SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 8
Descargar para leer sin conexión
การพัฒนาศักยภาพการคิดของผูเ้ รียน

 การคิดและกระบวนการคิด
         การคิดเป็ นพฤติกรรมการทํางานทางสมองของมนุษย์ในการเรี ยบเรี ยงข้อมูลความรู ้และความรู ้สึก
                                             ่
นึกคิดที่เกิดจากกระบวนการเรี ยนรู ้ผานการดู การอ่าน การฟัง การสังเกต การสัมผัส และการดึงข้อมูลความรู้
              ่
ที่บรรจุอยูในสมองเดิมตามประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่ถูกสั่งสมมา
         ทักษะการคิดจึงเป็ นพฤติกรรมที่มนุษย์แสดงการกระทําออกมาได้อย่างชัดเจนมองเห็นเป็ นรู ปธรรม
เช่น พฤติกรรมการสังเกต แสดงออกด้วยการเพ่งดูอย่างพินิจพิเคราะห์ หรื อพฤติกรรมการเปรี ยบเทียบ
เป็ นการนําลักษณะของสิ่ งของตั้งแต่สองอย่างขึ้นไปมาเปรี ยบเทียบกัน เพื่อแสดงให้เห็นถึงสิ่ งเหมือนหรื อ
สิ่ งต่าง เป็ นต้น
         ดังนั้น การคิดจึงเป็ นพฤติกรรมซับซ้อนที่มีลกษณะแยกย่อยแตกต่างกันไป เช่น การคิดวิเคราะห์
                                                             ั
การคิดสร้างสรรค์ การคิดไตร่ ตรองโดยใช้วจารณญาณ ซึ่ งล้วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการทํางานของร่ างกาย
                                                       ิ
                                                                                 ั                   ่
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 และการเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลที่รับรู ้เข้ามาใหม่กบข้อมูลเก่าที่ถูกบรรจุอยูในคลังสมอง
ของคนเราตลอดเวลา
                                                                       ั
         หากเปรี ยบเทียบการทํางานของระบบคอมพิวเตอร์ กบสมองมนุษย์หรื ออาจเปรี ยบได้กบสมองคนกับ     ั
สมองกล จะพบว่า การทํางานของสมองคน ประกอบด้วยความชาญฉลาด 3 ลักษณะ คือ
         1. ความสามารถในการเรียนรู้ และสื บค้ น (Tactical Intelligence) ทั้งในรู ปแบบการสังเกต การค้นหา
                การซักถาม การทดลองปฏิบติ เป็ นต้น
                                               ั
         2. ความสามารถในการแยกแยะคุณค่ า (Emotional Intelligence) ทั้งในรู ปแบบการตัดสิ น การลงมติ
                การแสดงความคิดเห็น วิพากษ์วจารณ์ ด้วยอารมณ์ความรู ้สึกที่เห็นด้วยหรื อต่อต้าน หรื อวางเฉย
                                                     ิ
                เป็นตน้
         3. ความสามารถในการประมวลเนือหาสาระ (Content Intelligence) จากเรื่องราวที่เรียนรู้ใหม่
                                                   ้
                                                                   ่
                ผสมผสานกับประสบการณ์เดิมที่ถูกจัดเก็บอยูในสมอง โดยผ่านกระบวนการกลันกรอง และ     ่
                สังเคราะห์เป็ นความรู ้ใหม่ ที่มกประกอบไปด้วยความเข้าใจ เหตุผล และทัศนคติ ทั้งในเชิงบวก
                                                 ั
                หรื อเชิงลบ ซึ่ งความรู ้สึกนึกคิดต่อเรื่ องราวต่างๆ นี่เองที่สมองกลของคอมพิวเตอร์ ไม่สามารถ
                ทํางานได้เหมือนสมองของมนุษย์
         การฝึ กฝนกระบวนการเรี ยนรู ้แก่ผเู ้ รี ยนจึงต้องกระตุนการทํางานและเสริ มสร้างความสามารถของ
                                                                     ้
