SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 81
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) สิริพงศ์ จึงถาวรรณ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ E: kn19119@hotmail.com
องค์กรที่ขาดค่านิยมร่วมที่ดี ทำงานแบบไร้ทิศทาง เช้าชาม ... เย็นชาม ปัจจุบัน การดำเนินงานขององค์การ อนาคต ปัจจัยนำเข้า Input 2550 กระบวนการ Process 2555 ผลผลิต Output
องค์กรที่มีค่านิยมร่วมที่ดี ทำงานมีทิศทาง ดั่งลูกธนูที่รวมพลังที่มุ่งตรงสู้เป้าหมายเดียวกัน ปัจจุบัน การดำเนินงานขององค์การ อนาคต ปัจจัยนำเข้า Input 2550 กระบวนการ Process 2555 ผลผลิต Output
ทางนี้ ผู้บริหาร CEOs 10° ผู้จัดการ Managers 60° ทางนี้ คณะทำงาน Staff 360° ทางนี้
ยุทธศาสตร์ ยุทธ การรบ ความรู้ ดังนั้น ยุทธศาสตร์ = ความรู้ในด้านการรบ +  ศาสตร์
การรบ ปกป้อง  อาณาจักร ขยาย  อาณาจักร ขยาย  ธุรกิจ ปกป้อง  ธุรกิจ การเมือง / การปกครอง องค์กร  /   บริษัท
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],กองทัพ ภารกิจ การวางแผน  กิจกรรม  พื้นที่ทำกิจกรรม  สิ่งสนับสนุน งานตามแผน  งาน  การจำกิจกรรม วิธีการ /   แทคติก ที่นำไปสู่เป้าหมาย โดยใช้   5m  1t   เกิดประโยชน์สูงสุด ทหารเสนาธิการ  ทหารปืนใหญ่  สนาบรบ  ทหารช่าง ทหารม้า / ราบ  ค่ายทหาร  ทหารเสนารักษ์ องค์กร ฝ่ายวางแผน  ฝ่ายตลาด  ตัวตลาด  ฝ่ายการเงิน / บัญชี ฝ่ายผลิต ยุทธศาสตร์ ยุทธการ  ยุทธกิจ  ยุทธภูมิ  ยุทธปัจจัย  กลยุทธ์
แนวคิดการจัดทำแผนกลยุทธ์ ระบบความคิด ( วิสัยทัศน์ / นโยบาย ) พื้นที่ ดินฟ้าอากาศ แม่ทัพ วิธีการทางทหาร จังหวะเวลา  ( Timing) ของการแข่งขันหรือ  “ การเปลี่ยนแปลง ”   เทียบได้กับ  แนวโน้มทางเศรษฐกิจ สถานที่เราใช้  “ ต่อสู้ ”  คือที่ ที่เกิดสงครามเทียบได้กับ  ตลาด ส่วนสำคัญอยู่ตรงที่การเลือกตำแหน่ง  การเคลื่อนที่เข้าตำแหน่ง และการใช้ประโยชน์จากตำแหน่งนั้นนั่นเอง คือบุคคลที่เป็นหัวหน้าของหน่วยแข่งขัน ที่สำคัญคือ  เป็นคนที่ทำหน้าที่ตัดสินใจ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คือ เทคนิควิธีที่องค์กรหนึ่ง ๆ ใช้ หรือเทียบได้กับ ขอบเขตการกระทำ ของกลุ่ม
รูปแบบการแข่งขันที่เปลี่ยนไป การแข่งขันที่อาศัยขนาด สินทรัพย์ที่จับต้องได้ สินทรัพย์เป็นเจ้าของคนเดียว พึ่งพิงทุนเป็นส่วนใหญ่ อยู่บนพื้นฐานการผลิต การแข่งขันที่อาศัยความรวดเร็ว สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน สินทรัพย์เป็นของกลุ่มหรือเครือข่าย พึ่งพิงการคิดสร้างสรรค์นวัตกรรม อยู่บนพื้นฐานการบริโภค
สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน ,[object Object],[object Object],[object Object]
การตัดสินใจได้และรวดเร็ว ใช้  3  หลัก การตัดสินใจ หลักรู้ หลักคิด หลักปฏิบัติ
3  หลัก ประกอบด้วย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ลักษณะวงจรการดำเนินงานในองค์กร P  การวางแผนและจัดการองค์กร D  การสังการและชี้นำ C  ประเมินผลและควบคุม A  ติดตาม ปรับปรุง แก้ไข องค์กรส่วนใหญ่ เน้นแค่  2  ส่วนแรก ในอดีตได้ละเลย การประเมินผลงาน ทำให้ปรับปรุงไม่ตรงประเด็น
การพัฒนากลยุทธ์และการจัดการ ปัจจัยภายนอก - โอกาส  (O) - อุปสรรค  ( T) ,[object Object],[object Object],[object Object],5  F O R C E V R I O ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค (SWOT) กำหนดกลยุทธ์ S W O T IE M A T R I X T O W S เลือกกลยุทธ์ Q S P M ประเมินผล กลยุทธ์ K P I B S C
ประกาศ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การพัฒนากลยุทธ์และการจัดการ ปัจจัยภายนอก - โอกาส  (O) - อุปสรรค  ( T) ,[object Object],[object Object],[object Object],5  F O R C E V R I O ,[object Object],[object Object],[object Object],การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค (SWOT) กำหนดกลยุทธ์ S W O T IE M A T R I X T O W S เลือกกลยุทธ์ Q S P M ประเมินผล กลยุทธ์ K P I B S C
VRIO Framework ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การพัฒนากลยุทธ์และการจัดการ ปัจจัยภายนอก - โอกาส  (O) - อุปสรรค  ( T) ,[object Object],[object Object],[object Object],5  F O R C E V R I O ,[object Object],[object Object],[object Object],การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค (SWOT) กำหนดกลยุทธ์ S W O T IE M A T R I X T O W S เลือกกลยุทธ์ Q S P M ประเมินผล กลยุทธ์ K P I B S C P E T S
5  แรงกดดันของ ไมเคิล อี พอตเตอร์ ,[object Object],คู่แข่งใน อุตสาหกรรม ศักยภาพใน การเข้ามาของคู่แข่งใหม่ ศักยภาพใน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทดแทน อำนาจต่อรอง ของซัพพลายเออร์ อำนาจต่อรอง ของผู้บริโภค
PETS Framework ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การพัฒนากลยุทธ์และการจัดการ ปัจจัยภายนอก - โอกาส  (O) - อุปสรรค  ( T) ,[object Object],[object Object],[object Object],5  F O R C E V R I O ,[object Object],[object Object],[object Object],การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค (SWOT) กำหนดกลยุทธ์ S W O T IE M A T R I X T O W S เลือกกลยุทธ์ Q S P M ประเมินผล กลยุทธ์ K P I B S C
SWOT จุดแข็ง  ( S)  สิ่งที่องค์กรเรามี แต่องค์กรอื่นไม่มี (1)  ... (2)  ... (3)  ... จุดอ่อน  ( W)  สิ่งที่องค์กรเราไม่มี แต่องค์กรอื่นมี (1)  ... (2)  ... (3)  ...
SWOT โอกาส  ( O)  สภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อองค์กร (1)  ... (2)  ... (3)  ... อุปสรรค  ( T)  สภาวะแวดล้อมที่เป็นอุปสรรค (1)  ... (2)  ... (3)  ...
การพัฒนากลยุทธ์และการจัดการ ปัจจัยภายนอก - โอกาส  (O) - อุปสรรค  ( T) ,[object Object],[object Object],[object Object],5  F O R C E V R I O ,[object Object],[object Object],[object Object],การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค (SWOT) กำหนดกลยุทธ์ S W O T IE M A T R I X T O W S เลือกกลยุทธ์ Q S P M ประเมินผล กลยุทธ์ K P I B S C
IE MATRIX   (Internal-External Matrix) จุดแข็ง  ( S)  (1)  ... (2)  ... (3)  ... จุดอ่อน  ( W) (1)  ... (2)  ... (3)  ...  W … … … … … … R … … … … … … WS … … … … … … Total 1.00 - …
IE MATRIX โอกาส  ( O)  (1)  ... (2)  ... (3)  ... อุปสรรค  ( T) (1)  ... (2)  ... (3)  ...  W … … … … … … R … … … … … … WS … … … … … … Total 1.00 - …
IE MATRIX รักษา / ป้องกัน  ถอย / ทิ้ง รุก / เติบโต
TOWS MATRIX  (Threat Opportunities Weakness Strength Matrix) TOWS MATRIX จุดแข็ง   (Strengths : S) 1.  ...   2.  ...   3.  ... จุดอ่อน   (Weaknesses : W) 1.  ... 2.  ...   3.  ... โอกาส   (Opportunities :O) 1.  ...   2.  ...   3.  ... ใช้จุดแข็งฉวยประโยชน์จากโอกาส 1.  ...   ( S.. , S.., S.., O.., O.., O..) 2.  ...   ( S.. , S.., S.., O.., O.., O..) เอาชนะจุดอ่อนด้วยประโยชน์จากโอกาส 1.  ...   ( W.. , W.., W.., O.., O.., O..) 2.  ...   ( W.. , W.., W.., O.., O.., O..) อุปสรรค   (Threats :T) 1.  ...   2.  ...   3.  ... ใช้จุดแข็งเลี่ยงอุปสรรค 1.  ...   ( S.. , S.., S.., T.., T.., T..) 2.  ...   ( S.. , S.., S.., T.., T.., T..) ลดจุดอ่อนและอุปสรรคให้เหลือน้อยที่สุด 1.  ...   ( W.. , W.., W.., T.., T.., T..) 2.  ...   ( W.. , W.., W.., T.., T.., T..)
การพัฒนากลยุทธ์และการจัดการ ปัจจัยภายนอก - โอกาส  (O) - อุปสรรค  ( T) ,[object Object],[object Object],[object Object],5  F O R C E V R I O ,[object Object],[object Object],[object Object],การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค (SWOT) กำหนดกลยุทธ์ S W O T IE M A T R I X T O W S เลือกกลยุทธ์ Q S P M ประเมินผล กลยุทธ์ K P I B S C
QSPM MATRIX (Qualitative Strategic Planning Matrix) กลยุทธ์  1 กลยุทธ์  2 จุดแข็ง  ( S)  (1)  ... (2)  ... (3)  ... จุดอ่อน  ( W) (1)  ... (2)  ... (3)  ...  W … … … … … … R … … … … … … WS … … … … … … W … … … … … … R … … … … … … WS … … … … … … Total 1.00 - … 1.00 - …
QSPM MATRIX กลยุทธ์  1 กลยุทธ์  2 โอกาส  ( O)  (1)  ... (2)  ... (3)  ... อุปสรรค  ( T) (1)  ... (2)  ... (3)  ...  W … … … … … … R … … … … … … WS … … … … … … W … … … … … … R … … … … … … WS … … … … … … Total 1.00 - … 1.00 - …
การพัฒนากลยุทธ์และการจัดการ ปัจจัยภายนอก - โอกาส  (O) - อุปสรรค  ( T) ,[object Object],[object Object],[object Object],5  F O R C E V R I O ,[object Object],[object Object],[object Object],การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค (SWOT) กำหนดกลยุทธ์ S W O T IE M A T R I X T O W S เลือกกลยุทธ์ Q S P M ประเมินผล กลยุทธ์ K P I B S C
BSC (Balance scorecard) … … … … … … … ด้านการเติบโตและการเรียนรู้ ด้านกระบวนการภายใน ด้านลูกค้า ด้านการเงิน
KPI (Key Performance Index/Indicator) กลยุทธ์ด้าน ... กลยุทธ์หลัก / ย่อย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดผลงาน ตัวชี้วัดผลงานหลัก ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ...
กลยุทธ์ระดับองค์กร  ( Corporate Strategy) มุ่งเก่งอย่างเดียว รวมตัวแนวดิ่ง ไปด้านหน้า Supplier Distributor รวมตัวแนวดิ่ง ไปด้านหลัง รวมตัวแนวราบ ไปทำธุรกิจอื่น ธุรกิจเดิม
กรณีศึกษา  :  การวางกลยุทธ์ การพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร
ศูนย์กลางธุรกิจข้าวชั้นนำของภูมิภาคเอเชีย  (Rice Hub of Asia) วิสัยทัศน์ พันธกิจ 1)  การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการผลิตในด้านคุณภาพข้าว 2)  การเพิ่มพื้นที่ผลิตข้าวคุณภาพภายใต้หลักเกณฑ์ที่เหมาะสม  3)  การมุ่งไปสู่การพัฒนาระบบ  Logistic  เพื่อให้เป็นศูนย์กลางของการ ขนส่งสินค้าผลิตภัณฑ์ข้าว 4)  การพัฒนาในด้านการเพิ่มมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางด้านการตลาด
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],จุดแข็ง
[object Object],[object Object],จุดแข็ง
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],จุดอ่อน
[object Object],[object Object],จุดอ่อน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],โอกาส
[object Object],[object Object],โอกาส
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],อุปสรรค
จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค  (SWOT)  ของจังหวัด   จุดแข็ง -  จังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดใกล้เคียงมีท่าข้าวหลายแห่ง -   มีวัตถุดิบทางด้านอุตสาหกรรมเกษตรในพื้นที่ -   มีอุตสาหกรรมอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด -   การประกอบกิจการส่วนใหญ่เป็นลักษณะเจ้าของคนเดยว ทำให้การตัดสินใจทำได้รวดเร็ว คล่องตัว -  เป็นแหล่งท่องเที่ยวมรดกโลก ทั้งโบราณสถานและธรรมชาติหลายหลายแห่ง -  มีแม่น้ำสำคัญไหลผ่าน  4  สาย คือ แม่น้ำปิง ยม น่าน และเจ้าพระยา มีแหล่งน้ำขนาดใหญ่ คือ บึงบอระเพ็ด และแหล่งน้ำธรรมชาติ สำหรับการประมงและท่องเที่ยว -  มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ น้ำมัน ยิปซั่ม ทองคำ ฯลฯ จุดอ่อน -   การกำหนดราคาขายของวัตถุดิบอุตสาหกรรมเกษตรบางประเภทขึ้นกับพ่อค้าคนกลาง -   เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังล้าสมัย ขาดการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ -   ผู้ประกอบการขาดเงินทุนหมุนเวียน -   แรงงานขาดทักษะในระดับสูง มีการเข้า  –  ออกงานบ่อย  (Turn over) -  ขาดความรู้ด้านการบริหารการจัดการสมัยใหม่  ( Modern management)  ส่วนใหญ่เป็นกิจการในครอบครัว การขยายกิจการอยู่ในอัตราที่ต่ำ -   ขาดการวางผังเมืองที่ดี ทำให้มีปัญหาการจราจรติดขัด คับคั่ง ในเขตเมือง โอกาส -  ผลิตข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ทั้งการบริโภคภายในประเทศ การส่งออกสู่ตลาดโลก -   การขนส่งสะดวกเนื่องจากอยู่ใกล้จังหวัดกรุงเทพมหานคร -   จังหวัดนครสวรรค์ตั้งอยู่ในเขตส่งเสริมการลงทุน เขต  3  ซึ่งได้รับสิทธิประโยชน์มากว่าเขตอื่นๆ -   มีแรงงานจำนวนมากในพื้นที่ -   เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจการค้าส่ง  -  ค้าปลีกของภาคเหนือตอนล่าง -  ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดเป็นที่ราบ  3  ใน  4  ของพื้นที่จังหวัด มีที่ราบลุ่มมาก -  ระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เช่น ประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ เพียบพร้อม -   มีสถาบันการเงิน และการศึกษาในพื้นที่หลายแห่ง  -   หน่วยงานของรัฐให้การสนับสนุนและส่งเสริมหลายด้าน -  มีความพร้อมในด้านสถาบันการศึกษาและสถานพยาบาล อุปสรรค -  ระบบชลประทานไม่ทั่วถึง การพัฒนาแหล่งน้ำระบบชลประทานต้องพัฒนาในระบบลุ่มน้ำ -  ปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้ง -  มีคู่แข่งในการผลิตสินค้าประเภท / ชนิด เดียวกันในตลาด -   วัตถุดิบบางชนิดขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศ -   ความผันผวนของราคาผลิตผลทางการเกษตร -   การควบคุมทางด้านกฎหมายแรงงาน -  การกำหนดมาตรฐานและนโยบายของรัฐบาล
