                               ่
       ไปกอนหนามีคาเปน -1, -2, -3, … ตามลําดับ และขอมูลที่อยูถัดลงมามีคาเปน 1, 2, 3, … ตามลําดับ

            สําหรับตัวอยางตอไปนี้ เปนตัวอยางทีจํานวนชวงเวลาเปนจํานวนคู ดังนั้นการกําหนดคา ti เพื่อให
                                                  ่
 n

∑t
i =1
       i   =0   สามารถทําไดโดย กําหนดใหสองชวงเวลาที่อยูตรงกลางมีคาเปน -1 และ 1 จากนันใหขอมูลตัวที่อยูถัด
                                                                                          ้
ขึ้นไปจาก -1 มีคาเปน -3, -5, -7, … ตามลําดับ ทํานองเดียวกัน กําหนดใหขอมูลตัวที่อยูถัดจาก 1 มีคาเปน 3, 5,
                                                                                                   
7, … ตามลําดับ




                                                                        10
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       จากนั้นผูสอนอาจใหผเู รียนฝกทําตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยาง ขอมูลแสดงจํานวนประชากรของประเทศไทย ตั้งแตป พ.ศ. 2545 - 2551

                            พ.ศ.                     จํานวนประชากร (ลานคน)
                            2545                             62.80
                            2546                             63.08
                            2547                             61.97
                            2548                             62.42
                            2549                             62.83
                            2550                             63.04
                            2551                             63.39

จงใชความสัมพันธเชิงฟงกชนที่เปนเสนตรงเพื่อประมาณจํานวนประชากรในป พ.ศ. 2560
                           ั




                                                        11
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


วิธีทํา
               พ.ศ.                 ti                           yi                           ti yi          ti2
               2545                 -3                      62.80                        -188.40             9
               2546                 -2                      63.08                        -126.16             4
               2547                 -1                      61.97                         -61.97             1
               2548                  0                      62.42                            0               0
               2549                  1                      62.83                          62.83             1
               2550                  2                      63.04                         126.08             4
               2551                  3                      63.39                         190.17             9
                              7                     7                                7                 7

                             ∑t = 0
                             i =1
                                    i              ∑ y = 439.53 ∑ t y = 2.55 ∑ t = 28
                                                   i =1
                                                             i
                                                                                 i =1
                                                                                          i    i
                                                                                                      i =1
                                                                                                             i
                                                                                                              2




          หาคาคงตัว a และ b จากสมการ
                                               n                      n

                                          ∑y
                                           i =1
                                                        i   = a ∑ ti + nb
                                                                  i =1
                                           n                          n          n

                                         ∑ ti yi = a∑ ti2 + b∑ ti
                                          i =1                    i =1          i =1

ทําใหไดวา                  439.53 = 7b                         และ          2.55 = 28a
                              439.53                                                  2.55
ดังนั้น                    b=        = 62.79                      และ             a=       ≈ 0.09
                                7                                                      28
ทําใหไดวา
          
             สมการความสัมพันธ คือ y = 0.09t + 62.79
                                   ˆ
ในป พ.ศ. 2560 ( t = 12) จะไดวา
                                  y = 0.09(12) + 62.79 = 63.87
                                   ˆ
นั่นคือ ในป พ.ศ. 2560 ประเทศไทยจะมีประชากรประมาณ 63.87 ลานคน




                                                                          12
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


        สําหรับตัวอยางตอไปนี้เปนตัวอยางความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูลที่กราฟเปนเอกซโพเนนเชียล




ขอสังเกต สําหรับตัวอยางขางตน จะเห็นวาขอมูลจํานวนแมลงในแตละเดือนมีคาคอนขางสูง ซึ่งจะทําใหการ
คํานวณมีความยุงยาก ดังนันเราจึงเปลี่ยนหนวยของจํานวนแมลงเปนพันตัวเพื่อใหงายตอการคํานวณ
                         ้                                                    

                                                        13
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


          เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่องเชิงฟงกชันระหวางขอมูลที่กราฟเปนเอกซโพเนนเชียลไดดยิ่งขึ้น ผูสอนควรให
                                                                                             ี
ผูเรียนทําตัวอยางตอไปนี้เพิมเติม
                                ่

ตัวอยาง กําหนดขอมูลแสดงจํานวนแบคทีเรียชนิดหนึ่งในจานเพาะเชือ ในป พ.ศ. 2554 ดังนี้
                                                             ้

                               เดือน                        จํานวนแบคทีเรีย(ตัว)
                             มกราคม                               680,000
                             มีนาคม                               740,000
                            พฤษภาคม                               820,000
                            กรกฎาคม                               940,000
                             กันยายน                             1,150,000


จงใชความสัมพันธเชิงฟงกชนที่กราฟเปนเอกซโพเนนเชียลเพื่อประมาณจํานวนแบคทีเรียในเดือนพฤษภาคม
                           ั
2555
วิธีทํา เนื่องจากจํานวนแบคทีเรียที่โจทยกาหนดใหมีคาสูง ดังนั้นจึงปรับหนวยเปนแสนตัว ดังนี้
                                         ํ

                                   เดือน              จํานวนแบคทีเรีย(แสนตัว)
                                 มกราคม                        6.8
                                 มีนาคม                        7.4
                                พฤษภาคม                        8.2
                                กรกฎาคม                        9.4
                                 กันยายน                      11.5


