SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 231
Descargar para leer sin conexión
การปฏิรูประบบการพยาบาลตาม
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้ วนหน้ า
  และการพัฒนาคุณภาพบริ การ



        กรรณิกา ปั ญญาอมรวัฒน์
                                   1
พัฒนาการของพยาบาลเวชปฏิบัตในประเทศไทย
                          ิ
 พยาบาลและพน ักงานชุมชนทีปฏิบ ัติงานใน
                               ่
  ท้องถินทีหางไกลและขาดแคลนแพทย์นน
         ่ ่ ่                               ั้
  จาเปนต้องทาหน้าทีในการตรวจวินจฉ ัย ให้การ
       ็               ่               ิ
               ้
  ร ักษาโรคเบืองต้นและดูแลร ักษาผูปวยในยาม
                                    ้่
  ฉุกเฉินมาโดยตลอด หรือ กล่าวได้วาเปนการ ่ ็
  กระทาเกินบทบาทหน้าทีและย ังไม่มกฎหมาย
                           ่              ี
  รองร ับ โดยไม่ได้ร ับการฝึ กห ัดอบรม อย่าง
  ถูกต้องมาก่อน
การพยาบาล เป็ นวิชาชีพที่กระทา
โดยตรงต่ อมนุษย์ ซึ่งมีผลต่ อความเป็ น
ความตายของชีวิต สามารถแยกความ
รับผิดตามลักษณะหรือบทบาทการ
ทางานออกได้ 2 ลักษณะ คือ
   บทบาทอิสระ และ บทบาทไม่ อสระ ิ
                                         3
ความไม่ยงยืนของการผลิตพยาบาลเวชปฏิบ ัติ:
        ่ั
                บทเรียน


1. เปาหมายของการผลิตพยาบาลเวชปฏิบ ัติ คือ
     ้
  ทดแทนการขาดแคลนแพทย์ ด ังนนการปฏิบ ัติงาน
                              ั้
  คือ “การทาแทนในบทบาทของแพทย์” มิใชเปน่ ็
  การขยายบทบาทของพยาบาลเพือตอบสนองความ
                            ่
  ต้องการด้านสุขภาพของประชาชน
ี
2. การขาดการสน ับสนุนจากองค์กรวิชาชพ ผูนา   ้
               ึ
  และน ักการศกษาพยาบาล เนืองจากกฎหมาย
                             ่
          ้                     ้
  มิได้เอือให้พยาบาลร ักษาโรคเบืองต้นได้อย่าง
  อิสระ

3. ขาดงานวิจ ัยสน ับสนุนผลล ัพธ์ของงานของ
  พยาบาลเวชปฏิบ ัติตอสุขภาพและคุณภาพชวต
                      ่                   ี ิ
  ของประชาชน เนืองจากเปนการทาแทนแพทย์
                    ่     ็
  ผลล ัพธ์จงเปนของแพทย์
           ึ ็
4. ได้ร ับการสน ับสนุนน้อยมากจาก
               ึ               ึ
  สถาบ ันการศกษา สถาบ ันการศกษาผลิตผู ้
  ปฏิบ ัติการพยาบาลขนสูงในประเภท
                        ั้
    ้ ี่          ึ่ ็
  ผูเชยวชาญ ซงเปนการปฏิบ ัติก ับผูปวย
                                   ้่
     ้ ้
  ผูใชบริการในโรงพยาบาล แม้วาจะมีการ
                                 ่
  พยาบาลชุมชน แต่ขอบเขตการปฏิบ ัติงานไม่
      ั
  ชดเจน

5. ไม่มระบบรองร ับตาแหน่ง เปนตาแหน่ง
       ี                    ็
พยาบาลทวไป่ั
การขับเคลือนของสภาการพยาบาล
           ่
                        ี
พระราชบ ัญญ ัติวชาชพการพยาบาลและการผดุง
                  ิ
  ครรภ์ พ.ศ. 2528 และทีแก้ไขเพิมเติมโดย
                            ่   ่
                          ี
พระราชบ ัญญ ัติวชาชพการพยาบาลและการผดุง
                    ิ
  ครรภ์ (ฉบ ับที่ 2) พ.ศ. 2540
มาตรา 4 (3) การกระทาการตามวิธทกาหนดไว้
                                   ี ี่
                      ้
  ในการร ักษาโรคเบืองต้น การให้ภมคมก ันโรค
                                  ู ิ ุ้
  และการวางแผนครอบคร ัว
สภาการพยาบาลก ับยุทธศาสตร์
        การข ับเคลือน
                   ่

         ่
1. การมีสวนร่วมในการสร้างองค์ความรู ้
           ่
2. การมีสวนร่วมในการพ ัฒนานโยบาย ด้านสุขภาพ
  ของประเทศ
             ่
3. การมีสวนร่วมในการปร ับระบบบริการสุขภาพ
                                ี
4. การดาเนินการให้ผประกอบวิชาชพการพยาบาล
                   ู้
                                      ี
  และการผดุงครรภ์ สามารถบริการวิชาชพได้อย่าง
  อิสระ และมีกฎหมายคุมครอง
                      ้
5. การกาก ับคุณภาพงานบริการ
               ั
6. การพ ัฒนาศกยภาพพยาบาลชุมชน
(Capacity Building)
การดาเนินการให้ผประกอบวิชาชพ
                 ู้         ี
การพยาบาล/ผดุงครรภ์ สามารถบริการ
     ี
วิชาชพได้อย่างอิสระและมีกฎหมาย
คุมครอง
  ้

                              ี
  การดาเนินการให้ผประกอบวิชาชพการ
                   ู้
                                      ี
    พยาบาล/ผดุงครรภ์ สามารถบริการวิชาชพได้
    อย่างอิสระและมีกฎหมายคุมครอง
                           ้
้      ี
เสนทางอาชพพยาบาล
                      ่ ่
• พยาบาลปฏิบ ัติการ มุงสูความชานาญและ
      ี่
  เชยวชาญ ใน ระด ับทุตยภูม ิ ตติยภูมศนย์ความ
                        ิ           ิ ู
  เปนเลิศ (APN)
    ็

• การพยาบาลเวชปฏิบ ัติในชุมชน (NP)

                         ี
• ผูบริหารการพยาบาลมืออาชพ
    ้
  (Nurse manager)
การพัฒนาศักยภาพของทีมการพยาบาล
• พยาบาลทั่วไป

• ผู้ช่วยพยาบาล

• ผู้ปฏิบตการพยาบาลขันสูง หรื อผู้เชี่ยวชาญใน
         ั ิ         ้
 ระดับทุตยภูมิ และตติยภูมิ
         ิ
• พยาบาลเวชปฏิบตในปฐมภูมิ
               ั ิ
• ผู้บริ หารจัดการทางการพยาบาลมืออาชีพ

•อาจารย์ พยาบาล/นักวิจัย
พยาบาลชุมชน       พยาบาลใน
พยาบาลเวชปฏิบติ
             ั
                  โรงพยาบาล
บทบาทอิสระ
      ต้ องรับผิดชอบในผลของการ
กระทานันโดยตรงด้ วยตนเอง เช่ น การ
           ้
ตรวจวินิจฉัยและรั กษาโรคเบืองต้ น
                           ้
การพยาบาลเพื่อบรรเทาความเจ็บป่ วย
การทาคลอด การปฐมพยาบาล การ
ให้ วัคซีนปองกันโรค
             ้
                                     16
บทบาทไม่ อิสระ
การกระทาไปตามแผนการรักษาหรื อคาสั่งการ
รั กษาของแพทย์ เช่ น การให้ ยาแก่ ผ้ ูป่วยตาม
คาสั่งการรั กษาของแพทย์ การช่ วยแพทย์
กระทาการรั กษาโรคด้ วยการผ่ าตัด ซึ่งแยกได้ 2
กรณี คือ
     ไม่ ต้องรั บผิด หากกระทาโดยมีแพทย์ ซ่ ง
                                            ึ
    เป็ นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมเป็ นผู้ควบคุม
                                                 17
บทบาทไม่ อสระ (ต่ อ)
                  ิ
       ต้ องรั บผิดหากผลที่เกิดขึนนันอยู่ในระดับความ
                                  ้ ้
รั บผิดชอบตามระดับความระมัดระวัง ตามภาวะ วิสัย
และพฤติการณ์ ท่ พยาบาลควรจะต้ องมี เช่ น แพทย์
                      ี
สั่งยาเพื่อรั กษาผู้ป่วย แต่ พยาบาลได้ นายาที่แพทย์ ส่ ัง
ไว้ นันไปให้ แก่ ผ้ ูป่วยเกินขนาด หรื อ ผิดทางที่ต้องให้
      ้
หรือให้ ผิดคน หรือให้ ผิดเวลา หรื อให้ ผิดวิธี แล้ วเป็ น
ผลให้ ผ้ ูป่วยได้ รับความเสียหายจากการกระทานัน      ้

                                                            18
กฎหมายที่มีผลต่อการพยาบาล
• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
  มาตรา 80 (2)
• พระราชบัญญัติส ุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
  มาตรา 47
• พระราชบัญญัติหลักประกันส ุขภาพแห่งชาติ
  พ.ศ. 2545 มาตรา 5
• พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผด ุง
  ครรภ์ พ.ศ. 2528 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2540
หลักประกันสุ ขภาพถ้ วนหน้ าคืออะไร
      “หลักประกันสุ ขภาพถ้ วนหน้ า” หมายถึง สิ ทธิของประชาชน
ไทยทุกคนทีจะได้ รับบริการสุ ขภาพทีมีมาตรฐานอย่ างเสมอหน้ า
             ่                           ่
ด้ วยเกียรติ ศักดิ์ศรีที่เท่ าเทียมกัน โดยทีภาระด้ านค่ าใช้ จ่ายไม่ เป็ น
                                            ่
อุปสรรคทีเ่ ขาจะได้ รับสิ ทธิน้ัน
ความท้าทายจากระบบ
 หลักประกันส ุขภาพ
นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพ ัฒน์
ปล ัดกระทรวงสาธารณสุข
9 ตุลาคม 2555




               CHANGE
“วิกฤต สธ” ขณะนี้ คืออะไร
1. หน่วยบริการกว่า 50% ประสบปัญหา
   ขาดสภาพคล่องทางการเงิน
                ้          ่
2. พฤติกรรมการใชบริการ การสงต่อ
   เปลียนไป
       ่
              ้           ่
3. ข้อมูลการเฝาระว ัง การสงเสริมปองก ัน
                                 ้
   โรค ในประชาชน ไม่ได้ตามเกณฑ์
WARNING SIGNS

1.                                ่ ้
     งบ UC เหมาจ่ายรายห ัวไม่เพิมขึนในปี 2555,2556
2.   การจ ัดสรรเงิน pre paid ให้หน่วยบริการลดลง
3.   เงินค้างท่อ เริมลดลง เหลือน้อย....ไม่ม ี
                    ่
4.              ่ ้
     รายจ่ายเพิมขึน(ค่าครองชพ,เงินเดือนค่าตอบแทน)
                              ี
5.   จานวน รพ. ที่ FAI Risk score = 7 มากขึน  ้
6.   เงินบารุงของหน่วยบริการ(หล ังห ักภาระหนีสน)้ ิ
     ลดลง
เปรียบเทียบกรอบวงเงินรายการย่ อยของงบอัตราเหมาจ่ ายรายหัวปี
               2556-ที่จะได้ รับกับปี 2555
                                                                  ปี 2555
                                                                                 ปี 2556   +/- ขาลง56
                    ประเภทบริการ                           [ได ้รับมติ กก.หลัก
                                                                               [เสนอขาลง]    กับ 55
                                                                     ฯ]
1. บริการผู ้ป่ วยนอกทั่วไป                                             971.51      983.49       11.98
2. บริการผู ้ป่ วยในทั่วไป                                             972.17           975.85                 3.68
3. เพิมสาหรับหน่วยบริการทีมต ้นทุนคงทีสง
      ่                   ่ ี         ่ ู                                60.99           60.99                    -
           ่ ี ่     ้
4. บริการทีมคาใชจ่ายสูง/อุบัตเหตุ เจ็บป่ วยฉุกเฉิน/
                             ิ
                                                                       269.04           262.10            (6.94)
บริการกลุมโรคทีมปัญหาการเข ้าถึง
         ่       ่ ี
5. บริการสร ้างเสริมป้ องกัน (P&P)                                     313.70           313.70                    -
6. บริการฟื้ นฟูสมรรถภาพ                                                 12.88           12.88                    -
7. บริการแพทย์แผนไทย                                                      7.20             7.20                   -
          ่ื
8. งบค่าเสอม                                                           141.50           128.69           (12.81)
      ่
9. งบสงเสริมคุณภาพผลงานบริการ                                             4.76             4.76                   -
         ่
10. เงินชวยเหลือเบืองต ้นตามมาตรา 41
                   ้                                                      1.10             5.19                   -
         ่
11. เงินชวยเหลือเบืองต ้นผู ้ให ้บริการ
                   ้                                                      0.75             0.75                   -
รวม                                                                  2,755.60        2,755.60                     -

                                                ่                                  ่
   หมายเหตุ: งบอัตราเหมาจ่ายรายหัว ไม่รวมค่าแรงสวนเพิมจากนโยบายรัฐบาล และค่าตอบแทนสวนเพิมตามประกาศของ สป.สธ.
                                                     ่                                  ่
แสดงผลประกอบการปี 2551-2555 Q3
                                                                                                                                                         กาไร(รพ.)
                                                                                                                                                           , 336,
10,000                                                                                                                                                      40%
                                                                                                                                             ขาดทุน      5,239ล ้าน
                                                                                                           7,837                              (รพ.),
 8,000
                                                                                                                                            496, 60%
                                                                                                                                            4,506ล ้าน
 6,000                                                                                5,188 5,066
          4,609
                                                                                                                                 4,090
 4,000
                                                                           2,983

 2,000                                                                                                                1,534
                                                                                                                                             733

    0
           2551/Q4


                      2552/Q4


                                 2553/Q1


                                           2553/Q2


                                                      2553/Q3


                                                                 2553/Q4


                                                                            2554/Q1


                                                                                       2554/Q2


                                                                                                 2554/Q3


                                                                                                            2554/Q4


                                                                                                                       2555/Q1


                                                                                                                                  2555/Q2


                                                                                                                                              2555/Q3
-2,000               -1,246
                                -1,705 -1,887

-4,000                                               -3,096

                                                                -4,692
-6,000


                                                                  ้
          แสดงให้เห็นในปี 2553 ปัญหาการจ ัดสรรงบหล ักประก ันล่าชาจากการทีม ี
                                                                         ่
          หมวดย่อยหลากหลายทาให้มเงินเหลือค้างท่อจานวนมาก เมือมีการเร่งร ัด
                                    ี                           ่
                                                            ั
          จ ัดสรรทาให้ผลประกอบการภาพรวมของหน่วยบริการสงก ัดสป.สธ.มีกาไร
         จนไตรมาส 3 ปี 2555 แต่พบว่ามีรพ.ทีขาดทุนมีมากกว่า(60%)เข้าล ักษณะ
                                           ่
                                 รวยกระจุกจนกระจาย
ั ่
แสดงงบหล ักประก ันสุขภาพถ้วนหน้าทงหมดเทียบสดสวนก ับ
                                 ั้
                             ั ่
    ค่าแรงประเภทต่างๆทีแยกสดสวนเฉพาะบริการUC
                       ่
                                                หน่ วย:ล้ านบาท ปี 56 เป็ นค่ าประมาณการ
160,000        ่
              สวนดาเนินการ              ่
                                       สวนค่าตอบแทน

140,000        ่       ั่
              สวนจ ้างชวคราว            ่
                                       สวนเงินเดือน           133,186       133,495

