SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 9
Descargar para leer sin conexión
2
แนวทางในการจัดการเรียนรู
1.1 สมบัติของ a เมื่อ a > 0 (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถใชสมบัติของ a เมื่อ a > 0 สองขอตอไปนี้แกปญหาได
1) a b = ab เมื่อ a > 0, b > 0
2)
b
a = b
a เมื่อ a > 0, b > 0
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูควรทบทวนความหมายของรากที่สองและการใชเครื่องหมายกรณฑ ตลอดจนรากที่สองที่
เปนจํานวนตรรกยะและรากที่สองที่เปนจํานวนอตรรกยะโดยการถามตอบและยกตัวอยางประกอบ และให
นักเรียนทํากิจกรรม “ยังจําไดไหม” เพื่อทบทวนการหารากที่สอง
2. ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาการหารากที่สองของจํานวนจริงบวกใด ๆ หรือศูนย หากสามารถ
ทําจํานวนนั้นใหอยูในรูปกําลังสองของจํานวนจริงใด ๆ จะสามารถหารากที่สองของจํานวนนั้นไดงายขึ้น
ครูควรทบทวนเรื่องคาสัมบูรณและใหนักเรียนทํากิจกรรม “กรณฑที่สองของ a2
เปนเทาไร” เพื่อให
นักเรียนหาขอสรุปไดวากรณฑที่สองของ a2
เทากับคาสัมบูรณของ a จากนั้นจึงคอยฝกใหนักเรียนนํา
ขอสรุปดังกลาวไปใชในการแกปญหา โดยหากรณฑที่สองของ a2
เมื่อ a เปนจํานวนเต็มบวก
จํานวนเต็มลบ เศษสวน ทศนิยม และตัวแปรใด ๆ ตามลําดับ
3. ในตัวอยางที่ 8 ไดเขียนคําตอบของ 22
qp25 เปน 5pq4
โดยไมไดเขียนเปน 5q4
p ทั้งนี้
เพราะนักเรียนยังไมมีพื้นฐานความรูเกี่ยวกับสมบัติของคาสัมบูรณ การตอบวา 5pq4
หรือ 5q4
p ถือวา
ถูกตองทั้งคู
ในชั้นนี้ การหาคําตอบเกี่ยวกับการหารากที่สองโดยใชคาสัมบูรณ นักเรียนอาจเขียนคําตอบ
ติดคาสัมบูรณไวทั้งหมดหรือแยกเขียนเปนผลคูณตามสมบัติของคาสัมบูรณก็ได
4. การสอนสมบัติ a b = ab เมื่อ a > 0, b > 0 และ
b
a = b
a เมื่อ a > 0,
b > 0 ครูควรใหนักเรียนสังเกตการใชสมบัติเกี่ยวกับการคูณในตัวอยางที่ 10 และตัวอยางที่ 11 วาใช
อยางไร และการใชสมบัติเกี่ยวกับการหารในตัวอยางที่ 12 และตัวอยางที่ 13 วาใชอยางไร
5. กิจกรรม “นาสงสัย” ตองการฝกการสังเกตและการตั้งคําถามจากสิ่งที่เรียน ครูอาจอธิบาย
เพิ่มเติมหลังการทํากิจกรรมวานักเรียนจะไดเรียนเกี่ยวกับ a เมื่อ a < 0 ในเรื่องจํานวนเชิงซอน ระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย
3
1.2 การดําเนินการของจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สอง (4 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถบวก ลบ คูณ และหารจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สองที่กําหนดใหได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูควรใหนักเรียนอภิปรายเพื่อใหเห็นวาการบวกและการคูณจํานวนในรูป a เมื่อ a > 0
มีสมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู และสมบัติการแจกแจงเชนเดียวกับการบวกและการคูณ
จํานวนจริง เนื่องจาก a เมื่อ a > 0 เปนจํานวนจริงเชนกัน
2. กิจกรรม “บอกไดไหม” ตองการใหนักเรียนไดฝกใชความรูสึกเชิงจํานวนเกี่ยวกับ
กรณฑที่สองของจํานวนตรรกยะ ครูควรใหนักเรียนฝกสังเกตการใชสมบัติของ a เมื่อ a > 0 และ
อาจใชคาประมาณเปนจํานวนที่คิดไดงาย ๆ ในการเปรียบเทียบจํานวนทางซายมือและขวามือ ซึ่งจะเปน
การหลีกเลี่ยงการคํานวณโดยตรง ปญหาบางขอที่นักเรียนคิดไมได ครูอาจใหแนวคิดเพื่อพัฒนาความรูสึก
เชิงจํานวนหรืออาจใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวิธีคิดซึ่งอาจแตกตางกันได
ในสวนตัวอยางคําตอบของกิจกรรมนี้มีหลายขอที่อาจตองใชสมบัติเกี่ยวกับอสมการซึ่งแม