จากนั้นนําขอมูลที่ไดมาเขียนแผนภาพการกระจายเพื่อดูแนวโนมความสัมพันธ




                                                          14
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


  จํานวนแบคทีเรีย(แสนตัว)




                       ม.ค.             มี.ค.              พ.ค.                 ก.ค.                  ก.ย.                     เดือน

     จากนั้นสรางตารางเพื่อใชในการหาคาคงตัว a, b ดังนี้


   เดือน              ti                        yi                             log yi                              ti log yi                  ti2
 มกราคม               -2                    6.8                                0.8325                              -1.6650                    4
 มีนาคม               -1                    7.4                                0.8692                              -0.8692                    1
พฤษภาคม               0                      8.2                               0.9138                                  0                      0
กรกฎาคม               1                      9.4                               0.9731                               0.9731                    1
 กันยายน              2                     11.5                               1.0607                               2.1214                    4
                5                     5                           5                                      5                              5

               ∑t = 0
               i =1
                      i            ∑ y = 43.3 ∑ log y = 4.6493 ∑ t log y = 0.5603
                                     i =1
                                            i
                                                                i =1
                                                                                 i
                                                                                                        i =1
                                                                                                               i        i              ∑ t = 10
                                                                                                                                       i =1
                                                                                                                                              i
                                                                                                                                               2




     หาคาคงตัว a, b จากสมการ
                                    5                                                    5

                                ∑ log yi = 5log a + (log b)∑ ti
                                   i =1                                                 i =1
                               5                                      5                         5

                              ∑ t log y
                              i =1
                                        i            i   = log a ∑ ti + (log b)∑ ti2
                                                                  i =1                         i =1




                                                                          15
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


        นําขอมูลในตารางมาแทนคา จะไดวา
                                                                               4.6493
                                 4.6493 = 5log a                      log a =         ≈ 0.93
                                                                                  5
                                                                               0.5603
                                 0.5603 = 10 log b                     log b =        ≈ 0.056
                                                                                 10
        ดังนั้น
                                   log y = log a + t log b = 0.93 + 0.056t
                                       ˆ
       ดังนั้น เดือนพฤษภาคม 2555 ( t = 6 ) ไดวา log y = 0.93 + 0.056(6) = 1.266
                                                      ˆ
       นั่นคือ
                                                  y = 101.266 ≈ 18.45
                                                  ˆ
       ดังนั้น จํานวนแบคทีเรียในเดือนพฤษภาคม 2555 มีอยูประมาณ 1,845,000 ตัว

หมายเหตุ จากตัวอยางขางตน ผูสอนควรย้ําผูเรียนวาจํานวนแบคทีเรียที่ตองการประมาณคาคือ             ˆ
                                                                                                      y   ไมใช log y
                                                                                                                     ˆ


      สําหรับตัวอยางสุดทายในสื่อการสอนนี้เปนตัวอยางความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูลที่กราฟเปน
พาราโบลา




                                                         16
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                                 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                                                                                                               n             n
หมายเหตุ จากตัวอยางขางตน ผูเรียนจะสังเกตวา การกําหนด ti ที่เหมาะสม นั่นคือ ∑ ti = 0 และ ∑ ti3 = 0
                                                                                                              i =1          i =1

จะทําใหหาคาคงตัว a, b และ c ของสมการพาราโบลา
                                                            y = at 2 + bt + c
                                                            ˆ
ไดงายยิ่งขึ้น นันคือ
                  ่
                             n             n          n                                           n      n

                          ∑ yi = a∑ ti2 + b∑ ti + nc
                          i =1            i =1       i =1
                                                                                              ∑ yi = a∑ ti2 + nc
                                                                                              i =1     i =1
                         n                 n          n            n                          n         n

                    ∑ ti yi = a∑ ti3 + b∑ ti2 + c∑ ti
                        i =1              i =1       i =1         i =1
                                                                                         ∑ ti yi = b∑ ti2
                                                                                            i =1       i =1
                    n                     n          n            n                     n              n              n

                  ∑ ti2 yi = a∑ ti4 + b∑ ti3 + c∑ ti2
                   i =1                  i =1       i =1         i =1
                                                                                      ∑ ti2 yi = a∑ ti4 + c∑ ti2
                                                                                       i =1           i =1           i =1




                                                                         17
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                   แบบฝกหัดเพิ่มเติม
            เรื่อง ความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูลทีอยูในรูปอนุกรมเวลา
                                                      ่

 1. ขอมูลแสดงมูลคาการสงออกสินคาระหวางประเทศของไทย ป พ.ศ. 2547-2553

                 พ.ศ.              2547         2548         2549         2550        2551         2552           2553
           มูลคาการสงออก         3.87         4.44         4.94         5.30        5.85         5.19           6.18
            (ลานลานบาท)
     ที่มา : ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย
     จงใชความสัมพันธเชิงฟงกชันที่เปนเสนตรงเพื่อประมาณมูลคาการสงออกในป พ.ศ. 2564

 2. ขอมูลแสดงจํานวนผูปวยนอกจากสถานบริการสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม
    พ.ศ. 2549-2552
                          พ.ศ.                    2549            2550            2551             2552
                   จํานวนผูปวยนอก               4.12            4.94            4.92             4.70
                       (ลานคน)

     ที่มา : สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
     จงใชความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟเปนพาราโบลาเพื่อประมาณจํานวนผูปวยนอก จังหวัดเชียงใหม
                                                                        