120,000       รวมเหมาจ่ายรายหัว
                                                 101,058
100,000                            89,385
                         80,598                                81,190        79,820
            76,599
 80,000
                                                 53,402
                                    41,895
 60,000                  38,495
            39,488
                                                               13,763        14,589
 40,000                  10,213    13,562        13,164
             7,919                               6,268         6,905          7,319
             3,807       4,423     5,344
 20,000
            25,385       27,467    28,584        28,223        31,328        31,767
      0
             2551        2552       2553          2554         2555          2556
 เมือสะท ้อนภาพงบหลักประกันสุขภาพทีมากขึนมาตลอดสอดคล ้องกับการมีผู ้มารับบริการ
     ่                                    ่    ้
 มากขึนทุกปี อย่างรวดเร็ว(ผป.นอกเพิมจากปี 2545จานวน80 ล ้านครัง เป็ น150 ล ้านครังใน
        ้                              ่                        ้                ้
  ปี 2554) แต่อัตราเงินเดือนเพิมน ้อยมาก อันแสดงถึงจานวนขรก.สธ.ไม่ได ้เพิมตามอย่าง
                                ่                                        ่
       ั ่
เป็ นสดสวน ทาให ้มีภาระต ้องจ ้างลูกจ ้างและจัดสรรOT มากขึนเพือชดเชยอัตรากาลังทีขาด
                                                          ้   ่                    ่
จานวนโรงพยาบาลทีมวกฤตระด ับ 7
                           ่ ี ิ
              ตงแต่ปี 2552-2555 Q3
                ั้
 180                           170

 160                                                                              รพศ.NoTrain
                    142
 140                                                               131            รพศ.&Train

 120                                      108                                     รพท. 400+
                                                             95                   รพท. 300 - 400
 100                                                  89
                                                                                  รพท. -300
  80                                                                              รพช. 90+
  60                                                                              รพช. 90

  40                                                                              รพช. 60
                                                                                  รพช. 30
  20
           1                                                                      รวม
   0
         52Q4      53Q2       53Q4       54Q2        54Q4   55Q2   55Q3

                            ิ
                 ประเมินประสทธิภาพจากต้นทุนปี 55Q3                  จานวนรพ.ในระด ับ7
กลุมต้นทุนผป.นอกและผป.ในตากว่าค่าเฉลีย
   ่                      ่             ่                                  42
กลุมต้นทุนผป.นอกและผป.ในสูงกว่าค่าเฉลีย
     ่                                ่                                    89


  การและเร่งร ัดจ ัดสรรงบหล ักประก ันสุขภาพไม่สามารถแก้ปญหาการเงินในสวน
                                                          ั             ่
        ี่ ็    ่                          ึ่
  ใหญ่ทเปนกลุมโรงพยาบาลระด ับรพช. ซงปรากฏแม้ภาพรวมมีกาไรแต่รพช.ใน
                                 ้            ่ ้             ึ่   ิ
   กลุมวิกฤตระด ับ7 กล ับมีมากขึน ถึงแม้ในกลุมนีจะมี 42 รพ.ซงมีประสทธิภาพ
      ่
                    บริหารต้นทุนตาก็ย ังประสบภาวะวิกฤตระด ับ7
                                   ่
้ ิ
                   เงินบารุงคงเหลือ (ห ักภาระหนีสน)
                                        ั
                    ของหน่วยบริการ สงก ัด สป สธ.

  ไตรมาส3/2555                  9.37

  ไตรมาส2/2555                                 16.53
                                                                                       ปี งบ2555
  ไตรมาส1/2555                          13.84

  ไตรมาส4/2554                         12.78                          ไตรมาส4/2554

  ไตรมาส3/2554                           14.17
                                                                           จ่ายเงินค้างท่อ
  ไตรมาส2/2554                                                                35.85
                                                       ไตรมาส1/2554
  ไตรมาส1/2554                            15.06

ปี งบประมาณ 2553              7.15

ปี งบประมาณ 2552                     11.99

                                                  18.67
ปี งบประมาณ 2551
                                          15.06
ปี งบประมาณ 2550
                                                                                      พ ันล้านบาท
               0.00   5.00   10.00 15.00 20.00 25.00 30.00 35.00 40.00
ข้ อมูลจาก นพ.บัญชา ค้ าของ

1. การจ ัดสรรตามรายห ัวโดยรวมเงินเดือน เปนสาเหตุให้เกิด
                                         ็
                                                  ้ ่
   ความแตกต่างงบบริการและสถานบริการประสบปัญหาค่าใชจาย
2. กลไกการชดเชยมีความไม่เพียงพอ ทาให้มองไม่เห็นปัญหา
  การเงินแต่ได้สะสมและขยายต ัวรุนแรง
3. การจ ัดสรรเหมาจ่ายปลายปิ ด และมีการก ันเงินจานวนมากที่
   กองกลาง เปนกองทุนย่อย ทาให้งบบริการพืนฐานของหน่วย
              ็                           ้
  บริการไม่เพียงพอ
4. การทุมงบไปในงบหล ักประก ันสุขภาพถ้วนหน้า ทาให้งบโครงสร้าง
         ่
     ้
   พืนฐานลดน้อยลงอย่างมากและทาให้งบในการสงเสริมสุขภาพ
                                                  ่
   และปองก ันโรคไม่เพิม
       ้              ่
                                   ่ ้
5. ผูปวยในระบบหล ักประก ันสุขภาพเพิมขึนอย่างมาก ทาให้
     ้่
                                      ้
  เกิดการขาดแคลนบุคลากร และโครงสร้างพืนฐาน และงบประมาณ
  บริการ
ปลดชนวนระเบิด
ภายใต้แผนพ ัฒนาด ังกล่าวข้างต้น ประกอบด้วย
โครงการ ด ังนี้
1. โครงการทบทวนการกาก ับดูแล (Regulator)
   การบริหารจ ัดการกองทุนหล ักประก ันสุขภาพ
   แห่งชาติ
2. โครงการพ ัฒนากระบวนการทางานร่วมก ัน
   อย่างสร้างสรรค์ ก ับองค์กรด้านสุขภาพ/ภาคี
             ่            ่
   ทุกภาคสวน เพือนาไปสูความเปนเจ้าของระบบ
                  ่              ็
   ร่วมก ัน (ownership)
   (เริมต้นโครงการย่อย “กองทุนบูรณาการ
       ่
    สร้างเสริมสุขภาพและบริบาลประชาชน”
      P&P ตามนโยบายท่านปล ัดฯ)
3. แผนพ ัฒนาระบบบริการสุขภาพ
   (Service Plan)
4. โครงการบูรณาการระบบบริการ 3 กองทุน
              ั
   เพือพ ัฒนาศกยภาพการจ ัดเก็ บรายได้ให้ม ี
      ่
        ิ
   ประสทธิภาพ
5. โครงการทบทวนระบบการเงินการคล ังของ
                      ิ
   หน่วยบริการให้มประสทธิภาพ
                  ี
6. โครงการพ ัฒนาระบบฐานข้อมูลกลางใน
                                 ื่
   ระบบบริการของสาธารณสุข ให้เชอมโยง
          ้
   และใชประโยชน์รวมก ันทุกกองทุน
                    ่
   (National standard programme and
   data set)
นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพ ัฒน์
ปล ัดกระทรวงสาธารณสุข
ตุลาคม 2555
                             MOPH & NHSO


Harmonized P&P Model 2013
ข้อเสนอการบริหารงบหมวดขาลง
      ของ สธ ต่อ สปสช.
หล ักการ
1. เปนการเริมต้น ของ การบูรณาการการ
         ็    ่
    ทางาน ระหว่าง Purchaser vs Provider
2. เปนการบริหารงานร่วมก ัน ตงแต่การกาหนด
           ็                          ั้
    เปาหมาย การรวบรวมข้อมูล และประเมินผล
       ้
3. สปสช. ทาหน้าทีดแลจ ัดสรรงบประมาณ
                    ่ ู
    ตามที่ สธ สรุป และ External audit
                         ้ ี ่
4. สธ ปร ับบทบาท เปนผูมสวนร่วมในการ
                      ็
    กาหนดนโยบาย ควบคุมกาก ับ และ
    Internal audit
5. การบริหารงบประมาณ เปนหน้าทีของ
                               ็         ่
    เครือข่ายบริการสุขภาพทง 12 เขต
                                 ั้
     ่
6. สงเสริมให้ Customer มีสวนร่วม    ่
กิจกรรมทีเสนอดาเนินการร่วมก ัน
            ่

1. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและปองก ันโรค
                                ้
   ทงหมด ยกเว้นกองทุน อปท
     ั้
2. กองทุนบริการการแพทย์แผนไทย
3. กองทุนบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์
4. กองทุนบริการควบคุม ปองก ัน และร ักษา
                         ้
         ้
   โรคเรือร ัง
5. กองทุนบริการผูปวยในทวไป
                   ้่      ่ั
6. งบ OP สน ับสนุนปฐมภูม ิ 37บาท
7. Cost Function การปร ับเกลียเงินให้รพ.
                              ่
ข้อสรุปจากการประชุมร่วม ระหว่าง สธ และ สปสช.
                               4 ตุลาคม 2555

  1. ทง สธ และ สปสช. ยอมร ับในหล ักการ
       ั้
  2. กิจกรรมทีเริมดาเนินการในปี งบฯ 2556
                  ่ ่
     ได้แก่
     1) กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและปองก ันโรค
                                    ้
          ทงหมด ยกเว้นกองทุน อปท
            ั้
     2) กองทุนบริการการแพทย์แผนไทย
     3) กองทุนบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้าน
          การแพทย์
     4) กองทุนบริการควบคุม ปองก ัน และร ักษา
                              ้
                ้
          โรคเรือร ัง
     5) กองทุนบริการผูปวยในทวไป
                        ้่      ่ั
ข้อสรุปจากการประชุมร่วม ระหว่าง สธ และ สปสช.
                               4 ตุลาคม 2555

3. งบ OP สน ับสนุนปฐมภูม ิ 37บาท สปสช.ขอ
   พิจารณาอีกครง     ั้
4. Cost Function การปร ับเกลียเงินให้รพ.
                                ่
   สปสช. ขอพิจารณาข้อมูลว่า evidence มี
   เท่าไร สาเหตุคออะไร
                   ื
5. จะมีการประชุมร่วมก ันอย่างเปนทางการ
                                  ็
   อีกครง โดย สธ เตรียมทาแผนและรูปแบบ
         ั้
   นาเสนอ
6. สธ ทบทวนและเตรียมกาหนด strategic plan
   Line up ผูร ับผิดชอบ การควบคุมกาก ับให้ได้
             ้
   ตาม KPI ทีตกลงก ัน รวมทง risk
               ่             ั้
   management และ internal audit
ข้อสรุปจากการประชุมร่วม ระหว่าง สธ และ สปสช.
                               4 ตุลาคม 2555

           ้
7. ในเบืองต้นทีประชุม มีมติให้ สปสช.
                    ่
   ดาเนินการเรือง cash flow 25% ไปก่อน
                      ่
8. การทา External audit ทีประชุมเสนอให้
                               ่
                ้ ิ
   สปสช. ใชวธ ี outsource
9. การรายงานข้อมูลจะมีการทบทวนวิธการ   ี
   โดย สธ จะนาเสนอทางเลือกทีลดภาระงาน
                                 ่
   ของหน่วยบริการให้มากทีสด ่ ุ
10.สปสช. เห็นชอบในหล ักการ ที่ สธ เสนอให้
   ตงคณะทางานจาก สธ เพิมเติมในคณะ
     ั้                      ่
   อนุกรรมการพ ัฒนาระบบการเงินการคล ัง
   ของ สปสช. เพือให้กลไกการข ับเคลือน
                          ่          ่
   ต่อเนืองทง 2 ฝาย
         ่   ั้         ่
การจ ัดสรรเงินกองทุน UC ให้หน่วยบริการ
      ภาคร ัฐ นอก สป สธ   ภาคร ัฐ ใน
         + เอกชน           สป สธ
Brain
              Internal &                                   stroming
                                                                                             Negotiation
            External audit                                เขต 1
                                        เขต กทม          (KPI 1)              เขต 2
                                        (KPI 13)                             (KPI 2)
National program :          เขต 12                                                       เขต 3          สวรส : Feasibility
ลดภาระ รายงานข้อมูล        (KPI 12)                                                     (KPI 3)          study และ KPI

                       เขต 11
                                                         สธ                                    เขต 4
                      (KPI 11)                 (Strategy/Regulator)                           (KPI 4)
  Control &
  Monitoring
                                                         สปสช                                                Service plan
                        เขต 10                      (จ่ายเงิน)                                เขต 5
                       (KPI 10)                                                              (KPI 5)

      Implement                    เขต 9                                            เขต 6
                                  (KPI 9)                                          (KPI 6)              จัดทัพขุนพล
                                                เขต 8               เขต 7
                                               (KPI 8)             (KPI 7)
                กรม ต่างๆ : internal                                                  Leadership
               audit ,สนับสนุ นวิชาการ                                            training program
งบหล ักประก ันสุขภาพปี 2556
1.   งบพิจารณาโดยสาน ักงบประมาณ 2755
2.                          ื้
     ควบคุมงบประมาณโดยซอยารวม การลดต้นทุน โดยเฉพาะกลุมโรค ่
     เข้าถึงยาก สามารถลดได้ 5-6% ในกลุม Dz Mx นากล ับไปผป.
                                        ่
                       ่ ้
     นอกใน แต่ ม.41 เพิมขึนตามมติบอร์ด 4 บาททีเพิมกาหนดไม่ให้
                                              ่ ่
     exposure มาก NGO ขอมา
3.   เพิมให้ผป.นอกใน มาก คิดว่า operation เปนไปได้ 6.94
        ่                                   ็
           ิ       ้                 ่ื
     ประสทธิภาพใชยา ทีลดจริงคือค่าเสอม
                          ่
4.   ชดเชยมีงบลงทุนเพิม และเก็บ30 บาท
                        ่
ั                   ้
ข้อสงเกตเรืองมูลค่าการใชยา
           ่
การบริโภคยาในประเทศ ระหว่างปี 2543-2551 เติบโต 111.0%
 ควรประเมินยาทีบริการโดยรพ.ร ัฐ สป เอกชน มหาวิทยาล ัย
                    ่
            ึ               ี
 จากการศกษาของกรมบ ัญชกลางโดยสวปก. จากโรงพยาบาล 31
                        ั
  แห่ง มีโรงพยาบาลสงก ัดกระทรวงสาธารณสุข 16 แห่ง(จาก 880
              ี ั ่       ้         ี                  ่
  แห่ง) แต่มสดสวนการใชยานอกบ ัญชยาหล ักราคาแพงเปนสวนน้อย
                                                    ็
  เพียง 2,105 ล้านบาท (21%) จากทงหมด 10,040 ล้านบาท
                                      ั้
                  ั             ้
  โรงพยาบาลสงก ัดอืน 15 แห่ง ใชยาด ังกล่าว 7,935ล้านบาท (79%)
                      ่
้ ่
ข้อเสนอแนวคิดการควบคุมค่าใชจายยา
                                  รายการต้นทุน                    2552            2553            2554
ต้นทุนค่าร ักษาพยาบาล
   ต ้นทุนยา                                                     -22,429.01       -25,105.97     -25,273.99
                    ิ ่
   ต ้นทุนเวชภัณฑ์มใชยาและวัสดุการแพทย์                           -7,590.72        -9,206.17     -10,015.33
   ต ้นทุนวัสดุวทยาศาสตร์การแพทย์
                ิ                                                 -4,781.54        -5,561.42      -6,194.37

                        รายการต้นทุน             2552               2553                       2554
ค่าแรงบุคลากร
    เงินเดือนและค่าจ ้างประจา(รวม)                 -34,348.20            -37,082.06              -39,748.93
              ่
    ค่าจ ้างชัวคราว(รวม)                            -7,460.32             -8,907.14              -10,447.12
    ค่าตอบแทน(รวม)                                 -17,199.24            -22,603.37              -21,940.40


