SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 52
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 3
จํานวนจริง
( 14 ชั่วโมง )
ในบทเรียนนี้มุงใหผูเรียนมีความรูเกี่ยวกับจํานวนจริงเพิ่มขึ้นจากชวงชั้นที่ 3 โดยจะใหเห็นวา
เซตของจํานวนจริงประกอบดวยจํานวนชนิดตางๆ สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
การเทากันและการไมเทากันของจํานวนจริง การแกสมการและอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสอง
และคาสัมบูรณ โดยมุงใหผูเรียนมีผลการเรียนรู ดังนี้
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. แสดงความสัมพันธของจํานวนตาง ๆ ในระบบจํานวนจริงได
2. เขาใจความหมายและหาผลลัพธที่เกิดจาก การบวก การลบ การคูณ การหารจํานวนจริง
3. เขาใจสมบัติของจํานวนจริงที่เกี่ยวกับการบวก การคูณ การเทากันและการไมเทากัน และนําไป
ใชได
4. แกสมการและอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสองได
5. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับคาสัมบูรณของจํานวนจริงและหาคาสัมบูรณของจํานวนจริงได
ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นทางดาน
ความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูทางดานทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนและสอดแทรกกิจกรรม ปญหา หรือคําถามที่เสริมสรางทักษะ
กระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย
รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง
53
ขอเสนอแนะ
1. การสอนบทนี้นอกจากจะใหผูเรียนไดเห็นวา จํานวนชนิดใดอยูในเซตใดแลว ควรจะชี้แจงให
ผูเรียนเห็นวา จํานวนแตละจํานวนอาจเขียนใหอยูในรูปที่แตกตางกันไดหลายรูปแบบ
เชน 4 อาจเขียนอยูในรูป 2
8
หรือ 16 หรือ ⏐- 4⏐ หรือ 2
)4(− เปนตน
2. จํานวนที่เขียนในรูป b
a
เมื่อ a, b เปนจํานวนเต็ม ตัวสวนคือ b จะเปนศูนยไมไดเพราะถาตัว
สวนเปนศูนยจะเปนการหารดวยศูนยซึ่งในระบบจํานวนจริงกําหนดใหตัวหารตองไมเปนศูนย
ถาใหตัวหารเปนศูนย จะเกิดขอขัดแยงดังตัวอยางตอไปนี้
ให a และ b เปนจํานวนเต็มที่ไมเทากับศูนย และ a = b
จาก a = b
ab = b2
(คูณดวยจํานวนที่เทากัน)
ab – a2
= b2
– a2
(หักออกดวยจํานวนที่เทากัน)
a(b – a) = (b + a)(b – a) (สมบัติการแจกแจง)
a = b + a (หารดวย b – a ทั้งสองขาง)
a = a + a (a = b)
a = 2a
1 = 2 (สมบัติการตัดออกสําหรับการคูณ)
จะเห็นวา การที่ผลลัพธออกมาเชนนี้เนื่องจาก การนํา b – a ซึ่งเทากับ 0 หารทั้งสองขาง
ของสมการ
3. จํานวนอตรรกยะจํานวนหนึ่งที่ผูเรียนมักจะตอบวา เปนจํานวนตรรกยะคือ π เนื่องจากการ
คํานวณในชวงชั้นตน ๆ มักจะใหผูเรียนแทนคา π ดวย 7
22
จึงทําใหผูเรียนสวนมากเขาใจผิด
ไปวา π = 7
22
ดังนั้น ผูเรียนจึงสรุปวา π เปนจํานวนตรรกยะ ซึ่งไมถูกตอง ในบทนี้มี
จุดประสงคจะใหผูเรียนสามารถจําแนกชนิดของจํานวนไดอยางถูกตอง ดังนั้น ผูสอนจะตองให
ผูเรียนระมัดระวังและชี้ใหเห็นวา คาที่ใชในการคํานวณไมวาจะเปน 7
22
หรือ 3.1416 ก็ตาม
ลวนเปนคาประมาณของ π ดวยเหตุผลในทํานองเดียวกันนี้ ผูเรียนจะเห็นวาแมจะใช 1.414
แทน 2 ในการคํานวณ แตแทจริงแลว 2 เปนจํานวนอตรรกยะ
54
4. เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามและการแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียว เปนเนื้อหาสาระที่
จัดไวใหเปนพื้นฐานสําหรับผูเรียนที่เรียนคณิตศาสตร เฉพาะรายวิชาพื้นฐานในชวงชั้นที่ 3
ผูเรียนที่เรียนรายวิชาคณิตศาสตรเพิ่มเติมในชวงชั้นที่ 3 มาแลว อาจจะไดเรียนเนื้อหานี้แลว
ดังนั้นผูสอนในเนื้อหาสาระนี้ควรพิจารณาผูเรียนวามีพื้นฐานความรูของเนื้อหาสาระนี้มากนอย
เพียงใด ถาผูเรียนไดเรียนเนื้อหาสาระนี้แลว ผูสอนอาจจะเพียงทบทวนใหผูเรียนหรือปรับบทเรียน
ใหมีความเหมาะสมกับผูเรียน
5. ผูเรียนบางคนอาจจะสับสนกับเรื่องคาสัมบูรณของจํานวนจริง a ใด ๆ ที่อธิบายไววา
เมื่อ a เปนจํานวนจริงใด ๆ
a เมื่อ a เปนจํานวนจริงบวกหรือศูนย
⏐a⏐ =
- a เมื่อ a เปนจํานวนจริงลบ
ผูเรียนควรเขาใจวา ⏐a⏐ มีคาเปนจํานวนบวกหรือศูนยเสมอ กลาวคือ
เมื่อ a เปนจํานวนบวก เชน 5.25 จะได ⏐5.25⏐ = 5.25
เมื่อ a เปนศูนย จะได ⏐0⏐ = 0
เมื่อ a เปนจํานวนลบ เชน - 8 จะได ⏐- 8⏐ = – (-8) = 8
ผูสอนควรใหผูเรียนมีความเขาใจวา เมื่อ a เปนจํานวนจริงใด ๆ ⏐a⏐ ตองไมเปนจํานวนลบ
6. เรื่องคาสัมบูรณของจํานวนจริง การใหความหมายของคาสัมบูรณของจํานวนจริงใด ๆ ดวยระยะ
ของจุดที่แทนจํานวนจริงนั้นอยูหางจากจุดที่แทน ศูนย บนเสนจํานวน จะทําใหผูเรียนเขาใจ
ความหมายของอสมการ ⏐x⏐ < a และ ⏐x⏐ > a ดีขึ้น กลาวคือ
จํานวนจริง x ที่ทําใหอสมการ ⏐x⏐ < a เปนจริง ไดแก จํานวนจริงทุกจํานวนที่มีระยะ
หางจาก 0 บนเสนจํานวนนอยกวา a ซึ่งแสดงไดดังนี้
นั่นคือ x แทนจํานวนจริงทุกจํานวนที่อยูระหวาง -a และ a หรือ เขียนไดเปน - a < x< a
จํานวนจริง x ที่ทําใหอสมการ ⏐x⏐ > a เปนจริง ไดแก จํานวนจริงทุกจํานวนที่มีระยะ
หางจาก 0 บนเสนจํานวนมากกวา a ซึ่งแสดงไดดังนี้
นั่นคือ x แทนจํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา a และนอยกวา - a หรือ เขียนไดเปน x > a
และ x < - a
-a 0 a
-a 0 a
55
ปญหา ก. ข.
4ab 400
400 ab4
ใหจํานวนที่อยูใน แทนคําตอบของปญหา ก. และ ข.
ถาคําตอบทั้งสองมีคาเทากัน
จงหาวา a และ b แทนเลขโดดใด และคําตอบที่เทากันนั้นคือจํานวนใด
กิจกรรมเสนอแนะ
กิจกรรมที่ 1 และ 2 ที่เสนอไวตอไปนี้ผูสอนอาจใชเปนกิจกรรมเสริมสรางทักษะ
กระบวนการแกปญหา การใหเหตุผล และการสื่อสาร สําหรับกิจกรรมที่ 3 ผูสอนสามารถใชเปน
กิจกรรมประกอบการเรียนการสอน เพื่อใหผูเรียนมีความเขาใจเกี่ยวกับการคูณดวยจํานวนที่นอยกวา
ศูนย ของอสมการไดดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ผูสอนสามารถปรับกิจกรรมที่เสนอไวไดตามความเหมาะสมของ
ผูเรียน
กิจกรรมที่ 1
จากปญหาขางตน ผูสอนอาจใชคําถามตอไปนี้เพื่อชวยแนะนําใหผูเรียนหาคําตอบไดดวย
ตนเองดังนี้
1. ใชความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการลบ
1) พิจารณาจากสิ่งที่โจทยกําหนดใหใน ข. เลขโดดในหลักหนวยของผลลัพธ
ควรเปนจํานวนใด
4 0 0
a b 4
?
ข.
4 0 0
a b 4
6 10 – 4 = 6
56
ข.
4 0 0
a 6 4
3 6
ควรเทากับ 3 เพราะ 9 – 6 = 3
2) จากคําตอบในขอ 1) สามารถหาคําตอบอื่นไดอีกหรือไม
จากคําตอบในขอ 1) พิจารณาโจทย ก. จะได b - 0 ควรมีคาเทากับ 6 นั่นคือ
b แทน 6
3) จากโจทย ข. ขางตนเลขโดดในหลักสิบของ ข. ควรเปนจํานวนใด
4) จากคําตอบขางตน a ควรมีคาเทาใด และสามารถหาคําตอบอื่นไดอีกหรือไม
จากคําตอบในขอ 3) พิจารณาโจทย ก. จะได a – 0 ควรมีคาเทากับ 3 นั่นคือ
a แทน 3
ก.
4 a b
4 0 0
6
ดังนั้น
ก. ข.
4 a b 4 0 0
4 0 0 a 6 4
6 6
57
2. ใชความรูเรื่องคาประจําหลัก และความรูทางพีชคณิต
สําหรับคําถามที่กลาวมาในกิจกรรมที่ 1 ผูเรียนบางคนอาจจะใชความรูเรื่องคาประจําหลัก
และตัวแปรมาชวยในการหาคําตอบไดดังนี้
จาก ก. 4ab – 400 และ ข. 400 – ab4 จะไดวา
4ab – 400 = (400 + 10a + b) – 400 หรือ 10a + b (1)
และ 400 – ab4 = 400 – (100a + 10b + 4) หรือ 396 – 100a – 10b (2)
เนื่องจากโจทยกําหนดใหผลตางของ (1) และ (2) เทากัน
จะไดวา 10a + b = 396 – 100a – 10b
110a + 11b = 396
10a + b = 36
โดยอาศัยความรูเรื่องคาประจําหลัก จะไดวา a = 3 และ b = 6 จึงจะทําให 10a + b = 36
นอกจากวิธีการที่ไดนําเสนอ อาจจะมีผูเรียนบางคนหรือบางกลุมใชวิธีการอื่นนอกจากนี้ก็ได ซึ่ง
ผูสอนควรใหโอกาสผูเรียนไดนําเสนอวิธีการหาคําตอบที่แตกตางกันใหเพื่อนไดรับทราบดวย เพื่อเปนการ
ฝกทักษะกระบวนการทางดานการสื่อสารใหแกผูเรียน
4 3 6 4 0 0
4 0 0 3 6 4
3 6 3 6
คําตอบ
4 3 6 4 0 0
4 0 0 3 6 4
3 6 3 6
สรุปไดวา a = 3, b = 6 และคําตอบที่เทากันคือ 36
0
a
ก. ข.
a
58
กิจกรรมที่ 2
1. เนื้อหา จํานวนจริงและสมบัติของจํานวนจริง a × 0 = 0
2. เนื้อหา สมบัติของจํานวนจริง
ให x = y
บวกทั้งสองขางของสมการดวย – y
จะได x – y = 0 (1)
คูณทั้งสองขางของสมการ (1) ดวย 2
จะได 2x – 2y = 0 (2)
และ x – y = 2x – 2y ((1) = (2))
(x – y) = 2(x – y)
หารทั้งสองขางของสมการดวย (x – y)
จะได 1 = 2
คําตอบ ขอ 1 คําตอบคือ 0 เนื่องจาก 1 ≤ n ≤ 26 ดังนั้น n จะตองมีคาเทากับคาใดคาหนึ่ง
ที่เปนจํานวนเต็มตั้งแต 1 ถึง 26 เชน
ถาให n = 1 จะได
(1 – 1)(1 – 2)(1 – 3) ... (1 – 26) = 0
คําตอบขอ 2 จากโจทยขางตน เนื่องจาก x = y
ดังนั้น x – y จึงมีคาเทากับศูนย ทําใหไมสามารถนํา x – y
ซึ่งมีคาเทากับศูนยไปหารทั้งสองขางของสมการ (x – y) = 2(x – y) ได
หมายเหตุ ในระบบจํานวน เราไมใชศูนยเปนตัวหาร
เชน ให 10 × 0 = 100 × 0
ถาหารทั้งสองขางของสมการดวย 0 จะไดวา 10 = 100 ซึ่งไมเปนจริง
ให n เปนจํานวนนับ โดยที่ 1 ≤ n ≤ 26
และ a = 1, b = 2, c = 3, ..., z = 26
จงหาผลคูณ (n – a)(n – b)(n – c) ... (n – z)
เพราะเหตุใดคําตอบจึงเปนเชนนี้
59
กิจกรรมที่ 3
ในการแกอสมการโดยใชสมบัติของการคูณดวยจํานวนที่เทากันและไมเปนศูนยจะเปนไป
ตามสมบัติ ดังนี้ เมื่อ a , b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ
จะเห็นวา เครื่องหมายแสดงการไมเทากันจะเปลี่ยนจาก < เปน > ซึ่งผูเรียนบางคน
อาจจะนึกภาพไมออกวาเหตุใดจึงเปนเชนนั้น เพื่อใหผูเรียนมีความเขาใจเรื่องการเปลี่ยนเครื่องหมาย
จาก < เปน > เมื่อคูณดวยจํานวนที่นอยกวาศูนยงายขึ้น ผูสอนอาจใชเสนจํานวนมาชวยอธิบาย
ไดดังนี้
กําหนดให a < b เมื่อ a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ และให c = –1
1) ถา a < b และ a, b > 0
จากแผนภาพ จะเห็นวา เมื่อ a < b จะไดวา
– a > – b
ตัวอยางเชน 2 < 3 จะไดวา –2 > –3
ผูสอนใหผูเรียนยกตัวอยางจํานวน a และ b ที่มากกวาศูนยหลาย ๆ ตัวอยางและใชแผน
ภาพของเสนจํานวนหาคาของ – a และ – b เพื่อหาวา – a > – b จริงหรือไม
0 a b
-b -a 0 a b
ถา a < b และ c < 0 แลว ca > cb
60
2) ถา a < b และ a < 0 แต b > 0
จากแผนภาพ จะเห็นวา – a > – b
ตัวอยางเชน – 1 < 3 จะไดวา 1 > – 3
ผูสอนใหผูเรียนยกตัวอยางจํานวน a ที่นอยกวาศูนย และ b ที่มากกวาศูนยหลาย ๆ ตัว
อยางและใชแผนภาพของเสนจํานวนหาคาของ – a และ – b เพื่อหาวา – a > – b จริงหรือไม
3) ถา a < b และ a, b < 0
จากแผนภาพ จะเห็นวา – a > – b
ตัวอยางเชน – 3 < – 1 จะไดวา 3 > 1
ผูสอนใหผูเรียนยกตัวอยางจํานวน a และ b ที่นอยกวาศูนยหลาย ๆ ตัวอยาง และใช
แผนภาพของเสนจํานวนหาคาของ – a และ – b เพื่อหาวา – a > – b จริงหรือไม
เมื่อผูเรียนทําความเขาใจกับตัวอยางที่กลาวมาขางตนและพบวา ตัวอยางที่ยกมาเปนจริงทั้งสาม
กรณี ผูสอนจึงคอยสรุปสมบัติการคูณทั้งสองขางของอสมการดวยจํานวนที่เทากันที่เปนจํานวนจริงลบ
ดังนี้
-b a 0 -a b
a 0 b
a b 0 -b -a
a b 0
61
ให a และ b เปนจํานวนจริง
ถา a < b และ c < 0 แลว ac > bc
ถา a > b และ c < 0 แลว ac < bc
กิจกรรมที่กลาวมาคงจะชวยทําใหผูเรียนเขาใจสมบัติของการคูณดวยจํานวนที่เทากัน
ที่ไมเปนศูนยในอสมการไดชัดเจนขึ้น และสามารถนําสมบัติดังกลาวไปใชไดอยางถูกตอง
แบบทดสอบประจําบท
แบบทดสอบที่นําเสนอตอไปนี้เปนตัวอยางแบบทดสอบแสดงวิธีทํา ซึ่งจะใชประเมินผล
ดานเนื้อหาวิชาของผูเรียนเมื่อเรียนจบในเนื้อหาเรื่อง จํานวนจริง ผูสอนสามารถเลือกและปรับแบบ
ทดสอบใหเหมาะสมกับผูเรียนแตละกลุม
ตัวอยางแบบทดสอบ
1. จงยกตัวอยาง
1) จํานวนตรรกยะที่ไมเปนจํานวนเต็ม
2) จํานวนจริงที่ไมเปนจํานวนตรรกยะ
2. จงพิจารณาวาจํานวนตอไปนี้ จํานวนใดเปนจํานวนตรรกยะ จํานวนใดเปนจํานวนอตรรกยะ
4 , 31 ,
2
π
, 0.75, 0, 1.3333 … , –5.50
3. จงหาคําตอบของสมการตอไปนี้
1) x2
+ 6x – 16 = 0
2) x2
+ 4x – 8 = 0
4. จงหาคําตอบของอสมการตอไปนี้
1) –5x – 20 ≥ 0
2) (x – 1)(x + 3) < 0
3) x2
– 4 ≤ 0
5. จงหาคาของ x เมื่อกําหนดให
1) 2x(x + 1) = – ( x + 1) 2) –2x ≤ 1
62
6. จงหาคาของ
1) –⏐–1⏐ + ⏐11⏐ 2)
12
12
−
7. จงแสดงคาของ x บนเสนจํานวน เมื่อ
1) ⏐x⏐ > 1
2) ⏐x – 1 ⏐ = 0
8. โรงงานอุตสาหกรรมผลิตสินคาสงออกแหงหนึ่งเก็บสินคาที่ผลิตไดไวที่โกดังของโรงงานกอนสง
ออกไปขาย โดยโรงงานจะผลิตสินคาไดไมเกินวันละ n ชิ้น ในเดือนพฤศจิกายน โกดังเก็บ
สินคาที่ผลิตไดมากที่สุดจํานวน 27,000 ชิ้น อยากทราบวา โรงงานแหงนี้ผลิตสินคาไดวันละ
ไมเกินกี่ชิ้น
เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ
1. 1) 2
9
, 3.5 , 3
2−
, 93.1 &
2) π , 2 , 5.121121112...
2.
จํานวนจริง จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ
4
31
2
π
0.75
0
1.3333...
– 5.50
-
-
-
-
-
-
-
3. 1) x2
+ 6x – 16 = 0
(x + 8)(x – 2) = 0
x = – 8, 2
63
2) x2
+ 4x – 8 = 0
(x2
+ 4x) – 8 = 0
(x2
+ 4x + 4) – 8 – 4 = 0
(x + 2)2
– 12 = 0
(x + 2)2
= 12
(x + 2) = 12±
x = – 2 12± หรือ 322 ±−
หมายเหตุ ผูเรียนอาจใชวิธีการอื่นเชนใชสูตรเพื่อหาคา x ก็ได
โดยการใชสูตร x =
a2
ac4bb 2
−±−
= )1(2
)8)(1(444 2
−−±−
=
2
484 ±−
= 2
316)4( ×±−
= 322 ±−
4. จงหาคําตอบของอสมการตอไปนี้
1) –5x – 20 ≥ 0
–5x – 20 + 20 ≥ 0 + 20
–5x ≥ 20
5
x5
− ≥
5
20
– x ≥ 4
x ≤ – 4
2) (x – 1)(x + 3) < 0
พิจารณาตัวอยางคา x ในชวง (– ∞, – 3), (– 3, 1) และ (1, ∞) ในตารางตอไปนี้
ชวง x (x – 1)(x + 3)
(– ∞, – 3)
(– 3, 1)
(1, ∞)
– 5
0
5
(– 6)(– 2) = 12
(– 1)(3) = – 3
(4)(8) = 32
มีคาเปนบวก
มีคาเปนลบ
มีคาเปนบวก
เมื่อกําหนดคา x เพิ่มขึ้นอีกหลาย ๆ จํานวน จะพบวา
คาของ x ที่ทําให (x – 1)(x + 3) < 0 คือ x ที่อยูในชวง (– 3, 1)
–3 1
64
3) x2
– 4 ≤ 0
(x – 2)(x + 2) ≤ 0
พิจารณาตัวอยางของ x ในชวง (– ∞, – 2), (– 2, 2), (2, ∞) และ x = ± 2
ในตารางตอไปนี้
ชวง x (x – 2)(x + 2)
(– ∞, – 2)
(– 2, 2)
(2, ∞)
– 5
0
5
2
– 2
(– 7)(– 3) = 21
(– 2)(2) = – 4
(3)(7) = 21
(0)(4) = 0
(– 4)(0) = 0
มีคาเปนบวก
มีคาเปนลบ
มีคาเปนบวก
มีคาเปนศูนย
มีคาเปนศูนย
เมื่อกําหนดคา x เพิ่มขึ้นอีกหลายๆ จํานวน จะพบวา
คาของ x ที่ทําให x2
– 4 ≤ 0 คือ x ที่อยูในชวง [– 2, 2]
5. 1) 2x(x + 1) = – ( x + 1)
2x2
+ 2x = – x – 1
2x2
+ 3x + 1 = 0
(2x + 1)(x + 1) = 0
จะได x =
2
1
− หรือ – 1
2) –2x ≤ 1
2
x2
− ≤
2
1
หารดวย 2 ทั้งสองขางของสมการ
–x ≤
2
1
x ≥ –
2
1
คูณดวย – 1 ทั้งสองขางของสมการ
6. จงหาคาของ
1) –⏐– 1⏐ + ⏐11⏐ = – 1 + 11 = 10
2)
12
12
−
=
12
12
= 1
–2 2
65
7. จงแสดงคาของ x บนเสนจํานวน เมื่อ
1) ⏐x⏐ > 1
2) ⏐ x – 1 ⏐ = 0
8. โรงงานจะผลิตสินคาไดไมเกินวันละ n ชิ้น และในเดือนพฤศจิกายนโกดังเก็บสินคาที่ผลิตได
มากที่สุดจํานวน 27,000 ชิ้น จะหาวา โรงงานควรจะผลิตสินคาวันละไมเกินกี่ชิ้นไดดังนี้
เนื่องจากเดือนพฤศจิกายน มี 30 วัน
ดังนั้นในเดือนพฤศจิกายนโรงงานแหงนั้นผลิตสินคาไดไมเกิน 30n ชิ้น
แตโกดังเก็บสินคาที่ผลิตไดมากสุด จํานวน 27,000 ชิ้น
จะไดวา 30n ≤ 27,000
30
n30
≤
30
000,27
n ≤ 900
ดังนั้น โรงงานควรจะผลิตสินคาไมเกินวันละ 900 ชิ้น
เฉลยแบบฝกหัด
แบบฝกหัด 3.1
1. 1) – 9 จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ
2
7
− จํานวนตรรกยะ
5 จํานวนนับ, จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ
3
2
จํานวนตรรกยะ
2 จํานวนอตรรกยะ
0 จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ
1 จํานวนนับ, จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
66
2) 5 จํานวนอตรรกยะ
– 7 จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ
3
7
− จํานวนตรรกยะ
3.12 จํานวนตรรกยะ
4
5
จํานวนตรรกยะ
3) 2.01 จํานวนตรรกยะ
0.666... จํานวนตรรกยะ
– 13 จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ
0.010110111... จํานวนอตรรกยะ
4) 2.3030030003... จํานวนอตรรกยะ
0.7575 จํานวนตรรกยะ
– 4.63 จํานวนตรรกยะ
10 จํานวนอตรรกยะ
5) – π จํานวนอตรรกยะ
3
1
− จํานวนตรรกยะ
3
6
จํานวนนับ, จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ
2
2
จํานวนอตรรกยะ
– 7.5 จํานวนตรรกยะ
6) 25 จํานวนนับ, จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ
– 17 จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ
5
12
− จํานวนตรรกยะ
9 จํานวนเต็ม, จํานวนนับ, จํานวนตรรกยะ
3.12 จํานวนตรรกยะ
π
2
1
จํานวนอตรรกยะ
67
2. 1) จริง
2) จริง
3) เท็จ
4) จริง
5) จริง
6) เท็จ
7) จริง
8) เท็จ
3. 1) 8 เปนจํานวนเต็มที่มากที่สุดที่นอยกวา 9
2) ไมมีจํานวนตรรกยะที่มากที่สุดที่นอยกวา 9
3) 2 เปนจํานวนเต็มที่นอยที่สุดที่มากกวา 1
4) ไมมีจํานวนตรรกยะที่นอยที่สุดที่มากกวา 1
แบบฝกหัด 3.2
1. 1) การสลับที่การคูณ
2) การแจกแจง
3) การเปลี่ยนหมูการบวก
4) การสลับที่การคูณ
5) การสลับที่การบวก
6) การสลับที่การคูณ
7) ปดของการบวก
8) ปดของการบวก
9) อินเวอรสของการบวก
10) เอกลักษณการคูณ
2. 1) ไมเปนจริงตามสมบัติของจํานวนจริง
2) ไมเปนจริงตามสมบัติของจํานวนจริง
3) ไมเปนจริงตามสมบัติของจํานวนจริง
4) เปนจริงตามสมบัติการแจกแจง
5) เปนจริงตามสมบัติการแจกแจง
68
3. เซตของจํานวนนับ มีสมบัติขอ 1) และขอ 3)
เซตของจํานวนเต็มลบ มีสมบัติขอ 1)
เซตของจํานวนเต็ม มีสมบัติขอ 1), 2) และขอ 3)
เซตของจํานวนตรรกยะ มีสมบัติขอ 1), 2), และขอ 3)
แบบฝกหัด 3.3.1
1. 1) (x + 1)(x – 1) = x2
+ (–x) + x + (–1)
= x2
– 1
2) (x + 3)(x – 3) = x2
+ (–3x) + 3x+ (–9)
= x2
– 9
3) (2x + 3)(2x – 3) = 4x2
+ (–6x) + (6x) + (–9)
= 4x2
– 9
4) (5x + 4)(5x – 4) = 25x2
+ (–20x) + 20x + (–16)
= 25x2
– 16
5) (3x + 1)(3x – 1) = 9x2
+ (–3x) + 3x + (–1)
= 9x2
– 1
6) (x – 5)(x – 5) = x2
+ (–5x) + (–5x) + 25
= x2
– 10x + 25
7) (5x – 4)(5x – 4) = 25x2
+ (–20x) + (–20x) + 16
= 25x2
– 40x + 16
8) (3x – 1)(3x – 1) = 9x2
+ (–3x) + (–3x) + 1
= 9x2
– 6x + 1
9) (2x + 1)(3x + 2) = 6x2
+ 4x + 3x + 2
= 6x2
+ 7x + 2
10) (4x + 2)(x + 4) = 4x2
+ 16x + 2x + 8
= 4x2
+ 18x + 8
69
2. 1) x2
– 25x = x(x – 25)
2) x3
– 4x2
= x2
(x – 4)
3) x4
– 4x = x(x3
– 4)
4) 15x2
– 25x = 5x(3x – 5)
5) 81x2
– x = x(81x – 1)
6) 7x2
+ 49x = 7x(x + 7)
7) 88x3
+ 8x2
= 8x2
(11x + 1)
8) 13x4
+ x2
= x2
(13x2
+ 1)
9) 5x3
+ 15x2
= 5x2
(x + 3)
10) 100x4
+ 10x3
= 10x3
(10x + 1)
11) x2
+ 3x – 4 = (x – 1)(x + 4)
12) x2
+ 10x + 25 = (x + 5)(x + 5)
= (x + 5)2
13) x2
+ 6x + 9 = (x + 3)(x + 3)
= (x + 3)2
14) x2
+ 4x + 4 = (x + 2)(x + 2)
= (x + 2)2
15) x2
+ 8x – 20 = (x – 2)(x + 10)
16) x2
– 10x + 25 = (x – 5)(x – 5)
= (x – 5)2
17) x2
– 14x + 49 = (x – 7)(x – 7)
= (x – 7)2
18) x2
+ 6x – 16 = (x – 2)(x + 8)
19) x2
+ 6x + 8 = (x + 2)(x + 4)
20) x2
+ x – 30 = (x – 5)(x + 6)
21) x2
+ 13x + 30 = (x + 3)(x + 10)
22) x2
+ 8x + 7 = (x + 1)(x + 7)
23) x2
+ 10x + 21 = (x + 3)(x + 7)
24) x2
– 5x – 50 = (x + 5)(x – 10)
25) x2
+ 9x + 20 = (x + 5)(x + 4)
70
26) x2
– 10x – 11 = (x + 1)(x – 11)
27) x2
+ 14x + 13 = (x + 1)(x + 13)
28) 3x2
+ 10x + 3 = (3x + 1)(x + 3)
29) 2x2
+ x – 6 = (2x – 3)(x + 2)
30) 2x2
– x – 1 = (2x + 1)(x – 1)
31) 8x2
– 2x – 3 = (4x – 3)(2x + 1)
32) 25x2
+ 15x + 2 = (5x + 2)(5x + 1)
33) 4x2
+ 5x – 9 = (4x + 9)(x – 1)
34) 3x2
+ 4x – 15 = (3x – 5)(x + 3)
35) 4x2
– 1 = (2x)2
– 12
= (2x – 1)(2x + 1)
36) 25x2
– 1 = (5x)2
– 12
= (5x – 1)(5x + 1)
37) 9x2
– 4 = (3x)2
– 22
= (3x – 2)(3x + 2)
38) x4
– x2
= x2
(x2
– 1)
= x2
(x – 1)(x + 1)
39) x3
– 25x = x(x2
– 25)
= x(x – 5)(x + 5)
40) x4
– 4x2
= x2
(x2
– 4)
= x2
(x – 2)(x + 2)
3. 1) x2
+ 4x – 32 = (x2
+ 4x + 4) – 32 – 4
= (x + 2)2
– 36
= ((x + 2) – 6)((x + 2) + 6)
= (x – 4)(x + 8)
2) x2
– 2x – 3 = (x2
– 2x + 1) – 3 – 1
= (x – 1)2
– 4
= ((x – 1) – 2)((x – 1) + 2)
= (x – 3)(x + 1)
3) x2
– 4x + 2 = (x2
– 4x + 4) + 2 – 4
= (x – 2)2
– 2
71
= [(x – 2) – 2 ][(x – 2) + 2 ]
= [(x – (2 + 2 )][x – (2 – 2 )]
4) x2
+ 8x – 5 = (x2
+ 8x + 16) – 5 – 16
= (x + 4)2
– 21
= [(x + 4) – 12 ][(x + 4) + 21 ]
= [x + (4 – 21 )][x + (4 + 21 )]
5) x2
+ 6x + 2 = (x2
+ 6x + 9) + 2 – 9
= (x + 3)2
– 7
= [(x + 3) – 7 ][(x + 3) + 7 ]
= [x + (3 – 7 )][x + (3 + 7 )]
6) x2
+ 8x + 14 = (x2
+ 8x + 16) + 14 – 16
= (x + 4)2
– 2
= [(x + 4) – 2 ][(x + 4) + 2 ]
= [x + (4 – 2 )][x + (4 + 2 )]
7) x2
– 10x + 7 = (x2
– 10x + 25) – 25 + 7
= (x – 5)2
– 18
= [(x – 5) – 18 ][(x – 5) + 18 )
= [x – (5 + 18 )][x – (5 – 18 )]
8) x2
+ 7x + 11 = (x2
+ 7x +
4
49
) – 11
4
49
+
=
4
5
)
2
7
x( 2
−+
= [(x + 2
7
) – 2
5
][(x + 2
7
) + 2
5
]
= [x + ( 2
57−
)][x + )]
2
57
(
+
9) x2
– 2x = (x2
– 2x + 1) – 1
= (x – 1)2
– 1
= [(x – 1) – 1][(x – 1) + 1]
= [x – (1 + 1)][(x – (1 – 1)]
= (x – 2)(x)
10) x2
+ 4x = (x2
+ 4x + 4) – 4
= (x + 2)2
– 4
= [(x + 2) – 2][(x + 2) + 2]
72
= [x + (2 – 2)][x + (2 + 2)]
= (x)(x + 4)
11) –2x2
– 8x + 8 = –2(x2
+ 4x – 4)
= –2[(x2
+ 4x + 4) – 4 – 4]
= –2(x + 2)2
+ 16
= –2[(x + 2)2
– 8]
= –2[((x + 2) – 8 )((x + 2) + 8 )]
= –2[(x + (2 – 8 ))(x + (2 + 8 ))]
12) 8 + 4x – x2
= –(x2
– 4x – 8)
= –[(x2
– 4x + 4) – 8 – 4]
= – [(x – 2)2
– 12]
= –[((x – 2) – 12 )((x – 2 )+ 12 )]
= –[(x – (2 + 12 ))(x +(– 2 + 12 )]
13) –3x2
+ 6x + 4 = –3(x2
– 2x) + 4
= –3[(x2
– 2x + 1) – 1] + 4
= –3[(x – 1)2
– 1] + 4
= –3(x – 1)2
+ 7
= –3[(x – 1)2
– 3
7
]
= )]
3
7
)1x)((
3
7
)1x[((3 +−−−−
= ))]
3
7
1(x))(
3
7
1(x[(3 −−+−−
14) 4x2
– 4x – 9 = 4(x2
– x) – 9
= 9]
4
1
)
4
1
xx[(4 2
−−+−
= 9]
4
1
)
2
1
x[(4 2
−−−
= 91)
2
1
x(4 2
−−−
= 10)
2
1
x(4 2
−−
= ]
4
10
)
2
1
x[(4 2
−−
= )]
2
10
)
2
1
x)((
2
10
)
2
1
x[((4 +−−−
= ))]
2
101
(x))(
2
101
(x[(4
−
−
+
−
73
15) –3x2
+ 6x + 2 = –3(x2
– 2x) + 2
= –3[(x2
– 2x + 1) – 1] + 2
= –3[(x – 1)2
– 1] + 2
= –3(x – 1)2
+ 3 + 2
= –3(x – 1)2
+ 5
= –3[(x – 1)2
– 3
5
]
= –3[((x – 1) – 3
5
)((x – 1) + 3
5
)]
= –3[(x – (1 + 3
5
))(x – (1 – 3
5
))]
16) –2x2
+ 2x + 1 = –2(x2
– x) + 1
= 1]
4
1
)
4
1
xx[(2 2
+−+−−
= 1]
4
1
)
2
1
x[(2 2
+−−−
= 1
2
1
)
2
1
x(2 2
++−−
=
2
3
)
2
1
x(2 2
+−−
= –2[(x – 2
1
)2
– 4
3
]
= –2[((x – 2
1
) – 2
3
)((x – 2
1
)+ 2
3
)]
= –2[(x – 2
)31( +
)(x – 2
)31( −
)]
แบบฝกหัด 3.3.2
1. 1) x2
+ 7x + 10 = 0 จะได (x + 2)(x + 5) = 0, x = – 2, – 5
2) x2
+ 8x + 12 = 0 จะได (x + 2)(x + 6) = 0, x = – 2, – 6
3) x2
– 3x – 18 = 0 จะได (x + 3)(x – 6) = 0, x = – 3, 6
4) x2
– 6x – 16 = 0 จะได (x + 2)(x – 8) = 0, x = – 2, 8
5) x2
+ 5x – 24 = 0 จะได (x + 8)(x – 3) = 0, x = – 8, 3
6) x2
+ x – 30 = 0 จะได (x + 6)(x – 5) = 0, x = – 6, 5
7) x2
– 14x + 48 = 0 จะได (x – 8)(x – 6) = 0, x = 8, 6
8) 21 – 10x + x2
= 0 จะได (7 – x)(3 – x) = 0, x = 7, 3
9) 2 + x – x2
= 0 จะได (1 + x)(2 – x) = 0, x = – 1, 2
74
10) 2x2
+ 7x + 3 = 0 จะได (2x + 1)(x + 3) = 0, x = –
2
1
, – 3
11) 3x2
+ 7x + 2 = 0 จะได (3x + 1)(x + 2) = 0, x = –
3
1
, – 2
12) 5x2
+ 13x + 6 = 0 จะได (5x + 3)(x + 2) = 0, x = –
5
3
, – 2
13) 7x2
+ 3x – 4 = 0 จะได (7x – 4)(x + 1) = 0, x =
7
4
, – 1
14) 9x2
+ 12x + 4 = 0 จะได (3x + 2)(3x + 2) = 0, x =
3
2
−
15) 4x2
+ 8x + 3 = 0 จะได (2x + 3)(2x + 1) = 0, x =
2
3
− ,
2
1
−
16) 4x2
+ 16x + 15 = 0 จะได (2x + 3)(2x + 5) = 0, x =
2
3
− ,
2
5
−
17) x2
– 9 = 0 จะได (x + 3)(x – 3) = 0, x = – 3, 3
18) 25 – x2
= 0 จะได (5 + x)(5 – x) = 0, x = – 5, 5
19) 9x2
– 16 = 0 จะได (3x + 4)(3x – 4) = 0, x =
3
4
− ,
3
4
20) 36x2
– 25 = 0 จะได (6x + 5)(6x – 5) = 0, x =
6
5
− ,
6
5
2. 1) x2
+ 8x + 6 = 0
[x2
+ 2(4)x] + 6 = 0
[x2
+ 2(4)x + 42
] + 6 – 42
= 0
(x + 4)2
– 10 = 0
(x + 4)2
= 10
x + 4 = 10±
x = 104 ±−
2) x2
+ 10x + 3 = 0
[x2
+ 2(5)x] + 3 = 0
[x2
+ 2(5)x + 52
] + 3 – 52
= 0
(x + 5)2
– 22 = 0
(x + 5)2
= 22
x + 5 = 22±
x = 225 ±−
75
3) x2
+ 4x + 2 = 0
[x2
+ 2(2)x] + 2 = 0
[x2
+ 2(2)x + 22
] + 2 – 22
= 0
(x + 2)2
– 2 = 0
(x + 2)2
= 2
x + 2 = 2±
x = 22 ±−
4) x2
+ 6x + 3 = 0
[x2
+ 2(3)x] + 3 = 0
[x2
+ 2(3)x + 32
] + 3 – 32