นักเรียนไมเคยเรียนมา แตก็ใหใชสามัญสํานึกเกี่ยวกับการเปรียบเทียบจํานวนมาชวยในการคิดวิเคราะห
และตัดสินใจได
3. ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาสมบัติ ba = ab เมื่อ a > 0, b > 0 และ
b
a = b
a
เมื่อ a > 0, b > 0 เมื่อใชรวมกับสมบัติกฟรสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู และสมบัติการแจกแจง ทําให
การดําเนินการของจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สองทําไดสะดวกขึ้นและทําใหมีวิธีการที่หลากหลายในการ
แกปญหาแตละขอ นักเรียนจึงอาจเลือกใชวิธีการตางกันในการแกปญหาเดียวกันได ดังเชนตัวอยางที่ 12
4. กิจกรรม “ชวยคิดหนอย” ตองการใหนักเรียนไดฝกการคิดเกี่ยวกับลําดับขั้นตอนในการทํางาน
และการคิดยอนกลับ ครูควรถามใหนักเรียนไดอภิปรายและเปรียบเทียบทั้งคําตอบที่ไดและวิธีคิดของแตละคน
1.3 การนําไปใช (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถนําความรูเกี่ยวกับกรณฑที่สองไปใชในการแกปญหาได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูอาจนําเขาสูบทเรียนดวยการใหนักเรียนไดนึกถึงปญหาในชีวิตประจําวันที่เกี่ยวของกับ
ตัวนักเรียน เชน การเดินทางลัดจะชวยยนระยะทางเทาไร การวิ่งรอบสนามเด็กเลนรูปวงกลมที่มีพื้นที่
150 ตารางเมตร หนึ่งรอบจะไดระยะทางเทาไร เพื่อชี้ใหนักเรียนเห็นวาปญหาลักษณะนี้ บางปญหาอาจมี
คําตอบเปนจํานวนอตรรกยะที่มีเครื่องหมายกรณฑติดอยู ซึ่งตองใชความรูเกี่ยวกับกรณฑที่สองในการ
คํานวณ
4
2. ตัวอยางที่ 4 ตองการใหนักเรียนเขาใจวิธีการคํานวณความสูงและพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม
ดานเทา นักเรียนอาจนําวิธีการนี้ไปใชคํานวณความสูงและพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมชนิดอื่น ๆ เมื่อนักเรียน
เขาใจแลวอาจใหจดจําเปนสูตรไวใชได
3. กิจกรรม “ทําไดไหม” ตองการใหนักเรียนนําความรูจากตัวอยางที่ 4 มาใช โดยครูอาจแนะ
ใหนักเรียนแบงรูปหกเหลี่ยมดานเทามุมเทาออกเปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา 6 รูปที่เรียงชิดติดกันและมี
จุดยอดรวมกัน เพื่อที่นักเรียนจะสามารถคิดตอไปได
4. กิจกรรม “บอกไดหรือไม” ตองการเนนใหนักเรียนฝกใชความรูสึกเชิงจํานวนเกี่ยวกับ
กรณฑที่สองของจํานวนตรรกยะ เชนเดียวกับกิจกรรม “บอกไดไหม” ในหัวขอ 1.2
5. กิจกรรม “กรณฑที่สองของจํานวนจริง” ตองการใหนักเรียนฝกทักษะการสังเกตแบบรูป
และการวิเคราะหความสัมพันธ ครูควรฝกใหนักเรียนรูจักสังเกต คิดและคนหาความสัมพันธจากแบบรูป
ที่หาได
6. กิจกรรม “วางอยางไร” ตองการใหนักเรียนฝกบูรณาการทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตรเพื่อแกปญหาที่เปนนามธรรม ครูอาจใหนักเรียนอธิบายเหตุผลของคําตอบที่ไดดวย
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบกิจกรรม “ยังจําไดไหม”
1.
1) 6 และ -6 2) 14 และ -14
3) 50 และ - 50 4) 200 และ - 200
5) 9
4 และ - 9
4 6) 75
24 และ - 75
24
7) 0.4 และ -0.4 8) 049.0 และ - 049.0
2.
1) 16 2) 625
3) 256
81 4) 0.1296
5) 12 6) 7
3
7) 0.9 8) 0.16
5
คําตอบกิจกรรม “กรณฑที่สองของ a2
เปนเทาไร”
1. เทา
2. เทา
3. เทา
4. เทา
5. เทา
6. เทา
7. เทา
8. 111
9. เทา
10. เทา
คําตอบแบบฝกหัด 1.1
1.
1) 11 2) 17
3) -35 4) -140
5) 112
25 6) 84
71
7) 175
19- 8) -0.08
9) 0.5a2
เมื่อ a > 0 10) 43
yx4
3
11) 105
nm25
11 12) 0.25a8
b12
2.
1) 33 2) 72-
3) 210 4) 315