                                       ้ ่
                                 หมวดใชจาย                      ร้อยละเพิมจากปี 2551
                                                                         ่
      เงินเดือนและค่าจ ้างประจา(รวม)                                      15.72
                ่
      ค่าจ ้างชัวคราว(รวม)                                                40.04
      ค่าตอบแทน(รวม)                                                      27.57

      ต ้นทุนยา                                                           12.68
      ต ้นทุนเวชภัณฑ์มใช่ยาและวัสดุการแพทย์
                       ิ                                                  31.94
      ต ้นทุนวัสดุวทยาศาสตร์การแพทย์
                   ิ                                                      29.55
้ ่
        ค่าใชจายทีเหมาะสมของร ัฐ
                    ่
        เพือความเปนธรรมต่อคุณภาพบริการ
           ่      ็
        ้ ่            ั
1. ค่าใชจายด้านยาในรพ.สงก ัดสป.มีรอยละการเพิมไม่มาก โดยค่าแรง
                                  ้         ่
   เพิมมากกว่า ในขณะทีมปญหาขาดแคลนกาล ังคนจากภารกิจบริการ
      ่               ่ ี ั
                  ่            ้
   ในประชาชนสวนใหญ่ทมากขึน ข้อเสนอควรทบทวนมาตรการเรือง
                        ี่                                  ่
   ยาในรพ.ร ัฐ อาจกระทบคุณภาพได้มาก
         ้ ่
2. ค่าใชจายทีมแนวโน้มเพิมอย่างมากในปัจจุบ ันคือค่าแรงบุคลากร การ
              ่ ี            ่
                                    ้ ่
   กาหนดนโยบายด้านบุคลากรและค่าใชจายทีเหมาะสมจะเปนสวน
                                           ่            ็ ่
   สาค ัญในความสมดุลระหว่างคุณภาพก ับค่าใชจาย้ ่
          ้ ่
3. ค่าใชจายทีเหมาะสมของร ัฐเพือความเปนธรรมต่อคุณภาพบริการ
               ่                 ่   ็
   ประชาชนคือ ทางออกทีควรพิจารณา
                           ่
                      ้ ่
   1) ร ัฐประเมินค่าใชจายทีเหมาะสมด้วยอ ัตราทีจะสามารถจ ัดเก็บภาษีได้
                           ่                  ่
   2) ร ัฐกาหนดคุณภาพบริการด้วยมาตรฐานการร ักษาทีกาหนด (CPG)
                                                 ่
   3) ร ัฐกาหนดให้หน่วยบริการตามมาตรฐานทารายงานต้นทุนมาตรฐานเพือเสนอ
                                                               ่
      พิจารณา
               ่
   4) พิจารณาสวนขาดระหว่างงบทีร ัฐพึงมี ก ับต้นทุนมาตรฐาน หากเกินให้ต ัดลด
                              ่
                       ่
      งบประมาณตามสวน หากขาดกาหนดการระดมทุนในรูปแบบต่างๆ เชน การร่วม่
      จ่าย การประก ันล่วงหน้า
ิ
ข้อเสนอเชงนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข
                  ้ ่
ด้านการควบคุมค่าใชจาย
1.                   ั                                               ่
     โรงพยาบาลสงก ัดกระทรวงสาธารณสุขให้บริการประชาชนเปนสวนใหญ่ แต่อ ัตรา
                                                              ็
     เรียกเก็บค่าร ักษาพยาบาลอยูในเกณฑ์ตา การปร ับเกณฑ์คาร ักษาพยาบาลใดๆ ต้อง
                                  ่         ่             ่
                                          ่       ิ               ึ่   ั
     ระม ัดระว ังการกระทบผูมาร ับบริการสวนใหญ่ในเชงคุณภาพ ซงสถานบริการสงก ัด
                              ้
     กระทรวงสาธารณสุขได้ร ับชดเชยค่าร ักษาในเกณฑ์ตาอยูกอนแล้ว
                                                     ่  ่ ่
2.                                     ้ ่                  ้
     สน ับสนุนมาตรการการควบคุมค่าใชจายร ักษาพยาบาล บนพืนฐานของการร ักษาทีม ี่
                                        ้
     มาตรฐาน บริการทีมคณภาพ การใชยาสมเหตุสมผล ไม่ลดสทธิ ดังนี้
                        ่ ี ุ                                   ิ
     1)       ้    ี                               ึ่
          ใชบัญชยาหลักแห่งชาติ โดยดารงไว ้ซงคุณภาพและปรับปรุงให ้สอดคล ้องสภาวะปั จจุบน ั
     2)                       ้
          การควบคุมค่าใชจ่ายผู ้ป่ วยนอกให ้เป็ นไปตามทีคณะกรรมการทีแต่งตังโดยกระทรวงการคลังกาหนด
                                                        ่           ่     ้
                          ่                                                  ่ ี ่    ้
          การควบคุมให ้เริมจากมาตรการน ้อยไปหามากเป็ นลาดับ โดยควบคุมยาทีมคาใชจ่ายสูงก่อน
     3)                                                                            ึ่
          เห็นชอบกับ MEDISAVE โดยขอให ้เรียกเป็ นกองทุนประกันสุขภาพบุคคล ซงเป็ นการนาหลักการออม
                     ้
          เงินเพือใชจ่ายดูแลสุขภาพเฉพาะสาหรับข ้าราชการใหม่ โดยต ้องปรับให ้เหมาะกับประเทศไทย
                 ่
     4)                                    ี่
          มีระบบป้ องกันผลกระทบความเสยงต่อความพึงพอใจการบริการของประชาชนต่อโรงพยาบาลภาครัฐ
          โดยกองทุนเป็ นผู ้ทาความเข ้าใจกับข ้าราชการ
     5)   การลดความเหลือมล้าระหว่างสทธิ
                            ่            ิ
     6)   อัตราการจ่ายค่ารักษาพยาบาลรายกลุมโรคควรเท่ากันในทุกระดับโรงพยาบาล
                                                 ่
้ ่
หล ักการจ ัดบริการเพือควบคุมค่าใชจายด้านสุขภาพ
                     ่
(1 SUPPLY SIDE : 2 DEMAND SIDE)
1. การมุงเน ้นควบคุมทีตวเงินงบประมาณภาครัฐ (1 SUPPLY SIDE) และ
        ่             ่ ั
                                         ี่
   กาหนดมาตรการกากับเรืองวัสดุยามีความเสยงต่อคุณภาพบริการและศรัทธา
                          ่
   บริการของประชาชนในโรงพยาบาลภาครัฐ (รพ.ชน2)   ั้
      ้
2. ใชหลักเกณฑ์เป้ าหมายและบริการสุขภาพทีพงประสงค์ของ WHOเป็ นตัว
                                            ่ ึ
   กาหนดการจัดระบบสุขภาพภายใต ้การสนับสนุนทางการเงินทีเหมาะสม แต่
                                                       ่
          ่ ้
   ไม่ใชใชการเงินเพือนาหรือจากัดระบบสุขภาพ
                    ่
                  ิ
3. การพัฒนาประสทธิภาพการบริหารงบประมาณและการบริการระบบบริการ(2
   DEMAND SIDE)ก่อน
            ิ
     1) ประสทธิภาพการบริหารงบประมาณโดยกองทุนต่างๆ
            ิ
     2) ประสทธิภาพการจัดบริหารจัดการระบบโรงพยาบาล
ิ
            ประสทธิภาพการบริหารงบประมาณ
                    โดยกองทุนต่างๆ
1. การลดความซ้าซอน หลากหลาย ให ้สอดคล ้องกลมกลืนทังสทธิประโยชน์
                  ้                               ้ ิ
   และอัตราชดเชย
2. การลดบทบาทผู ้จัดการระบบบริการ
     1. ให ้ความสาคัญเรือง Basic Coverage เป็ นลาดับแรกก่อน National Security
                        ่
          ้
     2. ใชกลไกทางการเงินผลักดันรูปแบบบริการเฉพาะแยกย่อยหลากหลาย รับประกัน
        โรคยากราคาแพง แต่ถั่วจ่ายบริการพืนฐาน
                                         ้


3.   การจัดสรรเงินแยกย่อยรายโรงพยาบาล ไม่สอดคล ้องกับการจัดบริการแบบ

     (Service Plan:กสธ)
ิ
ประสทธิภาพการจ ัดบริหารจ ัดการระบบโรงพยาบาล
1. การพ ัฒนาระบบบริการแบบเครือข่าย Network for Regional Healthcare
   Improvement
    1) Optimal Scale : ก้อนงบประมาณใหญ่พอต่อการปร ับเกลียจ ัดบริการทงเครือข่าย
                                                        ่           ั้
    2) จ ัดระบบบริการทีสอดคล้องปฐมภูมถงตติยภูมขนสูงภายใต้แนวคิด Eco Health &
                       ่             ิ ึ      ิ ั้
       Eco Service
    3) สน ับสนุนการจ ัดบริการร่วม PPP ลดการแข่งข ันแย่งลูกค้าก ันจนขาดทุน เปนเพิม
                                                                            ็   ่
       การแบ่งปันบริการร่วมก ันอยูรอดด้วยก ัน
                                  ่
2. การพ ัฒนาการบริหารคล ังและว ัสดุ
    1) National CPG
                             ี
    2) กรอบรายการมาตรฐานบ ัญชยาหล ัก
    3) การพ ัฒนาระบบต่อรองราคา : มาตรฐานราคาเดียว
    4) การพ ัฒนาระบบบริหารคล ัง : มาตรฐานคล ังเดียว
                                 ้ ่
3. การพ ัฒนารูปแบบการจ ัดสรรค่าใชจายด้านบุคลากรทีเหมาะสม P4P
                                                 ่
สสอ.


                        บริการ
                        ตติยภูม ิ                      UNIVERSAL COVERAGE
สสจ.
                                                        ACCESSIBILITY
                     บริการทุตยภูม ิ
                              ิ

       หน่วย                                               QUALITY

 สธ.    อืน
          ่          บริการปฐมภูม ิ                       SECURITY
เขต                    ภาครัฐ
                 สาธารณสุขมูลฐาน
                      ประชาชน
                      SELF CARE




                                    สถาน
              กรม.
                                     ึ
                                    ศกษา

                                       NGO
                                             ประก ัน
                                              อืนๆ
                                                ่
ผังเครือข่ายบริการเบ็ดเสร็ จไร้รอยต่อ
                                  LOCALIZE
                                  PRIMARY
                                    CARE



                                   SATELLITE
        FUNCTINAL                 OUT -PATIENT
                                                    CONTACTING UNIT
       SERVICE PLAN              CENTRALIZED       FOR REGIONAL CARE
        การจ ัดโครงสร้าง          IN-PATIENT
                                                                        ั
                                                  การปร ับการร ับพ ันธะสญญา
  เครือข่ายบริการรองร ับทุกโรค                     เปนเครือข่ายบริการระด ับ
                                                     ็
 ตอบสนองการบริการประชาชน                               ้ ่ ุ
                                                 เขตพืนทีสขภาพตามผ ังบริการ
          ิ             ้
และมีประสทธิภาพการใชทร ัพยากร    EXCELLENCE
                                   CENTER
การจ ัดบริการให้เกิดล ักษณะ
           FUNCTIONAL SERVICE PLAN
                                           3.จ ัดบริการผูปวยในที่
                                                         ้่
1.จ ัดบริการปฐมภูมทม ี
                  ิ ี่
                                           เปนศุนย์กลางมี
                                             ็
คุณภาพในชุมชนให้
                                           ทร ัพยากรบริการและ
ครอบคลุมทวถึง
            ่ั
                            LOCALIZE
                            PRIMARY
                              CARE
                                           บุคลากรเฉพาะที่
                             SATELLITE
                                           รวบรวมไว้อย่าง
                            OUT -PATIENT
                                           เพียงพอต่อบริการ
2.จ ัดบริการแบบผูปวย
                 ้่        CENTRALIZED
                            IN-PATIENT

นอกแบบไม่มเตียงผูปวย
               ี      ้่                   4.การจ ัดบริการ
ให้กระจายทวถึงเพือ
            ่ั      ่                      ระด ับสูง ในโรคทีม ี
                                                              ่
ปองก ันความหนาแน่น
 ้                         EXCELLENCE
                             CENTER                 ี่
                                           ความเสยงและมี
ของรพ.ร ักษาผป.ใน                          แนวโน้มสูงเพือความ
                                                         ่
                                           ปลอดภ ัยของผูปวย้่
• ประเมินตามบัญชีใช้จายภาพรวมต่ ากว่าจริง
                              ่
         • คานวณแยกหลายกองทุนต่อหัวเป็ นเบียหัวแตก
                                            ้
งบขาขึ้น • สานักงบตัดงบโดยลดอัตราให้บริการสวนทางบริการจริงทีมากขึน
                                                            ่ ้
       • มีการจัดการแยกย่อยมากมาย ยิงทาให้เกิดเบียหัวแตก
                                    ่           ้
งบขาลง • มีการจัดสรรรายรพ.โดยตรง งบรายหัวแตกต่าง๔๐๐-๑๒๐๐บาท

               • งบเหมาจ่ายปลายปิ ดเฉลียผลงาน รับภาระเสียง
                                       ่                ่
หน่วย          • กลไกชดเชยกลบความไม่เพียงพองบหลักประกัน
บริการ
          •เข้าถึงสิทธิหลากหลาย ขาดกลไกควบคุมจนหนาแน่นรพ. ขาดคุณภาพ
          •เหลือมล้าเข้าถึงบริการทีไ่ ม่เท่าเทียมด้วยปัจจัยการเงินรายรพ.ทีแตกต่าง
               ่                                                          ่
ประชาชน
1. ร ัฐมีขอจาก ัดและจาก ัดชองทางการเงินในระบบบริการทาให้
          ้                ่
                             ี่
     โรงพยาบาลมีความเสยงในการจ ัดบริการสุขภาพ
2.                        ี่                ้ ่
     การผล ักภาระความเสยงค่าใชจายจากกองทุนประก ันสุขภาพ
     ไปให้หน่วยบริการ
3.   อานาจอิสระทีขาดสมดุลจากกองทุนในการกาหนดหล ักเกณฑ์
                  ่
     จ ัดสรรภายในและระหว่างกองทุนทาให้เกิดความเหลือมลาใน     ่ ้
     การจ ัดบริการประชาชนทีมคณภาพ มีปญหาความเท่าเทียม
                                    ่ ี ุ             ั
     และเปนธรรม
           ็
4.                              ั ้               ้
     ระบบสุขภาพมีความซบซอนมากขึน มีหน่วยงานในและนอก
     กาก ับของกระทรวงสาธารณสุขทีหลากหลายเข้ามามีบทบาท
                                                ่
     ในระบบสุขภาพแต่ขาดเอกภาพบูรณาการ
5.                      ่              ้ ื้
     การดาเนินการในสวนของผูซอบริการทงภาคร ัฐและ         ้ั
     ภาคเอกชนอยูภายใต้กาก ับของกฎหมายหลายฉบ ับ รวมทงมี
                    ่                                            ั้
                      ่                             ่
     การดาเนินการทีไม่ประสานก ัน ในสวนของผูให้บริการภาคร ัฐ้
     และเอกชนต่างมีแนวทางในการทางานของตนเอง
แสดงระบบการเงินในประก ัน
สุขภาพเปนเพียง1ใน9ของ
        ็
องค์ประกอบระบบสุขภาพ