= 0
(x + 3)2
– 6 = 0
(x + 3)2
= 6
x + 3 = 6±
x = 63 ±−
5) x2
+ 8x – 1 = 0
[x2
+ 2(4)x] – 1 = 0
[x2
+ 2(4)x + 42
] – 1 – 42
= 0
(x + 4)2
– 17 = 0
(x + 4)2
= 17
x + 4 = 17±
x = – 4 17±
6) x2
– 4x – 2 = 0
[x2
– 2(2)x] – 2 = 0
[x2
– 2(2)x + 22
] – 2 – 22
= 0
(x – 2)2
– 6 = 0
(x – 2)2
= 6
x – 2 = 6±
x = 62 ±
76
7) x2
– 6x + 4 = 0
[x2
– 2(3)x] + 4 = 0
[x2
– 2(3)x + 32
] + 4 – 32
= 0
(x – 3)2
– 5 = 0
(x – 3)2
= 5
x – 3 = 5±
x = 53 ±
8) x2
– 10x – 2 = 0
[x2
– 2(5)x] – 2 = 0
[x2
– 2(5)x + 52
] – 2 – 52
= 0
(x – 5)2
– 27 = 0
(x – 5)2
= 27
x – 5 = 27±
x – 5 = 33±
x = 335 ±
9) x2
+ 5x + 1 = 0
1x
2
5
2x2
+⎥
⎦
⎤
⎢
⎣
⎡
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+ = 0
22
2
2
5
1
2
5
x
2
5
2x ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
−+
⎥
⎥
⎦
⎤
⎢
⎢
⎣
⎡
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+ = 0
4
21
2
5
x
2
−⎥
⎦
⎤
⎢
⎣
⎡
+ = 0
2
2
5
x ⎥
⎦
⎤
⎢
⎣
⎡
+ =
4
21
2
5
x + =
4
21
±
x =
4
21
2
5
±−
x =
2
21
2
5
±−
x =
2
215 ±−
77
10) x2
+ 3x + 2 = 0
2x
2
3
2x2
+⎥
⎦
⎤
⎢
⎣
⎡
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+ = 0
22
2
2
3
2
2
3
x
2
3
2x ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
−+
⎥
⎥
⎦
⎤
⎢
⎢
⎣
⎡
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+ = 0
4
1
2
3
x
2
−⎥
⎦
⎤
⎢
⎣
⎡
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+ = 0
2
2
3
x ⎥
⎦
⎤
⎢
⎣
⎡
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+ =
4
1
2
3
x+ =
4
1
±
x =
4
1
2
3
±−
x =
2
13 ±−
, x = – 1, – 2
3. 1) x2
– 4x – 21 = 0
a = 1, b = – 4, c = – 21
x =
a2
ac4bb 2
−±−
= )1(2
)21)(1(4)4()4( 2
−−−±−−
=
2
104 ±
= 7, – 3
2) จาก x2
= 4x จะได x2
– 4x = 0
ดังนั้น a = 1, b = – 4, c = 0
x =
a2
ac4bb 2
−±−
= )1(2
)0)(1(4)4()4( 2
−−±−−
=
2
44 ±
= 4, 0
78
3) จาก x2
– 2x = 6 จะได x2
– 2x – 6 = 0
ดังนั้น a = 1, b = – 2, c = – 6
x =
a2
ac4bb 2
−±−
= )1(2
)6)(1(4)2()2( 2
−−−±−−
=
)1(2
2442 +±
=
2
282 ±
=
2
722 ±
= 71±
4) 3x2
+ 2x – 3 = 0
a = 3, b = 2, c = – 3
x =
a2
ac4bb 2
−±−
=
)3(2
)3)(3(422 2
−−±−
=
)3(2
3642 +±−
=
)3(2
402 ±−
=
)3(2
1022 ±−
=
3
101±−
5) จาก 2x2
+ 4x = 1 จะได 2x2
+ 4x – 1 = 0
ดังนั้น a = 2, b = 4, c = – 1
x =
a2
ac4bb 2
−±−
=
)2(2
)1)(2(444 2
−−±−
=
)2(2
8164 +±−
=
)2(2
244 ±−
=
)2(2
624 ±−
=
2
62 ±−
79
6) จาก 2x2
= x + 2 จะได 2x2
– x – 2 = 0
ดังนั้น a = 2, b = – 1, c = – 2
x =
a2
ac4bb 2
−±−
=
)2(2
)2)(2(4)1()1( 2
−−−±−−
=
)2(2
1611 +±
=
4
171±
4. 1) x2
+ (x + 3)2
= (x + 7)2
x2
+ (x2
+ 6x + 9) = x2
+ 14x + 49
2x2
+ 6x + 9 = x2
+ 14x + 49
x2
– 8x – 40 = 0
หาคําตอบของสมการโดยใชสูตรไดดังนี้
x =
)a(2
ac4bb 2
−±−
และ a = 1, b = – 8, c = – 40
= )1(2
)40)(1(4)8()8( 2
−−−±−−
=
2
160648 +±
=
2
2248 ±
=
2
1448 ±
= 1424 ±
เนื่องจากความยาวดานของรูปสามเหลี่ยมจะตองเปนบวกเสมอ
ดังนั้น x = 1424 +
จะได AB = 1424 +
BC = 31424 ++ = 1427 +
AC = 71424 ++ = 14211+
2)
x2
+ (x + 2)2
= (x + 6)2
x2
+ x2
+ 4x + 4 = x2
+ 12x + 36
x2
– 8x – 32 = 0
A
B Cx + 3
x + 7x
A
B Cx + 2
x + 6x
80
หาคําตอบของสมการโดยใชสูตรไดดังนี้
x =
)a(2
ac4bb 2
−±−
และ a = 1, b = – 8, c = – 32
=
)1(2
)32)(1(4)8()8( 2
−−−±−−
=
2
128648 +±
=
2
1928 ±
=
2
388 ±
= 344 ±
เนื่องจากความยาวดานของรูปสามเหลี่ยมจะตองเปนจํานวนบวกเสมอ
ดังนั้น x = 344 +
จะได AB = 344 +
BC = 2344 ++ = 346 +
AC = 6344 ++ = 3410 +
3)
x2
+ (2x + 3)2
= (3x + 1)2
x2
+ 4x2
+ 12x + 9 = 9x2
+ 6x + 1
5x2
+ 12x +9 = 9x2
+ 6x + 1
4x2
– 6x – 8 = 0
หาคําตอบของสมการโดยใชสูตร ไดดังนี้
x =
a2
ac4bb 2
−±−
และ a = 4, b = – 6, c = – 8
=
)4(2
)8)(4(4)6()6( 2
−−−±−−
=
)4(2
128366 +±
=
)4(2
1646 ±
x
A
B C2x + 3
3x + 1
81
=
)4(2
4126 ±
=
4
413 ±
เนื่องจากความยาวดานของรูปสามเหลี่ยมจะตองเปนจํานวนบวกเสมอ
ดังนั้น x =
4
413 +
จะได AB =
4
413 +
BC = 3
4
413
2 +
⎥
⎥
⎦
⎤
⎢
⎢
⎣
⎡ +
=
2
)419( +
AC = 1
4
413
3 +
⎥
⎥
⎦
⎤
⎢
⎢
⎣
⎡ +
=
4
)41313( +
5.
ถากลองกระดาษในรูปขางบน มีความจุ 320 ลูกบาศกเซนติเมตร
จะหาวา กลองใบนี้ซึ่งมีฐานเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส จะมีความกวางเทาใดไดดังนี้
ปริมาตรของกลอง = 5⋅x⋅x หรือ 5x2
5x2
= 320
x2
=
5
320
หรือ 64
จะได x = ± 8
เนื่องจากความกวางของกลองตองเปนจํานวนจริงบวก
ดังนั้น ฐานของกลองจะมีความกวางเทากับ 8 เซนติเมตร
5 x
x
82
6.
(1) (2)
กลองในรูปที่ (1) ทําจากกระดาษในรูปที่ (2) ซึ่งมีพื้นที่เทากับ x2
+ 4ax กําหนดให
a x2
+ 4ax
4
1 20
1 165
2
1 80
หาคาของ x ไดดังนี้
1) จาก a =
4
1
จะได x2
+ 4ax = x2
+ x
และ x2
+ x = 20
x2
+ x – 20 = 0
(x + 5)(x – 4) = 0
x = 4, – 5
เนื่องจากความกวางของกลองจะตองเปนจํานวนจริงบวก
ดังนั้น x = 4 เซนติเมตร
2) a = 1 จะได x2
+ 4ax = x2
+ 4x
และ x2
+ 4x = 165
x2
+ 4x – 165 = 0
(x + 15)(x – 11) = 0
x = 11, – 15
เนื่องจากความกวางของกลองจะตองเปนจํานวนจริงบวก
ดังนั้น x = 11 เซนติเมตร
a
x
x
ax
ax
ax
ax
x2
83
3) a =
2
1
จะได x2
+ 4ax = x2
+ 2x
และ x2
+ 2x = 80
x2
+ 2x – 80 = 0
(x + 10)(x – 8) = 0
x = 8, – 10
เนื่องจากความกวางของกลองจะตองเปนจํานวนจริงบวก
ดังนั้น x = 8 เซนติเมตร
7. ถาความสูง (h) ของลูกเทนนิส เมื่อวัดจากพื้นขณะที่นักกีฬาตีลูกขึ้นไปนาน t วินาที
หาไดจากสูตร h = 1 + 15t – 5t2
จะหาวา นานเทาใดหลังจากที่นักกีฬาตีลูกเทนนิส แลวลูกเทนนิสอยูสูงจากพื้นดิน 10 เมตร
จาก h = 10
จะได 1 + 15t – 5t2
= 10
5t2
– 15t + 9 = 0
จาก t =
a2
ac4bb 2
−±−
และ a = 5, b = – 15, c = 9
t =
)5(2
)9)(5)(4()15()15( 2
−−±−−
=
10
4515 ±
=
10
5315 ±
≈
10
7.615 ±
≈ 0.83 หรือ 2.17 วินาที
เขียนภาพแทนการตีลูกเทนนิสของนักกีฬาไดดังนี้
0 t1 t2
h
84
นอกจากการหาคาของ t โดยใชสูตรแลว อาจจะใชวิธีการประมาณคาของ 1 + 5t – 15t2
ที่มีคาใกล 10 มากที่สุด โดยใชเครื่องคิดเลขไดดังตัวอยางตอไปนี้
t (วินาที) 1 + 15t – 5t2
(เมตร)
1
0.9
0.8
0.85
0.84
*0.83
0.82
11
10.45
9.8
10.13
10.07
*10.0055
9.938
จากตารางพบวา คาประมาณของ t ที่เทากับ 0.83 วินาที เปนคาที่ทําให 1+ 5t – 5t2
มีคา
ใกล 10 เมตร มากที่สุด
8. ตนทุนในการผลิตสินคาบริษัทแหงหนึ่งเทากับ1 600x–5x2
เมื่อx แทนราคาตนทุนสินคาตอหนวย
และถาตนทุนสินคาตอหนวยสูงกวา 50 บาท ถาตองการกําไรชิ้นละ 25% โดยมีตนทุนในการ
ผลิตเทากับ 16,000 บาท จะหาวาตองขายสินคาในราคาชิ้นละเทาใดไดดังนี้
ให 600x – 5x2
= 16,000
5x2
– 600x + 16,000 = 0
x2
– 120x + 3,200 = 0
จาก x =
a2
ac4bb 2
−±−
และ a = 1, b = – 120, c = 3,200
จะได x =
)1(2
)200,3)(1(4)120()120( 2
−−±−−
=
2
800,12400,14120 −±
=
2
600,1120 ±
=
2
40120 ±
จะได x = 80 หรือ 40
จากโจทย ราคาสินคาตอหนวยตองสูงกวา 50 บาท
ดังนั้น ราคาสินคาตอหนวย จะตองเทากับ 80 บาท
ตองการกําไร 25% จะหาไดจาก
100
25
80× หรือ 20 บาท
นั่นคือ จะตองขายสินคาชิ้นละ 80 + 20 หรือ 100 บาท
85
9. ถาผลคูณของจํานวนถัดไปที่เปนจํานวนคี่ที่เปนบวกสองจํานวนมีคาเทากับ 35
จะหาจํานวนทั้งสองไดโดย
ให x เปนจํานวนคี่จํานวนแรก
ให x + 2 เปนจํานวนคี่ที่เปนบวกที่เปนจํานวนถัดไป
จะได x(x + 2) = 35
x2
+ 2x – 35 = 0
(x + 7)(x – 5) = 0
x = – 7, 5
เนื่องจากโจทยกําหนดจํานวนคี่เปนจํานวนบวก ดังนั้น x จะตองเทากับ 5
สรุปวา จํานวนแรก คือ 5 และจํานวนที่สองคือ 7
ตรวจสอบคําตอบ 5 × 7 = 35
10. 1) ถา x2
+ 10x + c = 0 และ c < 0
ให c = –24
จะได x2
+ 10x – 24 = 0
(x + 12)(x – 2) = 0
และ x = –12 หรือ 2 เปนคําตอบที่เปนจํานวนจริง 2 คําตอบ
2) ถา x2
+ 10x + c = 0 และ c > 0
ให c = 9
จะได x2
+ 10x + 9 = 0
(x + 9)(x + 1) = 0
และ x = –9 หรือ –1 เปนคําตอบที่เปนจํานวนจริง 2 คําตอบ
3) ถา x2
+ bx + 9 = 0 และ b > 6
ให b = 10
จะได x2
+ 10x + 9 = 0
(x + 9)(x + 1) = 0
และ x = –9 หรือ –1 เปนคําตอบที่เปนจํานวนจริง 2 คําตอบ
86
11. ถาระยะเบรกของรถคันหนึ่งแทนดวยสูตร d =
20
s
s
2
+ เมตร
เมื่อ d คือ ระยะเบรก และ s คืออัตราเร็วของรถมีหนวยเปนกิโลเมตร / ชั่วโมง
หาระยะเบรกของรถคันนี้เมื่อรถคันนี้วิ่งดวยอัตราเร็วตางกัน ไดดังนี้
1) s = 40 กิโลเมตร / ชั่วโมง
d =
20
)40(
40
2
+ = 40 + 80 เมตร
= 120 เมตร
2) s = 100 กิโลเมตร / ชั่วโมง
d =
20
)100(
100
2
+ = 100 + 500 เมตร
= 600 เมตร
12.
หยุด
x
35 ซม.
x
ถาตัดปายรูปแปดเหลี่ยมจากแผนโลหะรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสใหไดปายรูปแปดเหลี่ยมที่แตละ
ดานยาว 35 ซม. จะหาวา ดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสควรจะยาวดานละเทาใด จึงจะไดปายตาม
ขนาดที่เขียนไวในรูปไดดังนี้
หาความยาวของ x โดยใชรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
35
x
จาก x2
+ x2
= 352
x
2x2
= 352
x2
=
2
352
จะได x =
2
35
หรือ
2
235
จะไดวา รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสควรจะมีความยาวดานละ 2x + 35 หรือ 35
2
235
2 +
⎟
⎟
⎠
⎞
⎜
⎜
⎝
⎛
ซึ่งมีคาประมาณ 84.50 ซม.
87
แบบฝกหัด 3.4.1
1. 1) n < 5 จะได n = 0 , 1, – 2
2) n > – 4 จะได n = 6, – 1, 0
3) n < 0 จะได n = – 2, – 5
4) n ≤ 0 จะได n = 0, – 4, – 1
5) n ≤ 2 จะได n = – 2, 2, 0
6) – 1 < n ≤ 3 จะได n = 2, 3, 0
7) – 10 < n < 4 จะได n = – 1, 0
8) 0 ≤ n ≤ 5 จะได n = 1, 0, 5
2. 1) x + 2 > 2
x + 2 – 2 > 2 – 2
x > 0
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x > 0}
2) x – 4 ≤ 2
x – 4 + 4 ≤ 2 + 4
x ≤ 6
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≤ 6}
3) 3 + y < 7
3 + y – 3 < 7 – 3
y < 4
เซตคําตอบของอสมการคือ {y⏐y < 4}
-3 -2 -1 0 1 2 3
3 4 5 6 7 8 9
1 2 3 4 5 6 7
88
4) y – 2 ≥ –1
y – 2 + 2 ≥ –1 + 2
y ≥ 1
เซตคําตอบของอสมการคือ {y⏐y ≥ 1}
5) x + 3 < 2
x + 3 – 3 < 2 – 3
x < –1
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x < –1}
6) x – 9 ≤ 0
x – 9 + 9 ≤ 0 + 9
x ≤ 9
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≤ 9}
7) 2x ≥ 4
)
2
1
(4)
2
1
(x2 ≥
x ≥ 2
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≥ 2}
8) 3x
3
1
≥
33)3(x
3
1
×≥
x ≥ 9
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≥ 9}
-2 -1 0 1 2 3 4
-4 -3 -2 -1 0 1 2
6 7 8 9 10 11 12
-2 -1 0 1 2 3 4
6 7 8 9 10 11 12
89
9) 1
2
x
−≤
)2(1)2(
2
x
−≤
x ≤ –2
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≤ –2}
10) 10 ≤ 5x
)
5
1
(x5)
5
1
(10 ≤
2 ≤ x
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≥ 2}
11) 0
7
x
>
)7(0)7(
7
x
>
x > 0
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x > 0}
12) 0
4
x
<
)4(0)4(
4
x
<
x < 0
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x < 0}
-4 -3 -2 -1 0 1 2
-2 -1 0 1 2 3 4
-3 -2 -1 0 1 2 3
-3 -2 -1 0 1 2 3
90
13)
2
1
1x ≤−
x – 1 + 1 ≤ 1
2
1
+
2
3
x ≤
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐
2
3
x ≤ }
14) 5x + 1 ≤ 4
5x + 1 – 1 ≤ 4 – 1
5x ≤ 3
)
5
1
(3)
5
1
(x5 ≤
x ≤
5
3
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐
5
3
x ≤ }
15) –3 + 3x ≤ 2
–3 + 3x + 3 ≤ 2 + 3
3x ≤ 5
x ≤
3
5
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐ x ≤
3
5
}
แบบฝกหัด 3.4.2
1. –3x ≥ 9
)
3
1
(9)
3
1
(x3 −≤−−
x ≤ –3
0 1 2 3
2
3
0 1 2 3
5
3
0 1 2 3
3
5
-6 -5 -4 -3 -2 -1 0
91
2. 2
3
x
≤−
)3(2)3)(
3
x
( −≥−−
x ≥ –6
3. 1
6
x
<−
)6(1)6)(
6
x
( −>−−
x > –6
4. – 4x ≤ 20
)
4
1
(20)
4
1
)(x4( −≥−−
x ≥ –5
5. 18 + 6x > 0
18 + 6x – 18 > 0 – 18
6x > –18
6
x6
>
6
18−
x > –3
6. 0
5
x
≥−
)5(0)5)(
5
x
( −≤−−
x ≤ 0
-9 -8 -7 -6 -5 -4 -3
-9 -8 -7 -6 -5 -4 -3
-9 -8 -7 -6 -5 -4 -3