     ในป พ.ศ. 2553

3. ขอมูลแสดงปริมาณสัตวนําจืดจากการเพาะเลี้ยง ป พ.ศ. 2548-2552
                          ้

                   พ.ศ.                   2548            2549            2550            2551            2552
            ปริมาณสัตวนาจืด
                         ้ํ               539.4           527.4           525.1           522.5           521.9
               (1,000 ตัน)
     ที่มา : กรมประมง
     จงใชความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟเปนเอกซโพเนนเชียลเพือประมาณปริมาณสัตวน้ําจืดจากการ
                                                               ่
     เพาะเลี้ยงในป พ.ศ. 2557




                                                       18
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


 4. ถาขอมูลแสดงรายไดของบริษัทแหงหนึ่งในป พ.ศ. 2554 มีความสัมพันธแบบเสนตรง ดังขอมูลในตาราง
    ตอไปนี้
            เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
           รายได  1.2 1.5 1.8 2.0 2.4 2.8 3.1 3.5 4.0 4.1 4.4 4.9
         (ลานบาท)

   จงประมาณรายไดในแตละเดือนของบริษัทแหงนีในป พ.ศ. 2555
                                            ้

5. ถาขอมูลแสดงปริมาณขาวหอมมะลิที่รานคาขาวแหงหนึ่งขายไดในปนี้มีความสัมพันธแบบเสนตรง
   ดังขอมูลในตารางตอไปนี้

                     เดือน   ม.ค. ก.พ. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ส.ค.
                   ปริมาณ 1,250 1,500 1,850 2,100 2,300 2,650
                  (กิโลกรัม)
   จงประมาณปริมาณขาวหอมมะลิที่รานคาขาวแหงนี้ขายไดในเดือนธันวาคมปเดียวกัน




                                                      19
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




             สรุปสาระสําคัญประจําตอน




                                     20
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                        สรุปสาระสําคัญประจําตอน




         ในสื่อการสอนตอนนี้ เราใหความหมายของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลาและศึกษาความสัมพันธเชิง
ฟงกชันระหวางขอมูลที่กราฟเปนเสนตรง พาราโบลาและเอกซโพเนนเชียล โดยแนวคิดหลักคือการกําหนดคา
                         n
ti   ใหเหมาะสม นั่นคือ ∑ ti = 0 ซึ่งทําใหงายและสะดวกในการหาคาคงตัว a, b และ c ซึ่งวิธีการกําหนดคา ti
                        i =1

นั้น สามารถพิจารณาไดดังนี้
        1. ถาขอมูลที่กาหนดใหมีจานวนชวงเวลาทีนํามาสรางความสัมพันธเปนจํานวนคี่ เรากําหนดคา ti โดย
                          ํ          ํ               ่
            ใหขอมูลตัวที่อยูตรงกลางมีคาเปน 0 และขอมูลตัวที่อยูถัดขึ้นไปกอนหนามีคาเปน -1, -2, -3, …
                 
            ตามลําดับ และขอมูลที่อยูถัดลงมามีคาเปน 1, 2, 3, … ตามลําดับ
         2. ถาขอมูลที่กําหนดใหมจํานวนชวงเวลาที่นํามาสรางความสัมพันธเปนจํานวนคู เรา กําหนดคา ti โดย
                                   ี
            กําหนดใหสองชวงเวลาที่อยูตรงกลางมีคาเปน -1 และ 1 จากนั้นใหขอมูลตัวที่อยูถัดขึ้นไปจาก -1 มี
                                                                                             
            คาเปน -3, -5, -7, … ตามลําดับ ทํานองเดียวกัน กําหนดใหขอมูลตัวทีอยูถัดจาก 1 มีคาเปน 3, 5,
                                                                                  ่
            7, … ตามลําดับ
                                                          21
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                  สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                               เอกสารอางอิง

สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, สถาบัน (2553) หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม 1 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว




                                                       22
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                          ภาคผนวก
                        เฉลยแบบฝกหัด




                                     23
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                                เฉลยแบบฝกหัด
              เรื่อง ความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูลทีอยูในรูปอนุกรมเวลา
                                                        ่

1.   9.78 ลานลานบาท

2.   3,800, 000        คน
3.   105.6911   ตัน,    500,160    ตัน

4.
        เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
       รายได 5.17 5.51 5.84 6.18 6.52 6.86 7.19 7.53 7.87 8.20 8.54 8.88
     (ลานบาท)

5.   3, 475   กิโลกรัม




                                                     24
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร
                  จํานวน 92 ตอน




                                     25
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                             รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน
                 เรื่อง                                                              ตอน
เซต                                      บทนํา เรื่อง เซต
                                         ความหมายของเซต
                                         เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต
                                         เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร
การใหเหตุผลและตรรกศาสตร                บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
                                         การใหเหตุผล
                                         ประพจนและการสมมูล
                                         สัจนิรันดรและการอางเหตุผล
                                         ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง
จํานวนจริง                               บทนํา เรื่อง จํานวนจริง
                                         สมบัติของจํานวนจริง
                                         การแยกตัวประกอบ
                                         ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                         สมการพหุนาม
                                         อสมการ
                                         เทคนิคการแกอสมการ
                                         คาสัมบูรณ
                                         การแกอสมการคาสัมบูรณ
                                         กราฟคาสัมบูรณ
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ
ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน                     บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
                                         การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ
                                         ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย
ความสัมพันธและฟงกชัน                  บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชน  ั
                                         ความสัมพันธ