5) 295 6) 615
7) 250 8) 260
3.
1) 9 2) 24
3) 100 4) 7
5) 2 6) 25
11
6
7) ⏐0.08a9
⏐ 8) 14
m
22 เมื่อ m ≠ 0
4.
1) ประมาณ 4.242 2) ประมาณ -8.660
3) ประมาณ 12.726 4) ประมาณ 15.588
5) ประมาณ -1.928 6) ประมาณ 391.300
คําตอบกิจกรรม “บอกไดไหม”
ตัวอยางคําตอบ
1. จริง เพราะ 53 = 533 ⋅⋅ = 153⋅ และ
35 = 355 ⋅⋅ = 155⋅ แต 3 นอยกวา 5
จะได 53 < 35
2. ไมจริง เพราะ 85 = 83 + 82 เนื่องจาก 53 นอยกวา 83 และ
32 นอยกวา 82 ดังนั้น 53 + 32 นอยกวา 83 + 82
จะได 53 + 32 ≠ 85
3. ไมจริง เพราะ 5 มากกวา 2 ดังนั้น 1 + 5 มากกวา 3
จะได 1 + 5 > 3
4. จริง เพราะ 3 นอยกวา 2 ดังนั้น 32 นอยกวา 4
จะได 32 – 3 < 1
5. จริง เพราะ 3 นอยกวา 2 ดังนั้น 32 นอยกวา 2 × 2 หรือ 4 และ
33 นอยกวา 3 × 2 หรือ 6
จะได 32 + 33 < 10
6. จริง เพราะ 2 ≈ 1.4, 3 ≈ 1.7 และ 5 นอยกวา 2.5
จะได 2 + 3 ≈ 3.1 ซึ่งมากกวา 5
จะได 2 + 3 > 5
7. ไมจริง เพราะ 57 – 56 = 5 และ 5 มากกวา 2
จะได 57 – 56 > 2
8. จริง เพราะ 35 – 34 = 3 ซึ่งมากกวา 1 แต 35 – 24 มากกวา
35 – 34
จะได 35 – 24 > 1
7
9. จริง เพราะ 3 + 5 ≈ 1.7 + 5 หรือ 6.7 และ 5 + 3 ≈ 2.2 + 3 หรือ 5.2
จะได 3 + 5 > 5 + 3
10. จริง เพราะ 2 + 3 + 5 ≈ 1.4 + 1.7 + 2.2 หรือ 5.3
จะได 2 + 3 + 5 > 5
คําตอบแบบฝกหัด 1.2 ก
1.
1) 215 2) 78
3) 32 4) 7-
5) 26 6) 53
7) 312 8) 512-
2.
1) 312 – 63
2) 219 – 52
3) 54 – 216
4) 5835 +
5) 358 – 23
6) 645 + 28
คําตอบกิจกรรม “ชวยคิดหนอย”
2
27
คําตอบแบบฝกหัด 1.2 ข
1.
1) 105 2) 1510
3) 150 4) 14 + 355
5) 12 + 636 6) 45
8
2.
1) 9 2) 90
3) 7
25- 4) -72
5) ⏐2y⏐ 6) x6
3.
1) ประมาณ 2.475 2) ประมาณ 4.330
3) ประมาณ 11.429 4) ประมาณ 0.490
4.
1) 11
51
2) 2
51-
5. 6
คําตอบกิจกรรม “ทําไดไหม”
2
33 ตารางหนวย
คําตอบกิจกรรม “บอกไดหรือไม”
ตัวอยางคําตอบ
1. จริง เพราะ 3 นอยกวา 2 ดังนั้น 315 นอยกวา 15 × 2 หรือ 30
จะได 315 < 30
2. ไมจริง เพราะ 310 = 31010 ⋅⋅ หรือ 3010 ⋅ และ
103 = 1033 ⋅⋅ หรือ 303⋅ แต 10 มากกวา 3
จะได 310 > 103
3. จริง เพราะ 3 × 5 = 15 ซึ่งนอยกวา 4
จะได 3 × 5 < 5
4. ไมจริง เพราะ 25 × 34 = 620
จะได 25 × 34 ≠ 69
14
11
2
a2
9
5. จริง เพราะ 2 × 7 = 14 และ 3 × 5 = 15
จะได 2 × 7 < 3 × 5
6. ไมจริง เพราะ
2
20 = 10 แต 10 มากกวา 9 หรือ 3
จะได
2
20 > 3
7. ไมจริง เพราะ 26 มากกวา 5 ดังนั้น 5
26 มากกวา 1
จะได 5
26 > 1
8. จริง เพราะ
2
14 = 2
214 หรือ 27
จะได
2
14 > 7
9. จริง เพราะ ตัวเศษของ 5
3 นอยกวาตัวเศษของ
3
5 และตัวสวนของ 5
3
มากกวาตัวสวนของ
3
5
จะได 5
3 <
3
5
10. จริง เพราะ 3 × 01.0 = 3 × 0.1 = 0.3 และ
01.0
3 = 1.0
3 = 30
จะได 3 × 01.0 <
01.0
3
คําตอบแบบฝกหัด 1.3
1.
1) 21 หรือ -21
2) 3 หรือ -5
3) 16
4) 99
2. 13 หนวย
3. 72 หนวย
4. 65 หนวย
5. 2 เทา
10
6. ประมาณ 38.2 เมตร
7. ประมาณ 0.7746 เทา
คําตอบกิจกรรม “กรณฑที่สองของจํานวนจริง”
1 = 1
121 = 1 1
12321 = 1 1 1
1234321 = 1 1 1 1
123454321 = 1 1 1 1 1
11234565432 = 1 1 1 1 1 1
3211234567654 = 1 1 1 1 1 1 1
543211234567876 = 1 1 1 1 1 1 1 1
คําตอบที่ไดเปนจํานวนที่มีเลขโดดเปน 1 ทั้งหมด โดยจํานวนของ 1 เทากับ
เลขโดดที่มากที่สุดของจํานวนที่อยูในเครื่องหมายกรณฑ เชน 1234321 = 1111
มีจํานวนของ 1 เปน 4 ซึ่งเทากับ 4 ที่เปนเลขโดดที่มากที่สุดของ 1 2 3 4 3 2 1
คําตอบกิจกรรม “วางอยางไร”
1.
2. 40 หนวย
8
5
6 7
1
23
4