-6 -5 -4 -3 -2 -1 0
-3 -2 -1 0 1 2 3
92
7. –3x ≥ 12
)
3
1
(12)
3
1
(x3 −≤−−
x ≤ – 4
-6 -5 -4 -3 -2 -1 0
8. 1
7
x
<−
)7(1)7(
7
x
−>−−
x > –7
-10 -9 -8 -7 -6 -5 -4
9. –3x – 21 ≥ 0
–3x – 21 + 21 ≥ 0 + 21
–3x ≥ 21
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
−
3
1
x3 ≤ ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
3
1
21
x ≤ –7
10. 01
2
x
>−−
1011
2
x
+>+−−
1
2
x
>−
)2(1)2)(
2
x
( −<−−
x < –2
-10 -9 -8 -7 -6 -5 -4
-4 -3 -2 -1 0 1 2
93
แบบฝกหัด 3.4.3
1. 1) 4x + 2 > x + 7
4x + 2 – x > x + 7 – x
3x + 2 > 7
3x + 2 – 2 > 7 – 2
3x > 5
)
3
1
(x3 > )
3
1
(5
x >
3
5
2) 2x – 1 < x + 9
2x – 1 – x < x + 9 – x
x – 1 < 9
x – 1 + 1 < 9 + 1
x < 10
3) 8x – 5 ≥ 3x + 15
8x – 5 – 3x ≥ 3x + 15 – 3x
5x – 5 ≥ 15
5x – 5 + 5 ≥ 15 + 5
5x ≥ 20
)
5
1
(x5 ≥ )
5
1
(20
x ≥ 4
4) 3x – 2 ≤ x
3x – 2 – x ≤ x – x
2x – 2 ≤ 0
2x – 2 + 2 ≤ 0 + 2
2x ≤ 2
)
2
1
(x2 ≤ )
2
1
(2
x ≤ 1
6 7 8 9 10 11 12
1 2 3 4 5 6 7
-2 -1 0 1 2 3 4
0 1 2 3
3
5
94
5) 8 – 3x > x
8 – 3x + 3x > x + 3x
8 > 4x
)
4
1
(x4)
4
1
(8 >
2 > x หรือ x < 2
6) 5 – 3m ≤ 6 – 4m
5 – 3m + 4m ≤ 6 – 4m + 4m
5 + m ≤ 6
5 + m – 5 ≤ 6 – 5
m ≤ 1
7) 6 – 3m ≥ 3m
6 – 3m + 3m ≥ 3m + 3m
6 ≥ 6m
)
6
1
(6 ≥ )
6
1
)(m6(
1 ≥ m
m ≤ 1
8) 3m < m – 2
3m – m < m – 2 – m
2m < –2
)
2
1
(m2 < )
2
1
(2−
m < –1
9) 4(m – 3) ≤ 3(m – 2)
4m – 12 ≤ 3m – 6
4m – 12 – 3m ≤ 3m – 6 – 3m
m – 12 ≤ – 6
m – 12 + 12 ≤ – 6 + 12
m ≤ 6
-2 -1 0 1 2 3 4
-2 -1 0 1 2 3 4
-2 -1 0 1 2 3 4
-4 -3 -2 -1 0 1 2
3 4 5 6 7 8 9
95
10) m + 2 < 6(2 + m)
m + 2 < 12 + 6m
m + 2 – m < 12 + 6m – m
2 < 12 + 5m
2 – 12 < 12 + 5m – 12
–10 < 5m
)
5
1
(10− < 5m )
5
1
(
–2 < m หรือ m > –2
11) x2
< 9
x2
– 9 < 0
(x – 3)(x + 3) < 0
พิจารณาคาของ (x – 3)(x + 3) ในชวง (– ∞, – 3), (– 3, 3), (3, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้
ชวง x (x – 3)(x + 3) คาของ (x – 3)(x + 3)
(– ∞, – 3) – 5 (– 8)(– 2) = 16 มีคาเปนบวก
(– 3, 3) 0 (– 3)(3) = – 9 มีคาเปนลบ
(3, ∞) 5 (2)(8) = 16 มีคาเปนบวก
เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 3)(x + 3) มีคาเปนลบ หรือนอยกวาศูนย
เมื่อ x อยูในชวง (–3, 3)
เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้
12) x2
> 4
x2
> 4
x2
– 4 > 0
(x – 2)(x + 2) > 0
พิจารณาคาของ (x – 2)(x + 2) ในชวง (– ∞, – 2), (– 2, 2), (2, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้
-4 -3 -2 -1 0 1 2
(x – 3)(x + 3) < 0
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
96
ชวง x (x – 2)(x + 2) คาของ (x – 2)(x + 2)
(– ∞, – 2) –3 (– 5)(– 1) = 5 มีคาเปนบวก
(– 2, 2) 0 (– 2)(2) = – 4 มีคาเปนลบ
(2, ∞) 3 (1)(5) = 5 มีคาเปนบวก
เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 2)(x + 2) มีคาเปนบวก หรือมากกวาศูนย
เมื่อ x อยูในชวง (– ∞, – 2) ∪ (2, ∞)
เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้
(x – 2)(x + 2) > 0 (x – 2)(x + 2) > 0
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
13) x2
+ 2x > 3
x2
+ 2x – 3 > 0
(x – 1)(x + 3) > 0
พิจารณาคาของ (x – 1)(x + 3) ในชวง (– ∞, – 3), (– 3, 1), (1, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้
ชวง x (x – 1)(x + 3) คาของ (x – 1)(x + 3)
(– ∞, – 3) – 5 (– 6)(– 2) = 12 มีคาเปนบวก
(– 3, 1) 0 (– 1)(3) = –3 มีคาเปนลบ
(1, ∞) 5 (4)(8) = 32 มีคาเปนบวก
เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 1)(x + 3) มีคาเปนบวก หรือมากกวาศูนย
เมื่อ x อยูในชวง (– ∞, – 3) ∪ (1, ∞)
เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้
(x – 1)(x + 3) > 0 (x – 1)(x + 3) > 0
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
97
14) x2
– 4x < 5
x2
– 4x – 5 < 0
(x – 5)(x + 1) < 0
พิจารณาคาของ (x – 5)(x + 1) ในชวง (– ∞, – 1), (– 1, 5), (5, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้
ชวง x (x – 5)(x + 1) คาของ (x – 5)(x + 1)
(– ∞, – 1) – 2 (– 7)(– 1) = 7 มีคาเปนบวก
(– 1, 5) 0 (– 5)(1) = – 5 มีคาเปนลบ
(5, ∞) 15 (10)(16) = 160 มีคาเปนบวก
เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 5)(x + 1) มีคาเปนลบ หรือนอยกวาศูนย
เมื่อ x อยูในชวง (– 1, 5)
เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้
15) (x – 1)(x + 1) > 0
พิจารณาคาของ (x – 1)(x + 1) ในชวง (– ∞, – 1), (– 1, 1), (1, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้
ชวง x (x – 1)(x + 1) คาของ (x – 1)(x + 1)
(– ∞, – 1) – 2 (– 3)(– 1) = 3 มีคาเปนบวก
(– 1, 1) 0 (– 1)(1) = – 1 มีคาเปนลบ
(1, ∞) 2 (1)(3) = 3 มีคาเปนบวก
เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 1)(x + 1) มีคาเปนบวก หรือมากกวาศูนย
เมื่อ x อยูในชวง (– ∞, – 1) ∪ (1, ∞)
เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้
(x – 5)(x + 1) < 0
-2 -1 0 1 2 3 4 5 6
(x – 1)(x + 1) > 0 (x – 1)(x + 1) > 0
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
98
16) x2
– 6x + 9 < 0
(x – 3)(x – 3) < 0
พิจารณาคาของ (x – 3)(x – 3) ในชวง (– ∞, 3), (3, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้
ชวง x (x – 3)(x – 3) คาของ (x – 3)(x – 3)
(– ∞, 3) 0 (– 3)(– 3) = 9 มีคาเปนบวก
(3, ∞) 5 (2)(2) = 4 มีคาเปนบวก
เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 3)(x – 3) ≥ 0 เสมอ จึงไมมีคา x ที่ทําให
(x – 3)2
มีคาเปนลบ หรือนอยกวาศูนย
แสดงวา ไมมีจํานวนจริงใดที่ทําให (x – 3)2
< 0
17) x2
+ 6x + 9 < 0
(x + 3)(x + 3) < 0
พิจารณาคาของ (x + 3)(x + 3) ในชวง (– ∞, – 3), (– 3, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้
ชวง x (x + 3)(x + 3) คาของ (x + 3)(x + 3)
(– ∞, – 3) –5 (– 2)(– 2) = 4 มีคาเปนบวก
(– 3, ∞) 0 (3)(3) = 9 มีคาเปนบวก
เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา คาของ (x + 3)(x + 3) ≥ 0 เสมอ เมื่อ x อยู
ในชวง (– ∞, – 3] ∪ [– 3, ∞) หรือ (– ∞, ∞)
จึงไมมีคา x ที่ทําให (x + 3)(x + 3) มีคาเปนลบ หรือนอยกวาศูนย
(x – 3)2
≥ 0
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
x2
+ 6x + 9 ≥ 0
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
99
18) x2
+ 4x + 4 ≥ 0
(x + 2)(x + 2) ≥ 0
พิจารณาคาของ (x + 2)(x + 2) ในชวง (– ∞, – 2], [– 2, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้
ชวง x (x + 2)(x + 2) คาของ (x + 2)(x + 2)
(– ∞, – 2] – 5 (– 3)(– 3) = 9 มีคาเปนบวก
[– 2, ∞) 0 (2)(2) = 4 มีคาเปนบวก
เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x + 2)(x + 2) มีคามากกวาหรือเทากับศูนย
เมื่อ x เปนจํานวนจริง หรือ เมื่อ x อยูในชวง (– ∞, –2 ] ∪ [–2 , ∞) หรือ (– ∞, ∞)
เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้
x2
+ 4x + 4 ≥ 0
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
19) (x – 3)2
> 0
(x – 3)(x – 3) > 0
พิจารณาคาของ (x – 3)(x – 3) ในชวง (– ∞, 3), (3, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้
ชวง x (x – 3)(x – 3) คาของ (x – 3)(x – 3)
(– ∞, 3) 0 (– 3)(– 3) = 9 มีคาเปนบวก
(3, ∞) 5 (2)(2) = 4 มีคาเปนบวก
เมื่อเลือก x คาอื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 3)(x – 3) มีคาเปนบวกหรือมากกวาศูนย
เมื่อ x เปนจํานวนจริง ที่ไมเทากับ 3 หรือ เมื่อ x อยูในชวง (– ∞, 3) ∪ (3, ∞)
เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้
(x – 3)2
> 0
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
(x – 3)2
= 0
100
20) x2
– 9x – 10 < 0
(x – 10)(x + 1) < 0
พิจารณาคาของ (x – 10)(x + 1) ในชวง (– ∞, – 1), (– 1, 10), (10, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้
ชวง x (x – 10)(x + 1) คาของ (x – 10)(x + 1)
(– ∞, – 1) – 2 (– 12)(– 1) = 12 มีคาเปนบวก
(– 1, 10) 0 (– 10)(1) = – 10 มีคาเปนลบ
(10, ∞) 11 (1)(12) = 12 มีคาเปนบวก
เมื่อเลือก x คาอื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 10)(x + 1) มีคาเปนลบหรือนอยกวาศูนย
เมื่อ x อยูในชวง (–1, 10)
เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้
2. ลิฟทของที่ทํางานแหงหนึ่งสามารถจุคนได n คน โดยที่น้ําหนักเฉลี่ยของแตละคนเทากับ
80 กิโลกรัม ถาลิฟทตัวนี้บรรทุกน้ําหนักไดมากที่สุด 1,650 กิโลกรัม
ให n แทนจํานวนคนที่อยูในลิฟท
จะได 80 n ≤ 1650
)
80
1
(n80 ≤ )
80
1
(1650
n ≤
8
5
20
สรุปไดวา ลิฟทตัวนี้บรรจุคนไดไมเกิน 20 คน
3. ที่จอดรถของศูนยการคาแหงหนึ่งมีพื้นที่ไมเกิน 8,000 ตารางเมตร และจะตองแบงเปนทางเดิน
ของรถ 950 ตารางเมตร กําหนดใหพื้นที่สําหรับจอดรถ 1 คัน เทากับ 20 ตารางเมตร
จะหาจํานวนรถที่ลูกคานํามาจอดในที่จอดรถไดมากที่สุดไดดังนี้
ให x เปนจํานวนรถที่นํามาจอดในบริเวณที่จอดรถ
จะได 20x < 8,000 – 950
20x < 7,050
x2
– 9x – 10 < 0
-2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
101
)
20
1
(x20 < )
20
1
(050,7
x <
2
1
352
สรุปไดวา ลูกคานํารถมาจอดไดมากที่สุด 352 คัน
4. บริษัท ก คิดคาเชารถวันละ 1,800 บาท โดยไมคิดคาใชจายอื่นอีก
บริษัท ข คิดคาเชารถวันละ 1,000 บาท และคิดคาเชาเพิ่มจากจํานวนกิโลเมตรที่นํารถไปใช
อีกกิโลเมตรละ 2 บาท
1) ใหจํานวนระยะทางที่รถวิ่งแทนดวย x
จะได 1000 + 2x ≤ 1800
2x ≤ 800
x ≤ 400
สรุปวา ถาเชารถจากบริษัท ข โดยจายคาเชา 1,800 บาท/วัน จะใชวิ่งไดมากที่สุด 400 กิโลเมตร
2) ถาตองการใชรถวันละประมาณ 600 กิโลเมตร
ถาเชารถจากบริษัท ก จะตองจายคาเชารถ 1,800 บาท
ถาเชารถจากบริษัท ข จะตองจายคาเชารถ 1,000 + 2(600) หรือ 2,200 บาท
ดังนั้น ถาตองการใชรถวันละประมาณ 600 กิโลเมตร ควรเชารถจากบริษัท ก
จึงจะประหยัดคาเชารถ
5. แมคาขายไกยางตัวละ 80 บาท โดยมีคาใชจายที่เปนคาเชารานวันละ 100 บาท และคาใชจายอื่น
รวมทั้งคาไกสดคิดเปนตนทุนแลวตัวละ 60 บาท
ให x แทนจํานวนไก (ตัว) ที่ขายไดในหนึ่งวัน
ขายไกยาง 1 ตัว ตองการกําไร 80 – 60 = 20 บาท
20x – 100 ≥ 500
20x ≥ 600
x ≥ 30
ดังนั้น ถาตองการกําไรจากการขายไกยางวันละไมต่ํากวา 500 บาท ตองขายไกยางใหได
มากกวาวันละ 30 ตัว
102
แบบฝกหัด 3.5
1. จงหาคาของ
1) ⏐8⏐ +⏐3⏐ = 8 + 3 = 11 10) ⏐0⏐ = 0
2) ⏐9⏐ – ⏐2⏐ = 9 – 2 = 7 11) ⏐3 – π⏐ = – (3 – π) = π – 3
3) ⏐– 8⏐+ ⏐2⏐ = 8 + 2 = 10 12) ⏐4 – π⏐ = 4 – π
4) ⏐– 12⏐+ ⏐–6⏐ = 12 + 6 = 18 13)
5
5
−
−
=
5
5−
= – 1
5) ⏐– 6⏐–⏐6⏐ = 6 – 6 = 0 14) –3 – ⏐–3⏐ = – 3 – 3 = – 6
6) ⏐– 13⏐–⏐– 5⏐ = 13 – 5 = 8 15) –3 ⏐3⏐ = – 3(3) = – 9
7) ⏐4 + 9⏐ = 13 16) ⏐–1⏐–⏐–2⏐ = 1 – 2 = – 1
8) ⏐10 – 10⏐ = 0 17) –⏐16.25⏐+ 20 = –16.25 + 20 = 3.75
9) ⏐– 10⏐ = 10 18) 2⏐33⏐ = 2(33) = 66
2. กําหนดให x = ⏐– 2⏐ และ y = ⏐5⏐
1) x – 2 = ⏐– 2⏐– 2 = 2 – 2 = 0
2) y – 5 = ⏐5⏐– 5 = 5 – 5 = 0
3) 2x = 2⏐– 2⏐ = 2(2) = 4
4) y2
= (⏐5⏐)2
= 52
= 25
5) x + y = ⏐– 2⏐+ ⏐5⏐ = 2 + 5 = 7
6) x – y = ⏐– 2⏐– ⏐5⏐ = 2 – 5 = – 3
7) xy = ⏐– 2⏐⏐5⏐ = 2(5) = 10
8)
y
x
=
5
2−
=
5
2
3. 1) ⏐–3⏐ > –⏐–3⏐ 2) ⏐– 4⏐ = ⏐4⏐
3) –5 = –⏐5⏐ 4) –⏐4⏐ < ⏐4⏐
5) –⏐–6⏐ < ⏐–6⏐ 6) –⏐–2⏐ = –2
4. 1) ⏐x⏐ = 7 ∴ x = –7, 7
2) ⏐x⏐ > 7 ∴ x < –7 , x > 7
-14 -7 0 7 14
-14 -7 0 7 14
103
3) ⏐x⏐ ≥ 7 ∴ x ≤ – 7 , x ≥ 7
-14 -7 0 7 14
-14 -7 0 7 14
4) ⏐x⏐ > 0 ∴ x < 0 , x > 0
5) ⏐x⏐ ≤ 4 ∴ – 4 ≤ x ≤ 4
-8 -4 0 4 8
-8 -4 0 4 8
6) ⏐x⏐ < 4 ∴ – 4 < x < 4
5. กําหนดให x และ y เปนจํานวนจริงที่ไมเทากับศูนย
1) ⏐x⏐ = – x เปนเท็จ เพราะมีคา x บางคา เชน x = 1, ⏐1⏐ = 1 แต – x = – 1
และ –1 ≠ 1
2) –⏐x⏐ < x เปนเท็จ เพราะมีคา x บางคา เชน x = –2 , –⏐–2⏐ = –2 แต –2 < –2
3) ⏐x⏐ > x เปนเท็จ เพราะมี x = 2, ⏐2⏐ = 2 แต 2 > 2
4) ⏐x⏐ < x เปนเท็จ เพราะมี x = –1, ⏐–1⏐= 1 แต 1 < –1