ตารางการประเมินปัจจัยภายใน  (Internal Factor Evaluation : IFE Matrix) ปัจจัยภายใน จุดแข็ง น้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก -  จังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดใกล้เคียงมีท่าข้าวหลายแห่ง -   มีวัตถุดิบทางด้านอุตสาหกรรมเกษตรในพื้นที่ -   มีอุตสาหกรรมอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด -   การประกอบกิจการส่วนใหญ่เป็นลักษณะเจ้าของคนเดยว ทำให้การตัดสินใจทำได้รวดเร็ว คล่องตัว -  เป็นแหล่งท่องเที่ยวมรดกโลก ทั้งโบราณสถานและธรรมชาติหลายหลายแห่ง -  มีแม่น้ำสำคัญไหลผ่าน  4  สาย คือ แม่น้ำปิง ยม น่าน และเจ้าพระยา มีแหล่งน้ำขนาดใหญ่ คือ บึงบอระเพ็ด และแหล่งน้ำธรรมชาติใช้สำหรับการประมงและท่องเที่ยว -  มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ น้ำมัน ยิปซั่ม ทองคำ ฯลฯ 0.10 0.10 0.05 0.07 0.07 0.10 0.07 4 3 4 3 3 4 3 0.40 0.30 0.20 0.21 0.21 0.40 0.21 จุดอ่อน น้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก -   การกำหนดราคาขายของวัตถุดิบอุตสาหกรรมเกษตรบางประเภทขึ้นกับพ่อค้าคนกลาง -   เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังล้าสมัย ขาดการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ -   ผู้ประกอบการขาดเงินทุนหมุนเวียน -   แรงงานขาดทักษะในระดับสูง มีการเข้า  –  ออกงานบ่อย  (Turn over) -  ขาดความรู้ด้านการบริหารการจัดการสมัยใหม่  ( Modern management)  ส่วนใหญ่เป็นกิจการในครอบครัว การขยายกิจการอยู่ในอัตราที่ต่ำ -   ขาดการวางผังเมืองที่ดี ทำให้มีปัญหาการจราจรติดขัด คับคั่ง ในเขตเมือง 0.10 0.05 0.07 0.07 0.10 0.05 1 2 2 1 2 2 0.10 0.10 0.14 0.07 0.20 0.10 รวม 1.00 - 2.64
ตารางการประเมินปัจจัยภายนอก (External Factor Evaluation : EFE Matrix) ปัจจัยภายนอก โอกาส น้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก -  ผลิตข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ทั้งการบริโภคภายในประเทศ การส่งออกสู่ตลาดโลก -   การขนส่งสะดวกเนื่องจากอยู่ใกล้จังหวัดกรุงเทพมหานคร -   จังหวัดนครสวรรค์ตั้งอยู่ในเขตส่งเสริมการลงทุน เขต  3  ซึ่งได้รับสิทธิประโยชน์มากว่าเขตอื่นๆ -   มีแรงงานจำนวนมากในพื้นที่ -   เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจการค้าส่ง  -  ค้าปลีกของภาคเหนือตอนล่าง -  ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดเป็นที่ราบ  3  ใน  4  ของพื้นที่จังหวัด มีที่ราบลุ่มมาก -  ระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เช่น ประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ เพียบพร้อม -   มีสถาบันการเงิน และการศึกษาในพื้นที่หลายแห่ง  -   หน่วยงานของรัฐให้การสนับสนุนและส่งเสริมหลายด้าน -  มีความพร้อมในด้านสถาบันการศึกษาและสถานพยาบาล 0.10 0.05 0.05 0.05 0.10 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 4 3 4 2 4 4 3 2 2 2 0.40 0.15 0.20 0.10 0.40 0.20 0.15 0.10 0.10 0.10 อุปสรรค น้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก -  ระบบชลประทานไม่ทั่วถึง การพัฒนาแหล่งน้ำระบบชลประทานต้องพัฒนาในระบบลุ่มน้ำ -  ปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้ง -  มีคู่แข่งในการผลิตสินค้าประเภท / ชนิด เดียวกันในตลาด -   วัตถุดิบบางชนิดขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศ -   ความผันผวนของราคาผลิตผลทางการเกษตร -   การควบคุมทางด้านกฎหมายแรงงาน -  การกำหนดมาตรฐานและนโยบายของรัฐบาล 0.10 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 2 1 2 1 2 2 2 0.20 0.05 0.10 0.05 0.10 0.10 0.10 รวม 1.00 - 2.60
ตารางปัจจัยภายใน   -  ภายนอก  (Internal – External : IE Matrix)
ตารางปัจจัยภายใน   -  ภายนอก  (Internal – External : IE Matrix) สามารถสรุปกลยุทธ์ที่เหมาะสมได้ โดยมุ่งถึงการเพิ่มรายได้จากผลผลิตข้าวโดยมีวิธีการ ดังนี้ 1.  เจาะตลาด  -  การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการผลิตในด้านคุณภาพข้าว 2.  พัฒนาตลาด -  การเพิ่มพื้นที่ผลิตข้าวคุณภาพภายใต้หลักเกณฑ์ที่เหมาะสม  ( GAP)  และพื้นที่เพาะปลูกด้วยวิธีการเกษตรอินทรีย์ที่มีการรับรองจากสถาบันที่ได้รับความเชื่อถือ -  การมุ่งไปสู่การพัฒนาระบบโลจิสติกส์เพื่อให้เป็นศูนย์กลางของการขนส่งสินค้าที่มีผลการเป็นศูนย์กลางของสินค้าเกษตรแปรรูป ในผลิตภัณฑ์ข้าว 3.  พัฒนาผลิตภัณฑ์ -  ทำการมุ่งถึงการพัฒนาในด้านการเพิ่มมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางด้านการตลาดที่เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้าในตลาด
TOWS Matrix  การพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร   จุดแข็ง   (Strengths : S) 1.  มีท่าข้าวหลายแห่ง 2.  มีวัตถุดิบทางด้านอุตสาหกรรมเกษตรในพื้นที่ 3.  มีอุตสาหกรรมอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด 4.  การประกอบกิจการส่วนใหญ่เป็นลักษณะเจ้าของคนเดียว ทำให้การตัดสินใจทำได้รวดเร็ว คล่องตัว 5.  เป็นแหล่งท่องเที่ยวมรดกโลก ทั้งโบราณสถานและธรรมชาติหลายหลายแห่ง 6.  มีแม่น้ำสำคัญไหลผ่าน  4  สาย และแหล่งน้ำธรรมชาติใช้สำหรับการประมงและท่องเที่ยว 7.   มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ จุดอ่อน   (Weaknesses : W) 1.  การกำหนดราคาขายของวัตถุดิบอุตสาหกรรมเกษตรบางประเภทขึ้นกับพ่อค้าคนกลาง 2.  เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังล้าสมัย ขาดการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ 3.  ผู้ประกอบการขาดเงินทุนหมุนเวียน 4.  แรงงานขาดทักษะในระดับสูง มีการเข้า  –  ออกงานบ่อย  (Turn over) 5.  ขาดความรู้ด้านการบริหารการจัดการสมัยใหม่  ( Modern management)  ส่วนใหญ่เป็นกิจการในครอบครัว การขยายกิจการอยู่ในอัตราที่ต่ำ 6.  ขาดการวางผังเมืองที่ดี ทำให้มีปัญหาการจราจรติดขัด คับคั่ง ในเขตเมือง โอกาส   (Opportunities :O) 1.  ผลิตข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ 2.  การขนส่งสะดวกอยู่ใกล้กรุงเทพมหานคร 3.  ตั้งอยู่ในเขตส่งเสริมการลงทุน 4.  มีแรงงานจำนวนมากในพื้นที่ 5.  เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจของภาคเหนือตอนล่าง 6.  ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดเป็นที่ราบ  3  ใน  4  ของพื้นที่จังหวัด มีที่ราบลุ่มมาก 7,  ระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพียบพร้อม 8.  มีสถาบันการเงิน และการศึกษาในพื้นที่หลายแห่ง  9.  หน่วยงานของรัฐให้การสนับสนุนและส่งเสริมหลายด้าน 10.  มีความพร้อมในด้านสถาบันการศึกษาและสถานพยาบาล ใช้จุดแข็งฉวยประโชชน์จากโอกาส 1.  พัฒนาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเกษตรรายเดิม และเสริมสร้างผู้ประกอบการรายใหม่   (S1, S2, S3, O1, O2, O3, O4, O5, O6, O7, O8, O9, O10) 2.  จัดตั้งโครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปใหม่ๆ เพื่อเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์  ( S2, S7, O4, O7, O8, O9, O10) เอาชนะจุดอ่อนด้วยประโยชน์จากโอกาส 1.  รวมกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียพื่อจัดทำมาตรฐานราคากลางของอุตสาหกรรมเกษตร  (W1, W5, O1, O5, O8, O9, O10) 2.  นำร่องโรงงานที่ใช้ระบบการบริหารการจัดการสมัยใหม่ต้นแบบ  (W2, W5, O4, O8, O9, O10) 3.  สนับสนุนการปล่อยเงินกู้ให้กับผู้ประกอบการโดยให้กู้ในอัตราดอกเบี้ยต่ำ  ( W3, O3, O5, O8, O9) 4.  ยกระดับแรงงานให้มีศักยภาพสูงขึ้น  (W4, O4, O7, O8, O9, O10) 5.  สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ และการต่อยอดภูมิปัญญาในท้องถิ่น  (W4, W5, O7, O8, O9, O10) อุปสรรค   (Threats :T) 1.  ระบบชลประทานไม่ทั่วถึง 2.  ปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้ง 3.  มีคู่แข่งในการผลิตสินค้าประเภท / ชนิด เดียวกันในตลาด 4.  วัตถุดิบบางชนิดขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศ 5.   ความผันผวนของราคาผลิตผลทางการเกษตร 6.  การควบคุมทางด้านกฎหมายแรงงาน 7.  การกำหนดมาตรฐานและนโยบายของรัฐบาล ใช้จุดแข็งเลี่ยงอุปสรรค 1.  จัดทำโครงการชลประทานแบบบูรณาการ  (S4, T1, T2, T4) 2.  ทำการวางแผนอุปสรรค อุปทานของอุตสาหกรรมเกษตรทั้งระบบ  (S2,   S4, T3, T5, T8) 3.  จัดทำคู่มือมาตรฐานการเพาะปลูกสินค้าการเกษตรที่เหมาะสมกับแต่ละท้องถิ่น  (S2, S3, S6, S7, T4, T7) ลดจุดอ่อนและอุปสรรคให้เหลือน้อยที่สุด 1.   กำหนดมาตรฐานสินค้าและราคาของผลิตภัณฑ์  ( W1, T3, T6)
ตารางการวางแผนกลยุทธ์เชิงปริมาณ (The Quantitilative Strategic Planning Matrix : QSPM) กลยุทธ์ เจาะตลาด พัฒนาตลาด พัฒนาผลิตภัณฑ์ ปัจจัยสำคัญ น้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก จุดแข็ง 1.  มีท่าข้าวหลายแห่ง 2.  มีวัตถุดิบทางด้านอุตสาหกรรมเกษตรในพื้นที่ 3.  มีอุตสาหกรรมอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด 4.  การประกอบกิจการส่วนใหญ่เป็นลักษณะเจ้าของคนเดียว ทำให้การตัดสินใจทำได้รวดเร็ว คล่องตัว 5.  เป็นแหล่งท่องเที่ยวมรดกโลก ทั้งโบราณสถานและธรรมชาติหลายหลายแห่ง 6.  มีแม่น้ำสำคัญไหลผ่าน  4  สาย และแหล่งน้ำธรรมชาติใช้สำหรับการประมงและท่องเที่ยว 7.   มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ 0.10 0.10 0.05 0.07 0.07 0.10 0.07 2 3 3 3 2 2 2 0.20 0.30 0.15 0.21 0.14 0.20 0.14 3 4 3 3 3 3 3 0.30 0.40 0.15 0.21 0.21 0.30 0.21 4 4 3 3 3 3 3 0.40 0.40 0.15 0.21 0.21 0.30 0.21 จุดอ่อน 1.  การกำหนดราคาขายของวัตถุดิบอุตสาหกรรมเกษตรบางประเภทขึ้นกับพ่อค้าคนกลาง 2.  เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังล้าสมัย ขาดการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ 3.  ผู้ประกอบการขาดเงินทุนหมุนเวียน 4.  แรงงานขาดทักษะในระดับสูง มีการเข้า  –  ออกงานบ่อย  (Turn over) 5.  ขาดความรู้ด้านการบริหารการจัดการสมัยใหม่  ( Modern management)  ส่วนใหญ่เป็นกิจการในครอบครัว การขยายกิจการอยู่ในอัตราที่ต่ำ 6.  ขาดการวางผังเมืองที่ดี ทำให้มีปัญหาการจราจรติดขัด คับคั่ง ในเขตเมือง 0.10 0.05 0.07 0.07 0.10 0.05 3 - 4 3 2 - 0.30 - 0.28 0.21 0.20 - 3 - 3 3 3 - 0.30 - 0.21 0.21 0.30 - 4 - 2 1 1 - 0.40 - 0.14 0.07 0.10 -