การพ ัฒนาโดยระบบประก ัน
               ้
สุขภาพโดยใชการเงินทีจาก ัด
                       ่
เปนต ัวนา ข ับเคลือนระบบสุขภาพ
  ็                ่
                 ่
เปนหล ัก นาไปสูการขาดความ
    ็
เข้มแข็งทียงยืนของระบบสุขภาพ
          ่ ่ั
ในประเทศไทย
ิ
สถานการณ์ปญหาการเงินเชงลึกในระบบบริการ
              ั
หล ักประก ันสุขภาพไทย
 1.     กองทุนUCจ ัดสรรค่าร ักษาให้ตากว่าราคาค่าร ักษาพยาบาลทีเรียก
                                        ่                         ่
        เก็บอย่างมาก (62.13%)
 2.     กองทุนUC จ ัดสรรแบบ Cost Controlled, Close Ended, Global
                           ่
        Budget นาเงินสวนหนึงไปจูงใจทางาน เมือผลงานเกินวงเงินใชการ
                               ่               ่                      ้
        ปร ับเกลีย
                 ่
 3.                                                     ่
        มีการชดเชยความไม่เพียงพอกองทุน UC ด้วยเงินสวนอืนและการ
                                                            ่
                   ่ ่
        ปร ับเกลียชวยเหลือความไม่เพียงพองบUCในระด ับจ ังหว ัด
 4.                    ่         ้ ่                          ้ ู
        รพศ./ท. มีสวนต่างค่าใชจายเรียกเก็บก ับรายร ับจริง(หนีสญ)จาก
        UC มากกว่ารพช.มาก และมีการชดเชยรายได้จริงจากnon UC ไป
          ่
        ชวยรพช.จานวนมาก กลบปัญหาเงินUC ไม่เพียงพอมาตลอด
 5.                                       ่
        รพศ/ท.หลายแห่ง จานวน 1/3 เชนอภ ัยภูเบศวร์,ตร ัง,พุทธเลิศหล้า,
        อินทร์บร ี ฯลฯทีเคยมีรายได้มนคงเกิดวิกฤตการเงินอย่างต่อเนือง
               ุ         ่           ่ั                             ่
             ่
        ในชวง10 ปี


                               ี                          ั
      หมายเหตุ : ข้อมูลจากบ ัญชบริหารหน่วยบริการ 832 แห่งสงก ัดสป.ปี 2553
NonUC ,
                                ้ ู
ARรายได้พงได้-รายได้ร ับจริง=หนีสญ
         ึ                                                       44,469 ,
                                                                                       UC ,
                                                                                     67,499
                                                                  40%
        ึ    ็                             ี
รายได้พงได้เปนราคาเรียกเก็บตามมาตรฐานบ ัญชราคา                                       , 60%
                  ิ               ั ่     ิ ์
มีการแยกเก็บตามสทธิร ักษาทีสะท้อนสดสวนรายสทธิได้
                              ่
                          ้ ู
ดีพบว่าภาพรวมทุกรพ.มีหนีสญจากกองทุน UC ถึง
25,563 ล้านบาท ในขณะทีกองทุน non UC เพียง
                        ่
1,424 ล้านเท่านน
               ั้


Non                                                                                UC ,
UC                                     1,424                        NonUC,       41,936
                                                                    43,045       , 49%
                                                                    , 51%




UC                                               25,563
                                                                  ล้านบาท
      -   10,000   20,000   30,000   40,000    50,000   60,000   70,000     80,000

                        NetIncome             I-R Different
               ี                           ั
 ข ้อมูลจากบัญชบริหารหน่วยบริการ 832 แห่ง สงกัดสป. ณ 30 กันยายน 2553
แสดงผลต่างรายได้พงได้กับรายได้รับจริง: ¾ ของหนี้สญ
                       ึ                              ู
 ทั้งหมด ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มรพศ.รพท. มูลค่า 18,994ลบ.
                                                             รพช.,
                                                            6,569,
                                                            25.70%     รพศ/ท.,
   non                                                                 18,994,
   UC                                                                  74.30%



    UC
                  Net Income        Loss

                 Receivable        36,630,464,244.11    33,298,478,498.77
                Net Income         17,636,015,908.08    31,011,587,697.18
                       Loss       -18,994,448,336.03    -2,286,890,801.59
                   % Grain          48.15                  93.13
                    % Loss          -51.85                 -6.87

ในขณะที่รายได้พงรับซึ่งเป็ นไปตามปริมาณให้บริการมีมลค่าใกล้เคียงระหว่างUCกับ
               ึ                                   ู
Non UC แต่รายได้รับจริงสุทธิ ส่วนใหญ่มาจาก non UC เกือบเท่าตัว
่
การชดเชย 6 ระบบสวนใหญ่จากรพศ/ท.
   :กลบปัญหาเงินกองทุนUCไม่เพียงพอ


   Adjust Prepaid     ่
                     สวนใหญ่รพศ/ท.      1,586.82
    Non UC Cross
                      ่
                     สวนใหญ่รพศ/ท.      1,671.98
      Subsidize
    Referral Debt     ่
                     สวนใหญ่รพศ/ท.        983.93
   Adjust Postpaid      ่
                     สวนใหญ่รพศ/ท.       118.73
   Labor Overload    Provider Staffs        ?
    I-R Difference        ่
                     สวนใหญ่รพศ/ท.      25,563.01
          Total                        >29,924.47
UC                                                                3%
                                                                             13%
ตามจ่ายUC
                3% 2% 7%              12,970
                                        MB               16,760        8%
        ั
เบิกต้นสงก ัด                                                                          36%
                11%                    ,31%               ,MB,     31%
                                                          40%
ขรก
                                72        12,408
        ั
ประก ันสงคม
                                %          MB ,                   3%
                                                                             12%
                                                                                        4%

พรบ.3                                      29%                                         3%
                                                                            8%         33%
                 2%
รง.ต่างด้าว 4%
                           9%
อืน ๆ
  ่                                                                34%
                14%
                                                                            11%             5%
                                67%
                                                                                        3%

         2%                                                              12%           34%
                 2%
          4%                                                       31%
                           9%
                                                                                             4%
                                                                                        3%
            16%                                                   10%
                                65%                                         8%
                                      NON                                               33%
                                                    UC
         2%                            UC          20,048                              8%
                                      22,091         MB
                                                                       35
           3%          13%              MB          48%                %
                                       52%
                9%                                                     2% 1%            3%
                                                                                  8%
                                54%
                14%                                                         17%        35%

                                                                       29%
                      3%                                                                     4%
                                                                                        4%
1. การจ ัดสรรตามรายห ัวโดยรวมเงินเดือน เปนสาเหตุให้เกิดความ
                                         ็
                                              ้ ่
   แตกต่างงบบริการและสถานบริการประสบปัญหาค่าใชจาย
2.กลไกการชดเชยมีความไม่เพียงพอ ทาให้มองไม่เห็นปัญหา
  การเงินแต่ได้สะสมและขยายต ัวรุนแรง
3.การจ ัดสรรเหมาจ่ายปลายปิ ด และมีการก ันเงินจานวนมากที่
  กองกลาง เปนกองทุนย่อย ทาให้งบบริการพืนฐานของหน่วย
             ็                           ้
  บริการไม่เพียงพอ
4. การทุมงบไปในงบหล ักประก ันสุขภาพถ้วนหน้า ทาให้งบโครงสร้าง
         ่
     ้
   พืนฐานลดน้อยลงอย่างมากและทาให้งบในการสงเสริมสุขภาพ
                                                  ่
   และปองก ันโรคไม่เพิม
       ้              ่
                                  ่ ้
5.ผูปวยในระบบหล ักประก ันสุขภาพเพิมขึนอย่างมาก ทาให้
    ้่
                                      ้
  เกิดการขาดแคลนบุคลากร และโครงสร้างพืนฐาน และงบประมาณ
  บริการ
NI &DEPRECIATION(ล้าน)
12,000


10,000

                                                                    7,837
 8,000
                                              UC
                                         เหลือค้างท่อ
 6,000                                                  5,179
         4,609                            18,000ล้าน                                  4,090
 4,000


 2,000


    0
         2551/Q4   2552/Q4     2553/Q2      2553/Q4     2554/Q2    2554/Q4           2555/Q2
-2,000             -1,246
                               -1,887
-4,000                                                                UC           UC
                                                                  เหลือค้างท่อ เหลือค้างท่อ
-6,000
                                             -4,692                4,200 ล้าน 260 ล้าน




  โดยกลไกการจัดสรรปี 2553 มีเงินค้างท่อจานวนมากส่งผลให้รพ.ขาดทุนอย่ างมาก
  การปรับกลไกการจัดสรรอย่างเร่งรัดทาให้การเงินปี 2554 ดีข้ ึนอย่างชัดเจน
Priorities in Health

                                    Two overarching themes:
           PURCHASER                Current resources can yield substantial
             บริการจ ัดการพิเศษ
           /เฉพาะโรคยากราคาแพง
                                    health gains if knowledge of cost-
                  45,438ล้าน
                                    effective interventions were applied
                                    more fully.
              ?                ?    Additional resources are needed in low-
                                    income countries to minimize the glaring
            PROVIDER                inequities in health care. Increased
                                    resources would provide highly-effective
                        ้
                บริการพืนฐาน
                                    interventions, expand research, and
                  OPD IPD PP
                                    extend basic health coverage to more
              1,289฿:53,829ล้าน
                   47ล้านคน
                                    people
                          ่
   การกันเงินจานวนมากเพือรองรับโรคราคาแพงปองกันการล้มละลายในครัวเรือนแต่จากัด
                                            ้
ค่าใช้จ่ายพื้นฐานในหน่วยบริการจนขาดสมดุลคุณภาพบริการประชาชนส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบ
                                                  Reference: http://www.dcp2.org/pubs/PIH
กรอบแนวคิดองค์การอนามัยโลกลดการจัดการเฉพาะโรค(OOP=objective
      Oriented Programs) เพือเพิมบริการสุขภาพที่ครอบคลุม
                               ่ ่
การจ ัดสรรตามรายห ัวล่วงหน้า
                                         ไม่รวมเงินเดือน
         อ ัตราต่อห ัว    อ ัตราต่อห ัวประชากร      อ ัตราต่อห ัวประชากร
 ปี งบ
          ประชากร               น้อยทีสด่ ุ               มากทีสด ่ ุ
ประมา
          เฉลียทง
               ่ ั้
  ณ                      อ ัตรา       จ ังหว ัด    อ ัตรา         จ ังหว ัด
            ประเทศ
2551        946.14       444.03    สมุทรสงคราม    1,207.17         น่าน
2552        958.57       413.47    สมุทรสงคราม    1,231.36     อุบลราชธานี
2553        986.32       430.07    สมุทรสงคราม    1,232.22     อุบลราชธานี
2554      1007.97        404.41    สมุทรสงคราม    1,134,33      พิษณุ โลก

แสดงความแตกต่างของการจ ัดสรรตามหล ักเกณฑ์กองทุนหล ักประก ันสุขภาพแห่งชาติ
ปชก.มาก/รพ.เล็ก/ ขรกในรพ..น้อย              ปชก.น้อย/รพ.ใหญ่/



จานวนปชก. ประเภทปชก.             ปริมาณงาน คุณภาพงาน
กลไกการจัดสรรตามรายหัวหักเงินเดือนจ่ายตรงไปยังหน่วยบริการ
แบบแยกย่อยขาดกลไกบริหารกลางเพือความเท่าเทียมและประสิทธิภาพ
                                 ่
 1. เกิดความแตกต่างค่าหัวรายหน่วยบริการอย่ างหลากหลายกระทบต่อความสามารถ
      จัดบริการ เกิดความแตกต่างจนปรากฏเป็ นความเหลื่อมล้าในประชาชนต่างพื้นที่กัน
 2.   เกิดความเหลื่อมล้าในสิทธิ สวัสดิการ ในการให้บริการของผูใ้ ห้บริการ กรณีงานหนักกว่าหรือ
      เท่ากัน แต่รายได้ต่อหัวน้อยได้รับผลตอบแทนอย่ างจากัด
 3.   การจ่ายตรงไปหน่วยบริการ ไม่สามารถบริหารภาพรวมทาให้มีข้อจากัดกีดกั้นการพัฒนา
                                                     ่
      อั ตรากาลัง ค่าจ้ างกรณีมีเหตุผลพร้อมในการเพิมอั ตรากาลัง แต่ไม่มีเงินจ้าง
 4.   เกิดลักษณะการแข่งขันที่ไม่เป็ นธรรมลักษณะมือใครยาวสาวได้สาวเอา และการกินหัวคิว เช่ น
      หน่วยบริการที่มีความพร้อมสามารถแย่งบริการเพือรับค่าชดเชยบริการอั ตราสูงพิเศษกรณี
                                                       ่
      ผ่าตัดต้อกระจก โรคไต ผ่าหัวใจ
 5.   การบริหารจัดการแบบแยกย่อย ทาให้ขาดประสิทธิ ภาพเชิงระบบบริหารร่วม จากการต่างคน
      ต่างซื้อ ต่างหา ในหน่วยที่มีรายรับจากการจัดสรรดีมีอานาจการใช้จ่ายและลงทุนอิ สระจนเกิน
      ความเหมาะสม ในขณะที่หน่วยได้รับจัดสรรน้อยเกิดการประหยั ดจนขาดแคลนคุณภาพ

ทั้งหมดเกิดจากความอคติในระบบที่ต้องการแยกหน่วยบริหารสนับสนุนออก
จากหน่วยบริการ และนาหน่วยบริการขึ้นตรงกับอานาจทางการเงินของกองทุน
การขาดบูรณาการศั กยภาพบริหารและงบประมาณนาไปสู่ความอ่ อนแอในระบบ
บริการสุขภาพของรัฐ ทั้งสร้างความเหลื่ อมล้าระหว่ างกองทุน หน่วยบริการ
และประชาชนมาอย่ างต่ อเนื่อง
อคคติระบบ แยกบริหารออกจากบริการ
                จ่ายแยกย่อยแยกหน่วยบริการแยกกันอยู่
1. เกลียดปลาไหล(กระทรวง)กินนาแกง(สสจ.สานักงานสาขาจังหวัด)
2. บทบาทสสจ.สานักงานสาขาจังหวัดเครืองมือสปสช.
                                          ่
3. บทบาทสาธารณสุขอาเภอหายไป ไปอยู่กบรพช.แทน ั
4. รพช.ฝื นศักยภาพและวัฒนธรรมบริการ ปี นรัวออกไปดูแลจัดการสถานีอนามัยในฐานะ
                                                ้
   เจ้าของเงินคู่สญญาหลักสปสช.สร้างระบบปฐมภูม ิ บนภาระทุตยภูมซงหนักมากอยู่ก่อน
                   ั                                             ิ ิ ึ่
   ยิงหนักมากขึน
     ่           ้
5. การจ่ายเงินตรงไปยังหน่วยบริการทาให้เกิดรัฐอิสระในรพช. แยกบริการแยกบริหาร ต่าง
   คนต่างเอาตัวรอด
6. ลูกเฉยๆกับพ่อ(กสธ)ทีไ่ ม่มเี งิน มารักแม่(สปสช.)ทีมเี งินให้ตลอด
                                                     ่
แยกส่วนบริหาร
                        ขาดความเป็ นเอกภาพ
    กสธ.                อุดมการณ์ที่สูญเสียไป
                         เผชิญปั ญหาโดดเดียว
                                          ่
    สปสช.                   ไม่ได้มองภาพรวม