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1kanjana2536
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456kanjana2536
 
การ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาการ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาDarika Roopdee
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555wongsrida
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1yinqpant
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2jutarattubtim
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมaossy
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทChokchai Taveecharoenpun
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3krookay2012
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53GiveAGift
 

La actualidad más candente (17)

Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
ข้อสอบโควตา
ข้อสอบโควตาข้อสอบโควตา
ข้อสอบโควตา
 
การ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาการ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอา
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม
 
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
Add m2-2-chapter1
Add m2-2-chapter1Add m2-2-chapter1
Add m2-2-chapter1
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรม
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53
 

Destacado

บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)sawed kodnara
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติsawed kodnara
 
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริงแบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริงNittaya Noinan
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติmou38
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติRitthinarongron School
 

Destacado (19)

Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริงแบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 

Similar a Basic m4-1-chapter3

สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...กุ้ง ณัฐรดา
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริงChwin Robkob
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103พัน พัน
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงkruaunpwk
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทTutor Ferry
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงPiyanouch Suwong
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมaass012
 

Similar a Basic m4-1-chapter3 (20)

Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
Real
RealReal
Real
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
01real
01real01real
01real
 

Más de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Más de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (11)

Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4
 
Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1
 
Basic m3-1-link
Basic m3-1-linkBasic m3-1-link
Basic m3-1-link
 
Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4
 

Basic m4-1-chapter3

  • 1. บทที่ 3 จํานวนจริง ( 14 ชั่วโมง ) ในบทเรียนนี้มุงใหผูเรียนมีความรูเกี่ยวกับจํานวนจริงเพิ่มขึ้นจากชวงชั้นที่ 3 โดยจะใหเห็นวา เซตของจํานวนจริงประกอบดวยจํานวนชนิดตางๆ สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ การเทากันและการไมเทากันของจํานวนจริง การแกสมการและอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสอง และคาสัมบูรณ โดยมุงใหผูเรียนมีผลการเรียนรู ดังนี้ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. แสดงความสัมพันธของจํานวนตาง ๆ ในระบบจํานวนจริงได 2. เขาใจความหมายและหาผลลัพธที่เกิดจาก การบวก การลบ การคูณ การหารจํานวนจริง 3. เขาใจสมบัติของจํานวนจริงที่เกี่ยวกับการบวก การคูณ การเทากันและการไมเทากัน และนําไป ใชได 4. แกสมการและอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสองได 5. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับคาสัมบูรณของจํานวนจริงและหาคาสัมบูรณของจํานวนจริงได ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นทางดาน ความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูทางดานทักษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนและสอดแทรกกิจกรรม ปญหา หรือคําถามที่เสริมสรางทักษะ กระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง
  • 2. 53 ขอเสนอแนะ 1. การสอนบทนี้นอกจากจะใหผูเรียนไดเห็นวา จํานวนชนิดใดอยูในเซตใดแลว ควรจะชี้แจงให ผูเรียนเห็นวา จํานวนแตละจํานวนอาจเขียนใหอยูในรูปที่แตกตางกันไดหลายรูปแบบ เชน 4 อาจเขียนอยูในรูป 2 8 หรือ 16 หรือ ⏐- 4⏐ หรือ 2 )4(− เปนตน 2. จํานวนที่เขียนในรูป b a เมื่อ a, b เปนจํานวนเต็ม ตัวสวนคือ b จะเปนศูนยไมไดเพราะถาตัว สวนเปนศูนยจะเปนการหารดวยศูนยซึ่งในระบบจํานวนจริงกําหนดใหตัวหารตองไมเปนศูนย ถาใหตัวหารเปนศูนย จะเกิดขอขัดแยงดังตัวอยางตอไปนี้ ให a และ b เปนจํานวนเต็มที่ไมเทากับศูนย และ a = b จาก a = b ab = b2 (คูณดวยจํานวนที่เทากัน) ab – a2 = b2 – a2 (หักออกดวยจํานวนที่เทากัน) a(b – a) = (b + a)(b – a) (สมบัติการแจกแจง) a = b + a (หารดวย b – a ทั้งสองขาง) a = a + a (a = b) a = 2a 1 = 2 (สมบัติการตัดออกสําหรับการคูณ) จะเห็นวา การที่ผลลัพธออกมาเชนนี้เนื่องจาก การนํา b – a ซึ่งเทากับ 0 หารทั้งสองขาง ของสมการ 3. จํานวนอตรรกยะจํานวนหนึ่งที่ผูเรียนมักจะตอบวา เปนจํานวนตรรกยะคือ π เนื่องจากการ คํานวณในชวงชั้นตน ๆ มักจะใหผูเรียนแทนคา π ดวย 7 22 จึงทําใหผูเรียนสวนมากเขาใจผิด ไปวา π = 7 22 ดังนั้น ผูเรียนจึงสรุปวา π เปนจํานวนตรรกยะ ซึ่งไมถูกตอง ในบทนี้มี จุดประสงคจะใหผูเรียนสามารถจําแนกชนิดของจํานวนไดอยางถูกตอง ดังนั้น ผูสอนจะตองให ผูเรียนระมัดระวังและชี้ใหเห็นวา คาที่ใชในการคํานวณไมวาจะเปน 7 22 หรือ 3.1416 ก็ตาม ลวนเปนคาประมาณของ π ดวยเหตุผลในทํานองเดียวกันนี้ ผูเรียนจะเห็นวาแมจะใช 1.414 แทน 2 ในการคํานวณ แตแทจริงแลว 2 เปนจํานวนอตรรกยะ
  • 3. 54 4. เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามและการแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียว เปนเนื้อหาสาระที่ จัดไวใหเปนพื้นฐานสําหรับผูเรียนที่เรียนคณิตศาสตร เฉพาะรายวิชาพื้นฐานในชวงชั้นที่ 3 ผูเรียนที่เรียนรายวิชาคณิตศาสตรเพิ่มเติมในชวงชั้นที่ 3 มาแลว อาจจะไดเรียนเนื้อหานี้แลว ดังนั้นผูสอนในเนื้อหาสาระนี้ควรพิจารณาผูเรียนวามีพื้นฐานความรูของเนื้อหาสาระนี้มากนอย เพียงใด ถาผูเรียนไดเรียนเนื้อหาสาระนี้แลว ผูสอนอาจจะเพียงทบทวนใหผูเรียนหรือปรับบทเรียน ใหมีความเหมาะสมกับผูเรียน 5. ผูเรียนบางคนอาจจะสับสนกับเรื่องคาสัมบูรณของจํานวนจริง a ใด ๆ ที่อธิบายไววา เมื่อ a เปนจํานวนจริงใด ๆ a เมื่อ a เปนจํานวนจริงบวกหรือศูนย ⏐a⏐ = - a เมื่อ a เปนจํานวนจริงลบ ผูเรียนควรเขาใจวา ⏐a⏐ มีคาเปนจํานวนบวกหรือศูนยเสมอ กลาวคือ เมื่อ a เปนจํานวนบวก เชน 5.25 จะได ⏐5.25⏐ = 5.25 เมื่อ a เปนศูนย จะได ⏐0⏐ = 0 เมื่อ a เปนจํานวนลบ เชน - 8 จะได ⏐- 8⏐ = – (-8) = 8 ผูสอนควรใหผูเรียนมีความเขาใจวา เมื่อ a เปนจํานวนจริงใด ๆ ⏐a⏐ ตองไมเปนจํานวนลบ 6. เรื่องคาสัมบูรณของจํานวนจริง การใหความหมายของคาสัมบูรณของจํานวนจริงใด ๆ ดวยระยะ ของจุดที่แทนจํานวนจริงนั้นอยูหางจากจุดที่แทน ศูนย บนเสนจํานวน จะทําใหผูเรียนเขาใจ ความหมายของอสมการ ⏐x⏐ < a และ ⏐x⏐ > a ดีขึ้น กลาวคือ จํานวนจริง x ที่ทําใหอสมการ ⏐x⏐ < a เปนจริง ไดแก จํานวนจริงทุกจํานวนที่มีระยะ หางจาก 0 บนเสนจํานวนนอยกวา a ซึ่งแสดงไดดังนี้ นั่นคือ x แทนจํานวนจริงทุกจํานวนที่อยูระหวาง -a และ a หรือ เขียนไดเปน - a < x< a จํานวนจริง x ที่ทําใหอสมการ ⏐x⏐ > a เปนจริง ไดแก จํานวนจริงทุกจํานวนที่มีระยะ หางจาก 0 บนเสนจํานวนมากกวา a ซึ่งแสดงไดดังนี้ นั่นคือ x แทนจํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา a และนอยกวา - a หรือ เขียนไดเปน x > a และ x < - a -a 0 a -a 0 a
  • 4. 55 ปญหา ก. ข. 4ab 400 400 ab4 ใหจํานวนที่อยูใน แทนคําตอบของปญหา ก. และ ข. ถาคําตอบทั้งสองมีคาเทากัน จงหาวา a และ b แทนเลขโดดใด และคําตอบที่เทากันนั้นคือจํานวนใด กิจกรรมเสนอแนะ กิจกรรมที่ 1 และ 2 ที่เสนอไวตอไปนี้ผูสอนอาจใชเปนกิจกรรมเสริมสรางทักษะ กระบวนการแกปญหา การใหเหตุผล และการสื่อสาร สําหรับกิจกรรมที่ 3 ผูสอนสามารถใชเปน กิจกรรมประกอบการเรียนการสอน เพื่อใหผูเรียนมีความเขาใจเกี่ยวกับการคูณดวยจํานวนที่นอยกวา ศูนย ของอสมการไดดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ผูสอนสามารถปรับกิจกรรมที่เสนอไวไดตามความเหมาะสมของ ผูเรียน กิจกรรมที่ 1 จากปญหาขางตน ผูสอนอาจใชคําถามตอไปนี้เพื่อชวยแนะนําใหผูเรียนหาคําตอบไดดวย ตนเองดังนี้ 1. ใชความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการลบ 1) พิจารณาจากสิ่งที่โจทยกําหนดใหใน ข. เลขโดดในหลักหนวยของผลลัพธ ควรเปนจํานวนใด 4 0 0 a b 4 ? ข. 4 0 0 a b 4 6 10 – 4 = 6
  • 5. 56 ข. 4 0 0 a 6 4 3 6 ควรเทากับ 3 เพราะ 9 – 6 = 3 2) จากคําตอบในขอ 1) สามารถหาคําตอบอื่นไดอีกหรือไม จากคําตอบในขอ 1) พิจารณาโจทย ก. จะได b - 0 ควรมีคาเทากับ 6 นั่นคือ b แทน 6 3) จากโจทย ข. ขางตนเลขโดดในหลักสิบของ ข. ควรเปนจํานวนใด 4) จากคําตอบขางตน a ควรมีคาเทาใด และสามารถหาคําตอบอื่นไดอีกหรือไม จากคําตอบในขอ 3) พิจารณาโจทย ก. จะได a – 0 ควรมีคาเทากับ 3 นั่นคือ a แทน 3 ก. 4 a b 4 0 0 6 ดังนั้น ก. ข. 4 a b 4 0 0 4 0 0 a 6 4 6 6
  • 6. 57 2. ใชความรูเรื่องคาประจําหลัก และความรูทางพีชคณิต สําหรับคําถามที่กลาวมาในกิจกรรมที่ 1 ผูเรียนบางคนอาจจะใชความรูเรื่องคาประจําหลัก และตัวแปรมาชวยในการหาคําตอบไดดังนี้ จาก ก. 4ab – 400 และ ข. 400 – ab4 จะไดวา 4ab – 400 = (400 + 10a + b) – 400 หรือ 10a + b (1) และ 400 – ab4 = 400 – (100a + 10b + 4) หรือ 396 – 100a – 10b (2) เนื่องจากโจทยกําหนดใหผลตางของ (1) และ (2) เทากัน จะไดวา 10a + b = 396 – 100a – 10b 110a + 11b = 396 10a + b = 36 โดยอาศัยความรูเรื่องคาประจําหลัก จะไดวา a = 3 และ b = 6 จึงจะทําให 10a + b = 36 นอกจากวิธีการที่ไดนําเสนอ อาจจะมีผูเรียนบางคนหรือบางกลุมใชวิธีการอื่นนอกจากนี้ก็ได ซึ่ง ผูสอนควรใหโอกาสผูเรียนไดนําเสนอวิธีการหาคําตอบที่แตกตางกันใหเพื่อนไดรับทราบดวย เพื่อเปนการ ฝกทักษะกระบวนการทางดานการสื่อสารใหแกผูเรียน 4 3 6 4 0 0 4 0 0 3 6 4 3 6 3 6 คําตอบ 4 3 6 4 0 0 4 0 0 3 6 4 3 6 3 6 สรุปไดวา a = 3, b = 6 และคําตอบที่เทากันคือ 36 0 a ก. ข. a
  • 7. 58 กิจกรรมที่ 2 1. เนื้อหา จํานวนจริงและสมบัติของจํานวนจริง a × 0 = 0 2. เนื้อหา สมบัติของจํานวนจริง ให x = y บวกทั้งสองขางของสมการดวย – y จะได x – y = 0 (1) คูณทั้งสองขางของสมการ (1) ดวย 2 จะได 2x – 2y = 0 (2) และ x – y = 2x – 2y ((1) = (2)) (x – y) = 2(x – y) หารทั้งสองขางของสมการดวย (x – y) จะได 1 = 2 คําตอบ ขอ 1 คําตอบคือ 0 เนื่องจาก 1 ≤ n ≤ 26 ดังนั้น n จะตองมีคาเทากับคาใดคาหนึ่ง ที่เปนจํานวนเต็มตั้งแต 1 ถึง 26 เชน ถาให n = 1 จะได (1 – 1)(1 – 2)(1 – 3) ... (1 – 26) = 0 คําตอบขอ 2 จากโจทยขางตน เนื่องจาก x = y ดังนั้น x – y จึงมีคาเทากับศูนย ทําใหไมสามารถนํา x – y ซึ่งมีคาเทากับศูนยไปหารทั้งสองขางของสมการ (x – y) = 2(x – y) ได หมายเหตุ ในระบบจํานวน เราไมใชศูนยเปนตัวหาร เชน ให 10 × 0 = 100 × 0 ถาหารทั้งสองขางของสมการดวย 0 จะไดวา 10 = 100 ซึ่งไมเปนจริง ให n เปนจํานวนนับ โดยที่ 1 ≤ n ≤ 26 และ a = 1, b = 2, c = 3, ..., z = 26 จงหาผลคูณ (n – a)(n – b)(n – c) ... (n – z) เพราะเหตุใดคําตอบจึงเปนเชนนี้
  • 8. 59 กิจกรรมที่ 3 ในการแกอสมการโดยใชสมบัติของการคูณดวยจํานวนที่เทากันและไมเปนศูนยจะเปนไป ตามสมบัติ ดังนี้ เมื่อ a , b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ จะเห็นวา เครื่องหมายแสดงการไมเทากันจะเปลี่ยนจาก < เปน > ซึ่งผูเรียนบางคน อาจจะนึกภาพไมออกวาเหตุใดจึงเปนเชนนั้น เพื่อใหผูเรียนมีความเขาใจเรื่องการเปลี่ยนเครื่องหมาย จาก < เปน > เมื่อคูณดวยจํานวนที่นอยกวาศูนยงายขึ้น ผูสอนอาจใชเสนจํานวนมาชวยอธิบาย ไดดังนี้ กําหนดให a < b เมื่อ a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ และให c = –1 1) ถา a < b และ a, b > 0 จากแผนภาพ จะเห็นวา เมื่อ a < b จะไดวา – a > – b ตัวอยางเชน 2 < 3 จะไดวา –2 > –3 ผูสอนใหผูเรียนยกตัวอยางจํานวน a และ b ที่มากกวาศูนยหลาย ๆ ตัวอยางและใชแผน ภาพของเสนจํานวนหาคาของ – a และ – b เพื่อหาวา – a > – b จริงหรือไม 0 a b -b -a 0 a b ถา a < b และ c < 0 แลว ca > cb