ตารางการวางแผนกลยุทธ์เชิงปริมาณ  (The Quantitilative Strategic Planning Matrix : QSPM) กลยุทธ์ เจาะตลาด พัฒนาตลาด พัฒนาผลิตภัณฑ์ ปัจจัยสำคัญ น้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก โอกาส   (Opportunities :O) 1.  ผลิตข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ 2.  การขนส่งสะดวกอยู่ใกล้กรุงเทพมหานคร 3.  ตั้งอยู่ในเขตส่งเสริมการลงทุน 4.  มีแรงงานจำนวนมากในพื้นที่ 5.  เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจของภาคเหนือตอนล่าง 6.  ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดเป็นที่ราบ  3  ใน  4  ของพื้นที่จังหวัด มีที่ราบลุ่มมาก 7,  ระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพียบพร้อม 8.  มีสถาบันการเงิน และการศึกษาในพื้นที่หลายแห่ง  9.  หน่วยงานของรัฐให้การสนับสนุนและส่งเสริมหลายด้าน 10.  มีความพร้อมในด้านสถาบันการศึกษาและสถานพยาบาล 0.10 0.05 0.05 0.05 0.10 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 4 3 4 2 3 - 3 3 3 3 0.40 0.15 0.20 0.10 0.30 - 0.15 0.15 0.15 0.15 4 4 4 2 3 - 3 3 3 3 0.40 0.20 0.20 0.10 0.30 - 0.15 0.15 0.15 0.15 4 4 4 3 3 - 3 4 4 4 0.40 0.20 0.20 0.15 0.30 - 0.15 0.20 0.20 0.20 อุปสรรค   (Threats :T) 1.  ระบบชลประทานไม่ทั่วถึง 2.  ปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้ง 3.  มีคู่แข่งในการผลิตสินค้าประเภท / ชนิด เดียวกันในตลาด 4.  วัตถุดิบบางชนิดขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศ 5.   ความผันผวนของราคาผลิตผลทางการเกษตร 6.  การควบคุมทางด้านกฎหมายแรงงาน 7.  การกำหนดมาตรฐานและนโยบายของรัฐบาล 0.10 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 2 2 2 2 3 - - 0.20 0.10 0.10 0.10 0.15 - - 2 2 4 2 3 - - 0.20 0.10 0.20 0.10 0.15 - - 3 3 4 4 4 - - 0.30 0.15 0.20 0.20 0.20 - - รวม 1.00 4.73 5.35 5.64
การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์  KPI ประเด็นยุทธศาสตร์   (Strategic  objectives) เป้าประสงค์   (Objective) KPI หน่วยวัด ข้อมูลพื้นฐาน เป้าหมาย หมายเหตุ 2548 2549 2550 2551 2552 2553 การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการผลิต 1.   ประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้น 2.  ลดการสูญเสียในกระบวนการผลิต 1.  ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวม  (GPP)  ของจังหวัด ร้อยละ - 2.78 3.39 0.72 0.50 0.75 1.00 2.  ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้น กิโลกรัม 2,230,263 2,694,079 1,418,166 2,600,000 2,650,000 2,700,000 องค์กรนำร่องที่ใช้ระบบบริหารจัดการสมัยใหม่ 1.  ยกระดับการแข่งขันขององค์กร 2.  มีองค์กรต้นแบบในการใช้ระบบบริหารจัดการสมัยใหม่ 1.  จำนวนผลิตภัณฑ์  OTOP  ที่ได้รับมาตรฐาน  4-5  ดาวเพิ่มขึ้น ผลิตภัณฑ์ 28 N/A 199 220 240 260 2.  จำนวนสถานประกอบการได้  GMP  เพิ่มขึ้น แห่ง 151 182 210 230 250 270 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มวิสาหกิจ  (Cluster) 1.  เพิ่มความสามารถการแข่งขันของกลุ่มอุตสาหกรรม 2.  จำนวนผุ้ประกอบการเพิ่มขึ้น 1.  สัดส่วนการขยายตัวของการจดทะเบียนค้าเพิ่มขึ้น แห่ง 664 444 601 650 650 650 2.  จำนวนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเกษตรเพิ่มขึ้น แห่ง 503 441 455 450 450 450 3.  จำนวนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้น แห่ง 90 86 93 95 95 95 การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปใหม่ๆ 1.  เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ 2.  ยกระดับมาตรฐานสินค้า   1.  จำนวนผลิตภัณฑ์  OTOP  ที่ได้รับมาตรฐาน  4-5  ดาวเพิ่มขึ้น ผลิตภัณฑ์ 28 N/A 199 220 240 260 การส่งเสริมกลไกทางการค้าและการตลาด 1.  เพิ่มความสามารถการแข่งขันของกลุ่มอุตสาหกรรม 1.  ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวม  (GPP)  ของจังหวัด ร้อยละ - 2.78 3.39 0.72 0.50 0.75 1.00
กรณีศึกษา  :  การจัดทำแผนกลยุทธ์
กลยุทธ์และแผนดำเนินงานบริษัท  A   วิสัยทัศน์ มุ่งมั่นพัฒนาคนให้มีทักษะทางศิลปะและวิชาการให้เป็นที่ยอมรับของ ท้องถิ่นและสังคม พันธกิจ สร้างสรรค์พัฒนางานศิลปะสู่ตลาดโลก เพื่อสร้างงาน สร้างเงิน พัฒนาชาติสืบไป
กลยุทธ์ 1.  การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจ 2.  การสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าโดยเน้นลูกค้าเป็นศูนย์กลาง 3.  ระบบการผลิตที่ทันสมัยและได้มาตรฐาน 4.  ระบบการบริหารต้นทุนที่มีประสิทธิภาพ 5.  การพัฒนาความสามารถและคุณภาพชีวิตของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เป้าหมาย เพิ่มขีดความสามารถในการทำกำไรของบริษัทเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า   จรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ บริษัทฯจะดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบบนฐานของความโปร่งใสและตรวจสอบ ได้โดย มุ่งเน้น การปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อ ลูกค้าพนักงาน คู่ค้า คู่แข่งขัน ชุมชนละสังคม
แผนที่กลยุทธ์หลัก การพัฒนาความสามารถและคุณภาพชีวิตของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ระบบการผลิตที่ทันสมัยและได้มาตรฐาน การผลิตแบบทันเวลาพอดี การบริหารต้นทุนที่มีประสิทธิภาพ การสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าโดยเน้นลูกค้าเป็นศูนย์กลาง สร้างมูลค้าเพิ่มให้กับธุรกิจ มุ่งมั่นพัฒนาคนให้มีทักษะทางศิลปะและวิชาการให้เป็นที่ยอมรับ ด้านการเติบโตและการเรียนรู้ ด้านกระบวนการภายใน ด้านลูกค้า ด้านการเงิน
สร้างมูลค้าเพิ่มให้กับธุรกิจ สร้างรายได้จากสินค้าใหม่ สร้างรายได้จากสินค้าเดิม การบริหารต้นทุนแบบ  ABC การสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าโดยเน้นลูกค้าเป็นศูนย์กลาง การส่งมอบตรงเวลา บริการลูกค้าเชิงรุก ราคาที่แข่งได้ การผลิตที่มีประสิทธิภาพฯ ระบบการให้อำนาจ การใช้เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย บริการการผลิตโดยใช้  Out-source การบริหารต้นทุนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ จัดตั้งหน่วยงานบริหารคุณภาพ การพัฒนาความสามารถและคุณภาพชีวิตฯ การพัฒนาทักษะ ด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน มุ่งมั่นพัฒนาคนฯเป็นที่ยอมรับ การบริหารผู้ขายแบบหุ้นส่วนธุรกิจ การส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยตนเอง การผลิตแบบทันเวลาพอดี การเพิ่มกำไรจากการลดต้นทุน ด้านการเติบโตและการเรียนรู้
แผนที่ตัวชี้วัดผลงานหลักเชิงกลยุทธ์ กลยุทธ์ด้านการเงิน กลยุทธ์หลัก / ย่อย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดผลงาน ตัวชี้วัดผลงานหลัก สร้างมูลค้าเพิ่มให้ กับธุรกิจ -   เพื่อให้ธุรกิจเติบโตก้าวหน้า -   กำไร  - % การเจริญเติบโตของกำไร -   กำไร  รายได้จากสินค้าเดิม -   เพื่อรักษาและเพิ่มรายได้จากการ ขายสินค้าเดิมที่มีอยู่ให้มากขึ้น -  รายได้จากการขาย - % รายได้ที่เพิ่มขึ้นเทียบจากปีที่แล้ว -   % รายได้สินค้าเดิมเทียบกับรายได้ทั้งหมด -   รายได้จากการขาย รายได้จากสินค้าใหม่ - เพื่อหารายได้เพิ่มจากการขาย สินค้าทั้งจากกลุ่มลูกค้าเดิมและ ลูกค้าใหม่ -  รายได้จากการขาย - % รายได้สินค้าเดิมเทียบกับ รายได้ทั้งหมด -  สัดส่วนรายได้ระหว่างกลุ่มลูกค้า เก่าและลูกค้าใหม่ -  รายได้จากการขาย การเพิ่มกำไรจาก การลดต้นทุน - เพื่อสามารถสร้างกำไรจากการ ลดต้นทุนในกระบวนการผลิต และด้านการบริหาร - %   ต้นทุนต่อหน่วยสินค้าเทียบ กับราคาขาย -% อัตราต้นทุนเทียบกับราคาขาย การบริหารต้นทุน แบบ  ABC -  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ บริหารต้นทุน -  เพื่อกระจายต้นทุนให้ถูกต้องกับ ต้นทุนที่แท้จริงของสินค้าแต่ละ ประเภท - %   ต้นทุนสินค้าที่ลดลงเทียบกับปีที่แล้ว - %   ความถูกต้องในการกระจายต้นทุน - %   ต้นทุนต่อหน่วยสินค้าเทียบกับราคา ขาย -% อัตราต้นทุนเทียบกับราคาขาย
ในมุมมองด้านการเงินที่เรามีกลยุทธ์หลัก  1   ตัว และกลยุทธ์ย่อยอีก  3 ตัวนั้น  ตัวชี้วัดผลงานหลักด้านการเงินมีดังนี้ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดผลงานหลัก ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แผนที่ตัวชี้วัดผลงานหลักเชิงกลยุทธ์ กลยุทธ์ด้านลูกค้า กลยุทธ์หลัก / ย่อย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดผลงาน ตัวชี้วัดผลงานหลัก การสร้างความพึงพอใจ ให้กับลูกค้าโดยเน้นลูกค้า เป็นศูนย์กลาง -   เพื่อตอบสนองความต้องการที่ แท้จริงของลูกค้า -  ยอดขายรวม - % ยอดขายที่เพิ่มขึ้น -   จำนวนข้อร้องเรียนของลูกค้า - %   ข้อร้องเรียนของลูกค้าต่อหน่วยผลิต -  อัตราความพึงพอใจของลูกค้า ( สำรวจ ) -   ยอดขายรวม -   จำนวนข้อร้องเรียน ของลูกค้า การส่งมอบตรงเวลา -   เพื่อส่งสินค้าให้ลูกค้าตรงตาม เวลา ถูกต้องครบถ้วนตามที่ลูกค้า ต้องการ - %   การส่งมอบสินค้าตรงเวลา - %   การส่งมอบสินค้าล้าช้า - %   ค่าใช้จ่ายในการส่งมอบผิดพลาด - %   การส่งมอบสินค้าตรงเวลา การบริการลูกค้าเชิงรุก -  เพื่อให้ลูกค้ามีความรู้เกี่ยวกับตัว สินค้ามากยิ่งขึ้น -  เพื่อป้องกันและลดข้อร้องเรียน ของลูกค้า - %   ข้อร้องเรียนที่เกิดจากความเข้าใจผิด ของลูกค้า - %   ความรู้ความเข้าใจของลูกค้าจากการ สำรวจ - %   ข้อร้องเรียนที่เกิดจากความเข้าใจผิดของลูกค้า ราคาที่แข่งได้ -  เพื่อให้สามารถแข่งขันกับสินค้า คู่แข่งขันได้ -  ราคาต่อหน่วย  ( บาท ) - %   ความแตกต่างของราคากับคู่แข่ง -  อัตราความพึงพอใจของลูกค้าต่อสินค้า  ( สำรวจ ) -  ราคาต่อหน่วย  ( บาท )
ตัวชีวัดผลงานหลักจากกลยุทธ์หลักและกลยุทธ์ในมุมมองด้านลูกค้ามีดังนี้ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดผลงานหลัก การสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าโดย เน้นลูกค้าเป็นศูนย์กลาง -   ยอดขายรวม -   จำนวนข้อร้องเรียนของลูกค้า การส่งมอบตรงเวลา - %   การส่งมอบสินค้าตรงเวลา การบริการลูกค้าเชิงรุก - %   ข้อร้องเรียนที่เกิดจากความเข้าใจผิดของลูกค้า ราคาที่แข่งได้ -  ราคาต่อหน่วย  ( บาท )
กลยุทธ์ด้านกระบวนการจัดการภายใน กลยุทธ์หลัก / ย่อย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดผลงาน ตัวชี้วัดผลงานหลัก การผลิตแบบทันเวลาพอดี ( Just-In-Time: JIT) -   เพื่อส่งมอบสินค้าให้ลูกค้าถูกต้อง ครบถ้วนและตรงเวลา - % การส่งมอบสินค้าตรงเวลา - % ความล้าช้าในการส่งมอบ -   % การส่งมอบสินค้าตรงเวลา การผลิตที่ทันสมัยและได้มาตรฐาน -  เพื่อให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานที่ลูกค้าต้องการ -   อัตราผลผลิต - % สินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน - % สต๊อกสินค้าที่อยู่ระหว่างกระบวนการผลิต -  ระยะเวลาในการผลิต -  อัตราของเสียในกระบวนการผลิต -  ข้อร้องเรียนลูกค้าอันเนื่องมาจากการผลิต - % สินค้าที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน -  ข้อร้องเรียนลูกค้าอันเนื่องมาจากการผลิต การใช้เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย -  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต -  อัตราผลผลิต - %   Break Down  ของเครื่องจักร -  อัตราประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร -  อัตราประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร จัดตั้งหน่วยงานบริหารคุณภาพ -  สนับสนุนการเพิ่มคุณภาพสินค้าให้ได้มาตรฐาน - % คุณภาพสินค้าที่ผ่านมาตรฐาน - % คุณภาพสินค้าที่เพิ่มขึ้น - %   คุณภาพสินค้าโดยรวมเทียบคู่แข่ง -  จำนวนโครงการปรับปรุงคุณภาพสินค้าที่ประสบความสำเร็จ -- % คุณภาพสินค้าที่ผ่านมาตรฐาน
กลยุทธ์ด้านกระบวนการจัดการภายใน  ( ต่อ ) กลยุทธ์หลัก / ย่อย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดผลงาน ตัวชี้วัดผลงานหลัก การบริหารต้นทุนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ -  เพื่อให้ได้สินค้าที่มีต้นทุนต่ำ -  เพื่อเพิ่มความสามารถการแข่งขันด้านราคา -  ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย - %   ของเสีย -  อัตราผลผลิต - %   ต้นทุนการผลิตต่อราคาต่อหน่วย - %   ต้นทุนแรงงานต่อหน่วย - %   ต้นทุนวัตถุดิบต่อหน่วย -  ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย การผลิตโดยใช้  Out-Source -  เพื่อลดต้นทุนการผลิต -  ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย - % ของเสีย -  อัตราผลผลิต -  ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย - %   ของเสีย การบริหารผู้ขายแบบหุ้นส่วนธุรกิจ -  เพื่อลดต้นทุนการวัตถุดิบ -  เพื่อให้ได้วัตถุดิบที่มีคุณภาพ -  เพื่อสร้างสัมพันธ์กับผู้ขาย - %   ต้นทุนวัตถุดิบการผลิตต่อหน่วยสินค้า -  คะแนนประเมินผลงานของ  Suppliers -  ราคาวัตถุดิบต่อหน่วย - %   การส่งมอบวัตถุดิบตรงเวลา - %   ของวัตถุดิบที่ปฎิเสธ -  ต้นทุนวัตถุดิบการผลิตต่อหน่วยสินค้า -  คะแนนประเมินผลงานของ  Suppliers