      ั
     สงกัดอืน
            ่
                              บริการแออัด
                        เหลือมล้ าไม่เท่าเทียม
                            ่
                         ถูกปฏิเสธการรักษา
ผลกระทบต่อหน่วยบริการ
         และประชาชน       ไม่แน่ใจในคุณภาพ
 เสถียรภาพระบบสุขภาพทีจะยงยืนได้ตองมี
                          ่ ่ั        ้
                        ้
  ความสมดุลเหมือนเก้าอีสามขา ปัจจุบ ันมีขา
                     ี่
  หนึงทีออนแอลงจนเสยงต่อการทาให้เก้าอี้
     ่ ่ ่
  สุขภาพล้มลง
 ขา 1 ด้านประชาชนผูร ับบริการขยายใหญ่
                           ้
    ้
  ขึนด้วยการเข้าถึงบริการพร้อมมีความพึง
  พอใจอย่างมาก
 ขา 2 ด้านกองทุน ผูจ ัดการงบสุขภาพประสบ
                       ้
                         ิ
  ความสาเร็ จด้านประสทธิภาพการควบคุม
        ้ ่                    ิ
  ค่าใชจายพร้อมขยายสทธิประโยชน์ได้
                    ื่       ี
  หลากหลาย จนมีชอเสยงในเวทีโลก
 ขา 3 ด้านโรงพยาบาล ผูให้บริการภาคร ัฐ
                                 ้
  ประสบปัญหาวิกฤตการเงินและกาล ังคน
  ต้องรองร ับการขยายต ัวของขาที่ 1 และ 2
                 ่                 ี่
  มาตลอด จนอยูในภาวะอ่อนแอเสยงทีจะห ัก่
การพัฒนาคุณภาพ




     ระบบหลักประกันสุขภาพ
              FUNDs

             FINANCIAL
             STABILITY
        PROVIDER CUSTOMER
ความมันคงทางการเงินเพือสมดุลระบบสุขภาพ
      ่               ่




  ความเหลือมล้าในบริการสุขภาพ
          ่
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันโรคผิวหนัง (กรมการแพทย์)
 Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันโรคผิวหนัง (กรมการแพทย์) Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันโรคผิวหนัง (กรมการแพทย์)
Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันโรคผิวหนัง (กรมการแพทย์)nawaporn khamseanwong
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์หมอปอ ขจีรัตน์
 
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองการพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองThira Woratanarat
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหารา...
 Loadแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหารา... Loadแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหารา...
Loadแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหารา...nawaporn khamseanwong
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันโรคผิวหนัง (กรมการแพทย์)
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันโรคผิวหนัง (กรมการแพทย์)Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันโรคผิวหนัง (กรมการแพทย์)
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันโรคผิวหนัง (กรมการแพทย์)nawaporn khamseanwong
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์Utai Sukviwatsirikul
 
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานเงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานtepiemsak
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Tang Thowr
 

La actualidad más candente (20)

Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันโรคผิวหนัง (กรมการแพทย์)
 Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันโรคผิวหนัง (กรมการแพทย์) Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันโรคผิวหนัง (กรมการแพทย์)
Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันโรคผิวหนัง (กรมการแพทย์)
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
57 03หลักการขึ้นทะเบียน ขจีรัตน์
 
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองการพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหารา...
 Loadแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหารา... Loadแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหารา...
Loadแนวข้อสอบ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน กรมการแพทย์ สถาบันสุขภาพแห่งชาติมหารา...
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
สปสช.การบริหารAsthma&copd57
สปสช.การบริหารAsthma&copd57สปสช.การบริหารAsthma&copd57
สปสช.การบริหารAsthma&copd57
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันโรคผิวหนัง (กรมการแพทย์)
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันโรคผิวหนัง (กรมการแพทย์)Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันโรคผิวหนัง (กรมการแพทย์)
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันโรคผิวหนัง (กรมการแพทย์)
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
 
Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่
 
Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53) Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
 
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
 
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานเงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
 
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 

Destacado

จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53Yumisnow Manoratch
 

Destacado (7)

จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
 
นางรอง Kan
นางรอง Kanนางรอง Kan
นางรอง Kan
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu1
Clu1Clu1
Clu1
 
. .1.1_26_
 . .1.1_26_ . .1.1_26_
. .1.1_26_
 
ครอบครัว Thaismedu
ครอบครัว Thaismeduครอบครัว Thaismedu
ครอบครัว Thaismedu
 
3
33
3
 

Similar a วพบ นครราชสีมา๕๖

ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นKomsan Iemthaisong
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
Present msmc
Present msmcPresent msmc
Present msmchrmsmc
 
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีTuang Thidarat Apinya
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Healthmonsadako
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Jaratpan Onghununtakul
 

Similar a วพบ นครราชสีมา๕๖ (20)

ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง
7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง  7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง
7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
Present msmc
Present msmcPresent msmc
Present msmc
 
Utilization management
Utilization managementUtilization management
Utilization management
 
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
แพทย์
แพทย์แพทย์
แพทย์
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Health
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 

Más de กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์

ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยกรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 

Más de กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ (20)

พระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptxพระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptx
 
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 602 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์
 
เทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรีเทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรี
 
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวนการพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
วันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิวันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิ
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
เทคนิค
เทคนิคเทคนิค
เทคนิค
 