  • 9. 60 2) ถา a < b และ a < 0 แต b > 0 จากแผนภาพ จะเห็นวา – a > – b ตัวอยางเชน – 1 < 3 จะไดวา 1 > – 3 ผูสอนใหผูเรียนยกตัวอยางจํานวน a ที่นอยกวาศูนย และ b ที่มากกวาศูนยหลาย ๆ ตัว อยางและใชแผนภาพของเสนจํานวนหาคาของ – a และ – b เพื่อหาวา – a > – b จริงหรือไม 3) ถา a < b และ a, b < 0 จากแผนภาพ จะเห็นวา – a > – b ตัวอยางเชน – 3 < – 1 จะไดวา 3 > 1 ผูสอนใหผูเรียนยกตัวอยางจํานวน a และ b ที่นอยกวาศูนยหลาย ๆ ตัวอยาง และใช แผนภาพของเสนจํานวนหาคาของ – a และ – b เพื่อหาวา – a > – b จริงหรือไม เมื่อผูเรียนทําความเขาใจกับตัวอยางที่กลาวมาขางตนและพบวา ตัวอยางที่ยกมาเปนจริงทั้งสาม กรณี ผูสอนจึงคอยสรุปสมบัติการคูณทั้งสองขางของอสมการดวยจํานวนที่เทากันที่เปนจํานวนจริงลบ ดังนี้ -b a 0 -a b a 0 b a b 0 -b -a a b 0
  • 10. 61 ให a และ b เปนจํานวนจริง ถา a < b และ c < 0 แลว ac > bc ถา a > b และ c < 0 แลว ac < bc กิจกรรมที่กลาวมาคงจะชวยทําใหผูเรียนเขาใจสมบัติของการคูณดวยจํานวนที่เทากัน ที่ไมเปนศูนยในอสมการไดชัดเจนขึ้น และสามารถนําสมบัติดังกลาวไปใชไดอยางถูกตอง แบบทดสอบประจําบท แบบทดสอบที่นําเสนอตอไปนี้เปนตัวอยางแบบทดสอบแสดงวิธีทํา ซึ่งจะใชประเมินผล ดานเนื้อหาวิชาของผูเรียนเมื่อเรียนจบในเนื้อหาเรื่อง จํานวนจริง ผูสอนสามารถเลือกและปรับแบบ ทดสอบใหเหมาะสมกับผูเรียนแตละกลุม ตัวอยางแบบทดสอบ 1. จงยกตัวอยาง 1) จํานวนตรรกยะที่ไมเปนจํานวนเต็ม 2) จํานวนจริงที่ไมเปนจํานวนตรรกยะ 2. จงพิจารณาวาจํานวนตอไปนี้ จํานวนใดเปนจํานวนตรรกยะ จํานวนใดเปนจํานวนอตรรกยะ 4 , 31 , 2 π , 0.75, 0, 1.3333 … , –5.50 3. จงหาคําตอบของสมการตอไปนี้ 1) x2 + 6x – 16 = 0 2) x2 + 4x – 8 = 0 4. จงหาคําตอบของอสมการตอไปนี้ 1) –5x – 20 ≥ 0 2) (x – 1)(x + 3) < 0 3) x2 – 4 ≤ 0 5. จงหาคาของ x เมื่อกําหนดให 1) 2x(x + 1) = – ( x + 1) 2) –2x ≤ 1
  • 11. 62 6. จงหาคาของ 1) –⏐–1⏐ + ⏐11⏐ 2) 12 12 − 7. จงแสดงคาของ x บนเสนจํานวน เมื่อ 1) ⏐x⏐ > 1 2) ⏐x – 1 ⏐ = 0 8. โรงงานอุตสาหกรรมผลิตสินคาสงออกแหงหนึ่งเก็บสินคาที่ผลิตไดไวที่โกดังของโรงงานกอนสง ออกไปขาย โดยโรงงานจะผลิตสินคาไดไมเกินวันละ n ชิ้น ในเดือนพฤศจิกายน โกดังเก็บ สินคาที่ผลิตไดมากที่สุดจํานวน 27,000 ชิ้น อยากทราบวา โรงงานแหงนี้ผลิตสินคาไดวันละ ไมเกินกี่ชิ้น เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ 1. 1) 2 9 , 3.5 , 3 2− , 93.1 & 2) π , 2 , 5.121121112... 2. จํานวนจริง จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ 4 31 2 π 0.75 0 1.3333... – 5.50 - - - - - - - 3. 1) x2 + 6x – 16 = 0 (x + 8)(x – 2) = 0 x = – 8, 2
  • 12. 63 2) x2 + 4x – 8 = 0 (x2 + 4x) – 8 = 0 (x2 + 4x + 4) – 8 – 4 = 0 (x + 2)2 – 12 = 0 (x + 2)2 = 12 (x + 2) = 12± x = – 2 12± หรือ 322 ±− หมายเหตุ ผูเรียนอาจใชวิธีการอื่นเชนใชสูตรเพื่อหาคา x ก็ได โดยการใชสูตร x = a2 ac4bb 2 −±− = )1(2 )8)(1(444 2 −−±− = 2 484 ±− = 2 316)4( ×±− = 322 ±− 4. จงหาคําตอบของอสมการตอไปนี้ 1) –5x – 20 ≥ 0 –5x – 20 + 20 ≥ 0 + 20 –5x ≥ 20 5 x5 − ≥ 5 20 – x ≥ 4 x ≤ – 4 2) (x – 1)(x + 3) < 0 พิจารณาตัวอยางคา x ในชวง (– ∞, – 3), (– 3, 1) และ (1, ∞) ในตารางตอไปนี้ ชวง x (x – 1)(x + 3) (– ∞, – 3) (– 3, 1) (1, ∞) – 5 0 5 (– 6)(– 2) = 12 (– 1)(3) = – 3 (4)(8) = 32 มีคาเปนบวก มีคาเปนลบ มีคาเปนบวก เมื่อกําหนดคา x เพิ่มขึ้นอีกหลาย ๆ จํานวน จะพบวา คาของ x ที่ทําให (x – 1)(x + 3) < 0 คือ x ที่อยูในชวง (– 3, 1) –3 1
  • 13. 64 3) x2 – 4 ≤ 0 (x – 2)(x + 2) ≤ 0 พิจารณาตัวอยางของ x ในชวง (– ∞, – 2), (– 2, 2), (2, ∞) และ x = ± 2 ในตารางตอไปนี้ ชวง x (x – 2)(x + 2) (– ∞, – 2) (– 2, 2) (2, ∞) – 5 0 5 2 – 2 (– 7)(– 3) = 21 (– 2)(2) = – 4 (3)(7) = 21 (0)(4) = 0 (– 4)(0) = 0 มีคาเปนบวก มีคาเปนลบ มีคาเปนบวก มีคาเปนศูนย มีคาเปนศูนย เมื่อกําหนดคา x เพิ่มขึ้นอีกหลายๆ จํานวน จะพบวา คาของ x ที่ทําให x2 – 4 ≤ 0 คือ x ที่อยูในชวง [– 2, 2] 5. 1) 2x(x + 1) = – ( x + 1) 2x2 + 2x = – x – 1 2x2 + 3x + 1 = 0 (2x + 1)(x + 1) = 0 จะได x = 2 1 − หรือ – 1 2) –2x ≤ 1 2 x2 − ≤ 2 1 หารดวย 2 ทั้งสองขางของสมการ –x ≤ 2 1 x ≥ – 2 1 คูณดวย – 1 ทั้งสองขางของสมการ 6. จงหาคาของ 1) –⏐– 1⏐ + ⏐11⏐ = – 1 + 11 = 10 2) 12 12 − = 12 12 = 1 –2 2
  • 14. 65 7. จงแสดงคาของ x บนเสนจํานวน เมื่อ 1) ⏐x⏐ > 1 2) ⏐ x – 1 ⏐ = 0 8. โรงงานจะผลิตสินคาไดไมเกินวันละ n ชิ้น และในเดือนพฤศจิกายนโกดังเก็บสินคาที่ผลิตได มากที่สุดจํานวน 27,000 ชิ้น จะหาวา โรงงานควรจะผลิตสินคาวันละไมเกินกี่ชิ้นไดดังนี้ เนื่องจากเดือนพฤศจิกายน มี 30 วัน ดังนั้นในเดือนพฤศจิกายนโรงงานแหงนั้นผลิตสินคาไดไมเกิน 30n ชิ้น แตโกดังเก็บสินคาที่ผลิตไดมากสุด จํานวน 27,000 ชิ้น จะไดวา 30n ≤ 27,000 30 n30 ≤ 30 000,27 n ≤ 900 ดังนั้น โรงงานควรจะผลิตสินคาไมเกินวันละ 900 ชิ้น เฉลยแบบฝกหัด แบบฝกหัด 3.1 1. 1) – 9 จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ 2 7 − จํานวนตรรกยะ 5 จํานวนนับ, จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ 3 2 จํานวนตรรกยะ 2 จํานวนอตรรกยะ 0 จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ 1 จํานวนนับ, จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
  • 15. 66 2) 5 จํานวนอตรรกยะ – 7 จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ 3 7 − จํานวนตรรกยะ 3.12 จํานวนตรรกยะ 4 5 จํานวนตรรกยะ 3) 2.01 จํานวนตรรกยะ 0.666... จํานวนตรรกยะ – 13 จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ 0.010110111... จํานวนอตรรกยะ 4) 2.3030030003... จํานวนอตรรกยะ 0.7575 จํานวนตรรกยะ – 4.63 จํานวนตรรกยะ 10 จํานวนอตรรกยะ 5) – π จํานวนอตรรกยะ 3 1 − จํานวนตรรกยะ 3 6 จํานวนนับ, จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ 2 2 จํานวนอตรรกยะ – 7.5 จํานวนตรรกยะ 6) 25 จํานวนนับ, จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ – 17 จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ 5 12 − จํานวนตรรกยะ 9 จํานวนเต็ม, จํานวนนับ, จํานวนตรรกยะ 3.12 จํานวนตรรกยะ π 2 1 จํานวนอตรรกยะ
  • 16. 67 2. 1) จริง 2) จริง 3) เท็จ 4) จริง 5) จริง 6) เท็จ 7) จริง 8) เท็จ 3. 1) 8 เปนจํานวนเต็มที่มากที่สุดที่นอยกวา 9 2) ไมมีจํานวนตรรกยะที่มากที่สุดที่นอยกวา 9 3) 2 เปนจํานวนเต็มที่นอยที่สุดที่มากกวา 1 4) ไมมีจํานวนตรรกยะที่นอยที่สุดที่มากกวา 1 แบบฝกหัด 3.2 1. 1) การสลับที่การคูณ 2) การแจกแจง 3) การเปลี่ยนหมูการบวก 4) การสลับที่การคูณ 5) การสลับที่การบวก 6) การสลับที่การคูณ 7) ปดของการบวก 8) ปดของการบวก 9) อินเวอรสของการบวก 10) เอกลักษณการคูณ 2. 1) ไมเปนจริงตามสมบัติของจํานวนจริง 2) ไมเปนจริงตามสมบัติของจํานวนจริง 3) ไมเปนจริงตามสมบัติของจํานวนจริง 4) เปนจริงตามสมบัติการแจกแจง 5) เปนจริงตามสมบัติการแจกแจง
  • 17. 68 3. เซตของจํานวนนับ มีสมบัติขอ 1) และขอ 3) เซตของจํานวนเต็มลบ มีสมบัติขอ 1) เซตของจํานวนเต็ม มีสมบัติขอ 1), 2) และขอ 3) เซตของจํานวนตรรกยะ มีสมบัติขอ 1), 2), และขอ 3) แบบฝกหัด 3.3.1 1. 1) (x + 1)(x – 1) = x2 + (–x) + x + (–1) = x2 – 1 2) (x + 3)(x – 3) = x2 + (–3x) + 3x+ (–9) = x2 – 9 3) (2x + 3)(2x – 3) = 4x2 + (–6x) + (6x) + (–9) = 4x2 – 9 4) (5x + 4)(5x – 4) = 25x2 + (–20x) + 20x + (–16) = 25x2 – 16 5) (3x + 1)(3x – 1) = 9x2 + (–3x) + 3x + (–1) = 9x2 – 1 6) (x – 5)(x – 5) = x2 + (–5x) + (–5x) + 25 = x2 – 10x + 25 7) (5x – 4)(5x – 4) = 25x2 + (–20x) + (–20x) + 16 = 25x2 – 40x + 16 8) (3x – 1)(3x – 1) = 9x2 + (–3x) + (–3x) + 1 = 9x2 – 6x + 1 9) (2x + 1)(3x + 2) = 6x2 + 4x + 3x + 2 = 6x2 + 7x + 2 10) (4x + 2)(x + 4) = 4x2 + 16x + 2x + 8 = 4x2 + 18x + 8
  • 18. 69 2. 1) x2 – 25x = x(x – 25) 2) x3 – 4x2 = x2 (x – 4) 3) x4 – 4x = x(x3 – 4) 4) 15x2 – 25x = 5x(3x – 5) 5) 81x2 – x = x(81x – 1) 6) 7x2 + 49x = 7x(x + 7) 7) 88x3 + 8x2 = 8x2 (11x + 1) 8) 13x4 + x2 = x2 (13x2 + 1) 9) 5x3 + 15x2 = 5x2 (x + 3) 10) 100x4 + 10x3 = 10x3 (10x + 1) 11) x2 + 3x – 4 = (x – 1)(x + 4) 12) x2 + 10x + 25 = (x + 5)(x + 5) = (x + 5)2 13) x2 + 6x + 9 = (x + 3)(x + 3) = (x + 3)2 14) x2 + 4x + 4 = (x + 2)(x + 2) = (x + 2)2 15) x2 + 8x – 20 = (x – 2)(x + 10) 16) x2 – 10x + 25 = (x – 5)(x – 5) = (x – 5)2 17) x2 – 14x + 49 = (x – 7)(x – 7) = (x – 7)2 18) x2 + 6x – 16 = (x – 2)(x + 8) 19) x2 + 6x + 8 = (x + 2)(x + 4) 20) x2 + x – 30 = (x – 5)(x + 6) 21) x2 + 13x + 30 = (x + 3)(x + 10) 22) x2 + 8x + 7 = (x + 1)(x + 7) 23) x2 + 10x + 21 = (x + 3)(x + 7) 24) x2 – 5x – 50 = (x + 5)(x – 10) 25) x2 + 9x + 20 = (x + 5)(x + 4)
  • 19. 70 26) x2 – 10x – 11 = (x + 1)(x – 11) 27) x2 + 14x + 13 = (x + 1)(x + 13) 28) 3x2 + 10x + 3 = (3x + 1)(x + 3) 29) 2x2 + x – 6 = (2x – 3)(x + 2) 30) 2x2 – x – 1 = (2x + 1)(x – 1) 31) 8x2 – 2x – 3 = (4x – 3)(2x + 1) 32) 25x2 + 15x + 2 = (5x + 2)(5x + 1) 33) 4x2 + 5x – 9 = (4x + 9)(x – 1) 34) 3x2 + 4x – 15 = (3x – 5)(x + 3) 35) 4x2 – 1 = (2x)2 – 12 = (2x – 1)(2x + 1) 36) 25x2 – 1 = (5x)2 – 12 = (5x – 1)(5x + 1) 37) 9x2 – 4 = (3x)2 – 22 = (3x – 2)(3x + 2) 38) x4 – x2 = x2 (x2 – 1) = x2 (x – 1)(x + 1) 39) x3 – 25x = x(x2 – 25) = x(x – 5)(x + 5) 40) x4 – 4x2 = x2 (x2 – 4) = x2 (x – 2)(x + 2) 3. 1) x2 + 4x – 32 = (x2 + 4x + 4) – 32 – 4 = (x + 2)2 – 36 = ((x + 2) – 6)((x + 2) + 6) = (x – 4)(x + 8) 2) x2 – 2x – 3 = (x2 – 2x + 1) – 3 – 1 = (x – 1)2 – 4 = ((x – 1) – 2)((x – 1) + 2) = (x – 3)(x + 1) 3) x2 – 4x + 2 = (x2 – 4x + 4) + 2 – 4 = (x – 2)2 – 2
  • 20. 71 = [(x – 2) – 2 ][(x – 2) + 2 ] = [(x – (2 + 2 )][x – (2 – 2 )] 4) x2 + 8x – 5 = (x2 + 8x + 16) – 5 – 16 = (x + 4)2 – 21 = [(x + 4) – 12 ][(x + 4) + 21 ] = [x + (4 – 21 )][x + (4 + 21 )] 5) x2 + 6x + 2 = (x2 + 6x + 9) + 2 – 9 = (x + 3)2 – 7 = [(x + 3) – 7 ][(x + 3) + 7 ] = [x + (3 – 7 )][x + (3 + 7 )] 6) x2 + 8x + 14 = (x2 + 8x + 16) + 14 – 16 = (x + 4)2 – 2 = [(x + 4) – 2 ][(x + 4) + 2 ] = [x + (4 – 2 )][x + (4 + 2 )] 7) x2 – 10x + 7 = (x2 – 10x + 25) – 25 + 7 = (x – 5)2 – 18 = [(x – 5) – 18 ][(x – 5) + 18 ) = [x – (5 + 18 )][x – (5 – 18 )] 8) x2 + 7x + 11 = (x2 + 7x + 4 49 ) – 11 4 49 + = 4 5 ) 2 7 x( 2 −+ = [(x + 2 7 ) – 2 5 ][(x + 2 7 ) + 2 5 ] = [x + ( 2 57− )][x + )] 2 57 ( + 9) x2 – 2x = (x2 – 2x + 1) – 1 = (x – 1)2 – 1 = [(x – 1) – 1][(x – 1) + 1] = [x – (1 + 1)][(x – (1 – 1)] = (x – 2)(x) 10) x2 + 4x = (x2 + 4x + 4) – 4 = (x + 2)2 – 4 = [(x + 2) – 2][(x + 2) + 2]
  • 21. 72 = [x + (2 – 2)][x + (2 + 2)] = (x)(x + 4) 11) –2x2 – 8x + 8 = –2(x2 + 4x – 4) = –2[(x2 + 4x + 4) – 4 – 4] = –2(x + 2)2 + 16 = –2[(x + 2)2 – 8] = –2[((x + 2) – 8 )((x + 2) + 8 )] = –2[(x + (2 – 8 ))(x + (2 + 8 ))] 12) 8 + 4x – x2 = –(x2 – 4x – 8) = –[(x2 – 4x + 4) – 8 – 4] = – [(x – 2)2 – 12] = –[((x – 2) – 12 )((x – 2 )+ 12 )] = –[(x – (2 + 12 ))(x +(– 2 + 12 )] 13) –3x2 + 6x + 4 = –3(x2 – 2x) + 4 = –3[(x2 – 2x + 1) – 1] + 4 = –3[(x – 1)2 – 1] + 4 = –3(x – 1)2 + 7 = –3[(x – 1)2 – 3 7 ] = )] 3 7 )1x)(( 3 7 )1x[((3 +−−−− = ))] 3 7 1(x))( 3 7 1(x[(3 −−+−− 14) 4x2 – 4x – 9 = 4(x2 – x) – 9 = 9] 4 1 ) 4 1 xx[(4 2 −−+− = 9] 4 1 ) 2 1 x[(4 2 −−− = 91) 2 1 x(4 2 −−− = 10) 2 1 x(4 2 −− = ] 4 10 ) 2 1 x[(4 2 −− = )] 2 10 ) 2 1 x)(( 2 10 ) 2 1 x[((4 +−−− = ))] 2 101 (x))( 2 101 (x[(4 − − + −
  • 22. 73 15) –3x2 + 6x + 2 = –3(x2 – 2x) + 2 = –3[(x2 – 2x + 1) – 1] + 2 = –3[(x – 1)2 – 1] + 2 = –3(x – 1)2 + 3 + 2 = –3(x – 1)2 + 5 = –3[(x – 1)2 – 3 5 ] = –3[((x – 1) – 3 5 )((x – 1) + 3 5 )] = –3[(x – (1 + 3 5 ))(x – (1 – 3 5 ))] 16) –2x2 + 2x + 1 = –2(x2 – x) + 1 = 1] 4 1 ) 4 1 xx[(2 2 +−+−− = 1] 4 1 ) 2 1 x[(2 2 +−−− = 1 2 1 ) 2 1 x(2 2 ++−− = 2 3 ) 2 1 x(2 2 +−− = –2[(x – 2 1 )2 – 4 3 ] = –2[((x – 2 1 ) – 2 3 )((x – 2 1 )+ 2 3 )] = –2[(x – 2 )31( + )(x – 2 )31( − )] แบบฝกหัด 3.3.2 1. 1) x2 + 7x + 10 = 0 จะได (x + 2)(x + 5) = 0, x = – 2, – 5 2) x2 + 8x + 12 = 0 จะได (x + 2)(x + 6) = 0, x = – 2, – 6 3) x2 – 3x – 18 = 0 จะได (x + 3)(x – 6) = 0, x = – 3, 6 4) x2 – 6x – 16 = 0 จะได (x + 2)(x – 8) = 0, x = – 2, 8 5) x2 + 5x – 24 = 0 จะได (x + 8)(x – 3) = 0, x = – 8, 3 6) x2 + x – 30 = 0 จะได (x + 6)(x – 5) = 0, x = – 6, 5 7) x2 – 14x + 48 = 0 จะได (x – 8)(x – 6) = 0, x = 8, 6 8) 21 – 10x + x2 = 0 จะได (7 – x)(3 – x) = 0, x = 7, 3 9) 2 + x – x2 = 0 จะได (1 + x)(2 – x) = 0, x = – 1, 2