Más contenido relacionado

Destacado

Destacado (19)

Add m5-2-chapter2
Add m5-2-chapter2Add m5-2-chapter2
Add m5-2-chapter2
 
Add m6-1-chapter3
Add m6-1-chapter3Add m6-1-chapter3
Add m6-1-chapter3
 
Add m1-1-chapter2
Add m1-1-chapter2Add m1-1-chapter2
Add m1-1-chapter2
 
Add m3-1-chapter4
Add m3-1-chapter4Add m3-1-chapter4
Add m3-1-chapter4
 
Add m6-2-chapter2
Add m6-2-chapter2Add m6-2-chapter2
Add m6-2-chapter2
 
Add m1-2-chapter3
Add m1-2-chapter3Add m1-2-chapter3
Add m1-2-chapter3
 
Add m1-2-chapter2
Add m1-2-chapter2Add m1-2-chapter2
Add m1-2-chapter2
 
Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
Add m2-2-link
Add m2-2-linkAdd m2-2-link
Add m2-2-link
 
Basic m2-1-chapter4
Basic m2-1-chapter4Basic m2-1-chapter4
Basic m2-1-chapter4
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
47 ตรีโกณมิติ ตอนที่4_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ2
47 ตรีโกณมิติ ตอนที่4_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ247 ตรีโกณมิติ ตอนที่4_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ2
47 ตรีโกณมิติ ตอนที่4_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ2
 
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
 

Similar a Add m3-1-chapter1

สอบ 7 วิชา
สอบ 7 วิชาสอบ 7 วิชา
สอบ 7 วิชาComearly Cover
 
7 130630012816-phpapp01
7 130630012816-phpapp017 130630012816-phpapp01
7 130630012816-phpapp01loveyouatlast
 