                                                                   26
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                  เรื่อง                                                              ตอน
ความสัมพันธและฟงกชัน                       โดเมนและเรนจ
                                              อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน
                                              ฟงกชันเบื้องตน
                                              พีชคณิตของฟงกชน   ั
                                              อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส
                                              ฟงกชันประกอบ
ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม         บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชนลอการิทม
                                                                                     ั       ึ
                                              เลขยกกําลัง
                                              ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
                                              ลอการิทึม
                                              อสมการเลขชี้กําลัง
                                              อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                    บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                              อัตราสวนตรีโกณมิติ
                                              เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 1
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 2
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 3
                                              กฎของไซนและโคไซน
                                              กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน
กําหนดการเชิงเสน                             บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน
                                              การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร
                                              การหาคาสุดขีด
ลําดับและอนุกรม                               บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม
                                              ลําดับ
                                              การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                              ลิมิตของลําดับ
                                              ผลบวกยอย
                                              อนุกรม
                                              ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม




                                                                 27
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                 เรื่อง                                                                  ตอน
การนับและความนาจะเปน                         บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน
                     .                         การนับเบื้องตน
                                               การเรียงสับเปลี่ยน
                                               การจัดหมู
                                               ทฤษฎีบททวินาม
                                               การทดลองสุม
                                               ความนาจะเปน 1
                                               ความนาจะเปน 2
สถิติและการวิเคราะหขอมูล                     บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล
                                               บทนํา เนื้อหา
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3
                                               การกระจายของขอมูล
                                               การกระจายสัมบูรณ 1
                                               การกระจายสัมบูรณ 2
                                               การกระจายสัมบูรณ 3
                                               การกระจายสัมพัทธ
                                               คะแนนมาตรฐาน
                                               ความสัมพันธระหวางขอมูล 1
                                               ความสัมพันธระหวางขอมูล 2
                                               โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
                                               โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
โครงงานคณิตศาสตร                              การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
                                               ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
                                               การถอดรากที่สาม
                                               เสนตรงลอมเสนโคง
                                               กระเบื้องที่ยืดหดได




                                                                    28

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
 
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset5088 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
88 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่1_การลงทุนset50
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์381 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
 
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง377 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
 
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง175 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
 
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์179 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
 
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น272 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
 
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น171 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
 
55 กำหนดการเชิงเส้น บทนำ
55 กำหนดการเชิงเส้น บทนำ55 กำหนดการเชิงเส้น บทนำ
55 กำหนดการเชิงเส้น บทนำ
 
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
 
05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 

Viewers also liked

การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551ครู กรุณา
 

Viewers also liked (17)

53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
 
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
 
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ146 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
 

Similar to 85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2

Similar to 85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2 (19)

60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
 
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
 
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
 
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 
Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4
 
Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1
 

85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2

  • 1. คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล (เนือหาตอนที่ 12) ้ ความสัมพันธระหวางขอมูล 2 โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกาญจน ใจดี สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล สื่อการสอน เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 27 ตอน ซึ่งประกอบดวย 1. บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล 2. เนื้อหาตอนที่ 1 บทนํา (เนื้อหา) - ความหมายของสถิติ - ขอมูลและการนําเสนอขอมูล - การสํารวจความคิดเห็น 3. เนื้อหาตอนที่ 2 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1 - คากลางของขอมูล 4. เนื้อหาตอนที่ 3 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2 - แนวโนมเขาสูสวนกลาง 5. เนื้อหาตอนที่ 4 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3 - คาเฉลี่ยเลขคณิต - มัธยฐาน - ฐานนิยม - คาเฉลี่ยเรขาคณิต - คากลางฮารโมนิก 6. เนื้อหาตอนที่ 5 การกระจายของขอมูล - ตําแหนงของขอมูล 7. เนื้อหาตอนที่ 6 การกระจายสัมบูรณ 1 - การกระจายสัมบูรณและการกระจายสัมพัทธ - พิสัย (ขอมูลไมแจกแจงความถี่) - สวนเบี่ยงเบนควอไทล (ขอมูลไมแจกแจงความถี่) - สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (ขอมูลไมแจกแจงความถี่) 8. เนื้อหาตอนที่ 7 การกระจายสัมบูรณ 2 - สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ขอมูลไมแจกแจงความถี่) - ความแปรปรวน 1
  • 3. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 9. เนื้อหาตอนที่ 8 การกระจายสัมบูรณ 3 - พิสัย (ขอมูลแจกแจงความถี) ่ - สวนเบี่ยงเบนควอไทล (ขอมูลแจกแจงความถี่) - สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (ขอมูลแจกแจงความถี) ่ - สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ขอมูลแจกแจงความถี่) 10. เนื้อหาตอนที่ 9 การกระจายสัมพัทธ - สัมประสิทธพิสัย - สัมประสิทธของสวนเบี่ยงเบนควอไทล - สัมประสิทธของสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย - สัมประสิทธของความแปรผัน 11. เนื้อหาตอนที่ 10 คะแนนมาตรฐาน - คะแนนมาตรฐาน - การแจกแจงปกติ 12. เนื้อหาตอนที่ 11 ความสัมพันธระหวางขอมูล 1 - ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูล 13. เนื้อหาตอนที่ 12 ความสัมพันธระหวางขอมูล 2 - ความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลา 14. เนื้อหาตอนที่ 13 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1 - โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1 15. เนื้อหาตอนที่ 14 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2 - โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2 16. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 1) 17. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 2) 18. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 3) 19. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 4) 20. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 5) 21. แบบฝกหัด (ขันสูง) ้ 22. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การนําเสนอขอมูล 23. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การวัดคากลางของขอมูล 24. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การวัดการกระจายของขอมูล 25. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การแจกแจงปกติ 2
  • 4. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 26. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความสัมพันธเชิงเสนตรง 27. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความสัมพันธเชิงพาราโบลาและความสัมพันธเชิงชี้กําลัง คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับ ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง สถิติและการ วิเคราะหขอมูล นอกจากนี้หากทานสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่นๆที่คณะผูจัดทําได ดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมด ในตอนทายของคูมือฉบับนี้ 3
  • 5. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล (ความสัมพันธระหวางขอมูล 2) หมวด เนื้อหา ตอนที่ 12 (12/14) หัวขอยอย ความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลา จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหผูเรียน 1. หาความสัมพันธระหวางขอมูลที่กราฟเปนเสนตรงของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลาได 2. หาความสัมพันธระหวางขอมูลที่กราฟเปนพาราโบลาและเอกซโพเนนเชียลของขอมูล ที่อยูในรูปอนุกรมเวลาได ผลการเรียนรูที่คาดหวัง  ผูเรียนสามารถ 1. อธิบายความหมายและวิธีจัดกระทําของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลาเพื่อใชในการแกปญหาได 2. อธิบายวิธีการหาและหาความสัมพันธระหวางขอมูลที่กราฟเปนเสนตรงของขอมูลที่อยูในรูป อนุกรมเวลาได 3. อธิบายวิธีการหาและหาความสัมพันธระหวางขอมูลที่กราฟเปนพาราโบลาและ เอกซโพเนนเชียลของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลาได 4