ตัวชี้วัดผลงานหลักจากกลยุทธ์หลักและกลยุทธ์ย่อยในมุมมองด้านกระบวน การภายในมีดังนี้ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดผลงานหลัก 1. การผลิตแบบทันเวลาพอดี  ( Just-In-Time: JIT) -   % การส่งมอบสินค้าตรงเวลา 2. การผลิตที่ทันสมัยและได้มาตรฐาน - % สินค้าที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน -  ข้อร้องเรียนลูกค้าอันเนื่องมาจากการผลิต -  การใช้เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย -   อัตราประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร -  จัดตั้งหน่วยงานบริหารคุณภาพ - % คุณภาพสินค้าที่ผ่านมาตรฐาน 3. การบริหารต้นทุนการผลิตที่มีประสิทธฺภาพ -  ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย -  การผลิตโดยใช้  Out-Source -  ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย - % ของเสีย - % การส่งมอบสินค้า -  การบริหารผู้ขายแบบหุ้นส่วนธุรกิจ -  ต้นทุนวัตถุดิบการผลิตต่อหน่วยสินค้า -  คะแนนประเมิณผลงานของ  Suppliers
กลยุทธ์ด้านการเติบโตและการเรียนรู้ กลยุทธ์หลัก / ย่อย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดผลงาน ตัวชี้วัดผลงานหลัก การพัฒนาความสามารถและ คุณภาพชีวิตของบุคลากร -  เพื่อเพิ่มศักยภาพของ บุคลากร -  เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ของพนักงาน - %   ความสามารถของพนักงานที่เพิ่มขึ้น -  คะแนนการสำรวจควาพึงพอใจของ พนักงาน - %  คุณภาพชีวิตของพนักงานเทียบกับตัวชี้วัดมาตรฐานกำหนด - %   ความสามารถของพนักงาน ที่เพิ่มขึ้น - %  คุณภาพชีวิตของพนักงาน เทียบกับตัวชี้วัดมาตรฐาน กำหนด การพัฒนาทักษะ -  เพื่อพัฒนาทักษะในการ ทำงานของพนักงานให้ได้ มาตรฐาน - % ทักษะของพนักงานที่เพิ่มขึ้น -  จำนวนทักษะเฉลี่ยต่อคน - % ทักษะที่ได้รับรองจากสถาบันฯ -  จำนวนทักษะที่สามารถวัดได้และมี หลักสูตรการฝึกอบรมรองรับ - % พนักงานที่ได้ผ่านการฝึกอบรมทักษะ หลักของบริษัทฯ - %   ทักษะของพนักงานที่ เพิ่มขึ้น -  จำนวนทักษะที่สามารถวัดได้ และมีหลักสูตรการฝึกอบรม รองรับ การส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตด้วยต้นเอง -  เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ของบุคคลากร - %   คุณภาพชีวิตของพนักงานเทียบกับ ตัวชี้วัดมาตรฐานที่กำหนด - %   คุณภาพชีวิตที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี - %   คุณภาพชีวิตที่เพิ่มขึ้นในแต่ ละปี การใช้ระบบการให้อำนาจ -  เพื่อยกระดับทักษะในการ บริหาร / ทำงานของพนักงาน -  อัตราผลผลิตต่อคน -  อัตราการป่วย สาย ขาด ลาของบุคลากร -  อัตราความพึงพอใจต่อการบริหารแบบ ระบบการให้อำนาจ -  อัตราผลผลิตต่อคน -  อัตราความพึงพอใจต่อการ บริหารแบบระบบการให้อำนาจ
ตัวชีวัดผลงานหลักจากกลยุทธ์หลักและกลยุทธ์ในมุมมองด้านทรัพยากรมนุษย์มีดังนี้ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดผลงานหลัก -  การพัฒนาความสามารถและคุณภาพ ชีวิตของบุคลากร - % ความสามารถของพนักงานที่เพิ่มขึ้น -   การพัฒนาทักษะ - % ทักษะของพนักงานที่เพิ่มขึ้น -  จำนวนทักษะที่สามารถวัดได้และมีหลักสูตรการฝึกอบรมรองรับ -  การส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตด้วยต้นเอง - % คุณภาพชีวิตที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี -  การใช้ระบบการให้อำนาจ -  อัตราผลผลิตต่อคน -  อัตราความพึงพอใจต่อการบริหารแบบระบบการให้อำนาจ
กำไร รายได้ รายได้สินค้าใหม่ รายได้สินค้าเก่า ยอดขาย % การส่งมอบตรงเวลา % ต้นทุนเทียบราคาขาย จำนวนข้อร้องเรียนของลูกค้า ราคาต่อหน่วยสินค้า ข้อร้องเรียนที่เกิดจากลูกค้าฯ % ส่งมอบตรงเวลา จำนวนข้อร้องเรียนฯความคืบหน้า จำนวนข้อร้องเรียนฯคุณภาพ ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย % สินค้าที่ผ่านมาตรฐาน % สินค้าที่ไม่ผ่านมาตรฐาน % ของเสีย ต้นทุนวัตถุดิบต่อหน่วย % ประสิทธิภาพการผลิตโดยรวม คะแนนประเมิณผลฯผู้ขาย ผลผลิตต่อคน % ความพึงพอใจฯต่อระบบการให้อำนาจ ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน ด้านการเงิน ด้านทรัพยากรคน % คุณภาพชีวิตที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี % ต้นทุนเทียบราคาขาย % ความสามารถ จำนวนทักษะ ทักษะ % การเจริญเติบโต
ด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน ฝ่ายจัดส่ง จำนวนข้อร้องเรียนฯความคืบหน้า ทุกฝ่าย % ความสามารถ % ทักษะ ทุกฝ่าย จำนวนทักษะ ทุกฝ่าย % ความพึงพอใจต่อระบบการให้อำนาจ ฝ่ายผลิต % คุณภาพชีวิตที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี % ส่งมอบตรงเวลา ฝ . ตลาด / จัดส่ง / ผลิต % ต้นทุนเทียบกับราคาขาย ทุกฝ่าย % สินค้าที่ผ่านมาตรฐาน ฝ . ผลิต /QC % ไม่ได้รับมาตรฐาน ฝ . ผลิต /QC % ของเสีย ฝ . ผลิต /QC ต้นทุนการวัตถุดิบต่อหน่วย ฝ . จัดซื้อ % ประสิทธิภาพการผลิต ฝ . ซ่อมบำรุง / ผลิต คะแนนประเมินผลฯผู้ขาย ฝ . จัดซื้อ /QC ผลผลิตต่อคน ฝ . ผลิต รายได้สินค้าเก่า ฝ . การเงิน / การตลาด รายได้ ฝ . การตลาด / การเงิน ฝ . การเงิน / การตลาด รายได้สินค้าใหม่ ฝ . บริหาร กำไร ฝ . บริหาร % การเจริญเติบโต % ต้นทุนเทียบกับราคาขาย ทุกฝ่าย ฝ . การตลาด ยอดขาย % การส่งตรงเวลา ฝ . การตลาด / จัดส่ง / ผลิต จำนวนข้อร้องเรียนของลูกค้า ฝ . ตลาด / จัดส่ง / ผลิต /QC/ คลังสินค้า ราคาต่อหน่วยสินค้า ฝ . ตลาด / การเงิน / ผลิต ฝ . ตลาด ข้อร้องเรียนที่เกิดจากลูกค้า จำนวนข้อร้องเรียนฯคุณภาพ ฝ . ผลิต /QC ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย ฝ . ผลิต / จัดซื้อ ด้านทรัพยากรบุคคล
การกำหนดเป้าหมายและแผนงาน / โครงการรองรับกลยุทธ์ มุมมอง กลยุทธ์ ตัวชี้วัดผลงานหลัก เป้าหมาย แผนงาน / โครงการ ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ระยะ สั้น ปานกลาง ระยะ ยาว การ เงิน สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจ -   กำไร 5 ส , การลดความสูญเสียในโรงงาน , การบริหารต้นทุนแบบ  ABC ลูกค้า การสร้างความพึงพอใจให้กับ ลูกค้าโดยเน้นลูกค้าเป็นศูนย์กลาง -   ยอดขายรวม _ การส่งมอบตรงเวลา - % การส่งมอบสินค้าตรงเวลา การลดความสูญเสียในโรงงาน ,  Just In Time การบริการลูกค้าเชิงรุก ,[object Object],[object Object],โครงการสัมมนาจร ราคาที่แข่งได้ -  ราคาต่อหน่วย  ( บาท ) การบริหารต้นทุนแบบ  ABC
การกำหนดเป้าหมายและแผนงาน / โครงการรองรับกลยุทธ์   ( ต่อ ) มุมมอง กลยุทธ์ ตัวชี้วัดผลงานหลัก เป้าหมาย แผนงาน / โครงการ ฝ่ายที่ เกี่ยวข้อง ระยะ สั้น ปาน กลาง ระยะ ยาว กระบวน การภายใน การผลิตที่ทันสมัย และได้มาตรฐาน - % สินค้าที่ ไม่ได้คุณภาพ 5 ส  ,  การควบคุมด้วยการมองเห็น การใช้เทคโนโลยี การผลิตที่ทันสมัย -  อัตราประสิทธิภาพ โดยรวมของเครื่องจักร ศึกษาหารายละเอียด เกี่ยวกับเครื่องจักรอุปกรณ์ จัดตั้งหน่วยงานบริหาร คุณภาพ - % คุณภาพสินค้าที่ผ่าน มาตรฐาน สร้างคู่มือ  (  Procedure  Manual,   Work Flow, and  Work Instruction ) การผลิตแบบทัน เวลาพอดี -   % การส่งมอบ สินค้าตรงเวลา การลดความสูญเสียใน โรงงาน , Just In Time การบริหารต้นทุน การผลิตที่มีประสิทธิภาพ -  ต้นทุนการผลิต ต่อหน่วย การบริหารต้นทุนแบบ  ABC ทุกฝ่าย -  การผลิตโดยใช้  Out-Source -  ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย - -  การบริหารผู้ขาย แบบหุ้นส่วนธุรกิจ -  ต้นทุนวัตถุดิบการ ผลิตต่อหน่วยสินค้า -
การกำหนดเป้าหมายและแผนงาน / โครงการรองรับกลยุทธ์   ( ต่อ ) มุมมอง กลยุทธ์ ตัวชี้วัดผลงานหลัก เป้าหมาย แผนงาน / โครงการ ฝ่ายที่ เกี่ยวข้อง ระยะ สั้น ปาน กลาง ระยะ ยาว ทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาความ สามารถของบุคลากร ,[object Object],[object Object],ใบกำหนดรายละเอียดการทำงาน การพัฒนาทักษะ ,[object Object],[object Object],โครงการความร่วมมือระหว่างสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานกับบริษัท โครงการเงินจูงใจบนพื้นฐานของทักษะ การใช้ระบบการให้อำนาจ -  อัตราความพึงพอใจ ต่อการบริหารแบบ ระบบการให้อำนาจ ใบกำหนดรายละเอียดการทำงาน
รายได้สินค้าใหม่ ฝ . การเงิน / การตลาด ราคาต่อหน่วยสินค้า ฝ . ตลาด / การเงิน / ผลิต ข้อร้องเรียนที่เกิดจากลูกค้า ฝ . ตลาด จำนวนข้อร้องเรียนฯความคืบหน้า ฝ่ายจัดส่ง จำนวนข้อร้องเรียนฯคุณภาพ ฝ . ผลิต /QC ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย ฝ . ผลิต / จัดซื้อ % ส่งมอบตรงเวลา ฝ . ตลาด / จัดส่ง / ผลิต % สินค้าที่ผ่านมาตรฐาน ฝ . ผลิต /QC % ไม่ได้รับมาตรฐาน ฝ . ผลิต /QC % ของเสีย ฝ . ผลิต /QC % สินค้าสูญหาย ฝ . จัดส่ง / คลังสินค้า % ประสิทธิภาพการผลิต คะแนนประเมิณผลฯผู้ขาย ฝ . จัดซื้อ ต้นทุนการวัตถุดิบต่อหน่วย % ความพึงพอใจต่อระบบการให้อำนาจ ฝ่ายผลิต % ความสามารถ ทุกฝ่าย ทุกฝ่าย จำนวนทักษะ % ทักษะ ทุกฝ่าย ผลผลิตต่อคน ฝ . ผลิต ฝ . ซ่อมบำรุง / ผลิต ฝ . จัดซื้อ /QC % ต้นทุนเทียบกับราคาขาย ทุกฝ่าย รายได้ ฝ . การตลาด / การเงิน ฝ . จัดการ กำไร ฝ . จัดการ % การเจริญเติบโต % ต้นทุนเทียบกับราคาขาย ทุกฝ่าย ฝ . การตลาด ยอดขาย จำนวนข้อร้องเรียนของลูกค้า ฝ . ตลาด / จัดส่ง / ผลิต /QC/ คลังสินค้า รายได้สินค้าเก่า ฝ . การเงิน / การตลาด % การส่งตรงเวลา ฝ . การตลาด / จัดส่ง / ผลิต ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน ด้านทรัพยากรบุคคล ด้านการเงิน
การเงิน กำไร  ล้านบาท 255 255 255 ม . ค . ก . พ . มี . ค . … ธ . ค .           รายได้จากการ ขายสินค้าเดิม ล้านบาท รายได้จากการ ขายสินค้าใหม่ ล้านบาท อัตราต้นทุนเทียบ กับราคาขาย % อัตราต้นทุนเทียบ กับราคาขาย % ลูกค้า ยอดขายรวม ล้านชิ้น จำนวนข้อร้องเรียน ของลูกค้า % การส่งมอบสินค้า ตรงเวลา % ข้อร้องเรียนที่เกิด จากความเข้าใจผิด ของลูกค้า % ราคาต่อหน่วย  บาท มุมมอง   ตัวชี้วัดผล งานหลัก   หน่วย   เป้าหมาย   ผลงานจริงปี ……………   สะสมผลต่างสถานะ สะสมผลต่างสถานะ สะสมผลต่างสถานะ
กระบวน การจัด การ ภายใน   สินค้าที่ไม่ได้ คุณภาพมาตรฐาน   ล้านบาท 255 255 255 ม . ค . ก . พ . มี . ค . … ธ . ค .           อัตราประสิทธิภาพ โดยรวม   ล้านบาท คุณภาพสินค้าที่ ผ่านมาตรฐาน   ล้านบาท การส่งมอบสินค้า ตรงเวลา   % ความถูกต้องใน การขนส่ง   % ทรัพยากร มนุษย์   ความสามารถของ พนักงานที่เพิ่มขึ้น   ล้านชิ้น ทักษะของ พนักงานที่เพิ่มขึ้น   % จำนวนทักษะที่ สามารถวัดได้ฯ   % อัตราผลผลิตต่อคน   % อัตราความพึง พอใจต่อกาบริหาร แบบระบบฯ   บาท มุมมอง   ตัวชี้วัดผล งานหลัก   หน่วย   เป้าหมาย   ผลงานจริงปี …………… สะสมผลต่างสถานะ สะสมผลต่างสถานะ สะสมผลต่างสถานะ
ด้านการเงิน   255 255 255 ม . ค . ก . พ . มี . ค . … ธ . ค . อัตราการเติบโต %  กำไร ล้านบาท   อัตราต้นทุนเทียบ กับราคาขาย %  % ค่าใช้จ่ายของฝ่าย ผลิตลดลง   %  ด้านลูกค้า   อัตราการส่งมอบ ตรงเวลา %  จำนวนวันในการผลิต %  อัตราการ Rework/Reprocess %  ข้อร้องเรียนของ ลูกค้า บาท ตัวชี้วัดผล งานหลัก   หน่วย   เป้าหมาย   ผลงานจริงปี ……………   สะสมผลต่างสถานะ สะสมผลต่างสถานะ สะสมผลต่างสถานะ
ด้านการเงิน ( ต่อ )   ล้านบาท 255 255 255 ม . ค . ก . พ . มี . ค . … ธ . ค . ข้อร้องเรียนที่เกิด จากลูกค้า   %  ราคาต่อหน่วยสินค้า   %  ด้านกระบวน การภายใน   อัตราสินค้าที่ผ่าน มาตรฐาน %  อัตราสินค้าที่ไม่ได้ %  มาตรฐานอัตรา ของเสีย %  อัตราของเสีย เนื่องจากกระบวน การผลิต %  ตัวชี้วัดผล งานหลัก   หน่วย   เป้าหมาย   ผลงานจริงปี ……………   สะสมผลต่างสถานะ สะสมผลต่างสถานะ สะสมผลต่างสถานะ
ด้านกระบวน การภายใน   ( ต่อ )   255 255 255 ม . ค . ก . พ . มี . ค . … ธ . ค . อัตราของเสีย เนื่องจากวัตถุดิบ   %  อัตราประสิทธิภาพ การผลิตโดยรวม   %  ต้นทุนการผลิต ต่อหน่วย   %  ต้นทุนวัตถุ
Strategic Management