สรุปงานชมรม
สรุปงานชมรมสรุปงานชมรม
สรุปงานชมรม
 
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
 
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
 
Sup kan 57
Sup kan 57Sup kan 57
Sup kan 57
 
Intro kan57
Intro kan57Intro kan57
Intro kan57
 
Fte kan57
Fte kan57Fte kan57
Fte kan57
 
Hrd kan57
Hrd kan57Hrd kan57
Hrd kan57
 

วพบ นครราชสีมา๕๖

  • 1. การปฏิรูประบบการพยาบาลตาม นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้ วนหน้ า และการพัฒนาคุณภาพบริ การ กรรณิกา ปั ญญาอมรวัฒน์ 1
  • 2. พัฒนาการของพยาบาลเวชปฏิบัตในประเทศไทย ิ พยาบาลและพน ักงานชุมชนทีปฏิบ ัติงานใน ่ ท้องถินทีหางไกลและขาดแคลนแพทย์นน ่ ่ ่ ั้ จาเปนต้องทาหน้าทีในการตรวจวินจฉ ัย ให้การ ็ ่ ิ ้ ร ักษาโรคเบืองต้นและดูแลร ักษาผูปวยในยาม ้่ ฉุกเฉินมาโดยตลอด หรือ กล่าวได้วาเปนการ ่ ็ กระทาเกินบทบาทหน้าทีและย ังไม่มกฎหมาย ่ ี รองร ับ โดยไม่ได้ร ับการฝึ กห ัดอบรม อย่าง ถูกต้องมาก่อน
  • 3. การพยาบาล เป็ นวิชาชีพที่กระทา โดยตรงต่ อมนุษย์ ซึ่งมีผลต่ อความเป็ น ความตายของชีวิต สามารถแยกความ รับผิดตามลักษณะหรือบทบาทการ ทางานออกได้ 2 ลักษณะ คือ บทบาทอิสระ และ บทบาทไม่ อสระ ิ 3
  • 4. ความไม่ยงยืนของการผลิตพยาบาลเวชปฏิบ ัติ: ่ั บทเรียน 1. เปาหมายของการผลิตพยาบาลเวชปฏิบ ัติ คือ ้ ทดแทนการขาดแคลนแพทย์ ด ังนนการปฏิบ ัติงาน ั้ คือ “การทาแทนในบทบาทของแพทย์” มิใชเปน่ ็ การขยายบทบาทของพยาบาลเพือตอบสนองความ ่ ต้องการด้านสุขภาพของประชาชน
  • 5. ี 2. การขาดการสน ับสนุนจากองค์กรวิชาชพ ผูนา ้ ึ และน ักการศกษาพยาบาล เนืองจากกฎหมาย ่ ้ ้ มิได้เอือให้พยาบาลร ักษาโรคเบืองต้นได้อย่าง อิสระ 3. ขาดงานวิจ ัยสน ับสนุนผลล ัพธ์ของงานของ พยาบาลเวชปฏิบ ัติตอสุขภาพและคุณภาพชวต ่ ี ิ ของประชาชน เนืองจากเปนการทาแทนแพทย์ ่ ็ ผลล ัพธ์จงเปนของแพทย์ ึ ็
  • 6. 4. ได้ร ับการสน ับสนุนน้อยมากจาก ึ ึ สถาบ ันการศกษา สถาบ ันการศกษาผลิตผู ้ ปฏิบ ัติการพยาบาลขนสูงในประเภท ั้ ้ ี่ ึ่ ็ ผูเชยวชาญ ซงเปนการปฏิบ ัติก ับผูปวย ้่ ้ ้ ผูใชบริการในโรงพยาบาล แม้วาจะมีการ ่ พยาบาลชุมชน แต่ขอบเขตการปฏิบ ัติงานไม่ ั ชดเจน 5. ไม่มระบบรองร ับตาแหน่ง เปนตาแหน่ง ี ็ พยาบาลทวไป่ั
  • 7. การขับเคลือนของสภาการพยาบาล ่ ี พระราชบ ัญญ ัติวชาชพการพยาบาลและการผดุง ิ ครรภ์ พ.ศ. 2528 และทีแก้ไขเพิมเติมโดย ่ ่ ี พระราชบ ัญญ ัติวชาชพการพยาบาลและการผดุง ิ ครรภ์ (ฉบ ับที่ 2) พ.ศ. 2540 มาตรา 4 (3) การกระทาการตามวิธทกาหนดไว้ ี ี่ ้ ในการร ักษาโรคเบืองต้น การให้ภมคมก ันโรค ู ิ ุ้ และการวางแผนครอบคร ัว
  • 8. สภาการพยาบาลก ับยุทธศาสตร์ การข ับเคลือน ่ ่ 1. การมีสวนร่วมในการสร้างองค์ความรู ้ ่ 2. การมีสวนร่วมในการพ ัฒนานโยบาย ด้านสุขภาพ ของประเทศ ่ 3. การมีสวนร่วมในการปร ับระบบบริการสุขภาพ ี 4. การดาเนินการให้ผประกอบวิชาชพการพยาบาล ู้ ี และการผดุงครรภ์ สามารถบริการวิชาชพได้อย่าง อิสระ และมีกฎหมายคุมครอง ้
  • 9. 5. การกาก ับคุณภาพงานบริการ ั 6. การพ ัฒนาศกยภาพพยาบาลชุมชน (Capacity Building)
  • 10. การดาเนินการให้ผประกอบวิชาชพ ู้ ี การพยาบาล/ผดุงครรภ์ สามารถบริการ ี วิชาชพได้อย่างอิสระและมีกฎหมาย คุมครอง ้ ี การดาเนินการให้ผประกอบวิชาชพการ ู้ ี พยาบาล/ผดุงครรภ์ สามารถบริการวิชาชพได้ อย่างอิสระและมีกฎหมายคุมครอง ้
  • 11.
  • 12.
  • 13. ี เสนทางอาชพพยาบาล ่ ่ • พยาบาลปฏิบ ัติการ มุงสูความชานาญและ ี่ เชยวชาญ ใน ระด ับทุตยภูม ิ ตติยภูมศนย์ความ ิ ิ ู เปนเลิศ (APN) ็ • การพยาบาลเวชปฏิบ ัติในชุมชน (NP) ี • ผูบริหารการพยาบาลมืออาชพ ้ (Nurse manager)
  • 14. การพัฒนาศักยภาพของทีมการพยาบาล • พยาบาลทั่วไป • ผู้ช่วยพยาบาล • ผู้ปฏิบตการพยาบาลขันสูง หรื อผู้เชี่ยวชาญใน ั ิ ้ ระดับทุตยภูมิ และตติยภูมิ ิ • พยาบาลเวชปฏิบตในปฐมภูมิ ั ิ • ผู้บริ หารจัดการทางการพยาบาลมืออาชีพ •อาจารย์ พยาบาล/นักวิจัย
  • 15. พยาบาลชุมชน พยาบาลใน พยาบาลเวชปฏิบติ ั โรงพยาบาล
  • 16. บทบาทอิสระ ต้ องรับผิดชอบในผลของการ กระทานันโดยตรงด้ วยตนเอง เช่ น การ ้ ตรวจวินิจฉัยและรั กษาโรคเบืองต้ น ้ การพยาบาลเพื่อบรรเทาความเจ็บป่ วย การทาคลอด การปฐมพยาบาล การ ให้ วัคซีนปองกันโรค ้ 16
  • 17. บทบาทไม่ อิสระ การกระทาไปตามแผนการรักษาหรื อคาสั่งการ รั กษาของแพทย์ เช่ น การให้ ยาแก่ ผ้ ูป่วยตาม คาสั่งการรั กษาของแพทย์ การช่ วยแพทย์ กระทาการรั กษาโรคด้ วยการผ่ าตัด ซึ่งแยกได้ 2 กรณี คือ  ไม่ ต้องรั บผิด หากกระทาโดยมีแพทย์ ซ่ ง ึ เป็ นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมเป็ นผู้ควบคุม 17
  • 18. บทบาทไม่ อสระ (ต่ อ) ิ  ต้ องรั บผิดหากผลที่เกิดขึนนันอยู่ในระดับความ ้ ้ รั บผิดชอบตามระดับความระมัดระวัง ตามภาวะ วิสัย และพฤติการณ์ ท่ พยาบาลควรจะต้ องมี เช่ น แพทย์ ี สั่งยาเพื่อรั กษาผู้ป่วย แต่ พยาบาลได้ นายาที่แพทย์ ส่ ัง ไว้ นันไปให้ แก่ ผ้ ูป่วยเกินขนาด หรื อ ผิดทางที่ต้องให้ ้ หรือให้ ผิดคน หรือให้ ผิดเวลา หรื อให้ ผิดวิธี แล้ วเป็ น ผลให้ ผ้ ูป่วยได้ รับความเสียหายจากการกระทานัน ้ 18
  • 19. กฎหมายที่มีผลต่อการพยาบาล • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 80 (2) • พระราชบัญญัติส ุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 47 • พระราชบัญญัติหลักประกันส ุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 5 • พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผด ุง ครรภ์ พ.ศ. 2528 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2540
  • 20. หลักประกันสุ ขภาพถ้ วนหน้ าคืออะไร “หลักประกันสุ ขภาพถ้ วนหน้ า” หมายถึง สิ ทธิของประชาชน ไทยทุกคนทีจะได้ รับบริการสุ ขภาพทีมีมาตรฐานอย่ างเสมอหน้ า ่ ่ ด้ วยเกียรติ ศักดิ์ศรีที่เท่ าเทียมกัน โดยทีภาระด้ านค่ าใช้ จ่ายไม่ เป็ น ่ อุปสรรคทีเ่ ขาจะได้ รับสิ ทธิน้ัน
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36. นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพ ัฒน์ ปล ัดกระทรวงสาธารณสุข 9 ตุลาคม 2555 CHANGE
  • 37.
  • 38.
  • 40. 1. หน่วยบริการกว่า 50% ประสบปัญหา ขาดสภาพคล่องทางการเงิน ้ ่ 2. พฤติกรรมการใชบริการ การสงต่อ เปลียนไป ่ ้ ่ 3. ข้อมูลการเฝาระว ัง การสงเสริมปองก ัน ้ โรค ในประชาชน ไม่ได้ตามเกณฑ์
  • 41. WARNING SIGNS 1. ่ ้ งบ UC เหมาจ่ายรายห ัวไม่เพิมขึนในปี 2555,2556 2. การจ ัดสรรเงิน pre paid ให้หน่วยบริการลดลง 3. เงินค้างท่อ เริมลดลง เหลือน้อย....ไม่ม ี ่ 4. ่ ้ รายจ่ายเพิมขึน(ค่าครองชพ,เงินเดือนค่าตอบแทน) ี 5. จานวน รพ. ที่ FAI Risk score = 7 มากขึน ้ 6. เงินบารุงของหน่วยบริการ(หล ังห ักภาระหนีสน)้ ิ ลดลง
  • 42. เปรียบเทียบกรอบวงเงินรายการย่ อยของงบอัตราเหมาจ่ ายรายหัวปี 2556-ที่จะได้ รับกับปี 2555 ปี 2555 ปี 2556 +/- ขาลง56 ประเภทบริการ [ได ้รับมติ กก.หลัก [เสนอขาลง] กับ 55 ฯ] 1. บริการผู ้ป่ วยนอกทั่วไป 971.51 983.49 11.98 2. บริการผู ้ป่ วยในทั่วไป 972.17 975.85 3.68 3. เพิมสาหรับหน่วยบริการทีมต ้นทุนคงทีสง ่ ่ ี ่ ู 60.99 60.99 - ่ ี ่ ้ 4. บริการทีมคาใชจ่ายสูง/อุบัตเหตุ เจ็บป่ วยฉุกเฉิน/ ิ 269.04 262.10 (6.94) บริการกลุมโรคทีมปัญหาการเข ้าถึง ่ ่ ี 5. บริการสร ้างเสริมป้ องกัน (P&P) 313.70 313.70 - 6. บริการฟื้ นฟูสมรรถภาพ 12.88 12.88 - 7. บริการแพทย์แผนไทย 7.20 7.20 - ่ื 8. งบค่าเสอม 141.50 128.69 (12.81) ่ 9. งบสงเสริมคุณภาพผลงานบริการ 4.76 4.76 - ่ 10. เงินชวยเหลือเบืองต ้นตามมาตรา 41 ้ 1.10 5.19 - ่ 11. เงินชวยเหลือเบืองต ้นผู ้ให ้บริการ ้ 0.75 0.75 - รวม 2,755.60 2,755.60 - ่ ่ หมายเหตุ: งบอัตราเหมาจ่ายรายหัว ไม่รวมค่าแรงสวนเพิมจากนโยบายรัฐบาล และค่าตอบแทนสวนเพิมตามประกาศของ สป.สธ. ่ ่
  • 43. แสดงผลประกอบการปี 2551-2555 Q3 กาไร(รพ.) , 336, 10,000 40% ขาดทุน 5,239ล ้าน 7,837 (รพ.), 8,000 496, 60% 4,506ล ้าน 6,000 5,188 5,066 4,609 4,090 4,000 2,983 2,000 1,534 733 0 2551/Q4 2552/Q4 2553/Q1 2553/Q2 2553/Q3 2553/Q4 2554/Q1 2554/Q2 2554/Q3 2554/Q4 2555/Q1 2555/Q2 2555/Q3 -2,000 -1,246 -1,705 -1,887 -4,000 -3,096 -4,692 -6,000 ้ แสดงให้เห็นในปี 2553 ปัญหาการจ ัดสรรงบหล ักประก ันล่าชาจากการทีม ี ่ หมวดย่อยหลากหลายทาให้มเงินเหลือค้างท่อจานวนมาก เมือมีการเร่งร ัด ี ่ ั จ ัดสรรทาให้ผลประกอบการภาพรวมของหน่วยบริการสงก ัดสป.สธ.มีกาไร จนไตรมาส 3 ปี 2555 แต่พบว่ามีรพ.ทีขาดทุนมีมากกว่า(60%)เข้าล ักษณะ ่ รวยกระจุกจนกระจาย
  • 44. ั ่ แสดงงบหล ักประก ันสุขภาพถ้วนหน้าทงหมดเทียบสดสวนก ับ ั้ ั ่ ค่าแรงประเภทต่างๆทีแยกสดสวนเฉพาะบริการUC ่ หน่ วย:ล้ านบาท ปี 56 เป็ นค่ าประมาณการ 160,000 ่ สวนดาเนินการ ่ สวนค่าตอบแทน 140,000 ่ ั่ สวนจ ้างชวคราว ่ สวนเงินเดือน 133,186 133,495 120,000 รวมเหมาจ่ายรายหัว 101,058 100,000 89,385 80,598 81,190 79,820 76,599 80,000 53,402 41,895 60,000 38,495 39,488 13,763 14,589 40,000 10,213 13,562 13,164 7,919 6,268 6,905 7,319 3,807 4,423 5,344 20,000 25,385 27,467 28,584 28,223 31,328 31,767 0 2551 2552 2553 2554 2555 2556 เมือสะท ้อนภาพงบหลักประกันสุขภาพทีมากขึนมาตลอดสอดคล ้องกับการมีผู ้มารับบริการ ่ ่ ้ มากขึนทุกปี อย่างรวดเร็ว(ผป.นอกเพิมจากปี 2545จานวน80 ล ้านครัง เป็ น150 ล ้านครังใน ้ ่ ้ ้ ปี 2554) แต่อัตราเงินเดือนเพิมน ้อยมาก อันแสดงถึงจานวนขรก.สธ.ไม่ได ้เพิมตามอย่าง ่ ่ ั ่ เป็ นสดสวน ทาให ้มีภาระต ้องจ ้างลูกจ ้างและจัดสรรOT มากขึนเพือชดเชยอัตรากาลังทีขาด ้ ่ ่
  • 45. จานวนโรงพยาบาลทีมวกฤตระด ับ 7 ่ ี ิ ตงแต่ปี 2552-2555 Q3 ั้ 180 170 160 รพศ.NoTrain 142 140 131 รพศ.&Train 120 108 รพท. 400+ 95 รพท. 300 - 400 100 89 รพท. -300 80 รพช. 90+ 60 รพช. 90 40 รพช. 60 รพช. 30 20 1 รวม 0 52Q4 53Q2 53Q4 54Q2 54Q4 55Q2 55Q3 ิ ประเมินประสทธิภาพจากต้นทุนปี 55Q3 จานวนรพ.ในระด ับ7 กลุมต้นทุนผป.นอกและผป.ในตากว่าค่าเฉลีย ่ ่ ่ 42 กลุมต้นทุนผป.นอกและผป.ในสูงกว่าค่าเฉลีย ่ ่ 89 การและเร่งร ัดจ ัดสรรงบหล ักประก ันสุขภาพไม่สามารถแก้ปญหาการเงินในสวน ั ่ ี่ ็ ่ ึ่ ใหญ่ทเปนกลุมโรงพยาบาลระด ับรพช. ซงปรากฏแม้ภาพรวมมีกาไรแต่รพช.ใน ้ ่ ้ ึ่ ิ กลุมวิกฤตระด ับ7 กล ับมีมากขึน ถึงแม้ในกลุมนีจะมี 42 รพ.ซงมีประสทธิภาพ ่ บริหารต้นทุนตาก็ย ังประสบภาวะวิกฤตระด ับ7 ่
  • 46. ้ ิ เงินบารุงคงเหลือ (ห ักภาระหนีสน) ั ของหน่วยบริการ สงก ัด สป สธ. ไตรมาส3/2555 9.37 ไตรมาส2/2555 16.53 ปี งบ2555 ไตรมาส1/2555 13.84 ไตรมาส4/2554 12.78 ไตรมาส4/2554 ไตรมาส3/2554 14.17 จ่ายเงินค้างท่อ ไตรมาส2/2554 35.85 ไตรมาส1/2554 ไตรมาส1/2554 15.06 ปี งบประมาณ 2553 7.15 ปี งบประมาณ 2552 11.99 18.67 ปี งบประมาณ 2551 15.06 ปี งบประมาณ 2550 พ ันล้านบาท 0.00 5.00 10.00 15.00 20.00 25.00 30.00 35.00 40.00
  • 47. ข้ อมูลจาก นพ.บัญชา ค้ าของ 1. การจ ัดสรรตามรายห ัวโดยรวมเงินเดือน เปนสาเหตุให้เกิด ็ ้ ่ ความแตกต่างงบบริการและสถานบริการประสบปัญหาค่าใชจาย 2. กลไกการชดเชยมีความไม่เพียงพอ ทาให้มองไม่เห็นปัญหา การเงินแต่ได้สะสมและขยายต ัวรุนแรง 3. การจ ัดสรรเหมาจ่ายปลายปิ ด และมีการก ันเงินจานวนมากที่ กองกลาง เปนกองทุนย่อย ทาให้งบบริการพืนฐานของหน่วย ็ ้ บริการไม่เพียงพอ 4. การทุมงบไปในงบหล ักประก ันสุขภาพถ้วนหน้า ทาให้งบโครงสร้าง ่ ้ พืนฐานลดน้อยลงอย่างมากและทาให้งบในการสงเสริมสุขภาพ ่ และปองก ันโรคไม่เพิม ้ ่ ่ ้ 5. ผูปวยในระบบหล ักประก ันสุขภาพเพิมขึนอย่างมาก ทาให้ ้่ ้ เกิดการขาดแคลนบุคลากร และโครงสร้างพืนฐาน และงบประมาณ บริการ
  • 49.