  • 6. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนื้อหาในสื่อการสอน เนื้อหาทั้งหมด 5
  • 7. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลา 6
  • 8. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลา ในสื่อการสอนตอนนี้ เราเริมดวยการใหความหมายของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลา จากนั้นจึงทบทวน ่ เรื่องความสัมพันธเชิงฟงกชนของขอมูลที่ไดศึกษาไปแลวในสื่อการสอนเรื่องสถิติและการวิเคราะหขอมูล ั เนื้อหาตอนที่ 11 ซึ่งแบงความสัมพันธดังกลาวเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. ความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟเปนเสนตรง 2. ความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟไมเปนเสนตรง 2.1 กราฟเปนพาราโบลา 2.2 กราฟเปนเอกซโพเนนเชียล โดยในสื่อการสอนตอนนี้ ยังคงศึกษาความสัมพันธทั้งหมดขางตน เพียงแตตัวแปรอิสระที่เราศึกษาใน สื่อการสอนตอนนี้จะอยูในรูปของเวลา เชน เดือน ปพทธศักราช เปนตน ุ เพื่อความเขาใจยิ่งขึ้นจึงไดยกตัวอยางขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลา ดังนี้ 7
  • 9. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จากนั้นผูเรียนจะไดชมตัวอยางตอไปนี้ ซึ่งผูสอนอาจใหผูเรียนชวยกันคิดหาคําตอบกอน หลังจากที่ผูเรียนไดพยายามคิดหาคําตอบของตัวอยางขางตน อาจมีผูเรียนหลายคนพบปญหาในเรื่อง ของการคํานวณเนื่องจากตัวเลขคอนขางสูง จากนั้นผูสอนจึงใหผูเรียนชมสื่อการสอนซึ่งไดแนะนําวิธีการ แกปญหาดังกลาว 8
  • 10. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อผูเรียนไดชมตัวอยางขางตนจบแลว ผูสอนควรสรุปและใหขอสังเกตผูเรียนเพิ่มเติม ดังนี้ ti พ.ศ. แบบที่ 1 แบบที่ 2 2549 -2 0 ผลตางเปน 1 2550 -1 1 ผลตางเปน 1 2551 0 2 ผลตางเปน 1 2552 1 3 ผลตางเปน 1 2553 2 4 สมการความสัมพันธ y= ˆ 15 19 t+ y= ˆ 15 4 t+ 10 5 10 5 ป พ.ศ. 2560 จะขายเครื่องจักร 15 y = (9) + ˆ 19 = 17.3 15 4 y = (11) + = 17.3 ˆ 10 5 10 5 ไดประมาณ 9
  • 11. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จากตารางจะพบวา 1. ผลตางของปพ.ศ.ของขอมูลที่อยูติดกันจะมีคาเทากันทุกชวง(เทากับ 1) ดังนั้นการกําหนดคา ti เราจึง กําหนดใหผลตางของ ti ของขอมูลที่อยูติดกันมีคาเทากันทุกชวงเชนกัน 2. ในการกําหนดคา ti แบบที่ 1 และแบบที่ 2 ทําใหไดสมการความสัมพันธที่แตกตางกัน แตคาประมาณที่โจทย  ตองการยังคงมีคาเทากัน ดังนั้นโจทยที่อยูในรูปอนุกรมเวลาสวนใหญจึงไมไดใหหาสมการความสัมพันธ เนื่องจากสมการที่ไดขึ้นอยูกับวิธีการกําหนดคา ti ของแตละบุคคล 3. ในการหาคาคงตัว a และ b จากสมการ n n ∑ yi = a∑ ti + nb i =1 i =1 n n n ∑ ti yi = a∑ ti2 + b∑ ti i =1 i =1 i =1 n ถาเรากําหนดคา ti แบบที่ 1 จะทําให ∑ ti = 0 (เมื่อ n เปนจํานวนคี่) ซึ่งสงผลใหหาคาคงตัว a และ b ได i =1 จากสมการ n ∑y i =1 i = nb n n ∑ ti yi = a∑ ti2 i =1 i =1 ซึ่งหาไดงายและสะดวกยิ่งขึ้น ดังนัน ถาขอมูลที่กําหนดใหมีจํานวนชวงเวลาทีนํามาสรางความสัมพันธเปน  ้ ่ จํานวนคี่ เราจึงกําหนดคา ti แบบที่ 1 นันคือ ใหขอมูลตัวที่อยูตรงกลางมีคาเปน 0 และขอมูลตัวที่อยูถัดขึ้น ่ ไปกอนหนามีคาเปน -1, -2, -3, … ตามลําดับ และขอมูลที่อยูถัดลงมามีคาเปน 1, 2, 3, … ตามลําดับ สําหรับตัวอยางตอไปนี้ เปนตัวอยางทีจํานวนชวงเวลาเปนจํานวนคู ดังนั้นการกําหนดคา ti เพื่อให ่ n ∑t i =1 i =0 สามารถทําไดโดย กําหนดใหสองชวงเวลาที่อยูตรงกลางมีคาเปน -1 และ 1 จากนันใหขอมูลตัวที่อยูถัด ้ ขึ้นไปจาก -1 มีคาเปน -3, -5, -7, … ตามลําดับ ทํานองเดียวกัน กําหนดใหขอมูลตัวที่อยูถัดจาก 1 มีคาเปน 3, 5,  7, … ตามลําดับ 10
  • 12. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จากนั้นผูสอนอาจใหผเู รียนฝกทําตัวอยางตอไปนี้ ตัวอยาง ขอมูลแสดงจํานวนประชากรของประเทศไทย ตั้งแตป พ.ศ. 2545 - 2551 พ.ศ. จํานวนประชากร (ลานคน) 2545 62.80 2546 63.08 2547 61.97 2548 62.42 2549 62.83 2550 63.04 2551 63.39 จงใชความสัมพันธเชิงฟงกชนที่เปนเสนตรงเพื่อประมาณจํานวนประชากรในป พ.ศ. 2560 ั 11
  • 13. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วิธีทํา พ.ศ. ti yi ti yi ti2 2545 -3 62.80 -188.40 9 2546 -2 63.08 -126.16 4 2547 -1 61.97 -61.97 1 2548 0 62.42 0 0 2549 1 62.83 62.83 1 2550 2 63.04 126.08 4 2551 3 63.39 190.17 9 7 7 7 7 ∑t = 0 i =1 i ∑ y = 439.53 ∑ t y = 2.55 ∑ t = 28 i =1 i i =1 i i i =1 i 2 หาคาคงตัว a และ b จากสมการ n n ∑y i =1 i = a ∑ ti + nb i =1 n n n ∑ ti yi = a∑ ti2 + b∑ ti i =1 i =1 i =1 ทําใหไดวา 439.53 = 7b และ 2.55 = 28a 439.53 2.55 ดังนั้น b= = 62.79 และ a= ≈ 0.09 7 28 ทําใหไดวา  สมการความสัมพันธ คือ y = 0.09t + 62.79 ˆ ในป พ.ศ. 2560 ( t = 12) จะไดวา  y = 0.09(12) + 62.79 = 63.87 ˆ นั่นคือ ในป พ.ศ. 2560 ประเทศไทยจะมีประชากรประมาณ 63.87 ลานคน 12