  • 23. 74 10) 2x2 + 7x + 3 = 0 จะได (2x + 1)(x + 3) = 0, x = – 2 1 , – 3 11) 3x2 + 7x + 2 = 0 จะได (3x + 1)(x + 2) = 0, x = – 3 1 , – 2 12) 5x2 + 13x + 6 = 0 จะได (5x + 3)(x + 2) = 0, x = – 5 3 , – 2 13) 7x2 + 3x – 4 = 0 จะได (7x – 4)(x + 1) = 0, x = 7 4 , – 1 14) 9x2 + 12x + 4 = 0 จะได (3x + 2)(3x + 2) = 0, x = 3 2 − 15) 4x2 + 8x + 3 = 0 จะได (2x + 3)(2x + 1) = 0, x = 2 3 − , 2 1 − 16) 4x2 + 16x + 15 = 0 จะได (2x + 3)(2x + 5) = 0, x = 2 3 − , 2 5 − 17) x2 – 9 = 0 จะได (x + 3)(x – 3) = 0, x = – 3, 3 18) 25 – x2 = 0 จะได (5 + x)(5 – x) = 0, x = – 5, 5 19) 9x2 – 16 = 0 จะได (3x + 4)(3x – 4) = 0, x = 3 4 − , 3 4 20) 36x2 – 25 = 0 จะได (6x + 5)(6x – 5) = 0, x = 6 5 − , 6 5 2. 1) x2 + 8x + 6 = 0 [x2 + 2(4)x] + 6 = 0 [x2 + 2(4)x + 42 ] + 6 – 42 = 0 (x + 4)2 – 10 = 0 (x + 4)2 = 10 x + 4 = 10± x = 104 ±− 2) x2 + 10x + 3 = 0 [x2 + 2(5)x] + 3 = 0 [x2 + 2(5)x + 52 ] + 3 – 52 = 0 (x + 5)2 – 22 = 0 (x + 5)2 = 22 x + 5 = 22± x = 225 ±−
  • 24. 75 3) x2 + 4x + 2 = 0 [x2 + 2(2)x] + 2 = 0 [x2 + 2(2)x + 22 ] + 2 – 22 = 0 (x + 2)2 – 2 = 0 (x + 2)2 = 2 x + 2 = 2± x = 22 ±− 4) x2 + 6x + 3 = 0 [x2 + 2(3)x] + 3 = 0 [x2 + 2(3)x + 32 ] + 3 – 32 = 0 (x + 3)2 – 6 = 0 (x + 3)2 = 6 x + 3 = 6± x = 63 ±− 5) x2 + 8x – 1 = 0 [x2 + 2(4)x] – 1 = 0 [x2 + 2(4)x + 42 ] – 1 – 42 = 0 (x + 4)2 – 17 = 0 (x + 4)2 = 17 x + 4 = 17± x = – 4 17± 6) x2 – 4x – 2 = 0 [x2 – 2(2)x] – 2 = 0 [x2 – 2(2)x + 22 ] – 2 – 22 = 0 (x – 2)2 – 6 = 0 (x – 2)2 = 6 x – 2 = 6± x = 62 ±
  • 25. 76 7) x2 – 6x + 4 = 0 [x2 – 2(3)x] + 4 = 0 [x2 – 2(3)x + 32 ] + 4 – 32 = 0 (x – 3)2 – 5 = 0 (x – 3)2 = 5 x – 3 = 5± x = 53 ± 8) x2 – 10x – 2 = 0 [x2 – 2(5)x] – 2 = 0 [x2 – 2(5)x + 52 ] – 2 – 52 = 0 (x – 5)2 – 27 = 0 (x – 5)2 = 27 x – 5 = 27± x – 5 = 33± x = 335 ± 9) x2 + 5x + 1 = 0 1x 2 5 2x2 +⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎣ ⎡ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + = 0 22 2 2 5 1 2 5 x 2 5 2x ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ −+ ⎥ ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎢ ⎣ ⎡ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ +⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + = 0 4 21 2 5 x 2 −⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎣ ⎡ + = 0 2 2 5 x ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎣ ⎡ + = 4 21 2 5 x + = 4 21 ± x = 4 21 2 5 ±− x = 2 21 2 5 ±− x = 2 215 ±−
  • 26. 77 10) x2 + 3x + 2 = 0 2x 2 3 2x2 +⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎣ ⎡ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + = 0 22 2 2 3 2 2 3 x 2 3 2x ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ −+ ⎥ ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎢ ⎣ ⎡ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ +⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + = 0 4 1 2 3 x 2 −⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎣ ⎡ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + = 0 2 2 3 x ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎣ ⎡ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + = 4 1 2 3 x+ = 4 1 ± x = 4 1 2 3 ±− x = 2 13 ±− , x = – 1, – 2 3. 1) x2 – 4x – 21 = 0 a = 1, b = – 4, c = – 21 x = a2 ac4bb 2 −±− = )1(2 )21)(1(4)4()4( 2 −−−±−− = 2 104 ± = 7, – 3 2) จาก x2 = 4x จะได x2 – 4x = 0 ดังนั้น a = 1, b = – 4, c = 0 x = a2 ac4bb 2 −±− = )1(2 )0)(1(4)4()4( 2 −−±−− = 2 44 ± = 4, 0
  • 27. 78 3) จาก x2 – 2x = 6 จะได x2 – 2x – 6 = 0 ดังนั้น a = 1, b = – 2, c = – 6 x = a2 ac4bb 2 −±− = )1(2 )6)(1(4)2()2( 2 −−−±−− = )1(2 2442 +± = 2 282 ± = 2 722 ± = 71± 4) 3x2 + 2x – 3 = 0 a = 3, b = 2, c = – 3 x = a2 ac4bb 2 −±− = )3(2 )3)(3(422 2 −−±− = )3(2 3642 +±− = )3(2 402 ±− = )3(2 1022 ±− = 3 101±− 5) จาก 2x2 + 4x = 1 จะได 2x2 + 4x – 1 = 0 ดังนั้น a = 2, b = 4, c = – 1 x = a2 ac4bb 2 −±− = )2(2 )1)(2(444 2 −−±− = )2(2 8164 +±− = )2(2 244 ±− = )2(2 624 ±− = 2 62 ±−
  • 28. 79 6) จาก 2x2 = x + 2 จะได 2x2 – x – 2 = 0 ดังนั้น a = 2, b = – 1, c = – 2 x = a2 ac4bb 2 −±− = )2(2 )2)(2(4)1()1( 2 −−−±−− = )2(2 1611 +± = 4 171± 4. 1) x2 + (x + 3)2 = (x + 7)2 x2 + (x2 + 6x + 9) = x2 + 14x + 49 2x2 + 6x + 9 = x2 + 14x + 49 x2 – 8x – 40 = 0 หาคําตอบของสมการโดยใชสูตรไดดังนี้ x = )a(2 ac4bb 2 −±− และ a = 1, b = – 8, c = – 40 = )1(2 )40)(1(4)8()8( 2 −−−±−− = 2 160648 +± = 2 2248 ± = 2 1448 ± = 1424 ± เนื่องจากความยาวดานของรูปสามเหลี่ยมจะตองเปนบวกเสมอ ดังนั้น x = 1424 + จะได AB = 1424 + BC = 31424 ++ = 1427 + AC = 71424 ++ = 14211+ 2) x2 + (x + 2)2 = (x + 6)2 x2 + x2 + 4x + 4 = x2 + 12x + 36 x2 – 8x – 32 = 0 A B Cx + 3 x + 7x A B Cx + 2 x + 6x
  • 29. 80 หาคําตอบของสมการโดยใชสูตรไดดังนี้ x = )a(2 ac4bb 2 −±− และ a = 1, b = – 8, c = – 32 = )1(2 )32)(1(4)8()8( 2 −−−±−− = 2 128648 +± = 2 1928 ± = 2 388 ± = 344 ± เนื่องจากความยาวดานของรูปสามเหลี่ยมจะตองเปนจํานวนบวกเสมอ ดังนั้น x = 344 + จะได AB = 344 + BC = 2344 ++ = 346 + AC = 6344 ++ = 3410 + 3) x2 + (2x + 3)2 = (3x + 1)2 x2 + 4x2 + 12x + 9 = 9x2 + 6x + 1 5x2 + 12x +9 = 9x2 + 6x + 1 4x2 – 6x – 8 = 0 หาคําตอบของสมการโดยใชสูตร ไดดังนี้ x = a2 ac4bb 2 −±− และ a = 4, b = – 6, c = – 8 = )4(2 )8)(4(4)6()6( 2 −−−±−− = )4(2 128366 +± = )4(2 1646 ± x A B C2x + 3 3x + 1
  • 30. 81 = )4(2 4126 ± = 4 413 ± เนื่องจากความยาวดานของรูปสามเหลี่ยมจะตองเปนจํานวนบวกเสมอ ดังนั้น x = 4 413 + จะได AB = 4 413 + BC = 3 4 413 2 + ⎥ ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎢ ⎣ ⎡ + = 2 )419( + AC = 1 4 413 3 + ⎥ ⎥ ⎦ ⎤ ⎢ ⎢ ⎣ ⎡ + = 4 )41313( + 5. ถากลองกระดาษในรูปขางบน มีความจุ 320 ลูกบาศกเซนติเมตร จะหาวา กลองใบนี้ซึ่งมีฐานเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส จะมีความกวางเทาใดไดดังนี้ ปริมาตรของกลอง = 5⋅x⋅x หรือ 5x2 5x2 = 320 x2 = 5 320 หรือ 64 จะได x = ± 8 เนื่องจากความกวางของกลองตองเปนจํานวนจริงบวก ดังนั้น ฐานของกลองจะมีความกวางเทากับ 8 เซนติเมตร 5 x x
  • 31. 82 6. (1) (2) กลองในรูปที่ (1) ทําจากกระดาษในรูปที่ (2) ซึ่งมีพื้นที่เทากับ x2 + 4ax กําหนดให a x2 + 4ax 4 1 20 1 165 2 1 80 หาคาของ x ไดดังนี้ 1) จาก a = 4 1 จะได x2 + 4ax = x2 + x และ x2 + x = 20 x2 + x – 20 = 0 (x + 5)(x – 4) = 0 x = 4, – 5 เนื่องจากความกวางของกลองจะตองเปนจํานวนจริงบวก ดังนั้น x = 4 เซนติเมตร 2) a = 1 จะได x2 + 4ax = x2 + 4x และ x2 + 4x = 165 x2 + 4x – 165 = 0 (x + 15)(x – 11) = 0 x = 11, – 15 เนื่องจากความกวางของกลองจะตองเปนจํานวนจริงบวก ดังนั้น x = 11 เซนติเมตร a x x ax ax ax ax x2
  • 32. 83 3) a = 2 1 จะได x2 + 4ax = x2 + 2x และ x2 + 2x = 80 x2 + 2x – 80 = 0 (x + 10)(x – 8) = 0 x = 8, – 10 เนื่องจากความกวางของกลองจะตองเปนจํานวนจริงบวก ดังนั้น x = 8 เซนติเมตร 7. ถาความสูง (h) ของลูกเทนนิส เมื่อวัดจากพื้นขณะที่นักกีฬาตีลูกขึ้นไปนาน t วินาที หาไดจากสูตร h = 1 + 15t – 5t2 จะหาวา นานเทาใดหลังจากที่นักกีฬาตีลูกเทนนิส แลวลูกเทนนิสอยูสูงจากพื้นดิน 10 เมตร จาก h = 10 จะได 1 + 15t – 5t2 = 10 5t2 – 15t + 9 = 0 จาก t = a2 ac4bb 2 −±− และ a = 5, b = – 15, c = 9 t = )5(2 )9)(5)(4()15()15( 2 −−±−− = 10 4515 ± = 10 5315 ± ≈ 10 7.615 ± ≈ 0.83 หรือ 2.17 วินาที เขียนภาพแทนการตีลูกเทนนิสของนักกีฬาไดดังนี้ 0 t1 t2 h
  • 33. 84 นอกจากการหาคาของ t โดยใชสูตรแลว อาจจะใชวิธีการประมาณคาของ 1 + 5t – 15t2 ที่มีคาใกล 10 มากที่สุด โดยใชเครื่องคิดเลขไดดังตัวอยางตอไปนี้ t (วินาที) 1 + 15t – 5t2 (เมตร) 1 0.9 0.8 0.85 0.84 *0.83 0.82 11 10.45 9.8 10.13 10.07 *10.0055 9.938 จากตารางพบวา คาประมาณของ t ที่เทากับ 0.83 วินาที เปนคาที่ทําให 1+ 5t – 5t2 มีคา ใกล 10 เมตร มากที่สุด 8. ตนทุนในการผลิตสินคาบริษัทแหงหนึ่งเทากับ1 600x–5x2 เมื่อx แทนราคาตนทุนสินคาตอหนวย และถาตนทุนสินคาตอหนวยสูงกวา 50 บาท ถาตองการกําไรชิ้นละ 25% โดยมีตนทุนในการ ผลิตเทากับ 16,000 บาท จะหาวาตองขายสินคาในราคาชิ้นละเทาใดไดดังนี้ ให 600x – 5x2 = 16,000 5x2 – 600x + 16,000 = 0 x2 – 120x + 3,200 = 0 จาก x = a2 ac4bb 2 −±− และ a = 1, b = – 120, c = 3,200 จะได x = )1(2 )200,3)(1(4)120()120( 2 −−±−− = 2 800,12400,14120 −± = 2 600,1120 ± = 2 40120 ± จะได x = 80 หรือ 40 จากโจทย ราคาสินคาตอหนวยตองสูงกวา 50 บาท ดังนั้น ราคาสินคาตอหนวย จะตองเทากับ 80 บาท ตองการกําไร 25% จะหาไดจาก 100 25 80× หรือ 20 บาท นั่นคือ จะตองขายสินคาชิ้นละ 80 + 20 หรือ 100 บาท
  • 34. 85 9. ถาผลคูณของจํานวนถัดไปที่เปนจํานวนคี่ที่เปนบวกสองจํานวนมีคาเทากับ 35 จะหาจํานวนทั้งสองไดโดย ให x เปนจํานวนคี่จํานวนแรก ให x + 2 เปนจํานวนคี่ที่เปนบวกที่เปนจํานวนถัดไป จะได x(x + 2) = 35 x2 + 2x – 35 = 0 (x + 7)(x – 5) = 0 x = – 7, 5 เนื่องจากโจทยกําหนดจํานวนคี่เปนจํานวนบวก ดังนั้น x จะตองเทากับ 5 สรุปวา จํานวนแรก คือ 5 และจํานวนที่สองคือ 7 ตรวจสอบคําตอบ 5 × 7 = 35 10. 1) ถา x2 + 10x + c = 0 และ c < 0 ให c = –24 จะได x2 + 10x – 24 = 0 (x + 12)(x – 2) = 0 และ x = –12 หรือ 2 เปนคําตอบที่เปนจํานวนจริง 2 คําตอบ 2) ถา x2 + 10x + c = 0 และ c > 0 ให c = 9 จะได x2 + 10x + 9 = 0 (x + 9)(x + 1) = 0 และ x = –9 หรือ –1 เปนคําตอบที่เปนจํานวนจริง 2 คําตอบ 3) ถา x2 + bx + 9 = 0 และ b > 6 ให b = 10 จะได x2 + 10x + 9 = 0 (x + 9)(x + 1) = 0 และ x = –9 หรือ –1 เปนคําตอบที่เปนจํานวนจริง 2 คําตอบ
  • 35. 86 11. ถาระยะเบรกของรถคันหนึ่งแทนดวยสูตร d = 20 s s 2 + เมตร เมื่อ d คือ ระยะเบรก และ s คืออัตราเร็วของรถมีหนวยเปนกิโลเมตร / ชั่วโมง หาระยะเบรกของรถคันนี้เมื่อรถคันนี้วิ่งดวยอัตราเร็วตางกัน ไดดังนี้ 1) s = 40 กิโลเมตร / ชั่วโมง d = 20 )40( 40 2 + = 40 + 80 เมตร = 120 เมตร 2) s = 100 กิโลเมตร / ชั่วโมง d = 20 )100( 100 2 + = 100 + 500 เมตร = 600 เมตร 12. หยุด x 35 ซม. x ถาตัดปายรูปแปดเหลี่ยมจากแผนโลหะรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสใหไดปายรูปแปดเหลี่ยมที่แตละ ดานยาว 35 ซม. จะหาวา ดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสควรจะยาวดานละเทาใด จึงจะไดปายตาม ขนาดที่เขียนไวในรูปไดดังนี้ หาความยาวของ x โดยใชรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 35 x จาก x2 + x2 = 352 x 2x2 = 352 x2 = 2 352 จะได x = 2 35 หรือ 2 235 จะไดวา รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสควรจะมีความยาวดานละ 2x + 35 หรือ 35 2 235 2 + ⎟ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎜ ⎝ ⎛ ซึ่งมีคาประมาณ 84.50 ซม.
  • 36. 87 แบบฝกหัด 3.4.1 1. 1) n < 5 จะได n = 0 , 1, – 2 2) n > – 4 จะได n = 6, – 1, 0 3) n < 0 จะได n = – 2, – 5 4) n ≤ 0 จะได n = 0, – 4, – 1 5) n ≤ 2 จะได n = – 2, 2, 0 6) – 1 < n ≤ 3 จะได n = 2, 3, 0 7) – 10 < n < 4 จะได n = – 1, 0 8) 0 ≤ n ≤ 5 จะได n = 1, 0, 5 2. 1) x + 2 > 2 x + 2 – 2 > 2 – 2 x > 0 เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x > 0} 2) x – 4 ≤ 2 x – 4 + 4 ≤ 2 + 4 x ≤ 6 เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≤ 6} 3) 3 + y < 7 3 + y – 3 < 7 – 3 y < 4 เซตคําตอบของอสมการคือ {y⏐y < 4} -3 -2 -1 0 1 2 3 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 6 7
  • 37. 88 4) y – 2 ≥ –1 y – 2 + 2 ≥ –1 + 2 y ≥ 1 เซตคําตอบของอสมการคือ {y⏐y ≥ 1} 5) x + 3 < 2 x + 3 – 3 < 2 – 3 x < –1 เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x < –1} 6) x – 9 ≤ 0 x – 9 + 9 ≤ 0 + 9 x ≤ 9 เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≤ 9} 7) 2x ≥ 4 ) 2 1 (4) 2 1 (x2 ≥ x ≥ 2 เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≥ 2} 8) 3x 3 1 ≥ 33)3(x 3 1 ×≥ x ≥ 9 เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≥ 9} -2 -1 0 1 2 3 4 -4 -3 -2 -1 0 1 2 6 7 8 9 10 11 12 -2 -1 0 1 2 3 4 6 7 8 9 10 11 12
  • 38. 89 9) 1 2 x −≤ )2(1)2( 2 x −≤ x ≤ –2 เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≤ –2} 10) 10 ≤ 5x ) 5 1 (x5) 5 1 (10 ≤ 2 ≤ x เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≥ 2} 11) 0 7 x > )7(0)7( 7 x > x > 0 เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x > 0} 12) 0 4 x < )4(0)4( 4 x < x < 0 เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x < 0} -4 -3 -2 -1 0 1 2 -2 -1 0 1 2 3 4 -3 -2 -1 0 1 2 3 -3 -2 -1 0 1 2 3