  • 50. ภายใต้แผนพ ัฒนาด ังกล่าวข้างต้น ประกอบด้วย โครงการ ด ังนี้ 1. โครงการทบทวนการกาก ับดูแล (Regulator) การบริหารจ ัดการกองทุนหล ักประก ันสุขภาพ แห่งชาติ 2. โครงการพ ัฒนากระบวนการทางานร่วมก ัน อย่างสร้างสรรค์ ก ับองค์กรด้านสุขภาพ/ภาคี ่ ่ ทุกภาคสวน เพือนาไปสูความเปนเจ้าของระบบ ่ ็ ร่วมก ัน (ownership) (เริมต้นโครงการย่อย “กองทุนบูรณาการ ่ สร้างเสริมสุขภาพและบริบาลประชาชน” P&P ตามนโยบายท่านปล ัดฯ) 3. แผนพ ัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
  • 51. 4. โครงการบูรณาการระบบบริการ 3 กองทุน ั เพือพ ัฒนาศกยภาพการจ ัดเก็ บรายได้ให้ม ี ่ ิ ประสทธิภาพ 5. โครงการทบทวนระบบการเงินการคล ังของ ิ หน่วยบริการให้มประสทธิภาพ ี 6. โครงการพ ัฒนาระบบฐานข้อมูลกลางใน ื่ ระบบบริการของสาธารณสุข ให้เชอมโยง ้ และใชประโยชน์รวมก ันทุกกองทุน ่ (National standard programme and data set)
  • 52. นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพ ัฒน์ ปล ัดกระทรวงสาธารณสุข ตุลาคม 2555 MOPH & NHSO Harmonized P&P Model 2013
  • 53. ข้อเสนอการบริหารงบหมวดขาลง ของ สธ ต่อ สปสช. หล ักการ 1. เปนการเริมต้น ของ การบูรณาการการ ็ ่ ทางาน ระหว่าง Purchaser vs Provider 2. เปนการบริหารงานร่วมก ัน ตงแต่การกาหนด ็ ั้ เปาหมาย การรวบรวมข้อมูล และประเมินผล ้ 3. สปสช. ทาหน้าทีดแลจ ัดสรรงบประมาณ ่ ู ตามที่ สธ สรุป และ External audit ้ ี ่ 4. สธ ปร ับบทบาท เปนผูมสวนร่วมในการ ็ กาหนดนโยบาย ควบคุมกาก ับ และ Internal audit 5. การบริหารงบประมาณ เปนหน้าทีของ ็ ่ เครือข่ายบริการสุขภาพทง 12 เขต ั้ ่ 6. สงเสริมให้ Customer มีสวนร่วม ่
  • 54. กิจกรรมทีเสนอดาเนินการร่วมก ัน ่ 1. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและปองก ันโรค ้ ทงหมด ยกเว้นกองทุน อปท ั้ 2. กองทุนบริการการแพทย์แผนไทย 3. กองทุนบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ 4. กองทุนบริการควบคุม ปองก ัน และร ักษา ้ ้ โรคเรือร ัง 5. กองทุนบริการผูปวยในทวไป ้่ ่ั 6. งบ OP สน ับสนุนปฐมภูม ิ 37บาท 7. Cost Function การปร ับเกลียเงินให้รพ. ่
  • 55. ข้อสรุปจากการประชุมร่วม ระหว่าง สธ และ สปสช. 4 ตุลาคม 2555 1. ทง สธ และ สปสช. ยอมร ับในหล ักการ ั้ 2. กิจกรรมทีเริมดาเนินการในปี งบฯ 2556 ่ ่ ได้แก่ 1) กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและปองก ันโรค ้ ทงหมด ยกเว้นกองทุน อปท ั้ 2) กองทุนบริการการแพทย์แผนไทย 3) กองทุนบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้าน การแพทย์ 4) กองทุนบริการควบคุม ปองก ัน และร ักษา ้ ้ โรคเรือร ัง 5) กองทุนบริการผูปวยในทวไป ้่ ่ั
  • 56. ข้อสรุปจากการประชุมร่วม ระหว่าง สธ และ สปสช. 4 ตุลาคม 2555 3. งบ OP สน ับสนุนปฐมภูม ิ 37บาท สปสช.ขอ พิจารณาอีกครง ั้ 4. Cost Function การปร ับเกลียเงินให้รพ. ่ สปสช. ขอพิจารณาข้อมูลว่า evidence มี เท่าไร สาเหตุคออะไร ื 5. จะมีการประชุมร่วมก ันอย่างเปนทางการ ็ อีกครง โดย สธ เตรียมทาแผนและรูปแบบ ั้ นาเสนอ 6. สธ ทบทวนและเตรียมกาหนด strategic plan Line up ผูร ับผิดชอบ การควบคุมกาก ับให้ได้ ้ ตาม KPI ทีตกลงก ัน รวมทง risk ่ ั้ management และ internal audit
  • 57. ข้อสรุปจากการประชุมร่วม ระหว่าง สธ และ สปสช. 4 ตุลาคม 2555 ้ 7. ในเบืองต้นทีประชุม มีมติให้ สปสช. ่ ดาเนินการเรือง cash flow 25% ไปก่อน ่ 8. การทา External audit ทีประชุมเสนอให้ ่ ้ ิ สปสช. ใชวธ ี outsource 9. การรายงานข้อมูลจะมีการทบทวนวิธการ ี โดย สธ จะนาเสนอทางเลือกทีลดภาระงาน ่ ของหน่วยบริการให้มากทีสด ่ ุ 10.สปสช. เห็นชอบในหล ักการ ที่ สธ เสนอให้ ตงคณะทางานจาก สธ เพิมเติมในคณะ ั้ ่ อนุกรรมการพ ัฒนาระบบการเงินการคล ัง ของ สปสช. เพือให้กลไกการข ับเคลือน ่ ่ ต่อเนืองทง 2 ฝาย ่ ั้ ่
  • 58. การจ ัดสรรเงินกองทุน UC ให้หน่วยบริการ ภาคร ัฐ นอก สป สธ ภาคร ัฐ ใน + เอกชน สป สธ
  • 59. Brain Internal & stroming Negotiation External audit เขต 1 เขต กทม (KPI 1) เขต 2 (KPI 13) (KPI 2) National program : เขต 12 เขต 3 สวรส : Feasibility ลดภาระ รายงานข้อมูล (KPI 12) (KPI 3) study และ KPI เขต 11 สธ เขต 4 (KPI 11) (Strategy/Regulator) (KPI 4) Control & Monitoring สปสช Service plan เขต 10 (จ่ายเงิน) เขต 5 (KPI 10) (KPI 5) Implement เขต 9 เขต 6 (KPI 9) (KPI 6) จัดทัพขุนพล เขต 8 เขต 7 (KPI 8) (KPI 7) กรม ต่างๆ : internal Leadership audit ,สนับสนุ นวิชาการ training program
  • 60. งบหล ักประก ันสุขภาพปี 2556 1. งบพิจารณาโดยสาน ักงบประมาณ 2755 2. ื้ ควบคุมงบประมาณโดยซอยารวม การลดต้นทุน โดยเฉพาะกลุมโรค ่ เข้าถึงยาก สามารถลดได้ 5-6% ในกลุม Dz Mx นากล ับไปผป. ่ ่ ้ นอกใน แต่ ม.41 เพิมขึนตามมติบอร์ด 4 บาททีเพิมกาหนดไม่ให้ ่ ่ exposure มาก NGO ขอมา 3. เพิมให้ผป.นอกใน มาก คิดว่า operation เปนไปได้ 6.94 ่ ็ ิ ้ ่ื ประสทธิภาพใชยา ทีลดจริงคือค่าเสอม ่ 4. ชดเชยมีงบลงทุนเพิม และเก็บ30 บาท ่
  • 61. ้ ข้อสงเกตเรืองมูลค่าการใชยา ่ การบริโภคยาในประเทศ ระหว่างปี 2543-2551 เติบโต 111.0%  ควรประเมินยาทีบริการโดยรพ.ร ัฐ สป เอกชน มหาวิทยาล ัย ่ ึ ี  จากการศกษาของกรมบ ัญชกลางโดยสวปก. จากโรงพยาบาล 31 ั แห่ง มีโรงพยาบาลสงก ัดกระทรวงสาธารณสุข 16 แห่ง(จาก 880 ี ั ่ ้ ี ่ แห่ง) แต่มสดสวนการใชยานอกบ ัญชยาหล ักราคาแพงเปนสวนน้อย ็ เพียง 2,105 ล้านบาท (21%) จากทงหมด 10,040 ล้านบาท ั้ ั ้ โรงพยาบาลสงก ัดอืน 15 แห่ง ใชยาด ังกล่าว 7,935ล้านบาท (79%) ่
  • 62. ้ ่ ข้อเสนอแนวคิดการควบคุมค่าใชจายยา รายการต้นทุน 2552 2553 2554 ต้นทุนค่าร ักษาพยาบาล ต ้นทุนยา -22,429.01 -25,105.97 -25,273.99 ิ ่ ต ้นทุนเวชภัณฑ์มใชยาและวัสดุการแพทย์ -7,590.72 -9,206.17 -10,015.33 ต ้นทุนวัสดุวทยาศาสตร์การแพทย์ ิ -4,781.54 -5,561.42 -6,194.37 รายการต้นทุน 2552 2553 2554 ค่าแรงบุคลากร เงินเดือนและค่าจ ้างประจา(รวม) -34,348.20 -37,082.06 -39,748.93 ่ ค่าจ ้างชัวคราว(รวม) -7,460.32 -8,907.14 -10,447.12 ค่าตอบแทน(รวม) -17,199.24 -22,603.37 -21,940.40 ้ ่ หมวดใชจาย ร้อยละเพิมจากปี 2551 ่ เงินเดือนและค่าจ ้างประจา(รวม) 15.72 ่ ค่าจ ้างชัวคราว(รวม) 40.04 ค่าตอบแทน(รวม) 27.57 ต ้นทุนยา 12.68 ต ้นทุนเวชภัณฑ์มใช่ยาและวัสดุการแพทย์ ิ 31.94 ต ้นทุนวัสดุวทยาศาสตร์การแพทย์ ิ 29.55
  • 63. ้ ่ ค่าใชจายทีเหมาะสมของร ัฐ ่ เพือความเปนธรรมต่อคุณภาพบริการ ่ ็ ้ ่ ั 1. ค่าใชจายด้านยาในรพ.สงก ัดสป.มีรอยละการเพิมไม่มาก โดยค่าแรง ้ ่ เพิมมากกว่า ในขณะทีมปญหาขาดแคลนกาล ังคนจากภารกิจบริการ ่ ่ ี ั ่ ้ ในประชาชนสวนใหญ่ทมากขึน ข้อเสนอควรทบทวนมาตรการเรือง ี่ ่ ยาในรพ.ร ัฐ อาจกระทบคุณภาพได้มาก ้ ่ 2. ค่าใชจายทีมแนวโน้มเพิมอย่างมากในปัจจุบ ันคือค่าแรงบุคลากร การ ่ ี ่ ้ ่ กาหนดนโยบายด้านบุคลากรและค่าใชจายทีเหมาะสมจะเปนสวน ่ ็ ่ สาค ัญในความสมดุลระหว่างคุณภาพก ับค่าใชจาย้ ่ ้ ่ 3. ค่าใชจายทีเหมาะสมของร ัฐเพือความเปนธรรมต่อคุณภาพบริการ ่ ่ ็ ประชาชนคือ ทางออกทีควรพิจารณา ่ ้ ่ 1) ร ัฐประเมินค่าใชจายทีเหมาะสมด้วยอ ัตราทีจะสามารถจ ัดเก็บภาษีได้ ่ ่ 2) ร ัฐกาหนดคุณภาพบริการด้วยมาตรฐานการร ักษาทีกาหนด (CPG) ่ 3) ร ัฐกาหนดให้หน่วยบริการตามมาตรฐานทารายงานต้นทุนมาตรฐานเพือเสนอ ่ พิจารณา ่ 4) พิจารณาสวนขาดระหว่างงบทีร ัฐพึงมี ก ับต้นทุนมาตรฐาน หากเกินให้ต ัดลด ่ ่ งบประมาณตามสวน หากขาดกาหนดการระดมทุนในรูปแบบต่างๆ เชน การร่วม่ จ่าย การประก ันล่วงหน้า
  • 64. ิ ข้อเสนอเชงนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ้ ่ ด้านการควบคุมค่าใชจาย 1. ั ่ โรงพยาบาลสงก ัดกระทรวงสาธารณสุขให้บริการประชาชนเปนสวนใหญ่ แต่อ ัตรา ็ เรียกเก็บค่าร ักษาพยาบาลอยูในเกณฑ์ตา การปร ับเกณฑ์คาร ักษาพยาบาลใดๆ ต้อง ่ ่ ่ ่ ิ ึ่ ั ระม ัดระว ังการกระทบผูมาร ับบริการสวนใหญ่ในเชงคุณภาพ ซงสถานบริการสงก ัด ้ กระทรวงสาธารณสุขได้ร ับชดเชยค่าร ักษาในเกณฑ์ตาอยูกอนแล้ว ่ ่ ่ 2. ้ ่ ้ สน ับสนุนมาตรการการควบคุมค่าใชจายร ักษาพยาบาล บนพืนฐานของการร ักษาทีม ี่ ้ มาตรฐาน บริการทีมคณภาพ การใชยาสมเหตุสมผล ไม่ลดสทธิ ดังนี้ ่ ี ุ ิ 1) ้ ี ึ่ ใชบัญชยาหลักแห่งชาติ โดยดารงไว ้ซงคุณภาพและปรับปรุงให ้สอดคล ้องสภาวะปั จจุบน ั 2) ้ การควบคุมค่าใชจ่ายผู ้ป่ วยนอกให ้เป็ นไปตามทีคณะกรรมการทีแต่งตังโดยกระทรวงการคลังกาหนด ่ ่ ้ ่ ่ ี ่ ้ การควบคุมให ้เริมจากมาตรการน ้อยไปหามากเป็ นลาดับ โดยควบคุมยาทีมคาใชจ่ายสูงก่อน 3) ึ่ เห็นชอบกับ MEDISAVE โดยขอให ้เรียกเป็ นกองทุนประกันสุขภาพบุคคล ซงเป็ นการนาหลักการออม ้ เงินเพือใชจ่ายดูแลสุขภาพเฉพาะสาหรับข ้าราชการใหม่ โดยต ้องปรับให ้เหมาะกับประเทศไทย ่ 4) ี่ มีระบบป้ องกันผลกระทบความเสยงต่อความพึงพอใจการบริการของประชาชนต่อโรงพยาบาลภาครัฐ โดยกองทุนเป็ นผู ้ทาความเข ้าใจกับข ้าราชการ 5) การลดความเหลือมล้าระหว่างสทธิ ่ ิ 6) อัตราการจ่ายค่ารักษาพยาบาลรายกลุมโรคควรเท่ากันในทุกระดับโรงพยาบาล ่
  • 65. ้ ่ หล ักการจ ัดบริการเพือควบคุมค่าใชจายด้านสุขภาพ ่ (1 SUPPLY SIDE : 2 DEMAND SIDE) 1. การมุงเน ้นควบคุมทีตวเงินงบประมาณภาครัฐ (1 SUPPLY SIDE) และ ่ ่ ั ี่ กาหนดมาตรการกากับเรืองวัสดุยามีความเสยงต่อคุณภาพบริการและศรัทธา ่ บริการของประชาชนในโรงพยาบาลภาครัฐ (รพ.ชน2) ั้ ้ 2. ใชหลักเกณฑ์เป้ าหมายและบริการสุขภาพทีพงประสงค์ของ WHOเป็ นตัว ่ ึ กาหนดการจัดระบบสุขภาพภายใต ้การสนับสนุนทางการเงินทีเหมาะสม แต่ ่ ่ ้ ไม่ใชใชการเงินเพือนาหรือจากัดระบบสุขภาพ ่ ิ 3. การพัฒนาประสทธิภาพการบริหารงบประมาณและการบริการระบบบริการ(2 DEMAND SIDE)ก่อน ิ 1) ประสทธิภาพการบริหารงบประมาณโดยกองทุนต่างๆ ิ 2) ประสทธิภาพการจัดบริหารจัดการระบบโรงพยาบาล
  • 66. ประสทธิภาพการบริหารงบประมาณ โดยกองทุนต่างๆ 1. การลดความซ้าซอน หลากหลาย ให ้สอดคล ้องกลมกลืนทังสทธิประโยชน์ ้ ้ ิ และอัตราชดเชย 2. การลดบทบาทผู ้จัดการระบบบริการ 1. ให ้ความสาคัญเรือง Basic Coverage เป็ นลาดับแรกก่อน National Security ่ ้ 2. ใชกลไกทางการเงินผลักดันรูปแบบบริการเฉพาะแยกย่อยหลากหลาย รับประกัน โรคยากราคาแพง แต่ถั่วจ่ายบริการพืนฐาน ้ 3. การจัดสรรเงินแยกย่อยรายโรงพยาบาล ไม่สอดคล ้องกับการจัดบริการแบบ (Service Plan:กสธ)
  • 67. ิ ประสทธิภาพการจ ัดบริหารจ ัดการระบบโรงพยาบาล 1. การพ ัฒนาระบบบริการแบบเครือข่าย Network for Regional Healthcare Improvement 1) Optimal Scale : ก้อนงบประมาณใหญ่พอต่อการปร ับเกลียจ ัดบริการทงเครือข่าย ่ ั้ 2) จ ัดระบบบริการทีสอดคล้องปฐมภูมถงตติยภูมขนสูงภายใต้แนวคิด Eco Health & ่ ิ ึ ิ ั้ Eco Service 3) สน ับสนุนการจ ัดบริการร่วม PPP ลดการแข่งข ันแย่งลูกค้าก ันจนขาดทุน เปนเพิม ็ ่ การแบ่งปันบริการร่วมก ันอยูรอดด้วยก ัน ่ 2. การพ ัฒนาการบริหารคล ังและว ัสดุ 1) National CPG ี 2) กรอบรายการมาตรฐานบ ัญชยาหล ัก 3) การพ ัฒนาระบบต่อรองราคา : มาตรฐานราคาเดียว 4) การพ ัฒนาระบบบริหารคล ัง : มาตรฐานคล ังเดียว ้ ่ 3. การพ ัฒนารูปแบบการจ ัดสรรค่าใชจายด้านบุคลากรทีเหมาะสม P4P ่
  • 68. สสอ. บริการ ตติยภูม ิ UNIVERSAL COVERAGE สสจ. ACCESSIBILITY บริการทุตยภูม ิ ิ หน่วย QUALITY สธ. อืน ่ บริการปฐมภูม ิ SECURITY เขต ภาครัฐ สาธารณสุขมูลฐาน ประชาชน SELF CARE สถาน กรม. ึ ศกษา NGO ประก ัน อืนๆ ่
  • 69. ผังเครือข่ายบริการเบ็ดเสร็ จไร้รอยต่อ LOCALIZE PRIMARY CARE SATELLITE FUNCTINAL OUT -PATIENT CONTACTING UNIT SERVICE PLAN CENTRALIZED FOR REGIONAL CARE การจ ัดโครงสร้าง IN-PATIENT ั การปร ับการร ับพ ันธะสญญา เครือข่ายบริการรองร ับทุกโรค เปนเครือข่ายบริการระด ับ ็ ตอบสนองการบริการประชาชน ้ ่ ุ เขตพืนทีสขภาพตามผ ังบริการ ิ ้ และมีประสทธิภาพการใชทร ัพยากร EXCELLENCE CENTER