  • 14. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สําหรับตัวอยางตอไปนี้เปนตัวอยางความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูลที่กราฟเปนเอกซโพเนนเชียล ขอสังเกต สําหรับตัวอยางขางตน จะเห็นวาขอมูลจํานวนแมลงในแตละเดือนมีคาคอนขางสูง ซึ่งจะทําใหการ คํานวณมีความยุงยาก ดังนันเราจึงเปลี่ยนหนวยของจํานวนแมลงเปนพันตัวเพื่อใหงายตอการคํานวณ ้  13
  • 15. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่องเชิงฟงกชันระหวางขอมูลที่กราฟเปนเอกซโพเนนเชียลไดดยิ่งขึ้น ผูสอนควรให ี ผูเรียนทําตัวอยางตอไปนี้เพิมเติม ่ ตัวอยาง กําหนดขอมูลแสดงจํานวนแบคทีเรียชนิดหนึ่งในจานเพาะเชือ ในป พ.ศ. 2554 ดังนี้ ้ เดือน จํานวนแบคทีเรีย(ตัว) มกราคม 680,000 มีนาคม 740,000 พฤษภาคม 820,000 กรกฎาคม 940,000 กันยายน 1,150,000 จงใชความสัมพันธเชิงฟงกชนที่กราฟเปนเอกซโพเนนเชียลเพื่อประมาณจํานวนแบคทีเรียในเดือนพฤษภาคม ั 2555 วิธีทํา เนื่องจากจํานวนแบคทีเรียที่โจทยกาหนดใหมีคาสูง ดังนั้นจึงปรับหนวยเปนแสนตัว ดังนี้ ํ เดือน จํานวนแบคทีเรีย(แสนตัว) มกราคม 6.8 มีนาคม 7.4 พฤษภาคม 8.2 กรกฎาคม 9.4 กันยายน 11.5 จากนั้นนําขอมูลที่ไดมาเขียนแผนภาพการกระจายเพื่อดูแนวโนมความสัมพันธ 14
  • 16. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จํานวนแบคทีเรีย(แสนตัว) ม.ค. มี.ค. พ.ค. ก.ค. ก.ย. เดือน จากนั้นสรางตารางเพื่อใชในการหาคาคงตัว a, b ดังนี้ เดือน ti yi log yi ti log yi ti2 มกราคม -2 6.8 0.8325 -1.6650 4 มีนาคม -1 7.4 0.8692 -0.8692 1 พฤษภาคม 0 8.2 0.9138 0 0 กรกฎาคม 1 9.4 0.9731 0.9731 1 กันยายน 2 11.5 1.0607 2.1214 4 5 5 5 5 5 ∑t = 0 i =1 i ∑ y = 43.3 ∑ log y = 4.6493 ∑ t log y = 0.5603 i =1 i i =1 i i =1 i i ∑ t = 10 i =1 i 2 หาคาคงตัว a, b จากสมการ 5 5 ∑ log yi = 5log a + (log b)∑ ti i =1 i =1 5 5 5 ∑ t log y i =1 i i = log a ∑ ti + (log b)∑ ti2 i =1 i =1 15
  • 17. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย นําขอมูลในตารางมาแทนคา จะไดวา 4.6493 4.6493 = 5log a log a = ≈ 0.93 5 0.5603 0.5603 = 10 log b log b = ≈ 0.056 10 ดังนั้น log y = log a + t log b = 0.93 + 0.056t ˆ ดังนั้น เดือนพฤษภาคม 2555 ( t = 6 ) ไดวา log y = 0.93 + 0.056(6) = 1.266 ˆ นั่นคือ y = 101.266 ≈ 18.45 ˆ ดังนั้น จํานวนแบคทีเรียในเดือนพฤษภาคม 2555 มีอยูประมาณ 1,845,000 ตัว หมายเหตุ จากตัวอยางขางตน ผูสอนควรย้ําผูเรียนวาจํานวนแบคทีเรียที่ตองการประมาณคาคือ ˆ y ไมใช log y ˆ สําหรับตัวอยางสุดทายในสื่อการสอนนี้เปนตัวอยางความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวางขอมูลที่กราฟเปน พาราโบลา 16
  • 18. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย n n หมายเหตุ จากตัวอยางขางตน ผูเรียนจะสังเกตวา การกําหนด ti ที่เหมาะสม นั่นคือ ∑ ti = 0 และ ∑ ti3 = 0 i =1 i =1 จะทําใหหาคาคงตัว a, b และ c ของสมการพาราโบลา y = at 2 + bt + c ˆ ไดงายยิ่งขึ้น นันคือ ่ n n n n n ∑ yi = a∑ ti2 + b∑ ti + nc i =1 i =1 i =1 ∑ yi = a∑ ti2 + nc i =1 i =1 n n n n n n ∑ ti yi = a∑ ti3 + b∑ ti2 + c∑ ti i =1 i =1 i =1 i =1 ∑ ti yi = b∑ ti2 i =1 i =1 n n n n n n n ∑ ti2 yi = a∑ ti4 + b∑ ti3 + c∑ ti2 i =1 i =1 i =1 i =1 ∑ ti2 yi = a∑ ti4 + c∑ ti2 i =1 i =1 i =1 17
  • 19. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูลทีอยูในรูปอนุกรมเวลา ่ 1. ขอมูลแสดงมูลคาการสงออกสินคาระหวางประเทศของไทย ป พ.ศ. 2547-2553 พ.ศ. 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 มูลคาการสงออก 3.87 4.44 4.94 5.30 5.85 5.19 6.18 (ลานลานบาท) ที่มา : ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย จงใชความสัมพันธเชิงฟงกชันที่เปนเสนตรงเพื่อประมาณมูลคาการสงออกในป พ.ศ. 2564 2. ขอมูลแสดงจํานวนผูปวยนอกจากสถานบริการสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม พ.ศ. 2549-2552 พ.ศ. 2549 2550 2551 2552 จํานวนผูปวยนอก 4.12 4.94 4.92 4.70 (ลานคน) ที่มา : สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข จงใชความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟเปนพาราโบลาเพื่อประมาณจํานวนผูปวยนอก จังหวัดเชียงใหม  ในป พ.ศ. 2553 3. ขอมูลแสดงปริมาณสัตวนําจืดจากการเพาะเลี้ยง ป พ.ศ. 2548-2552 ้ พ.ศ. 2548 2549 2550 2551 2552 ปริมาณสัตวนาจืด ้ํ 539.4 527.4 525.1 522.5 521.9 (1,000 ตัน) ที่มา : กรมประมง จงใชความสัมพันธเชิงฟงกชันที่กราฟเปนเอกซโพเนนเชียลเพือประมาณปริมาณสัตวน้ําจืดจากการ ่ เพาะเลี้ยงในป พ.ศ. 2557 18