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์Thida Noodaeng
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์joyzazaz
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรSirirat Pongpid
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)Nattakorn Sunkdon
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนSuppakuk Clash
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.DrDanai Thienphut
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 

La actualidad más candente (20)

รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planning
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
Pwนโยบายคืออะไร
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนวดแผนไทย(Thai massage)
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 

Similar a Strategic Management

strategicmanagement.ppt
strategicmanagement.pptstrategicmanagement.ppt
strategicmanagement.pptthananwut
 
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาดCh 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาดSarayuth Intanai
 
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดSWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดssuser711f08
 
Strategic Mgt 4
Strategic Mgt 4Strategic Mgt 4
Strategic Mgt 4TK Tof
 
รจัดการยุทธศาสตร์
รจัดการยุทธศาสตร์ รจัดการยุทธศาสตร์
รจัดการยุทธศาสตร์ pthaiwong
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์jeabjeabloei
 
chapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdf
chapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdfchapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdf
chapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdfPhatchaRee5
 

Similar a Strategic Management (20)

การวางแผนกลยุทธ์
การวางแผนกลยุทธ์การวางแผนกลยุทธ์
การวางแผนกลยุทธ์
 
strategicmanagement.ppt
strategicmanagement.pptstrategicmanagement.ppt
strategicmanagement.ppt
 
Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
No1
No1No1
No1
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
การวางแผนเชิงกลยุทธ์
การวางแผนเชิงกลยุทธ์การวางแผนเชิงกลยุทธ์
การวางแผนเชิงกลยุทธ์
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาดCh 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
 
(Swot)
(Swot)(Swot)
(Swot)
 
Swot
 Swot Swot
Swot
 
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดSWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
 
Strategic Mgt 4
Strategic Mgt 4Strategic Mgt 4
Strategic Mgt 4
 
Swot analysis
Swot analysisSwot analysis
Swot analysis
 
รจัดการยุทธศาสตร์
รจัดการยุทธศาสตร์ รจัดการยุทธศาสตร์
รจัดการยุทธศาสตร์
 
Tu tot1
Tu tot1Tu tot1
Tu tot1
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
 
Metropolitan Waterworks Authority: KPIs
Metropolitan Waterworks Authority: KPIsMetropolitan Waterworks Authority: KPIs
Metropolitan Waterworks Authority: KPIs
 
chapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdf
chapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdfchapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdf
chapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdf
 

Más de Dr.Eng.Siripong Jungthawan, PhD, MBA, ACPE, CAP, CSCP, EPPM

การจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN How to total cost of ownership
การจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN  How to total cost of ownershipการจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN  How to total cost of ownership
การจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN How to total cost of ownershipDr.Eng.Siripong Jungthawan, PhD, MBA, ACPE, CAP, CSCP, EPPM
 

Más de Dr.Eng.Siripong Jungthawan, PhD, MBA, ACPE, CAP, CSCP, EPPM (20)

Lean Canvas H 231117.pdf
Lean Canvas H 231117.pdfLean Canvas H 231117.pdf
Lean Canvas H 231117.pdf
 
SPU Proof of Concept and Completive Analysis 221001 P.pdf
SPU Proof of Concept and Completive Analysis 221001 P.pdfSPU Proof of Concept and Completive Analysis 221001 P.pdf
SPU Proof of Concept and Completive Analysis 221001 P.pdf
 
การจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN How to total cost of ownership
การจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN  How to total cost of ownershipการจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN  How to total cost of ownership
การจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN How to total cost of ownership
 
How to import and distribute beauty products in thailand 210625
How to import and distribute beauty products in thailand 210625How to import and distribute beauty products in thailand 210625
How to import and distribute beauty products in thailand 210625
 
Lean quickwin 2108008 ie su
Lean quickwin 2108008 ie suLean quickwin 2108008 ie su
Lean quickwin 2108008 ie su
 
Lean covid19 210609 DIProm MOI
Lean covid19 210609 DIProm MOILean covid19 210609 DIProm MOI
Lean covid19 210609 DIProm MOI
 
Lean iot 201202
Lean iot 201202Lean iot 201202
Lean iot 201202
 
GEW2020 Design business model for new business
GEW2020 Design business model for new businessGEW2020 Design business model for new business
GEW2020 Design business model for new business
 
Gew2020 youth entrepreneurship
Gew2020 youth entrepreneurshipGew2020 youth entrepreneurship
Gew2020 youth entrepreneurship
 
Lean covid 19 pr os-cons for SPU
Lean covid 19 pr os-cons for SPULean covid 19 pr os-cons for SPU
Lean covid 19 pr os-cons for SPU
 
Lean startup and innovation 200514 KRIS
Lean startup and innovation 200514 KRISLean startup and innovation 200514 KRIS
Lean startup and innovation 200514 KRIS
 
Kuh entrepreneurs mindset 190330
Kuh entrepreneurs mindset 190330Kuh entrepreneurs mindset 190330
Kuh entrepreneurs mindset 190330
 
Lean Supply Chain for SPU 190221
Lean Supply Chain for SPU 190221Lean Supply Chain for SPU 190221
Lean Supply Chain for SPU 190221
 
Lean s curve BBU 181122 for Printing and Distribution
Lean s curve BBU 181122 for Printing and DistributionLean s curve BBU 181122 for Printing and Distribution
Lean s curve BBU 181122 for Printing and Distribution
 
Lean logistics 181025 DTC Solution Day 2018
Lean logistics 181025 DTC Solution Day 2018Lean logistics 181025 DTC Solution Day 2018
Lean logistics 181025 DTC Solution Day 2018
 
Intro to startup 181002 ku startup print
Intro to startup  181002 ku startup printIntro to startup  181002 ku startup print
Intro to startup 181002 ku startup print
 
Lean startup and innovation 180901 KMITL modern entrepreneurship
Lean startup and innovation 180901 KMITL modern entrepreneurshipLean startup and innovation 180901 KMITL modern entrepreneurship
Lean startup and innovation 180901 KMITL modern entrepreneurship
 
Starutp fundamental 180719 yeah print (Startup + Lean startup + MVP + BMC)
Starutp fundamental 180719 yeah print (Startup + Lean startup + MVP + BMC)Starutp fundamental 180719 yeah print (Startup + Lean startup + MVP + BMC)
Starutp fundamental 180719 yeah print (Startup + Lean startup + MVP + BMC)
 
Lean systems 180714 SPU
Lean systems 180714 SPULean systems 180714 SPU
Lean systems 180714 SPU
 
Lean ลดต้นทุนธุรกิจ งานเสร็จไว กำไรพุ่ง 180629
Lean ลดต้นทุนธุรกิจ งานเสร็จไว กำไรพุ่ง 180629Lean ลดต้นทุนธุรกิจ งานเสร็จไว กำไรพุ่ง 180629
Lean ลดต้นทุนธุรกิจ งานเสร็จไว กำไรพุ่ง 180629
 