รวม 7 วิชาสามัญ
รวม 7 วิชาสามัญรวม 7 วิชาสามัญ
รวม 7 วิชาสามัญScott Tape
 
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)Washirasak Poosit
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิตMashmallow Korn
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยaungkararak
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยfahsrisakul
 
7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลยTHAPANEE MEW
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยjittiwa110
 
7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลยChayaneethonak
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยkonosor
 
7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลยOatty_CMU
 
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์กสพท. ปี 55
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์กสพท. ปี 55 เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์กสพท. ปี 55
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์กสพท. ปี 55 Me'e Mildd
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยFernimagine
 

Similar a Add m3-1-chapter1 (20)

สอบ 7 วิชา
สอบ 7 วิชาสอบ 7 วิชา
สอบ 7 วิชา
 
7 130630012816-phpapp01
7 130630012816-phpapp017 130630012816-phpapp01
7 130630012816-phpapp01
 
สอบ 7 วิชา
สอบ 7 วิชาสอบ 7 วิชา
สอบ 7 วิชา
 
7 130630105522-phpapp02
7 130630105522-phpapp027 130630105522-phpapp02
7 130630105522-phpapp02
 
รวม 7 วิชาสามัญ
รวม 7 วิชาสามัญรวม 7 วิชาสามัญ
รวม 7 วิชาสามัญ
 
Add m1-1-chapter3
Add m1-1-chapter3Add m1-1-chapter3
Add m1-1-chapter3
 
Add m3-1-chapter3
Add m3-1-chapter3Add m3-1-chapter3
Add m3-1-chapter3
 
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
 
7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
 
7 math2
7 math27 math2
7 math2
 
7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
 
7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย
 
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์กสพท. ปี 55
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์กสพท. ปี 55 เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์กสพท. ปี 55
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์กสพท. ปี 55
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
 

Más de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Más de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 
Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4
 