  • 70. การจ ัดบริการให้เกิดล ักษณะ FUNCTIONAL SERVICE PLAN 3.จ ัดบริการผูปวยในที่ ้่ 1.จ ัดบริการปฐมภูมทม ี ิ ี่ เปนศุนย์กลางมี ็ คุณภาพในชุมชนให้ ทร ัพยากรบริการและ ครอบคลุมทวถึง ่ั LOCALIZE PRIMARY CARE บุคลากรเฉพาะที่ SATELLITE รวบรวมไว้อย่าง OUT -PATIENT เพียงพอต่อบริการ 2.จ ัดบริการแบบผูปวย ้่ CENTRALIZED IN-PATIENT นอกแบบไม่มเตียงผูปวย ี ้่ 4.การจ ัดบริการ ให้กระจายทวถึงเพือ ่ั ่ ระด ับสูง ในโรคทีม ี ่ ปองก ันความหนาแน่น ้ EXCELLENCE CENTER ี่ ความเสยงและมี ของรพ.ร ักษาผป.ใน แนวโน้มสูงเพือความ ่ ปลอดภ ัยของผูปวย้่
  • 71. • ประเมินตามบัญชีใช้จายภาพรวมต่ ากว่าจริง ่ • คานวณแยกหลายกองทุนต่อหัวเป็ นเบียหัวแตก ้ งบขาขึ้น • สานักงบตัดงบโดยลดอัตราให้บริการสวนทางบริการจริงทีมากขึน ่ ้ • มีการจัดการแยกย่อยมากมาย ยิงทาให้เกิดเบียหัวแตก ่ ้ งบขาลง • มีการจัดสรรรายรพ.โดยตรง งบรายหัวแตกต่าง๔๐๐-๑๒๐๐บาท • งบเหมาจ่ายปลายปิ ดเฉลียผลงาน รับภาระเสียง ่ ่ หน่วย • กลไกชดเชยกลบความไม่เพียงพองบหลักประกัน บริการ •เข้าถึงสิทธิหลากหลาย ขาดกลไกควบคุมจนหนาแน่นรพ. ขาดคุณภาพ •เหลือมล้าเข้าถึงบริการทีไ่ ม่เท่าเทียมด้วยปัจจัยการเงินรายรพ.ทีแตกต่าง ่ ่ ประชาชน
  • 72. 1. ร ัฐมีขอจาก ัดและจาก ัดชองทางการเงินในระบบบริการทาให้ ้ ่ ี่ โรงพยาบาลมีความเสยงในการจ ัดบริการสุขภาพ 2. ี่ ้ ่ การผล ักภาระความเสยงค่าใชจายจากกองทุนประก ันสุขภาพ ไปให้หน่วยบริการ 3. อานาจอิสระทีขาดสมดุลจากกองทุนในการกาหนดหล ักเกณฑ์ ่ จ ัดสรรภายในและระหว่างกองทุนทาให้เกิดความเหลือมลาใน ่ ้ การจ ัดบริการประชาชนทีมคณภาพ มีปญหาความเท่าเทียม ่ ี ุ ั และเปนธรรม ็ 4. ั ้ ้ ระบบสุขภาพมีความซบซอนมากขึน มีหน่วยงานในและนอก กาก ับของกระทรวงสาธารณสุขทีหลากหลายเข้ามามีบทบาท ่ ในระบบสุขภาพแต่ขาดเอกภาพบูรณาการ 5. ่ ้ ื้ การดาเนินการในสวนของผูซอบริการทงภาคร ัฐและ ้ั ภาคเอกชนอยูภายใต้กาก ับของกฎหมายหลายฉบ ับ รวมทงมี ่ ั้ ่ ่ การดาเนินการทีไม่ประสานก ัน ในสวนของผูให้บริการภาคร ัฐ้ และเอกชนต่างมีแนวทางในการทางานของตนเอง
  • 73. แสดงระบบการเงินในประก ัน สุขภาพเปนเพียง1ใน9ของ ็ องค์ประกอบระบบสุขภาพ การพ ัฒนาโดยระบบประก ัน ้ สุขภาพโดยใชการเงินทีจาก ัด ่ เปนต ัวนา ข ับเคลือนระบบสุขภาพ ็ ่ ่ เปนหล ัก นาไปสูการขาดความ ็ เข้มแข็งทียงยืนของระบบสุขภาพ ่ ่ั ในประเทศไทย
  • 74. ิ สถานการณ์ปญหาการเงินเชงลึกในระบบบริการ ั หล ักประก ันสุขภาพไทย 1. กองทุนUCจ ัดสรรค่าร ักษาให้ตากว่าราคาค่าร ักษาพยาบาลทีเรียก ่ ่ เก็บอย่างมาก (62.13%) 2. กองทุนUC จ ัดสรรแบบ Cost Controlled, Close Ended, Global ่ Budget นาเงินสวนหนึงไปจูงใจทางาน เมือผลงานเกินวงเงินใชการ ่ ่ ้ ปร ับเกลีย ่ 3. ่ มีการชดเชยความไม่เพียงพอกองทุน UC ด้วยเงินสวนอืนและการ ่ ่ ่ ปร ับเกลียชวยเหลือความไม่เพียงพองบUCในระด ับจ ังหว ัด 4. ่ ้ ่ ้ ู รพศ./ท. มีสวนต่างค่าใชจายเรียกเก็บก ับรายร ับจริง(หนีสญ)จาก UC มากกว่ารพช.มาก และมีการชดเชยรายได้จริงจากnon UC ไป ่ ชวยรพช.จานวนมาก กลบปัญหาเงินUC ไม่เพียงพอมาตลอด 5. ่ รพศ/ท.หลายแห่ง จานวน 1/3 เชนอภ ัยภูเบศวร์,ตร ัง,พุทธเลิศหล้า, อินทร์บร ี ฯลฯทีเคยมีรายได้มนคงเกิดวิกฤตการเงินอย่างต่อเนือง ุ ่ ่ั ่ ่ ในชวง10 ปี ี ั หมายเหตุ : ข้อมูลจากบ ัญชบริหารหน่วยบริการ 832 แห่งสงก ัดสป.ปี 2553
  • 75.
  • 76. NonUC , ้ ู ARรายได้พงได้-รายได้ร ับจริง=หนีสญ ึ 44,469 , UC , 67,499 40% ึ ็ ี รายได้พงได้เปนราคาเรียกเก็บตามมาตรฐานบ ัญชราคา , 60% ิ ั ่ ิ ์ มีการแยกเก็บตามสทธิร ักษาทีสะท้อนสดสวนรายสทธิได้ ่ ้ ู ดีพบว่าภาพรวมทุกรพ.มีหนีสญจากกองทุน UC ถึง 25,563 ล้านบาท ในขณะทีกองทุน non UC เพียง ่ 1,424 ล้านเท่านน ั้ Non UC , UC 1,424 NonUC, 41,936 43,045 , 49% , 51% UC 25,563 ล้านบาท - 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 70,000 80,000 NetIncome I-R Different ี ั ข ้อมูลจากบัญชบริหารหน่วยบริการ 832 แห่ง สงกัดสป. ณ 30 กันยายน 2553
  • 77. แสดงผลต่างรายได้พงได้กับรายได้รับจริง: ¾ ของหนี้สญ ึ ู ทั้งหมด ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มรพศ.รพท. มูลค่า 18,994ลบ. รพช., 6,569, 25.70% รพศ/ท., non 18,994, UC 74.30% UC Net Income Loss Receivable 36,630,464,244.11 33,298,478,498.77 Net Income 17,636,015,908.08 31,011,587,697.18 Loss -18,994,448,336.03 -2,286,890,801.59 % Grain 48.15 93.13 % Loss -51.85 -6.87 ในขณะที่รายได้พงรับซึ่งเป็ นไปตามปริมาณให้บริการมีมลค่าใกล้เคียงระหว่างUCกับ ึ ู Non UC แต่รายได้รับจริงสุทธิ ส่วนใหญ่มาจาก non UC เกือบเท่าตัว
  • 78. ่ การชดเชย 6 ระบบสวนใหญ่จากรพศ/ท. :กลบปัญหาเงินกองทุนUCไม่เพียงพอ Adjust Prepaid ่ สวนใหญ่รพศ/ท. 1,586.82 Non UC Cross ่ สวนใหญ่รพศ/ท. 1,671.98 Subsidize Referral Debt ่ สวนใหญ่รพศ/ท. 983.93 Adjust Postpaid ่ สวนใหญ่รพศ/ท. 118.73 Labor Overload Provider Staffs ? I-R Difference ่ สวนใหญ่รพศ/ท. 25,563.01 Total >29,924.47
  • 79. UC 3% 13% ตามจ่ายUC 3% 2% 7% 12,970 MB 16,760 8% ั เบิกต้นสงก ัด 36% 11% ,31% ,MB, 31% 40% ขรก 72 12,408 ั ประก ันสงคม % MB , 3% 12% 4% พรบ.3 29% 3% 8% 33% 2% รง.ต่างด้าว 4% 9% อืน ๆ ่ 34% 14% 11% 5% 67% 3% 2% 12% 34% 2% 4% 31% 9% 4% 3% 16% 10% 65% 8% NON 33% UC 2% UC 20,048 8% 22,091 MB 35 3% 13% MB 48% % 52% 9% 2% 1% 3% 8% 54% 14% 17% 35% 29% 3% 4% 4%
  • 80. 1. การจ ัดสรรตามรายห ัวโดยรวมเงินเดือน เปนสาเหตุให้เกิดความ ็ ้ ่ แตกต่างงบบริการและสถานบริการประสบปัญหาค่าใชจาย 2.กลไกการชดเชยมีความไม่เพียงพอ ทาให้มองไม่เห็นปัญหา การเงินแต่ได้สะสมและขยายต ัวรุนแรง 3.การจ ัดสรรเหมาจ่ายปลายปิ ด และมีการก ันเงินจานวนมากที่ กองกลาง เปนกองทุนย่อย ทาให้งบบริการพืนฐานของหน่วย ็ ้ บริการไม่เพียงพอ 4. การทุมงบไปในงบหล ักประก ันสุขภาพถ้วนหน้า ทาให้งบโครงสร้าง ่ ้ พืนฐานลดน้อยลงอย่างมากและทาให้งบในการสงเสริมสุขภาพ ่ และปองก ันโรคไม่เพิม ้ ่ ่ ้ 5.ผูปวยในระบบหล ักประก ันสุขภาพเพิมขึนอย่างมาก ทาให้ ้่ ้ เกิดการขาดแคลนบุคลากร และโครงสร้างพืนฐาน และงบประมาณ บริการ
  • 81. NI &DEPRECIATION(ล้าน) 12,000 10,000 7,837 8,000 UC เหลือค้างท่อ 6,000 5,179 4,609 18,000ล้าน 4,090 4,000 2,000 0 2551/Q4 2552/Q4 2553/Q2 2553/Q4 2554/Q2 2554/Q4 2555/Q2 -2,000 -1,246 -1,887 -4,000 UC UC เหลือค้างท่อ เหลือค้างท่อ -6,000 -4,692 4,200 ล้าน 260 ล้าน โดยกลไกการจัดสรรปี 2553 มีเงินค้างท่อจานวนมากส่งผลให้รพ.ขาดทุนอย่ างมาก การปรับกลไกการจัดสรรอย่างเร่งรัดทาให้การเงินปี 2554 ดีข้ ึนอย่างชัดเจน
  • 82. Priorities in Health Two overarching themes: PURCHASER Current resources can yield substantial บริการจ ัดการพิเศษ /เฉพาะโรคยากราคาแพง health gains if knowledge of cost- 45,438ล้าน effective interventions were applied more fully. ? ? Additional resources are needed in low- income countries to minimize the glaring PROVIDER inequities in health care. Increased resources would provide highly-effective ้ บริการพืนฐาน interventions, expand research, and OPD IPD PP extend basic health coverage to more 1,289฿:53,829ล้าน 47ล้านคน people ่ การกันเงินจานวนมากเพือรองรับโรคราคาแพงปองกันการล้มละลายในครัวเรือนแต่จากัด ้ ค่าใช้จ่ายพื้นฐานในหน่วยบริการจนขาดสมดุลคุณภาพบริการประชาชนส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบ Reference: http://www.dcp2.org/pubs/PIH
  • 83. กรอบแนวคิดองค์การอนามัยโลกลดการจัดการเฉพาะโรค(OOP=objective Oriented Programs) เพือเพิมบริการสุขภาพที่ครอบคลุม ่ ่
  • 84. การจ ัดสรรตามรายห ัวล่วงหน้า ไม่รวมเงินเดือน อ ัตราต่อห ัว อ ัตราต่อห ัวประชากร อ ัตราต่อห ัวประชากร ปี งบ ประชากร น้อยทีสด่ ุ มากทีสด ่ ุ ประมา เฉลียทง ่ ั้ ณ อ ัตรา จ ังหว ัด อ ัตรา จ ังหว ัด ประเทศ 2551 946.14 444.03 สมุทรสงคราม 1,207.17 น่าน 2552 958.57 413.47 สมุทรสงคราม 1,231.36 อุบลราชธานี 2553 986.32 430.07 สมุทรสงคราม 1,232.22 อุบลราชธานี 2554 1007.97 404.41 สมุทรสงคราม 1,134,33 พิษณุ โลก แสดงความแตกต่างของการจ ัดสรรตามหล ักเกณฑ์กองทุนหล ักประก ันสุขภาพแห่งชาติ
  • 85. ปชก.มาก/รพ.เล็ก/ ขรกในรพ..น้อย ปชก.น้อย/รพ.ใหญ่/ จานวนปชก. ประเภทปชก. ปริมาณงาน คุณภาพงาน
  • 86. กลไกการจัดสรรตามรายหัวหักเงินเดือนจ่ายตรงไปยังหน่วยบริการ แบบแยกย่อยขาดกลไกบริหารกลางเพือความเท่าเทียมและประสิทธิภาพ ่ 1. เกิดความแตกต่างค่าหัวรายหน่วยบริการอย่ างหลากหลายกระทบต่อความสามารถ จัดบริการ เกิดความแตกต่างจนปรากฏเป็ นความเหลื่อมล้าในประชาชนต่างพื้นที่กัน 2. เกิดความเหลื่อมล้าในสิทธิ สวัสดิการ ในการให้บริการของผูใ้ ห้บริการ กรณีงานหนักกว่าหรือ เท่ากัน แต่รายได้ต่อหัวน้อยได้รับผลตอบแทนอย่ างจากัด 3. การจ่ายตรงไปหน่วยบริการ ไม่สามารถบริหารภาพรวมทาให้มีข้อจากัดกีดกั้นการพัฒนา ่ อั ตรากาลัง ค่าจ้ างกรณีมีเหตุผลพร้อมในการเพิมอั ตรากาลัง แต่ไม่มีเงินจ้าง 4. เกิดลักษณะการแข่งขันที่ไม่เป็ นธรรมลักษณะมือใครยาวสาวได้สาวเอา และการกินหัวคิว เช่ น หน่วยบริการที่มีความพร้อมสามารถแย่งบริการเพือรับค่าชดเชยบริการอั ตราสูงพิเศษกรณี ่ ผ่าตัดต้อกระจก โรคไต ผ่าหัวใจ 5. การบริหารจัดการแบบแยกย่อย ทาให้ขาดประสิทธิ ภาพเชิงระบบบริหารร่วม จากการต่างคน ต่างซื้อ ต่างหา ในหน่วยที่มีรายรับจากการจัดสรรดีมีอานาจการใช้จ่ายและลงทุนอิ สระจนเกิน ความเหมาะสม ในขณะที่หน่วยได้รับจัดสรรน้อยเกิดการประหยั ดจนขาดแคลนคุณภาพ ทั้งหมดเกิดจากความอคติในระบบที่ต้องการแยกหน่วยบริหารสนับสนุนออก จากหน่วยบริการ และนาหน่วยบริการขึ้นตรงกับอานาจทางการเงินของกองทุน
  • 87. การขาดบูรณาการศั กยภาพบริหารและงบประมาณนาไปสู่ความอ่ อนแอในระบบ บริการสุขภาพของรัฐ ทั้งสร้างความเหลื่ อมล้าระหว่ างกองทุน หน่วยบริการ และประชาชนมาอย่ างต่ อเนื่อง
  • 88. อคคติระบบ แยกบริหารออกจากบริการ จ่ายแยกย่อยแยกหน่วยบริการแยกกันอยู่ 1. เกลียดปลาไหล(กระทรวง)กินนาแกง(สสจ.สานักงานสาขาจังหวัด) 2. บทบาทสสจ.สานักงานสาขาจังหวัดเครืองมือสปสช. ่ 3. บทบาทสาธารณสุขอาเภอหายไป ไปอยู่กบรพช.แทน ั 4. รพช.ฝื นศักยภาพและวัฒนธรรมบริการ ปี นรัวออกไปดูแลจัดการสถานีอนามัยในฐานะ ้ เจ้าของเงินคู่สญญาหลักสปสช.สร้างระบบปฐมภูม ิ บนภาระทุตยภูมซงหนักมากอยู่ก่อน ั ิ ิ ึ่ ยิงหนักมากขึน ่ ้ 5. การจ่ายเงินตรงไปยังหน่วยบริการทาให้เกิดรัฐอิสระในรพช. แยกบริการแยกบริหาร ต่าง คนต่างเอาตัวรอด 6. ลูกเฉยๆกับพ่อ(กสธ)ทีไ่ ม่มเี งิน มารักแม่(สปสช.)ทีมเี งินให้ตลอด ่
  • 89. แยกส่วนบริหาร ขาดความเป็ นเอกภาพ กสธ. อุดมการณ์ที่สูญเสียไป เผชิญปั ญหาโดดเดียว ่ สปสช. ไม่ได้มองภาพรวม ั สงกัดอืน ่ บริการแออัด เหลือมล้ าไม่เท่าเทียม ่ ถูกปฏิเสธการรักษา ผลกระทบต่อหน่วยบริการ และประชาชน ไม่แน่ใจในคุณภาพ
  • 90.  เสถียรภาพระบบสุขภาพทีจะยงยืนได้ตองมี ่ ่ั ้ ้ ความสมดุลเหมือนเก้าอีสามขา ปัจจุบ ันมีขา ี่ หนึงทีออนแอลงจนเสยงต่อการทาให้เก้าอี้ ่ ่ ่ สุขภาพล้มลง  ขา 1 ด้านประชาชนผูร ับบริการขยายใหญ่ ้ ้ ขึนด้วยการเข้าถึงบริการพร้อมมีความพึง พอใจอย่างมาก  ขา 2 ด้านกองทุน ผูจ ัดการงบสุขภาพประสบ ้ ิ ความสาเร็ จด้านประสทธิภาพการควบคุม ้ ่ ิ ค่าใชจายพร้อมขยายสทธิประโยชน์ได้ ื่ ี หลากหลาย จนมีชอเสยงในเวทีโลก  ขา 3 ด้านโรงพยาบาล ผูให้บริการภาคร ัฐ ้ ประสบปัญหาวิกฤตการเงินและกาล ังคน ต้องรองร ับการขยายต ัวของขาที่ 1 และ 2 ่ ี่ มาตลอด จนอยูในภาวะอ่อนแอเสยงทีจะห ัก่
  • 91.
  • 92. การพัฒนาคุณภาพ ระบบหลักประกันสุขภาพ FUNDs FINANCIAL STABILITY PROVIDER CUSTOMER ความมันคงทางการเงินเพือสมดุลระบบสุขภาพ ่ ่ ความเหลือมล้าในบริการสุขภาพ ่