  • 39. 90 13) 2 1 1x ≤− x – 1 + 1 ≤ 1 2 1 + 2 3 x ≤ เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐ 2 3 x ≤ } 14) 5x + 1 ≤ 4 5x + 1 – 1 ≤ 4 – 1 5x ≤ 3 ) 5 1 (3) 5 1 (x5 ≤ x ≤ 5 3 เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐ 5 3 x ≤ } 15) –3 + 3x ≤ 2 –3 + 3x + 3 ≤ 2 + 3 3x ≤ 5 x ≤ 3 5 เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐ x ≤ 3 5 } แบบฝกหัด 3.4.2 1. –3x ≥ 9 ) 3 1 (9) 3 1 (x3 −≤−− x ≤ –3 0 1 2 3 2 3 0 1 2 3 5 3 0 1 2 3 3 5 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0
  • 40. 91 2. 2 3 x ≤− )3(2)3)( 3 x ( −≥−− x ≥ –6 3. 1 6 x <− )6(1)6)( 6 x ( −>−− x > –6 4. – 4x ≤ 20 ) 4 1 (20) 4 1 )(x4( −≥−− x ≥ –5 5. 18 + 6x > 0 18 + 6x – 18 > 0 – 18 6x > –18 6 x6 > 6 18− x > –3 6. 0 5 x ≥− )5(0)5)( 5 x ( −≤−− x ≤ 0 -9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 -3 -2 -1 0 1 2 3
  • 41. 92 7. –3x ≥ 12 ) 3 1 (12) 3 1 (x3 −≤−− x ≤ – 4 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 8. 1 7 x <− )7(1)7( 7 x −>−− x > –7 -10 -9 -8 -7 -6 -5 -4 9. –3x – 21 ≥ 0 –3x – 21 + 21 ≥ 0 + 21 –3x ≥ 21 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − − 3 1 x3 ≤ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − 3 1 21 x ≤ –7 10. 01 2 x >−− 1011 2 x +>+−− 1 2 x >− )2(1)2)( 2 x ( −<−− x < –2 -10 -9 -8 -7 -6 -5 -4 -4 -3 -2 -1 0 1 2
  • 42. 93 แบบฝกหัด 3.4.3 1. 1) 4x + 2 > x + 7 4x + 2 – x > x + 7 – x 3x + 2 > 7 3x + 2 – 2 > 7 – 2 3x > 5 ) 3 1 (x3 > ) 3 1 (5 x > 3 5 2) 2x – 1 < x + 9 2x – 1 – x < x + 9 – x x – 1 < 9 x – 1 + 1 < 9 + 1 x < 10 3) 8x – 5 ≥ 3x + 15 8x – 5 – 3x ≥ 3x + 15 – 3x 5x – 5 ≥ 15 5x – 5 + 5 ≥ 15 + 5 5x ≥ 20 ) 5 1 (x5 ≥ ) 5 1 (20 x ≥ 4 4) 3x – 2 ≤ x 3x – 2 – x ≤ x – x 2x – 2 ≤ 0 2x – 2 + 2 ≤ 0 + 2 2x ≤ 2 ) 2 1 (x2 ≤ ) 2 1 (2 x ≤ 1 6 7 8 9 10 11 12 1 2 3 4 5 6 7 -2 -1 0 1 2 3 4 0 1 2 3 3 5
  • 43. 94 5) 8 – 3x > x 8 – 3x + 3x > x + 3x 8 > 4x ) 4 1 (x4) 4 1 (8 > 2 > x หรือ x < 2 6) 5 – 3m ≤ 6 – 4m 5 – 3m + 4m ≤ 6 – 4m + 4m 5 + m ≤ 6 5 + m – 5 ≤ 6 – 5 m ≤ 1 7) 6 – 3m ≥ 3m 6 – 3m + 3m ≥ 3m + 3m 6 ≥ 6m ) 6 1 (6 ≥ ) 6 1 )(m6( 1 ≥ m m ≤ 1 8) 3m < m – 2 3m – m < m – 2 – m 2m < –2 ) 2 1 (m2 < ) 2 1 (2− m < –1 9) 4(m – 3) ≤ 3(m – 2) 4m – 12 ≤ 3m – 6 4m – 12 – 3m ≤ 3m – 6 – 3m m – 12 ≤ – 6 m – 12 + 12 ≤ – 6 + 12 m ≤ 6 -2 -1 0 1 2 3 4 -2 -1 0 1 2 3 4 -2 -1 0 1 2 3 4 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
  • 44. 95 10) m + 2 < 6(2 + m) m + 2 < 12 + 6m m + 2 – m < 12 + 6m – m 2 < 12 + 5m 2 – 12 < 12 + 5m – 12 –10 < 5m ) 5 1 (10− < 5m ) 5 1 ( –2 < m หรือ m > –2 11) x2 < 9 x2 – 9 < 0 (x – 3)(x + 3) < 0 พิจารณาคาของ (x – 3)(x + 3) ในชวง (– ∞, – 3), (– 3, 3), (3, ∞) โดยเลือกคา x ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้ ชวง x (x – 3)(x + 3) คาของ (x – 3)(x + 3) (– ∞, – 3) – 5 (– 8)(– 2) = 16 มีคาเปนบวก (– 3, 3) 0 (– 3)(3) = – 9 มีคาเปนลบ (3, ∞) 5 (2)(8) = 16 มีคาเปนบวก เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 3)(x + 3) มีคาเปนลบ หรือนอยกวาศูนย เมื่อ x อยูในชวง (–3, 3) เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้ 12) x2 > 4 x2 > 4 x2 – 4 > 0 (x – 2)(x + 2) > 0 พิจารณาคาของ (x – 2)(x + 2) ในชวง (– ∞, – 2), (– 2, 2), (2, ∞) โดยเลือกคา x ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้ -4 -3 -2 -1 0 1 2 (x – 3)(x + 3) < 0 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
  • 45. 96 ชวง x (x – 2)(x + 2) คาของ (x – 2)(x + 2) (– ∞, – 2) –3 (– 5)(– 1) = 5 มีคาเปนบวก (– 2, 2) 0 (– 2)(2) = – 4 มีคาเปนลบ (2, ∞) 3 (1)(5) = 5 มีคาเปนบวก เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 2)(x + 2) มีคาเปนบวก หรือมากกวาศูนย เมื่อ x อยูในชวง (– ∞, – 2) ∪ (2, ∞) เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้ (x – 2)(x + 2) > 0 (x – 2)(x + 2) > 0 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 13) x2 + 2x > 3 x2 + 2x – 3 > 0 (x – 1)(x + 3) > 0 พิจารณาคาของ (x – 1)(x + 3) ในชวง (– ∞, – 3), (– 3, 1), (1, ∞) โดยเลือกคา x ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้ ชวง x (x – 1)(x + 3) คาของ (x – 1)(x + 3) (– ∞, – 3) – 5 (– 6)(– 2) = 12 มีคาเปนบวก (– 3, 1) 0 (– 1)(3) = –3 มีคาเปนลบ (1, ∞) 5 (4)(8) = 32 มีคาเปนบวก เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 1)(x + 3) มีคาเปนบวก หรือมากกวาศูนย เมื่อ x อยูในชวง (– ∞, – 3) ∪ (1, ∞) เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้ (x – 1)(x + 3) > 0 (x – 1)(x + 3) > 0 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
  • 46. 97 14) x2 – 4x < 5 x2 – 4x – 5 < 0 (x – 5)(x + 1) < 0 พิจารณาคาของ (x – 5)(x + 1) ในชวง (– ∞, – 1), (– 1, 5), (5, ∞) โดยเลือกคา x ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้ ชวง x (x – 5)(x + 1) คาของ (x – 5)(x + 1) (– ∞, – 1) – 2 (– 7)(– 1) = 7 มีคาเปนบวก (– 1, 5) 0 (– 5)(1) = – 5 มีคาเปนลบ (5, ∞) 15 (10)(16) = 160 มีคาเปนบวก เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 5)(x + 1) มีคาเปนลบ หรือนอยกวาศูนย เมื่อ x อยูในชวง (– 1, 5) เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้ 15) (x – 1)(x + 1) > 0 พิจารณาคาของ (x – 1)(x + 1) ในชวง (– ∞, – 1), (– 1, 1), (1, ∞) โดยเลือกคา x ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้ ชวง x (x – 1)(x + 1) คาของ (x – 1)(x + 1) (– ∞, – 1) – 2 (– 3)(– 1) = 3 มีคาเปนบวก (– 1, 1) 0 (– 1)(1) = – 1 มีคาเปนลบ (1, ∞) 2 (1)(3) = 3 มีคาเปนบวก เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 1)(x + 1) มีคาเปนบวก หรือมากกวาศูนย เมื่อ x อยูในชวง (– ∞, – 1) ∪ (1, ∞) เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้ (x – 5)(x + 1) < 0 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 (x – 1)(x + 1) > 0 (x – 1)(x + 1) > 0 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
  • 47. 98 16) x2 – 6x + 9 < 0 (x – 3)(x – 3) < 0 พิจารณาคาของ (x – 3)(x – 3) ในชวง (– ∞, 3), (3, ∞) โดยเลือกคา x ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้ ชวง x (x – 3)(x – 3) คาของ (x – 3)(x – 3) (– ∞, 3) 0 (– 3)(– 3) = 9 มีคาเปนบวก (3, ∞) 5 (2)(2) = 4 มีคาเปนบวก เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 3)(x – 3) ≥ 0 เสมอ จึงไมมีคา x ที่ทําให (x – 3)2 มีคาเปนลบ หรือนอยกวาศูนย แสดงวา ไมมีจํานวนจริงใดที่ทําให (x – 3)2 < 0 17) x2 + 6x + 9 < 0 (x + 3)(x + 3) < 0 พิจารณาคาของ (x + 3)(x + 3) ในชวง (– ∞, – 3), (– 3, ∞) โดยเลือกคา x ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้ ชวง x (x + 3)(x + 3) คาของ (x + 3)(x + 3) (– ∞, – 3) –5 (– 2)(– 2) = 4 มีคาเปนบวก (– 3, ∞) 0 (3)(3) = 9 มีคาเปนบวก เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา คาของ (x + 3)(x + 3) ≥ 0 เสมอ เมื่อ x อยู ในชวง (– ∞, – 3] ∪ [– 3, ∞) หรือ (– ∞, ∞) จึงไมมีคา x ที่ทําให (x + 3)(x + 3) มีคาเปนลบ หรือนอยกวาศูนย (x – 3)2 ≥ 0 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 x2 + 6x + 9 ≥ 0 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
  • 48. 99 18) x2 + 4x + 4 ≥ 0 (x + 2)(x + 2) ≥ 0 พิจารณาคาของ (x + 2)(x + 2) ในชวง (– ∞, – 2], [– 2, ∞) โดยเลือกคา x ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้ ชวง x (x + 2)(x + 2) คาของ (x + 2)(x + 2) (– ∞, – 2] – 5 (– 3)(– 3) = 9 มีคาเปนบวก [– 2, ∞) 0 (2)(2) = 4 มีคาเปนบวก เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x + 2)(x + 2) มีคามากกวาหรือเทากับศูนย เมื่อ x เปนจํานวนจริง หรือ เมื่อ x อยูในชวง (– ∞, –2 ] ∪ [–2 , ∞) หรือ (– ∞, ∞) เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้ x2 + 4x + 4 ≥ 0 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 19) (x – 3)2 > 0 (x – 3)(x – 3) > 0 พิจารณาคาของ (x – 3)(x – 3) ในชวง (– ∞, 3), (3, ∞) โดยเลือกคา x ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้ ชวง x (x – 3)(x – 3) คาของ (x – 3)(x – 3) (– ∞, 3) 0 (– 3)(– 3) = 9 มีคาเปนบวก (3, ∞) 5 (2)(2) = 4 มีคาเปนบวก เมื่อเลือก x คาอื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 3)(x – 3) มีคาเปนบวกหรือมากกวาศูนย เมื่อ x เปนจํานวนจริง ที่ไมเทากับ 3 หรือ เมื่อ x อยูในชวง (– ∞, 3) ∪ (3, ∞) เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้ (x – 3)2 > 0 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 (x – 3)2 = 0
  • 49. 100 20) x2 – 9x – 10 < 0 (x – 10)(x + 1) < 0 พิจารณาคาของ (x – 10)(x + 1) ในชวง (– ∞, – 1), (– 1, 10), (10, ∞) โดยเลือกคา x ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้ ชวง x (x – 10)(x + 1) คาของ (x – 10)(x + 1) (– ∞, – 1) – 2 (– 12)(– 1) = 12 มีคาเปนบวก (– 1, 10) 0 (– 10)(1) = – 10 มีคาเปนลบ (10, ∞) 11 (1)(12) = 12 มีคาเปนบวก เมื่อเลือก x คาอื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 10)(x + 1) มีคาเปนลบหรือนอยกวาศูนย เมื่อ x อยูในชวง (–1, 10) เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้ 2. ลิฟทของที่ทํางานแหงหนึ่งสามารถจุคนได n คน โดยที่น้ําหนักเฉลี่ยของแตละคนเทากับ 80 กิโลกรัม ถาลิฟทตัวนี้บรรทุกน้ําหนักไดมากที่สุด 1,650 กิโลกรัม ให n แทนจํานวนคนที่อยูในลิฟท จะได 80 n ≤ 1650 ) 80 1 (n80 ≤ ) 80 1 (1650 n ≤ 8 5 20 สรุปไดวา ลิฟทตัวนี้บรรจุคนไดไมเกิน 20 คน 3. ที่จอดรถของศูนยการคาแหงหนึ่งมีพื้นที่ไมเกิน 8,000 ตารางเมตร และจะตองแบงเปนทางเดิน ของรถ 950 ตารางเมตร กําหนดใหพื้นที่สําหรับจอดรถ 1 คัน เทากับ 20 ตารางเมตร จะหาจํานวนรถที่ลูกคานํามาจอดในที่จอดรถไดมากที่สุดไดดังนี้ ให x เปนจํานวนรถที่นํามาจอดในบริเวณที่จอดรถ จะได 20x < 8,000 – 950 20x < 7,050 x2 – 9x – 10 < 0 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
  • 50. 101 ) 20 1 (x20 < ) 20 1 (050,7 x < 2 1 352 สรุปไดวา ลูกคานํารถมาจอดไดมากที่สุด 352 คัน 4. บริษัท ก คิดคาเชารถวันละ 1,800 บาท โดยไมคิดคาใชจายอื่นอีก บริษัท ข คิดคาเชารถวันละ 1,000 บาท และคิดคาเชาเพิ่มจากจํานวนกิโลเมตรที่นํารถไปใช อีกกิโลเมตรละ 2 บาท 1) ใหจํานวนระยะทางที่รถวิ่งแทนดวย x จะได 1000 + 2x ≤ 1800 2x ≤ 800 x ≤ 400 สรุปวา ถาเชารถจากบริษัท ข โดยจายคาเชา 1,800 บาท/วัน จะใชวิ่งไดมากที่สุด 400 กิโลเมตร 2) ถาตองการใชรถวันละประมาณ 600 กิโลเมตร ถาเชารถจากบริษัท ก จะตองจายคาเชารถ 1,800 บาท ถาเชารถจากบริษัท ข จะตองจายคาเชารถ 1,000 + 2(600) หรือ 2,200 บาท ดังนั้น ถาตองการใชรถวันละประมาณ 600 กิโลเมตร ควรเชารถจากบริษัท ก จึงจะประหยัดคาเชารถ 5. แมคาขายไกยางตัวละ 80 บาท โดยมีคาใชจายที่เปนคาเชารานวันละ 100 บาท และคาใชจายอื่น รวมทั้งคาไกสดคิดเปนตนทุนแลวตัวละ 60 บาท ให x แทนจํานวนไก (ตัว) ที่ขายไดในหนึ่งวัน ขายไกยาง 1 ตัว ตองการกําไร 80 – 60 = 20 บาท 20x – 100 ≥ 500 20x ≥ 600 x ≥ 30 ดังนั้น ถาตองการกําไรจากการขายไกยางวันละไมต่ํากวา 500 บาท ตองขายไกยางใหได มากกวาวันละ 30 ตัว
  • 51. 102 แบบฝกหัด 3.5 1. จงหาคาของ 1) ⏐8⏐ +⏐3⏐ = 8 + 3 = 11 10) ⏐0⏐ = 0 2) ⏐9⏐ – ⏐2⏐ = 9 – 2 = 7 11) ⏐3 – π⏐ = – (3 – π) = π – 3 3) ⏐– 8⏐+ ⏐2⏐ = 8 + 2 = 10 12) ⏐4 – π⏐ = 4 – π 4) ⏐– 12⏐+ ⏐–6⏐ = 12 + 6 = 18 13) 5 5 − − = 5 5− = – 1 5) ⏐– 6⏐–⏐6⏐ = 6 – 6 = 0 14) –3 – ⏐–3⏐ = – 3 – 3 = – 6 6) ⏐– 13⏐–⏐– 5⏐ = 13 – 5 = 8 15) –3 ⏐3⏐ = – 3(3) = – 9 7) ⏐4 + 9⏐ = 13 16) ⏐–1⏐–⏐–2⏐ = 1 – 2 = – 1 8) ⏐10 – 10⏐ = 0 17) –⏐16.25⏐+ 20 = –16.25 + 20 = 3.75 9) ⏐– 10⏐ = 10 18) 2⏐33⏐ = 2(33) = 66 2. กําหนดให x = ⏐– 2⏐ และ y = ⏐5⏐ 1) x – 2 = ⏐– 2⏐– 2 = 2 – 2 = 0 2) y – 5 = ⏐5⏐– 5 = 5 – 5 = 0 3) 2x = 2⏐– 2⏐ = 2(2) = 4 4) y2 = (⏐5⏐)2 = 52 = 25 5) x + y = ⏐– 2⏐+ ⏐5⏐ = 2 + 5 = 7 6) x – y = ⏐– 2⏐– ⏐5⏐ = 2 – 5 = – 3 7) xy = ⏐– 2⏐⏐5⏐ = 2(5) = 10 8) y x = 5 2− = 5 2 3. 1) ⏐–3⏐ > –⏐–3⏐ 2) ⏐– 4⏐ = ⏐4⏐ 3) –5 = –⏐5⏐ 4) –⏐4⏐ < ⏐4⏐ 5) –⏐–6⏐ < ⏐–6⏐ 6) –⏐–2⏐ = –2 4. 1) ⏐x⏐ = 7 ∴ x = –7, 7 2) ⏐x⏐ > 7 ∴ x < –7 , x > 7 -14 -7 0 7 14 -14 -7 0 7 14
  • 52. 103 3) ⏐x⏐ ≥ 7 ∴ x ≤ – 7 , x ≥ 7 -14 -7 0 7 14 -14 -7 0 7 14 4) ⏐x⏐ > 0 ∴ x < 0 , x > 0 5) ⏐x⏐ ≤ 4 ∴ – 4 ≤ x ≤ 4 -8 -4 0 4 8 -8 -4 0 4 8 6) ⏐x⏐ < 4 ∴ – 4 < x < 4 5. กําหนดให x และ y เปนจํานวนจริงที่ไมเทากับศูนย 1) ⏐x⏐ = – x เปนเท็จ เพราะมีคา x บางคา เชน x = 1, ⏐1⏐ = 1 แต – x = – 1 และ –1 ≠ 1 2) –⏐x⏐ < x เปนเท็จ เพราะมีคา x บางคา เชน x = –2 , –⏐–2⏐ = –2 แต –2 < –2 3) ⏐x⏐ > x เปนเท็จ เพราะมี x = 2, ⏐2⏐ = 2 แต 2 > 2 4) ⏐x⏐ < x เปนเท็จ เพราะมี x = –1, ⏐–1⏐= 1 แต 1 < –1