Add m3-1-chapter1

  • 1. 2 แนวทางในการจัดการเรียนรู 1.1 สมบัติของ a เมื่อ a > 0 (2 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถใชสมบัติของ a เมื่อ a > 0 สองขอตอไปนี้แกปญหาได 1) a b = ab เมื่อ a > 0, b > 0 2) b a = b a เมื่อ a > 0, b > 0 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูควรทบทวนความหมายของรากที่สองและการใชเครื่องหมายกรณฑ ตลอดจนรากที่สองที่ เปนจํานวนตรรกยะและรากที่สองที่เปนจํานวนอตรรกยะโดยการถามตอบและยกตัวอยางประกอบ และให นักเรียนทํากิจกรรม “ยังจําไดไหม” เพื่อทบทวนการหารากที่สอง 2. ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาการหารากที่สองของจํานวนจริงบวกใด ๆ หรือศูนย หากสามารถ ทําจํานวนนั้นใหอยูในรูปกําลังสองของจํานวนจริงใด ๆ จะสามารถหารากที่สองของจํานวนนั้นไดงายขึ้น ครูควรทบทวนเรื่องคาสัมบูรณและใหนักเรียนทํากิจกรรม “กรณฑที่สองของ a2 เปนเทาไร” เพื่อให นักเรียนหาขอสรุปไดวากรณฑที่สองของ a2 เทากับคาสัมบูรณของ a จากนั้นจึงคอยฝกใหนักเรียนนํา ขอสรุปดังกลาวไปใชในการแกปญหา โดยหากรณฑที่สองของ a2 เมื่อ a เปนจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ เศษสวน ทศนิยม และตัวแปรใด ๆ ตามลําดับ 3. ในตัวอยางที่ 8 ไดเขียนคําตอบของ 22 qp25 เปน 5pq4 โดยไมไดเขียนเปน 5q4 p ทั้งนี้ เพราะนักเรียนยังไมมีพื้นฐานความรูเกี่ยวกับสมบัติของคาสัมบูรณ การตอบวา 5pq4 หรือ 5q4 p ถือวา ถูกตองทั้งคู ในชั้นนี้ การหาคําตอบเกี่ยวกับการหารากที่สองโดยใชคาสัมบูรณ นักเรียนอาจเขียนคําตอบ ติดคาสัมบูรณไวทั้งหมดหรือแยกเขียนเปนผลคูณตามสมบัติของคาสัมบูรณก็ได 4. การสอนสมบัติ a b = ab เมื่อ a > 0, b > 0 และ b a = b a เมื่อ a > 0, b > 0 ครูควรใหนักเรียนสังเกตการใชสมบัติเกี่ยวกับการคูณในตัวอยางที่ 10 และตัวอยางที่ 11 วาใช อยางไร และการใชสมบัติเกี่ยวกับการหารในตัวอยางที่ 12 และตัวอยางที่ 13 วาใชอยางไร 5. กิจกรรม “นาสงสัย” ตองการฝกการสังเกตและการตั้งคําถามจากสิ่งที่เรียน ครูอาจอธิบาย เพิ่มเติมหลังการทํากิจกรรมวานักเรียนจะไดเรียนเกี่ยวกับ a เมื่อ a < 0 ในเรื่องจํานวนเชิงซอน ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย
  • 2. 3 1.2 การดําเนินการของจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สอง (4 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถบวก ลบ คูณ และหารจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สองที่กําหนดใหได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูควรใหนักเรียนอภิปรายเพื่อใหเห็นวาการบวกและการคูณจํานวนในรูป a เมื่อ a > 0 มีสมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู และสมบัติการแจกแจงเชนเดียวกับการบวกและการคูณ จํานวนจริง เนื่องจาก a เมื่อ a > 0 เปนจํานวนจริงเชนกัน 2. กิจกรรม “บอกไดไหม” ตองการใหนักเรียนไดฝกใชความรูสึกเชิงจํานวนเกี่ยวกับ กรณฑที่สองของจํานวนตรรกยะ ครูควรใหนักเรียนฝกสังเกตการใชสมบัติของ a เมื่อ a > 0 และ อาจใชคาประมาณเปนจํานวนที่คิดไดงาย ๆ ในการเปรียบเทียบจํานวนทางซายมือและขวามือ ซึ่งจะเปน การหลีกเลี่ยงการคํานวณโดยตรง ปญหาบางขอที่นักเรียนคิดไมได ครูอาจใหแนวคิดเพื่อพัฒนาความรูสึก เชิงจํานวนหรืออาจใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวิธีคิดซึ่งอาจแตกตางกันได ในสวนตัวอยางคําตอบของกิจกรรมนี้มีหลายขอที่อาจตองใชสมบัติเกี่ยวกับอสมการซึ่งแม นักเรียนไมเคยเรียนมา แตก็ใหใชสามัญสํานึกเกี่ยวกับการเปรียบเทียบจํานวนมาชวยในการคิดวิเคราะห และตัดสินใจได 3. ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาสมบัติ ba = ab เมื่อ a > 0, b > 0 และ b a = b a เมื่อ a > 0, b > 0 เมื่อใชรวมกับสมบัติกฟรสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู และสมบัติการแจกแจง ทําให การดําเนินการของจํานวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑที่สองทําไดสะดวกขึ้นและทําใหมีวิธีการที่หลากหลายในการ แกปญหาแตละขอ นักเรียนจึงอาจเลือกใชวิธีการตางกันในการแกปญหาเดียวกันได ดังเชนตัวอยางที่ 12 4. กิจกรรม “ชวยคิดหนอย” ตองการใหนักเรียนไดฝกการคิดเกี่ยวกับลําดับขั้นตอนในการทํางาน และการคิดยอนกลับ ครูควรถามใหนักเรียนไดอภิปรายและเปรียบเทียบทั้งคําตอบที่ไดและวิธีคิดของแตละคน 1.3 การนําไปใช (2 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถนําความรูเกี่ยวกับกรณฑที่สองไปใชในการแกปญหาได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูอาจนําเขาสูบทเรียนดวยการใหนักเรียนไดนึกถึงปญหาในชีวิตประจําวันที่เกี่ยวของกับ ตัวนักเรียน เชน การเดินทางลัดจะชวยยนระยะทางเทาไร การวิ่งรอบสนามเด็กเลนรูปวงกลมที่มีพื้นที่ 150 ตารางเมตร หนึ่งรอบจะไดระยะทางเทาไร เพื่อชี้ใหนักเรียนเห็นวาปญหาลักษณะนี้ บางปญหาอาจมี คําตอบเปนจํานวนอตรรกยะที่มีเครื่องหมายกรณฑติดอยู ซึ่งตองใชความรูเกี่ยวกับกรณฑที่สองในการ คํานวณ
  • 3. 4 2. ตัวอยางที่ 4 ตองการใหนักเรียนเขาใจวิธีการคํานวณความสูงและพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ดานเทา นักเรียนอาจนําวิธีการนี้ไปใชคํานวณความสูงและพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมชนิดอื่น ๆ เมื่อนักเรียน เขาใจแลวอาจใหจดจําเปนสูตรไวใชได 3. กิจกรรม “ทําไดไหม” ตองการใหนักเรียนนําความรูจากตัวอยางที่ 4 มาใช โดยครูอาจแนะ ใหนักเรียนแบงรูปหกเหลี่ยมดานเทามุมเทาออกเปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา 6 รูปที่เรียงชิดติดกันและมี จุดยอดรวมกัน เพื่อที่นักเรียนจะสามารถคิดตอไปได 4. กิจกรรม “บอกไดหรือไม” ตองการเนนใหนักเรียนฝกใชความรูสึกเชิงจํานวนเกี่ยวกับ กรณฑที่สองของจํานวนตรรกยะ เชนเดียวกับกิจกรรม “บอกไดไหม” ในหัวขอ 1.2 5. กิจกรรม “กรณฑที่สองของจํานวนจริง” ตองการใหนักเรียนฝกทักษะการสังเกตแบบรูป และการวิเคราะหความสัมพันธ ครูควรฝกใหนักเรียนรูจักสังเกต คิดและคนหาความสัมพันธจากแบบรูป ที่หาได 6. กิจกรรม “วางอยางไร” ตองการใหนักเรียนฝกบูรณาการทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตรเพื่อแกปญหาที่เปนนามธรรม ครูอาจใหนักเรียนอธิบายเหตุผลของคําตอบที่ไดดวย คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบกิจกรรม “ยังจําไดไหม” 1. 1) 6 และ -6 2) 14 และ -14 3) 50 และ - 50 4) 200 และ - 200 5) 9 4 และ - 9 4 6) 75 24 และ - 75 24 7) 0.4 และ -0.4 8) 049.0 และ - 049.0 2. 1) 16 2) 625 3) 256 81 4) 0.1296 5) 12 6) 7 3 7) 0.9 8) 0.16
  • 4. 5 คําตอบกิจกรรม “กรณฑที่สองของ a2 เปนเทาไร” 1. เทา 2. เทา 3. เทา 4. เทา 5. เทา 6. เทา 7. เทา 8. 111 9. เทา 10. เทา คําตอบแบบฝกหัด 1.1 1. 1) 11 2) 17 3) -35 4) -140 5) 112 25 6) 84 71 7) 175 19- 8) -0.08 9) 0.5a2 เมื่อ a > 0 10) 43 yx4 3 11) 105 nm25 11 12) 0.25a8 b12 2. 1) 33 2) 72- 3) 210 4) 315 5) 295 6) 615 7) 250 8) 260 3. 1) 9 2) 24 3) 100 4) 7 5) 2 6) 25 11