Strategic Management

  • 1. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) สิริพงศ์ จึงถาวรรณ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ E: kn19119@hotmail.com
  • 2. องค์กรที่ขาดค่านิยมร่วมที่ดี ทำงานแบบไร้ทิศทาง เช้าชาม ... เย็นชาม ปัจจุบัน การดำเนินงานขององค์การ อนาคต ปัจจัยนำเข้า Input 2550 กระบวนการ Process 2555 ผลผลิต Output
  • 3. องค์กรที่มีค่านิยมร่วมที่ดี ทำงานมีทิศทาง ดั่งลูกธนูที่รวมพลังที่มุ่งตรงสู้เป้าหมายเดียวกัน ปัจจุบัน การดำเนินงานขององค์การ อนาคต ปัจจัยนำเข้า Input 2550 กระบวนการ Process 2555 ผลผลิต Output
  • 4. ทางนี้ ผู้บริหาร CEOs 10° ผู้จัดการ Managers 60° ทางนี้ คณะทำงาน Staff 360° ทางนี้
  • 5. ยุทธศาสตร์ ยุทธ การรบ ความรู้ ดังนั้น ยุทธศาสตร์ = ความรู้ในด้านการรบ + ศาสตร์
  • 6. การรบ ปกป้อง อาณาจักร ขยาย อาณาจักร ขยาย ธุรกิจ ปกป้อง ธุรกิจ การเมือง / การปกครอง องค์กร / บริษัท
  • 7.
  • 8.
  • 9. รูปแบบการแข่งขันที่เปลี่ยนไป การแข่งขันที่อาศัยขนาด สินทรัพย์ที่จับต้องได้ สินทรัพย์เป็นเจ้าของคนเดียว พึ่งพิงทุนเป็นส่วนใหญ่ อยู่บนพื้นฐานการผลิต การแข่งขันที่อาศัยความรวดเร็ว สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน สินทรัพย์เป็นของกลุ่มหรือเครือข่าย พึ่งพิงการคิดสร้างสรรค์นวัตกรรม อยู่บนพื้นฐานการบริโภค
  • 10.
  • 11.
  • 12. การตัดสินใจได้และรวดเร็ว ใช้ 3 หลัก การตัดสินใจ หลักรู้ หลักคิด หลักปฏิบัติ
  • 13.
  • 14. ลักษณะวงจรการดำเนินงานในองค์กร P การวางแผนและจัดการองค์กร D การสังการและชี้นำ C ประเมินผลและควบคุม A ติดตาม ปรับปรุง แก้ไข องค์กรส่วนใหญ่ เน้นแค่ 2 ส่วนแรก ในอดีตได้ละเลย การประเมินผลงาน ทำให้ปรับปรุงไม่ตรงประเด็น
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23. SWOT จุดแข็ง ( S) สิ่งที่องค์กรเรามี แต่องค์กรอื่นไม่มี (1) ... (2) ... (3) ... จุดอ่อน ( W) สิ่งที่องค์กรเราไม่มี แต่องค์กรอื่นมี (1) ... (2) ... (3) ...
  • 24. SWOT โอกาส ( O) สภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อองค์กร (1) ... (2) ... (3) ... อุปสรรค ( T) สภาวะแวดล้อมที่เป็นอุปสรรค (1) ... (2) ... (3) ...
  • 25.
  • 26. IE MATRIX (Internal-External Matrix) จุดแข็ง ( S) (1) ... (2) ... (3) ... จุดอ่อน ( W) (1) ... (2) ... (3) ... W … … … … … … R … … … … … … WS … … … … … … Total 1.00 - …
  • 27. IE MATRIX โอกาส ( O) (1) ... (2) ... (3) ... อุปสรรค ( T) (1) ... (2) ... (3) ... W … … … … … … R … … … … … … WS … … … … … … Total 1.00 - …
  • 28. IE MATRIX รักษา / ป้องกัน ถอย / ทิ้ง รุก / เติบโต
  • 29. TOWS MATRIX (Threat Opportunities Weakness Strength Matrix) TOWS MATRIX จุดแข็ง (Strengths : S) 1. ... 2. ... 3. ... จุดอ่อน (Weaknesses : W) 1. ... 2. ... 3. ... โอกาส (Opportunities :O) 1. ... 2. ... 3. ... ใช้จุดแข็งฉวยประโยชน์จากโอกาส 1. ... ( S.. , S.., S.., O.., O.., O..) 2. ... ( S.. , S.., S.., O.., O.., O..) เอาชนะจุดอ่อนด้วยประโยชน์จากโอกาส 1. ... ( W.. , W.., W.., O.., O.., O..) 2. ... ( W.. , W.., W.., O.., O.., O..) อุปสรรค (Threats :T) 1. ... 2. ... 3. ... ใช้จุดแข็งเลี่ยงอุปสรรค 1. ... ( S.. , S.., S.., T.., T.., T..) 2. ... ( S.. , S.., S.., T.., T.., T..) ลดจุดอ่อนและอุปสรรคให้เหลือน้อยที่สุด 1. ... ( W.. , W.., W.., T.., T.., T..) 2. ... ( W.. , W.., W.., T.., T.., T..)
  • 30.
  • 31. QSPM MATRIX (Qualitative Strategic Planning Matrix) กลยุทธ์ 1 กลยุทธ์ 2 จุดแข็ง ( S) (1) ... (2) ... (3) ... จุดอ่อน ( W) (1) ... (2) ... (3) ... W … … … … … … R … … … … … … WS … … … … … … W … … … … … … R … … … … … … WS … … … … … … Total 1.00 - … 1.00 - …
  • 32. QSPM MATRIX กลยุทธ์ 1 กลยุทธ์ 2 โอกาส ( O) (1) ... (2) ... (3) ... อุปสรรค ( T) (1) ... (2) ... (3) ... W … … … … … … R … … … … … … WS … … … … … … W … … … … … … R … … … … … … WS … … … … … … Total 1.00 - … 1.00 - …
  • 33.
  • 34. BSC (Balance scorecard) … … … … … … … ด้านการเติบโตและการเรียนรู้ ด้านกระบวนการภายใน ด้านลูกค้า ด้านการเงิน
  • 35. KPI (Key Performance Index/Indicator) กลยุทธ์ด้าน ... กลยุทธ์หลัก / ย่อย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดผลงาน ตัวชี้วัดผลงานหลัก ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ... ...
  • 36. กลยุทธ์ระดับองค์กร ( Corporate Strategy) มุ่งเก่งอย่างเดียว รวมตัวแนวดิ่ง ไปด้านหน้า Supplier Distributor รวมตัวแนวดิ่ง ไปด้านหลัง รวมตัวแนวราบ ไปทำธุรกิจอื่น ธุรกิจเดิม
  • 37. กรณีศึกษา : การวางกลยุทธ์ การพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร
  • 38. ศูนย์กลางธุรกิจข้าวชั้นนำของภูมิภาคเอเชีย (Rice Hub of Asia) วิสัยทัศน์ พันธกิจ 1) การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการผลิตในด้านคุณภาพข้าว 2) การเพิ่มพื้นที่ผลิตข้าวคุณภาพภายใต้หลักเกณฑ์ที่เหมาะสม 3) การมุ่งไปสู่การพัฒนาระบบ Logistic เพื่อให้เป็นศูนย์กลางของการ ขนส่งสินค้าผลิตภัณฑ์ข้าว 4) การพัฒนาในด้านการเพิ่มมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางด้านการตลาด
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46.
  • 47. จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค (SWOT) ของจังหวัด จุดแข็ง - จังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดใกล้เคียงมีท่าข้าวหลายแห่ง - มีวัตถุดิบทางด้านอุตสาหกรรมเกษตรในพื้นที่ - มีอุตสาหกรรมอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด - การประกอบกิจการส่วนใหญ่เป็นลักษณะเจ้าของคนเดยว ทำให้การตัดสินใจทำได้รวดเร็ว คล่องตัว - เป็นแหล่งท่องเที่ยวมรดกโลก ทั้งโบราณสถานและธรรมชาติหลายหลายแห่ง - มีแม่น้ำสำคัญไหลผ่าน 4 สาย คือ แม่น้ำปิง ยม น่าน และเจ้าพระยา มีแหล่งน้ำขนาดใหญ่ คือ บึงบอระเพ็ด และแหล่งน้ำธรรมชาติ สำหรับการประมงและท่องเที่ยว - มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ น้ำมัน ยิปซั่ม ทองคำ ฯลฯ จุดอ่อน - การกำหนดราคาขายของวัตถุดิบอุตสาหกรรมเกษตรบางประเภทขึ้นกับพ่อค้าคนกลาง - เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังล้าสมัย ขาดการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ - ผู้ประกอบการขาดเงินทุนหมุนเวียน - แรงงานขาดทักษะในระดับสูง มีการเข้า – ออกงานบ่อย (Turn over) - ขาดความรู้ด้านการบริหารการจัดการสมัยใหม่ ( Modern management) ส่วนใหญ่เป็นกิจการในครอบครัว การขยายกิจการอยู่ในอัตราที่ต่ำ - ขาดการวางผังเมืองที่ดี ทำให้มีปัญหาการจราจรติดขัด คับคั่ง ในเขตเมือง โอกาส - ผลิตข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ทั้งการบริโภคภายในประเทศ การส่งออกสู่ตลาดโลก - การขนส่งสะดวกเนื่องจากอยู่ใกล้จังหวัดกรุงเทพมหานคร - จังหวัดนครสวรรค์ตั้งอยู่ในเขตส่งเสริมการลงทุน เขต 3 ซึ่งได้รับสิทธิประโยชน์มากว่าเขตอื่นๆ - มีแรงงานจำนวนมากในพื้นที่ - เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจการค้าส่ง - ค้าปลีกของภาคเหนือตอนล่าง - ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดเป็นที่ราบ 3 ใน 4 ของพื้นที่จังหวัด มีที่ราบลุ่มมาก - ระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เช่น ประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ เพียบพร้อม - มีสถาบันการเงิน และการศึกษาในพื้นที่หลายแห่ง - หน่วยงานของรัฐให้การสนับสนุนและส่งเสริมหลายด้าน - มีความพร้อมในด้านสถาบันการศึกษาและสถานพยาบาล อุปสรรค - ระบบชลประทานไม่ทั่วถึง การพัฒนาแหล่งน้ำระบบชลประทานต้องพัฒนาในระบบลุ่มน้ำ - ปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้ง - มีคู่แข่งในการผลิตสินค้าประเภท / ชนิด เดียวกันในตลาด - วัตถุดิบบางชนิดขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศ - ความผันผวนของราคาผลิตผลทางการเกษตร - การควบคุมทางด้านกฎหมายแรงงาน - การกำหนดมาตรฐานและนโยบายของรัฐบาล
  • 48. ตารางการประเมินปัจจัยภายใน (Internal Factor Evaluation : IFE Matrix) ปัจจัยภายใน จุดแข็ง น้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก - จังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดใกล้เคียงมีท่าข้าวหลายแห่ง - มีวัตถุดิบทางด้านอุตสาหกรรมเกษตรในพื้นที่ - มีอุตสาหกรรมอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด - การประกอบกิจการส่วนใหญ่เป็นลักษณะเจ้าของคนเดยว ทำให้การตัดสินใจทำได้รวดเร็ว คล่องตัว - เป็นแหล่งท่องเที่ยวมรดกโลก ทั้งโบราณสถานและธรรมชาติหลายหลายแห่ง - มีแม่น้ำสำคัญไหลผ่าน 4 สาย คือ แม่น้ำปิง ยม น่าน และเจ้าพระยา มีแหล่งน้ำขนาดใหญ่ คือ บึงบอระเพ็ด และแหล่งน้ำธรรมชาติใช้สำหรับการประมงและท่องเที่ยว - มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ น้ำมัน ยิปซั่ม ทองคำ ฯลฯ 0.10 0.10 0.05 0.07 0.07 0.10 0.07 4 3 4 3 3 4 3 0.40 0.30 0.20 0.21 0.21 0.40 0.21 จุดอ่อน น้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก - การกำหนดราคาขายของวัตถุดิบอุตสาหกรรมเกษตรบางประเภทขึ้นกับพ่อค้าคนกลาง - เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังล้าสมัย ขาดการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ - ผู้ประกอบการขาดเงินทุนหมุนเวียน - แรงงานขาดทักษะในระดับสูง มีการเข้า – ออกงานบ่อย (Turn over) - ขาดความรู้ด้านการบริหารการจัดการสมัยใหม่ ( Modern management) ส่วนใหญ่เป็นกิจการในครอบครัว การขยายกิจการอยู่ในอัตราที่ต่ำ - ขาดการวางผังเมืองที่ดี ทำให้มีปัญหาการจราจรติดขัด คับคั่ง ในเขตเมือง 0.10 0.05 0.07 0.07 0.10 0.05 1 2 2 1 2 2 0.10 0.10 0.14 0.07 0.20 0.10 รวม 1.00 - 2.64
  • 49. ตารางการประเมินปัจจัยภายนอก (External Factor Evaluation : EFE Matrix) ปัจจัยภายนอก โอกาส น้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก - ผลิตข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ทั้งการบริโภคภายในประเทศ การส่งออกสู่ตลาดโลก - การขนส่งสะดวกเนื่องจากอยู่ใกล้จังหวัดกรุงเทพมหานคร - จังหวัดนครสวรรค์ตั้งอยู่ในเขตส่งเสริมการลงทุน เขต 3 ซึ่งได้รับสิทธิประโยชน์มากว่าเขตอื่นๆ - มีแรงงานจำนวนมากในพื้นที่ - เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจการค้าส่ง - ค้าปลีกของภาคเหนือตอนล่าง - ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดเป็นที่ราบ 3 ใน 4 ของพื้นที่จังหวัด มีที่ราบลุ่มมาก - ระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เช่น ประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ เพียบพร้อม - มีสถาบันการเงิน และการศึกษาในพื้นที่หลายแห่ง - หน่วยงานของรัฐให้การสนับสนุนและส่งเสริมหลายด้าน - มีความพร้อมในด้านสถาบันการศึกษาและสถานพยาบาล 0.10 0.05 0.05 0.05 0.10 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 4 3 4 2 4 4 3 2 2 2 0.40 0.15 0.20 0.10 0.40 0.20 0.15 0.10 0.10 0.10 อุปสรรค น้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก - ระบบชลประทานไม่ทั่วถึง การพัฒนาแหล่งน้ำระบบชลประทานต้องพัฒนาในระบบลุ่มน้ำ - ปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้ง - มีคู่แข่งในการผลิตสินค้าประเภท / ชนิด เดียวกันในตลาด - วัตถุดิบบางชนิดขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศ - ความผันผวนของราคาผลิตผลทางการเกษตร - การควบคุมทางด้านกฎหมายแรงงาน - การกำหนดมาตรฐานและนโยบายของรัฐบาล 0.10 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 2 1 2 1 2 2 2 0.20 0.05 0.10 0.05 0.10 0.10 0.10 รวม 1.00 - 2.60
  • 50. ตารางปัจจัยภายใน - ภายนอก (Internal – External : IE Matrix)
  • 51. ตารางปัจจัยภายใน - ภายนอก (Internal – External : IE Matrix) สามารถสรุปกลยุทธ์ที่เหมาะสมได้ โดยมุ่งถึงการเพิ่มรายได้จากผลผลิตข้าวโดยมีวิธีการ ดังนี้ 1. เจาะตลาด - การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการผลิตในด้านคุณภาพข้าว 2. พัฒนาตลาด - การเพิ่มพื้นที่ผลิตข้าวคุณภาพภายใต้หลักเกณฑ์ที่เหมาะสม ( GAP) และพื้นที่เพาะปลูกด้วยวิธีการเกษตรอินทรีย์ที่มีการรับรองจากสถาบันที่ได้รับความเชื่อถือ - การมุ่งไปสู่การพัฒนาระบบโลจิสติกส์เพื่อให้เป็นศูนย์กลางของการขนส่งสินค้าที่มีผลการเป็นศูนย์กลางของสินค้าเกษตรแปรรูป ในผลิตภัณฑ์ข้าว 3. พัฒนาผลิตภัณฑ์ - ทำการมุ่งถึงการพัฒนาในด้านการเพิ่มมูลค่าเพิ่มเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางด้านการตลาดที่เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้าในตลาด