  • 20. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 4. ถาขอมูลแสดงรายไดของบริษัทแหงหนึ่งในป พ.ศ. 2554 มีความสัมพันธแบบเสนตรง ดังขอมูลในตาราง ตอไปนี้ เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รายได 1.2 1.5 1.8 2.0 2.4 2.8 3.1 3.5 4.0 4.1 4.4 4.9 (ลานบาท) จงประมาณรายไดในแตละเดือนของบริษัทแหงนีในป พ.ศ. 2555 ้ 5. ถาขอมูลแสดงปริมาณขาวหอมมะลิที่รานคาขาวแหงหนึ่งขายไดในปนี้มีความสัมพันธแบบเสนตรง ดังขอมูลในตารางตอไปนี้ เดือน ม.ค. ก.พ. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ส.ค. ปริมาณ 1,250 1,500 1,850 2,100 2,300 2,650 (กิโลกรัม) จงประมาณปริมาณขาวหอมมะลิที่รานคาขาวแหงนี้ขายไดในเดือนธันวาคมปเดียวกัน 19
  • 22. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สรุปสาระสําคัญประจําตอน ในสื่อการสอนตอนนี้ เราใหความหมายของขอมูลที่อยูในรูปอนุกรมเวลาและศึกษาความสัมพันธเชิง ฟงกชันระหวางขอมูลที่กราฟเปนเสนตรง พาราโบลาและเอกซโพเนนเชียล โดยแนวคิดหลักคือการกําหนดคา n ti ใหเหมาะสม นั่นคือ ∑ ti = 0 ซึ่งทําใหงายและสะดวกในการหาคาคงตัว a, b และ c ซึ่งวิธีการกําหนดคา ti i =1 นั้น สามารถพิจารณาไดดังนี้ 1. ถาขอมูลที่กาหนดใหมีจานวนชวงเวลาทีนํามาสรางความสัมพันธเปนจํานวนคี่ เรากําหนดคา ti โดย ํ ํ ่ ใหขอมูลตัวที่อยูตรงกลางมีคาเปน 0 และขอมูลตัวที่อยูถัดขึ้นไปกอนหนามีคาเปน -1, -2, -3, …  ตามลําดับ และขอมูลที่อยูถัดลงมามีคาเปน 1, 2, 3, … ตามลําดับ 2. ถาขอมูลที่กําหนดใหมจํานวนชวงเวลาที่นํามาสรางความสัมพันธเปนจํานวนคู เรา กําหนดคา ti โดย ี กําหนดใหสองชวงเวลาที่อยูตรงกลางมีคาเปน -1 และ 1 จากนั้นใหขอมูลตัวที่อยูถัดขึ้นไปจาก -1 มี  คาเปน -3, -5, -7, … ตามลําดับ ทํานองเดียวกัน กําหนดใหขอมูลตัวทีอยูถัดจาก 1 มีคาเปน 3, 5, ่ 7, … ตามลําดับ 21
  • 23. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เอกสารอางอิง สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, สถาบัน (2553) หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว 22
  • 25. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง ความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูลทีอยูในรูปอนุกรมเวลา ่ 1. 9.78 ลานลานบาท 2. 3,800, 000 คน 3. 105.6911 ตัน, 500,160 ตัน 4. เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รายได 5.17 5.51 5.84 6.18 6.52 6.86 7.19 7.53 7.87 8.20 8.54 8.88 (ลานบาท) 5. 3, 475 กิโลกรัม 24
  • 26. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน 25
  • 27. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนํา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร การใหเหตุผลและตรรกศาสตร บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร การใหเหตุผล ประพจนและการสมมูล สัจนิรันดรและการอางเหตุผล ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง จํานวนจริง บทนํา เรื่อง จํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแกอสมการ คาสัมบูรณ การแกอสมการคาสัมบูรณ กราฟคาสัมบูรณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย ความสัมพันธและฟงกชัน บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชน ั ความสัมพันธ 26
  • 28. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน ความสัมพันธและฟงกชัน โดเมนและเรนจ อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน ฟงกชันเบื้องตน พีชคณิตของฟงกชน ั อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส ฟงกชันประกอบ ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชนลอการิทม ั ึ เลขยกกําลัง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม ลอการิทึม อสมการเลขชี้กําลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราสวนตรีโกณมิติ เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย ฟงกชันตรีโกณมิติ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 2 ฟงกชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซนและโคไซน กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน กําหนดการเชิงเสน บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร การหาคาสุดขีด ลําดับและอนุกรม บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม ลําดับ การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลําดับ ผลบวกยอย อนุกรม ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม 27
  • 29. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน การนับและความนาจะเปน บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน . การนับเบื้องตน การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู ทฤษฎีบททวินาม การทดลองสุม ความนาจะเปน 1 ความนาจะเปน 2 สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เนื้อหา แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3 การกระจายของขอมูล การกระจายสัมบูรณ 1 การกระจายสัมบูรณ 2 การกระจายสัมบูรณ 3 การกระจายสัมพัทธ คะแนนมาตรฐาน ความสัมพันธระหวางขอมูล 1 ความสัมพันธระหวางขอมูล 2 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2 โครงงานคณิตศาสตร การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส การถอดรากที่สาม เสนตรงลอมเสนโคง กระเบื้องที่ยืดหดได 28