  • 5. 6 7) ⏐0.08a9 ⏐ 8) 14 m 22 เมื่อ m ≠ 0 4. 1) ประมาณ 4.242 2) ประมาณ -8.660 3) ประมาณ 12.726 4) ประมาณ 15.588 5) ประมาณ -1.928 6) ประมาณ 391.300 คําตอบกิจกรรม “บอกไดไหม” ตัวอยางคําตอบ 1. จริง เพราะ 53 = 533 ⋅⋅ = 153⋅ และ 35 = 355 ⋅⋅ = 155⋅ แต 3 นอยกวา 5 จะได 53 < 35 2. ไมจริง เพราะ 85 = 83 + 82 เนื่องจาก 53 นอยกวา 83 และ 32 นอยกวา 82 ดังนั้น 53 + 32 นอยกวา 83 + 82 จะได 53 + 32 ≠ 85 3. ไมจริง เพราะ 5 มากกวา 2 ดังนั้น 1 + 5 มากกวา 3 จะได 1 + 5 > 3 4. จริง เพราะ 3 นอยกวา 2 ดังนั้น 32 นอยกวา 4 จะได 32 – 3 < 1 5. จริง เพราะ 3 นอยกวา 2 ดังนั้น 32 นอยกวา 2 × 2 หรือ 4 และ 33 นอยกวา 3 × 2 หรือ 6 จะได 32 + 33 < 10 6. จริง เพราะ 2 ≈ 1.4, 3 ≈ 1.7 และ 5 นอยกวา 2.5 จะได 2 + 3 ≈ 3.1 ซึ่งมากกวา 5 จะได 2 + 3 > 5 7. ไมจริง เพราะ 57 – 56 = 5 และ 5 มากกวา 2 จะได 57 – 56 > 2 8. จริง เพราะ 35 – 34 = 3 ซึ่งมากกวา 1 แต 35 – 24 มากกวา 35 – 34 จะได 35 – 24 > 1
  • 6. 7 9. จริง เพราะ 3 + 5 ≈ 1.7 + 5 หรือ 6.7 และ 5 + 3 ≈ 2.2 + 3 หรือ 5.2 จะได 3 + 5 > 5 + 3 10. จริง เพราะ 2 + 3 + 5 ≈ 1.4 + 1.7 + 2.2 หรือ 5.3 จะได 2 + 3 + 5 > 5 คําตอบแบบฝกหัด 1.2 ก 1. 1) 215 2) 78 3) 32 4) 7- 5) 26 6) 53 7) 312 8) 512- 2. 1) 312 – 63 2) 219 – 52 3) 54 – 216 4) 5835 + 5) 358 – 23 6) 645 + 28 คําตอบกิจกรรม “ชวยคิดหนอย” 2 27 คําตอบแบบฝกหัด 1.2 ข 1. 1) 105 2) 1510 3) 150 4) 14 + 355 5) 12 + 636 6) 45
  • 7. 8 2. 1) 9 2) 90 3) 7 25- 4) -72 5) ⏐2y⏐ 6) x6 3. 1) ประมาณ 2.475 2) ประมาณ 4.330 3) ประมาณ 11.429 4) ประมาณ 0.490 4. 1) 11 51 2) 2 51- 5. 6 คําตอบกิจกรรม “ทําไดไหม” 2 33 ตารางหนวย คําตอบกิจกรรม “บอกไดหรือไม” ตัวอยางคําตอบ 1. จริง เพราะ 3 นอยกวา 2 ดังนั้น 315 นอยกวา 15 × 2 หรือ 30 จะได 315 < 30 2. ไมจริง เพราะ 310 = 31010 ⋅⋅ หรือ 3010 ⋅ และ 103 = 1033 ⋅⋅ หรือ 303⋅ แต 10 มากกวา 3 จะได 310 > 103 3. จริง เพราะ 3 × 5 = 15 ซึ่งนอยกวา 4 จะได 3 × 5 < 5 4. ไมจริง เพราะ 25 × 34 = 620 จะได 25 × 34 ≠ 69 14 11 2 a2
  • 8. 9 5. จริง เพราะ 2 × 7 = 14 และ 3 × 5 = 15 จะได 2 × 7 < 3 × 5 6. ไมจริง เพราะ 2 20 = 10 แต 10 มากกวา 9 หรือ 3 จะได 2 20 > 3 7. ไมจริง เพราะ 26 มากกวา 5 ดังนั้น 5 26 มากกวา 1 จะได 5 26 > 1 8. จริง เพราะ 2 14 = 2 214 หรือ 27 จะได 2 14 > 7 9. จริง เพราะ ตัวเศษของ 5 3 นอยกวาตัวเศษของ 3 5 และตัวสวนของ 5 3 มากกวาตัวสวนของ 3 5 จะได 5 3 < 3 5 10. จริง เพราะ 3 × 01.0 = 3 × 0.1 = 0.3 และ 01.0 3 = 1.0 3 = 30 จะได 3 × 01.0 < 01.0 3 คําตอบแบบฝกหัด 1.3 1. 1) 21 หรือ -21 2) 3 หรือ -5 3) 16 4) 99 2. 13 หนวย 3. 72 หนวย 4. 65 หนวย 5. 2 เทา
  • 9. 10 6. ประมาณ 38.2 เมตร 7. ประมาณ 0.7746 เทา คําตอบกิจกรรม “กรณฑที่สองของจํานวนจริง” 1 = 1 121 = 1 1 12321 = 1 1 1 1234321 = 1 1 1 1 123454321 = 1 1 1 1 1 11234565432 = 1 1 1 1 1 1 3211234567654 = 1 1 1 1 1 1 1 543211234567876 = 1 1 1 1 1 1 1 1 คําตอบที่ไดเปนจํานวนที่มีเลขโดดเปน 1 ทั้งหมด โดยจํานวนของ 1 เทากับ เลขโดดที่มากที่สุดของจํานวนที่อยูในเครื่องหมายกรณฑ เชน 1234321 = 1111 มีจํานวนของ 1 เปน 4 ซึ่งเทากับ 4 ที่เปนเลขโดดที่มากที่สุดของ 1 2 3 4 3 2 1 คําตอบกิจกรรม “วางอยางไร” 1. 2. 40 หนวย 8 5 6 7 1 23 4