  • 52. TOWS Matrix การพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร จุดแข็ง (Strengths : S) 1. มีท่าข้าวหลายแห่ง 2. มีวัตถุดิบทางด้านอุตสาหกรรมเกษตรในพื้นที่ 3. มีอุตสาหกรรมอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด 4. การประกอบกิจการส่วนใหญ่เป็นลักษณะเจ้าของคนเดียว ทำให้การตัดสินใจทำได้รวดเร็ว คล่องตัว 5. เป็นแหล่งท่องเที่ยวมรดกโลก ทั้งโบราณสถานและธรรมชาติหลายหลายแห่ง 6. มีแม่น้ำสำคัญไหลผ่าน 4 สาย และแหล่งน้ำธรรมชาติใช้สำหรับการประมงและท่องเที่ยว 7. มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ จุดอ่อน (Weaknesses : W) 1. การกำหนดราคาขายของวัตถุดิบอุตสาหกรรมเกษตรบางประเภทขึ้นกับพ่อค้าคนกลาง 2. เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังล้าสมัย ขาดการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ 3. ผู้ประกอบการขาดเงินทุนหมุนเวียน 4. แรงงานขาดทักษะในระดับสูง มีการเข้า – ออกงานบ่อย (Turn over) 5. ขาดความรู้ด้านการบริหารการจัดการสมัยใหม่ ( Modern management) ส่วนใหญ่เป็นกิจการในครอบครัว การขยายกิจการอยู่ในอัตราที่ต่ำ 6. ขาดการวางผังเมืองที่ดี ทำให้มีปัญหาการจราจรติดขัด คับคั่ง ในเขตเมือง โอกาส (Opportunities :O) 1. ผลิตข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ 2. การขนส่งสะดวกอยู่ใกล้กรุงเทพมหานคร 3. ตั้งอยู่ในเขตส่งเสริมการลงทุน 4. มีแรงงานจำนวนมากในพื้นที่ 5. เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจของภาคเหนือตอนล่าง 6. ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดเป็นที่ราบ 3 ใน 4 ของพื้นที่จังหวัด มีที่ราบลุ่มมาก 7, ระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพียบพร้อม 8. มีสถาบันการเงิน และการศึกษาในพื้นที่หลายแห่ง 9. หน่วยงานของรัฐให้การสนับสนุนและส่งเสริมหลายด้าน 10. มีความพร้อมในด้านสถาบันการศึกษาและสถานพยาบาล ใช้จุดแข็งฉวยประโชชน์จากโอกาส 1. พัฒนาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเกษตรรายเดิม และเสริมสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ (S1, S2, S3, O1, O2, O3, O4, O5, O6, O7, O8, O9, O10) 2. จัดตั้งโครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปใหม่ๆ เพื่อเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ ( S2, S7, O4, O7, O8, O9, O10) เอาชนะจุดอ่อนด้วยประโยชน์จากโอกาส 1. รวมกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียพื่อจัดทำมาตรฐานราคากลางของอุตสาหกรรมเกษตร (W1, W5, O1, O5, O8, O9, O10) 2. นำร่องโรงงานที่ใช้ระบบการบริหารการจัดการสมัยใหม่ต้นแบบ (W2, W5, O4, O8, O9, O10) 3. สนับสนุนการปล่อยเงินกู้ให้กับผู้ประกอบการโดยให้กู้ในอัตราดอกเบี้ยต่ำ ( W3, O3, O5, O8, O9) 4. ยกระดับแรงงานให้มีศักยภาพสูงขึ้น (W4, O4, O7, O8, O9, O10) 5. สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ และการต่อยอดภูมิปัญญาในท้องถิ่น (W4, W5, O7, O8, O9, O10) อุปสรรค (Threats :T) 1. ระบบชลประทานไม่ทั่วถึง 2. ปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้ง 3. มีคู่แข่งในการผลิตสินค้าประเภท / ชนิด เดียวกันในตลาด 4. วัตถุดิบบางชนิดขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศ 5. ความผันผวนของราคาผลิตผลทางการเกษตร 6. การควบคุมทางด้านกฎหมายแรงงาน 7. การกำหนดมาตรฐานและนโยบายของรัฐบาล ใช้จุดแข็งเลี่ยงอุปสรรค 1. จัดทำโครงการชลประทานแบบบูรณาการ (S4, T1, T2, T4) 2. ทำการวางแผนอุปสรรค อุปทานของอุตสาหกรรมเกษตรทั้งระบบ (S2, S4, T3, T5, T8) 3. จัดทำคู่มือมาตรฐานการเพาะปลูกสินค้าการเกษตรที่เหมาะสมกับแต่ละท้องถิ่น (S2, S3, S6, S7, T4, T7) ลดจุดอ่อนและอุปสรรคให้เหลือน้อยที่สุด 1. กำหนดมาตรฐานสินค้าและราคาของผลิตภัณฑ์ ( W1, T3, T6)
  • 53. ตารางการวางแผนกลยุทธ์เชิงปริมาณ (The Quantitilative Strategic Planning Matrix : QSPM) กลยุทธ์ เจาะตลาด พัฒนาตลาด พัฒนาผลิตภัณฑ์ ปัจจัยสำคัญ น้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก จุดแข็ง 1. มีท่าข้าวหลายแห่ง 2. มีวัตถุดิบทางด้านอุตสาหกรรมเกษตรในพื้นที่ 3. มีอุตสาหกรรมอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด 4. การประกอบกิจการส่วนใหญ่เป็นลักษณะเจ้าของคนเดียว ทำให้การตัดสินใจทำได้รวดเร็ว คล่องตัว 5. เป็นแหล่งท่องเที่ยวมรดกโลก ทั้งโบราณสถานและธรรมชาติหลายหลายแห่ง 6. มีแม่น้ำสำคัญไหลผ่าน 4 สาย และแหล่งน้ำธรรมชาติใช้สำหรับการประมงและท่องเที่ยว 7. มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ 0.10 0.10 0.05 0.07 0.07 0.10 0.07 2 3 3 3 2 2 2 0.20 0.30 0.15 0.21 0.14 0.20 0.14 3 4 3 3 3 3 3 0.30 0.40 0.15 0.21 0.21 0.30 0.21 4 4 3 3 3 3 3 0.40 0.40 0.15 0.21 0.21 0.30 0.21 จุดอ่อน 1. การกำหนดราคาขายของวัตถุดิบอุตสาหกรรมเกษตรบางประเภทขึ้นกับพ่อค้าคนกลาง 2. เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังล้าสมัย ขาดการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ 3. ผู้ประกอบการขาดเงินทุนหมุนเวียน 4. แรงงานขาดทักษะในระดับสูง มีการเข้า – ออกงานบ่อย (Turn over) 5. ขาดความรู้ด้านการบริหารการจัดการสมัยใหม่ ( Modern management) ส่วนใหญ่เป็นกิจการในครอบครัว การขยายกิจการอยู่ในอัตราที่ต่ำ 6. ขาดการวางผังเมืองที่ดี ทำให้มีปัญหาการจราจรติดขัด คับคั่ง ในเขตเมือง 0.10 0.05 0.07 0.07 0.10 0.05 3 - 4 3 2 - 0.30 - 0.28 0.21 0.20 - 3 - 3 3 3 - 0.30 - 0.21 0.21 0.30 - 4 - 2 1 1 - 0.40 - 0.14 0.07 0.10 -
  • 54. ตารางการวางแผนกลยุทธ์เชิงปริมาณ (The Quantitilative Strategic Planning Matrix : QSPM) กลยุทธ์ เจาะตลาด พัฒนาตลาด พัฒนาผลิตภัณฑ์ ปัจจัยสำคัญ น้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก คะแนน คะแนน ถ่วงน้ำหนัก โอกาส (Opportunities :O) 1. ผลิตข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ 2. การขนส่งสะดวกอยู่ใกล้กรุงเทพมหานคร 3. ตั้งอยู่ในเขตส่งเสริมการลงทุน 4. มีแรงงานจำนวนมากในพื้นที่ 5. เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจของภาคเหนือตอนล่าง 6. ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดเป็นที่ราบ 3 ใน 4 ของพื้นที่จังหวัด มีที่ราบลุ่มมาก 7, ระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพียบพร้อม 8. มีสถาบันการเงิน และการศึกษาในพื้นที่หลายแห่ง 9. หน่วยงานของรัฐให้การสนับสนุนและส่งเสริมหลายด้าน 10. มีความพร้อมในด้านสถาบันการศึกษาและสถานพยาบาล 0.10 0.05 0.05 0.05 0.10 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 4 3 4 2 3 - 3 3 3 3 0.40 0.15 0.20 0.10 0.30 - 0.15 0.15 0.15 0.15 4 4 4 2 3 - 3 3 3 3 0.40 0.20 0.20 0.10 0.30 - 0.15 0.15 0.15 0.15 4 4 4 3 3 - 3 4 4 4 0.40 0.20 0.20 0.15 0.30 - 0.15 0.20 0.20 0.20 อุปสรรค (Threats :T) 1. ระบบชลประทานไม่ทั่วถึง 2. ปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้ง 3. มีคู่แข่งในการผลิตสินค้าประเภท / ชนิด เดียวกันในตลาด 4. วัตถุดิบบางชนิดขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศ 5. ความผันผวนของราคาผลิตผลทางการเกษตร 6. การควบคุมทางด้านกฎหมายแรงงาน 7. การกำหนดมาตรฐานและนโยบายของรัฐบาล 0.10 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 2 2 2 2 3 - - 0.20 0.10 0.10 0.10 0.15 - - 2 2 4 2 3 - - 0.20 0.10 0.20 0.10 0.15 - - 3 3 4 4 4 - - 0.30 0.15 0.20 0.20 0.20 - - รวม 1.00 4.73 5.35 5.64
  • 55. การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ KPI ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic objectives) เป้าประสงค์ (Objective) KPI หน่วยวัด ข้อมูลพื้นฐาน เป้าหมาย หมายเหตุ 2548 2549 2550 2551 2552 2553 การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการผลิต 1. ประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้น 2. ลดการสูญเสียในกระบวนการผลิต 1. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) ของจังหวัด ร้อยละ - 2.78 3.39 0.72 0.50 0.75 1.00 2. ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้น กิโลกรัม 2,230,263 2,694,079 1,418,166 2,600,000 2,650,000 2,700,000 องค์กรนำร่องที่ใช้ระบบบริหารจัดการสมัยใหม่ 1. ยกระดับการแข่งขันขององค์กร 2. มีองค์กรต้นแบบในการใช้ระบบบริหารจัดการสมัยใหม่ 1. จำนวนผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ได้รับมาตรฐาน 4-5 ดาวเพิ่มขึ้น ผลิตภัณฑ์ 28 N/A 199 220 240 260 2. จำนวนสถานประกอบการได้ GMP เพิ่มขึ้น แห่ง 151 182 210 230 250 270 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มวิสาหกิจ (Cluster) 1. เพิ่มความสามารถการแข่งขันของกลุ่มอุตสาหกรรม 2. จำนวนผุ้ประกอบการเพิ่มขึ้น 1. สัดส่วนการขยายตัวของการจดทะเบียนค้าเพิ่มขึ้น แห่ง 664 444 601 650 650 650 2. จำนวนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเกษตรเพิ่มขึ้น แห่ง 503 441 455 450 450 450 3. จำนวนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้น แห่ง 90 86 93 95 95 95 การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปใหม่ๆ 1. เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ 2. ยกระดับมาตรฐานสินค้า 1. จำนวนผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ได้รับมาตรฐาน 4-5 ดาวเพิ่มขึ้น ผลิตภัณฑ์ 28 N/A 199 220 240 260 การส่งเสริมกลไกทางการค้าและการตลาด 1. เพิ่มความสามารถการแข่งขันของกลุ่มอุตสาหกรรม 1. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) ของจังหวัด ร้อยละ - 2.78 3.39 0.72 0.50 0.75 1.00
  • 56. กรณีศึกษา : การจัดทำแผนกลยุทธ์
  • 57. กลยุทธ์และแผนดำเนินงานบริษัท A วิสัยทัศน์ มุ่งมั่นพัฒนาคนให้มีทักษะทางศิลปะและวิชาการให้เป็นที่ยอมรับของ ท้องถิ่นและสังคม พันธกิจ สร้างสรรค์พัฒนางานศิลปะสู่ตลาดโลก เพื่อสร้างงาน สร้างเงิน พัฒนาชาติสืบไป
  • 58. กลยุทธ์ 1. การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจ 2. การสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าโดยเน้นลูกค้าเป็นศูนย์กลาง 3. ระบบการผลิตที่ทันสมัยและได้มาตรฐาน 4. ระบบการบริหารต้นทุนที่มีประสิทธิภาพ 5. การพัฒนาความสามารถและคุณภาพชีวิตของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เป้าหมาย เพิ่มขีดความสามารถในการทำกำไรของบริษัทเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า จรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ บริษัทฯจะดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบบนฐานของความโปร่งใสและตรวจสอบ ได้โดย มุ่งเน้น การปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อ ลูกค้าพนักงาน คู่ค้า คู่แข่งขัน ชุมชนละสังคม
  • 59. แผนที่กลยุทธ์หลัก การพัฒนาความสามารถและคุณภาพชีวิตของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ระบบการผลิตที่ทันสมัยและได้มาตรฐาน การผลิตแบบทันเวลาพอดี การบริหารต้นทุนที่มีประสิทธิภาพ การสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าโดยเน้นลูกค้าเป็นศูนย์กลาง สร้างมูลค้าเพิ่มให้กับธุรกิจ มุ่งมั่นพัฒนาคนให้มีทักษะทางศิลปะและวิชาการให้เป็นที่ยอมรับ ด้านการเติบโตและการเรียนรู้ ด้านกระบวนการภายใน ด้านลูกค้า ด้านการเงิน
  • 60. สร้างมูลค้าเพิ่มให้กับธุรกิจ สร้างรายได้จากสินค้าใหม่ สร้างรายได้จากสินค้าเดิม การบริหารต้นทุนแบบ ABC การสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าโดยเน้นลูกค้าเป็นศูนย์กลาง การส่งมอบตรงเวลา บริการลูกค้าเชิงรุก ราคาที่แข่งได้ การผลิตที่มีประสิทธิภาพฯ ระบบการให้อำนาจ การใช้เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย บริการการผลิตโดยใช้ Out-source การบริหารต้นทุนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ จัดตั้งหน่วยงานบริหารคุณภาพ การพัฒนาความสามารถและคุณภาพชีวิตฯ การพัฒนาทักษะ ด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน มุ่งมั่นพัฒนาคนฯเป็นที่ยอมรับ การบริหารผู้ขายแบบหุ้นส่วนธุรกิจ การส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยตนเอง การผลิตแบบทันเวลาพอดี การเพิ่มกำไรจากการลดต้นทุน ด้านการเติบโตและการเรียนรู้
  • 61. แผนที่ตัวชี้วัดผลงานหลักเชิงกลยุทธ์ กลยุทธ์ด้านการเงิน กลยุทธ์หลัก / ย่อย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดผลงาน ตัวชี้วัดผลงานหลัก สร้างมูลค้าเพิ่มให้ กับธุรกิจ - เพื่อให้ธุรกิจเติบโตก้าวหน้า - กำไร - % การเจริญเติบโตของกำไร - กำไร รายได้จากสินค้าเดิม - เพื่อรักษาและเพิ่มรายได้จากการ ขายสินค้าเดิมที่มีอยู่ให้มากขึ้น - รายได้จากการขาย - % รายได้ที่เพิ่มขึ้นเทียบจากปีที่แล้ว - % รายได้สินค้าเดิมเทียบกับรายได้ทั้งหมด - รายได้จากการขาย รายได้จากสินค้าใหม่ - เพื่อหารายได้เพิ่มจากการขาย สินค้าทั้งจากกลุ่มลูกค้าเดิมและ ลูกค้าใหม่ - รายได้จากการขาย - % รายได้สินค้าเดิมเทียบกับ รายได้ทั้งหมด - สัดส่วนรายได้ระหว่างกลุ่มลูกค้า เก่าและลูกค้าใหม่ - รายได้จากการขาย การเพิ่มกำไรจาก การลดต้นทุน - เพื่อสามารถสร้างกำไรจากการ ลดต้นทุนในกระบวนการผลิต และด้านการบริหาร - % ต้นทุนต่อหน่วยสินค้าเทียบ กับราคาขาย -% อัตราต้นทุนเทียบกับราคาขาย การบริหารต้นทุน แบบ ABC - เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ บริหารต้นทุน - เพื่อกระจายต้นทุนให้ถูกต้องกับ ต้นทุนที่แท้จริงของสินค้าแต่ละ ประเภท - % ต้นทุนสินค้าที่ลดลงเทียบกับปีที่แล้ว - % ความถูกต้องในการกระจายต้นทุน - % ต้นทุนต่อหน่วยสินค้าเทียบกับราคา ขาย -% อัตราต้นทุนเทียบกับราคาขาย
  • 62.
  • 63. แผนที่ตัวชี้วัดผลงานหลักเชิงกลยุทธ์ กลยุทธ์ด้านลูกค้า กลยุทธ์หลัก / ย่อย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดผลงาน ตัวชี้วัดผลงานหลัก การสร้างความพึงพอใจ ให้กับลูกค้าโดยเน้นลูกค้า เป็นศูนย์กลาง - เพื่อตอบสนองความต้องการที่ แท้จริงของลูกค้า - ยอดขายรวม - % ยอดขายที่เพิ่มขึ้น - จำนวนข้อร้องเรียนของลูกค้า - % ข้อร้องเรียนของลูกค้าต่อหน่วยผลิต - อัตราความพึงพอใจของลูกค้า ( สำรวจ ) - ยอดขายรวม - จำนวนข้อร้องเรียน ของลูกค้า การส่งมอบตรงเวลา - เพื่อส่งสินค้าให้ลูกค้าตรงตาม เวลา ถูกต้องครบถ้วนตามที่ลูกค้า ต้องการ - % การส่งมอบสินค้าตรงเวลา - % การส่งมอบสินค้าล้าช้า - % ค่าใช้จ่ายในการส่งมอบผิดพลาด - % การส่งมอบสินค้าตรงเวลา การบริการลูกค้าเชิงรุก - เพื่อให้ลูกค้ามีความรู้เกี่ยวกับตัว สินค้ามากยิ่งขึ้น - เพื่อป้องกันและลดข้อร้องเรียน ของลูกค้า - % ข้อร้องเรียนที่เกิดจากความเข้าใจผิด ของลูกค้า - % ความรู้ความเข้าใจของลูกค้าจากการ สำรวจ - % ข้อร้องเรียนที่เกิดจากความเข้าใจผิดของลูกค้า ราคาที่แข่งได้ - เพื่อให้สามารถแข่งขันกับสินค้า คู่แข่งขันได้ - ราคาต่อหน่วย ( บาท ) - % ความแตกต่างของราคากับคู่แข่ง - อัตราความพึงพอใจของลูกค้าต่อสินค้า ( สำรวจ ) - ราคาต่อหน่วย ( บาท )
  • 64. ตัวชีวัดผลงานหลักจากกลยุทธ์หลักและกลยุทธ์ในมุมมองด้านลูกค้ามีดังนี้ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดผลงานหลัก การสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าโดย เน้นลูกค้าเป็นศูนย์กลาง - ยอดขายรวม - จำนวนข้อร้องเรียนของลูกค้า การส่งมอบตรงเวลา - % การส่งมอบสินค้าตรงเวลา การบริการลูกค้าเชิงรุก - % ข้อร้องเรียนที่เกิดจากความเข้าใจผิดของลูกค้า ราคาที่แข่งได้ - ราคาต่อหน่วย ( บาท )
  • 65. กลยุทธ์ด้านกระบวนการจัดการภายใน กลยุทธ์หลัก / ย่อย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดผลงาน ตัวชี้วัดผลงานหลัก การผลิตแบบทันเวลาพอดี ( Just-In-Time: JIT) - เพื่อส่งมอบสินค้าให้ลูกค้าถูกต้อง ครบถ้วนและตรงเวลา - % การส่งมอบสินค้าตรงเวลา - % ความล้าช้าในการส่งมอบ - % การส่งมอบสินค้าตรงเวลา การผลิตที่ทันสมัยและได้มาตรฐาน - เพื่อให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานที่ลูกค้าต้องการ - อัตราผลผลิต - % สินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน - % สต๊อกสินค้าที่อยู่ระหว่างกระบวนการผลิต - ระยะเวลาในการผลิต - อัตราของเสียในกระบวนการผลิต - ข้อร้องเรียนลูกค้าอันเนื่องมาจากการผลิต - % สินค้าที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน - ข้อร้องเรียนลูกค้าอันเนื่องมาจากการผลิต การใช้เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย - เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต - อัตราผลผลิต - % Break Down ของเครื่องจักร - อัตราประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร - อัตราประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร จัดตั้งหน่วยงานบริหารคุณภาพ - สนับสนุนการเพิ่มคุณภาพสินค้าให้ได้มาตรฐาน - % คุณภาพสินค้าที่ผ่านมาตรฐาน - % คุณภาพสินค้าที่เพิ่มขึ้น - % คุณภาพสินค้าโดยรวมเทียบคู่แข่ง - จำนวนโครงการปรับปรุงคุณภาพสินค้าที่ประสบความสำเร็จ -- % คุณภาพสินค้าที่ผ่านมาตรฐาน
  • 66. กลยุทธ์ด้านกระบวนการจัดการภายใน ( ต่อ ) กลยุทธ์หลัก / ย่อย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดผลงาน ตัวชี้วัดผลงานหลัก การบริหารต้นทุนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ - เพื่อให้ได้สินค้าที่มีต้นทุนต่ำ - เพื่อเพิ่มความสามารถการแข่งขันด้านราคา - ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย - % ของเสีย - อัตราผลผลิต - % ต้นทุนการผลิตต่อราคาต่อหน่วย - % ต้นทุนแรงงานต่อหน่วย - % ต้นทุนวัตถุดิบต่อหน่วย - ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย การผลิตโดยใช้ Out-Source - เพื่อลดต้นทุนการผลิต - ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย - % ของเสีย - อัตราผลผลิต - ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย - % ของเสีย การบริหารผู้ขายแบบหุ้นส่วนธุรกิจ - เพื่อลดต้นทุนการวัตถุดิบ - เพื่อให้ได้วัตถุดิบที่มีคุณภาพ - เพื่อสร้างสัมพันธ์กับผู้ขาย - % ต้นทุนวัตถุดิบการผลิตต่อหน่วยสินค้า - คะแนนประเมินผลงานของ Suppliers - ราคาวัตถุดิบต่อหน่วย - % การส่งมอบวัตถุดิบตรงเวลา - % ของวัตถุดิบที่ปฎิเสธ - ต้นทุนวัตถุดิบการผลิตต่อหน่วยสินค้า - คะแนนประเมินผลงานของ Suppliers
  • 67. ตัวชี้วัดผลงานหลักจากกลยุทธ์หลักและกลยุทธ์ย่อยในมุมมองด้านกระบวน การภายในมีดังนี้ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดผลงานหลัก 1. การผลิตแบบทันเวลาพอดี ( Just-In-Time: JIT) - % การส่งมอบสินค้าตรงเวลา 2. การผลิตที่ทันสมัยและได้มาตรฐาน - % สินค้าที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน - ข้อร้องเรียนลูกค้าอันเนื่องมาจากการผลิต - การใช้เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย - อัตราประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร - จัดตั้งหน่วยงานบริหารคุณภาพ - % คุณภาพสินค้าที่ผ่านมาตรฐาน 3. การบริหารต้นทุนการผลิตที่มีประสิทธฺภาพ - ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย - การผลิตโดยใช้ Out-Source - ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย - % ของเสีย - % การส่งมอบสินค้า - การบริหารผู้ขายแบบหุ้นส่วนธุรกิจ - ต้นทุนวัตถุดิบการผลิตต่อหน่วยสินค้า - คะแนนประเมิณผลงานของ Suppliers
  • 68. กลยุทธ์ด้านการเติบโตและการเรียนรู้ กลยุทธ์หลัก / ย่อย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดผลงาน ตัวชี้วัดผลงานหลัก การพัฒนาความสามารถและ คุณภาพชีวิตของบุคลากร - เพื่อเพิ่มศักยภาพของ บุคลากร - เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ของพนักงาน - % ความสามารถของพนักงานที่เพิ่มขึ้น - คะแนนการสำรวจควาพึงพอใจของ พนักงาน - % คุณภาพชีวิตของพนักงานเทียบกับตัวชี้วัดมาตรฐานกำหนด - % ความสามารถของพนักงาน ที่เพิ่มขึ้น - % คุณภาพชีวิตของพนักงาน เทียบกับตัวชี้วัดมาตรฐาน กำหนด การพัฒนาทักษะ - เพื่อพัฒนาทักษะในการ ทำงานของพนักงานให้ได้ มาตรฐาน - % ทักษะของพนักงานที่เพิ่มขึ้น - จำนวนทักษะเฉลี่ยต่อคน - % ทักษะที่ได้รับรองจากสถาบันฯ - จำนวนทักษะที่สามารถวัดได้และมี หลักสูตรการฝึกอบรมรองรับ - % พนักงานที่ได้ผ่านการฝึกอบรมทักษะ หลักของบริษัทฯ - % ทักษะของพนักงานที่ เพิ่มขึ้น - จำนวนทักษะที่สามารถวัดได้ และมีหลักสูตรการฝึกอบรม รองรับ การส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตด้วยต้นเอง - เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ของบุคคลากร - % คุณภาพชีวิตของพนักงานเทียบกับ ตัวชี้วัดมาตรฐานที่กำหนด - % คุณภาพชีวิตที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี - % คุณภาพชีวิตที่เพิ่มขึ้นในแต่ ละปี การใช้ระบบการให้อำนาจ - เพื่อยกระดับทักษะในการ บริหาร / ทำงานของพนักงาน - อัตราผลผลิตต่อคน - อัตราการป่วย สาย ขาด ลาของบุคลากร - อัตราความพึงพอใจต่อการบริหารแบบ ระบบการให้อำนาจ - อัตราผลผลิตต่อคน - อัตราความพึงพอใจต่อการ บริหารแบบระบบการให้อำนาจ
  • 69. ตัวชีวัดผลงานหลักจากกลยุทธ์หลักและกลยุทธ์ในมุมมองด้านทรัพยากรมนุษย์มีดังนี้ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดผลงานหลัก - การพัฒนาความสามารถและคุณภาพ ชีวิตของบุคลากร - % ความสามารถของพนักงานที่เพิ่มขึ้น - การพัฒนาทักษะ - % ทักษะของพนักงานที่เพิ่มขึ้น - จำนวนทักษะที่สามารถวัดได้และมีหลักสูตรการฝึกอบรมรองรับ - การส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตด้วยต้นเอง - % คุณภาพชีวิตที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี - การใช้ระบบการให้อำนาจ - อัตราผลผลิตต่อคน - อัตราความพึงพอใจต่อการบริหารแบบระบบการให้อำนาจ
  • 70. กำไร รายได้ รายได้สินค้าใหม่ รายได้สินค้าเก่า ยอดขาย % การส่งมอบตรงเวลา % ต้นทุนเทียบราคาขาย จำนวนข้อร้องเรียนของลูกค้า ราคาต่อหน่วยสินค้า ข้อร้องเรียนที่เกิดจากลูกค้าฯ % ส่งมอบตรงเวลา จำนวนข้อร้องเรียนฯความคืบหน้า จำนวนข้อร้องเรียนฯคุณภาพ ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย % สินค้าที่ผ่านมาตรฐาน % สินค้าที่ไม่ผ่านมาตรฐาน % ของเสีย ต้นทุนวัตถุดิบต่อหน่วย % ประสิทธิภาพการผลิตโดยรวม คะแนนประเมิณผลฯผู้ขาย ผลผลิตต่อคน % ความพึงพอใจฯต่อระบบการให้อำนาจ ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน ด้านการเงิน ด้านทรัพยากรคน % คุณภาพชีวิตที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี % ต้นทุนเทียบราคาขาย % ความสามารถ จำนวนทักษะ ทักษะ % การเจริญเติบโต
  • 71. ด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน ฝ่ายจัดส่ง จำนวนข้อร้องเรียนฯความคืบหน้า ทุกฝ่าย % ความสามารถ % ทักษะ ทุกฝ่าย จำนวนทักษะ ทุกฝ่าย % ความพึงพอใจต่อระบบการให้อำนาจ ฝ่ายผลิต % คุณภาพชีวิตที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี % ส่งมอบตรงเวลา ฝ . ตลาด / จัดส่ง / ผลิต % ต้นทุนเทียบกับราคาขาย ทุกฝ่าย % สินค้าที่ผ่านมาตรฐาน ฝ . ผลิต /QC % ไม่ได้รับมาตรฐาน ฝ . ผลิต /QC % ของเสีย ฝ . ผลิต /QC ต้นทุนการวัตถุดิบต่อหน่วย ฝ . จัดซื้อ % ประสิทธิภาพการผลิต ฝ . ซ่อมบำรุง / ผลิต คะแนนประเมินผลฯผู้ขาย ฝ . จัดซื้อ /QC ผลผลิตต่อคน ฝ . ผลิต รายได้สินค้าเก่า ฝ . การเงิน / การตลาด รายได้ ฝ . การตลาด / การเงิน ฝ . การเงิน / การตลาด รายได้สินค้าใหม่ ฝ . บริหาร กำไร ฝ . บริหาร % การเจริญเติบโต % ต้นทุนเทียบกับราคาขาย ทุกฝ่าย ฝ . การตลาด ยอดขาย % การส่งตรงเวลา ฝ . การตลาด / จัดส่ง / ผลิต จำนวนข้อร้องเรียนของลูกค้า ฝ . ตลาด / จัดส่ง / ผลิต /QC/ คลังสินค้า ราคาต่อหน่วยสินค้า ฝ . ตลาด / การเงิน / ผลิต ฝ . ตลาด ข้อร้องเรียนที่เกิดจากลูกค้า จำนวนข้อร้องเรียนฯคุณภาพ ฝ . ผลิต /QC ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย ฝ . ผลิต / จัดซื้อ ด้านทรัพยากรบุคคล
  • 72.
  • 73. การกำหนดเป้าหมายและแผนงาน / โครงการรองรับกลยุทธ์ ( ต่อ ) มุมมอง กลยุทธ์ ตัวชี้วัดผลงานหลัก เป้าหมาย แผนงาน / โครงการ ฝ่ายที่ เกี่ยวข้อง ระยะ สั้น ปาน กลาง ระยะ ยาว กระบวน การภายใน การผลิตที่ทันสมัย และได้มาตรฐาน - % สินค้าที่ ไม่ได้คุณภาพ 5 ส , การควบคุมด้วยการมองเห็น การใช้เทคโนโลยี การผลิตที่ทันสมัย - อัตราประสิทธิภาพ โดยรวมของเครื่องจักร ศึกษาหารายละเอียด เกี่ยวกับเครื่องจักรอุปกรณ์ จัดตั้งหน่วยงานบริหาร คุณภาพ - % คุณภาพสินค้าที่ผ่าน มาตรฐาน สร้างคู่มือ ( Procedure Manual, Work Flow, and Work Instruction ) การผลิตแบบทัน เวลาพอดี - % การส่งมอบ สินค้าตรงเวลา การลดความสูญเสียใน โรงงาน , Just In Time การบริหารต้นทุน การผลิตที่มีประสิทธิภาพ - ต้นทุนการผลิต ต่อหน่วย การบริหารต้นทุนแบบ ABC ทุกฝ่าย - การผลิตโดยใช้ Out-Source - ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย - - การบริหารผู้ขาย แบบหุ้นส่วนธุรกิจ - ต้นทุนวัตถุดิบการ ผลิตต่อหน่วยสินค้า -
  • 74.
  • 75. รายได้สินค้าใหม่ ฝ . การเงิน / การตลาด ราคาต่อหน่วยสินค้า ฝ . ตลาด / การเงิน / ผลิต ข้อร้องเรียนที่เกิดจากลูกค้า ฝ . ตลาด จำนวนข้อร้องเรียนฯความคืบหน้า ฝ่ายจัดส่ง จำนวนข้อร้องเรียนฯคุณภาพ ฝ . ผลิต /QC ต้นทุนการผลิตต่อหน่วย ฝ . ผลิต / จัดซื้อ % ส่งมอบตรงเวลา ฝ . ตลาด / จัดส่ง / ผลิต % สินค้าที่ผ่านมาตรฐาน ฝ . ผลิต /QC % ไม่ได้รับมาตรฐาน ฝ . ผลิต /QC % ของเสีย ฝ . ผลิต /QC % สินค้าสูญหาย ฝ . จัดส่ง / คลังสินค้า % ประสิทธิภาพการผลิต คะแนนประเมิณผลฯผู้ขาย ฝ . จัดซื้อ ต้นทุนการวัตถุดิบต่อหน่วย % ความพึงพอใจต่อระบบการให้อำนาจ ฝ่ายผลิต % ความสามารถ ทุกฝ่าย ทุกฝ่าย จำนวนทักษะ % ทักษะ ทุกฝ่าย ผลผลิตต่อคน ฝ . ผลิต ฝ . ซ่อมบำรุง / ผลิต ฝ . จัดซื้อ /QC % ต้นทุนเทียบกับราคาขาย ทุกฝ่าย รายได้ ฝ . การตลาด / การเงิน ฝ . จัดการ กำไร ฝ . จัดการ % การเจริญเติบโต % ต้นทุนเทียบกับราคาขาย ทุกฝ่าย ฝ . การตลาด ยอดขาย จำนวนข้อร้องเรียนของลูกค้า ฝ . ตลาด / จัดส่ง / ผลิต /QC/ คลังสินค้า รายได้สินค้าเก่า ฝ . การเงิน / การตลาด % การส่งตรงเวลา ฝ . การตลาด / จัดส่ง / ผลิต ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน ด้านทรัพยากรบุคคล ด้านการเงิน
  • 76. การเงิน กำไร ล้านบาท 255 255 255 ม . ค . ก . พ . มี . ค . … ธ . ค .           รายได้จากการ ขายสินค้าเดิม ล้านบาท รายได้จากการ ขายสินค้าใหม่ ล้านบาท อัตราต้นทุนเทียบ กับราคาขาย % อัตราต้นทุนเทียบ กับราคาขาย % ลูกค้า ยอดขายรวม ล้านชิ้น จำนวนข้อร้องเรียน ของลูกค้า % การส่งมอบสินค้า ตรงเวลา % ข้อร้องเรียนที่เกิด จากความเข้าใจผิด ของลูกค้า % ราคาต่อหน่วย บาท มุมมอง ตัวชี้วัดผล งานหลัก หน่วย เป้าหมาย ผลงานจริงปี …………… สะสมผลต่างสถานะ สะสมผลต่างสถานะ สะสมผลต่างสถานะ
  • 77. กระบวน การจัด การ ภายใน สินค้าที่ไม่ได้ คุณภาพมาตรฐาน ล้านบาท 255 255 255 ม . ค . ก . พ . มี . ค . … ธ . ค .           อัตราประสิทธิภาพ โดยรวม ล้านบาท คุณภาพสินค้าที่ ผ่านมาตรฐาน ล้านบาท การส่งมอบสินค้า ตรงเวลา % ความถูกต้องใน การขนส่ง % ทรัพยากร มนุษย์ ความสามารถของ พนักงานที่เพิ่มขึ้น ล้านชิ้น ทักษะของ พนักงานที่เพิ่มขึ้น % จำนวนทักษะที่ สามารถวัดได้ฯ % อัตราผลผลิตต่อคน % อัตราความพึง พอใจต่อกาบริหาร แบบระบบฯ บาท มุมมอง ตัวชี้วัดผล งานหลัก หน่วย เป้าหมาย ผลงานจริงปี …………… สะสมผลต่างสถานะ สะสมผลต่างสถานะ สะสมผลต่างสถานะ
  • 78. ด้านการเงิน 255 255 255 ม . ค . ก . พ . มี . ค . … ธ . ค . อัตราการเติบโต % กำไร ล้านบาท อัตราต้นทุนเทียบ กับราคาขาย % % ค่าใช้จ่ายของฝ่าย ผลิตลดลง % ด้านลูกค้า อัตราการส่งมอบ ตรงเวลา % จำนวนวันในการผลิต % อัตราการ Rework/Reprocess % ข้อร้องเรียนของ ลูกค้า บาท ตัวชี้วัดผล งานหลัก หน่วย เป้าหมาย ผลงานจริงปี …………… สะสมผลต่างสถานะ สะสมผลต่างสถานะ สะสมผลต่างสถานะ
  • 79. ด้านการเงิน ( ต่อ ) ล้านบาท 255 255 255 ม . ค . ก . พ . มี . ค . … ธ . ค . ข้อร้องเรียนที่เกิด จากลูกค้า % ราคาต่อหน่วยสินค้า % ด้านกระบวน การภายใน อัตราสินค้าที่ผ่าน มาตรฐาน % อัตราสินค้าที่ไม่ได้ % มาตรฐานอัตรา ของเสีย % อัตราของเสีย เนื่องจากกระบวน การผลิต % ตัวชี้วัดผล งานหลัก หน่วย เป้าหมาย ผลงานจริงปี …………… สะสมผลต่างสถานะ สะสมผลต่างสถานะ สะสมผลต่างสถานะ
  • 80. ด้านกระบวน การภายใน ( ต่อ ) 255 255 255 ม . ค . ก . พ . มี . ค . … ธ . ค . อัตราของเสีย เนื่องจากวัตถุดิบ % อัตราประสิทธิภาพ การผลิตโดยรวม % ต้นทุนการผลิต ต่อหน่วย % ต้นทุนวัตถุ