สมองทั้ง 3 ด้านที่กล่าวมา จึงจะบังเกิดผลการเรี ยนรู ้ที่สมบูรณ์ คือ บังเกิดความรู ้ความเข้าใจที่มีความชัดเจน
ยิงขึ้น บังเกิดความชํานาญในทักษะและการปฏิบติได้คล่องแคล่วขึ้น และที่สาคัญบังเกิดค่านิยมคุณธรรมที่
  ่                                                        ั                         ํ
งอกงามขึ้นในจิตใจของผูเ้ รี ยน
 การสร้ างศักยภาพในการคิดของสมอง
     การจัดการเรี ยนการสอนตามจุดหมายของการปฏิรูปการเรี ยนรู ้ทศวรรษที่ 2 และเป้ าหมายการเรี ยนรู ้
ของหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 มีจุดมุ่งหมายสําคัญ คือ การฝึ กฝนให้ผเู ้ รี ยนมี
                                                                               ั
ความสามารถในการคิดและการเรี ยนรู ้ ผูสอนต้องจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้สัมพันธ์กบกระบวนการทํางาน
                                         ้
ทางสมองของผูเ้ รี ยน (Brain Based Learning : BBL) โดยฝึ กฝนพฤติกรรมการคิดระดับต่างๆ ตามลําดับ
ทักษะกระบวนการคิดที่เป็ นแกนสําคัญ (Core Thinking Processes) ดังนี้
     1. การสังเกตลักษณะของสิ่ งต่างๆ
     2. การสังเกตและระบุความเหมือน
     3. การสังเกตและจําแนกความแตกต่าง
     4. การจัดหมวดหมู่สิ่งของหรื อตัวอย่างที่เข้าพวก
     5. การระบุสิ่งของและจําแนกตัวอย่างที่ไม่เข้าพวก
     6. การเปรี ยบเทียบและระบุขอมูลความรู ้ได้ถูกต้อง
                                     ้
     7. การคนหาสิ่งของที่มีลกษณะหมวดหมู่เดียวกน
               ้                ั                         ั
     8. การรวบรวมและจัดลําดับสิ่ งของตามขนาด
     9. การรวบรวมและจัดลําดับเหตุการณ์ตามกาลเวลา
     10. การยกตัวอย่างและการกล่าวอ้าง
     11. การสรุ ปความหมายจากสิ่ งที่อ่านหรื อฟัง
     12. การสรุ ปความหมายจากสิ่ งที่สังเกตและพบเห็น
     13. การวิเคราะห์เชื่อมโยงความสัมพันธ์
     14. การวิเคราะห์รูปแบบและจัดลําดับความสําคัญ
     15. การวิเคราะห์ขอมูลและสร้างความรู ้ความคิด
                          ้
     16. การนําเสนอข้อมูลความรู ้ความคิดเป็ นระบบ
     17. การแยกแยะข้อเท็จจริ ง และรายละเอียดที่เป็ นความคิดเห็น
     18. การนิยามและการสรุ ปความ
     19. การค้นหาความเชื่อพื้นฐานและการอ้างอิง
                                                        ั
     20. การแยกแยะรายละเอียดที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กนและการใช้เหตุผล
     21. การคิดวิเคราะห์ขอมูลความรู ้จากเรื่ องที่อ่านอย่างมีวจารณญาณ
                             ้                                ิ
     22. การตั้งสมมติฐานและการตัดสิ นใจ
     23. การทดสอบสมมติฐาน อธิ บายสาเหตุและผลที่เกิดขึ้น
     24. การพินิจพิเคราะห์ ทําความกระจ่างและเสนอความคิดที่แตกต่าง
     25. การคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ การจัดระบบและโครงสร้าง
     26. การออกแบบสร้างสรรค์และการประยุกต์ดดแปลง      ั
รู ปแบบการคิดทั้ง 26 ประเภทนี้ ผูสอนสามารถนํามาสร้างเป็ นจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ จัดกิจกรรมการ
                                        ้
เรี ยนการสอน มอบหมายให้ผเู ้ รี ยนลงมือปฏิบติและแสดงพฤติกรรมการคิดตามลําดับเนื้อหาการเรี ยนรู ้
                                              ั
เหมาะสมกับวัยและจิตวิทยาการเรี ยนรู ้ ตั้งแต่ระดับช่วงชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-3 ประถมศึกษาปี ที่ 4-6 และ
ระดับมัธยมศึกษาปี ที่ 1-6 ซึ่ งจะสะท้อนออกมาได้อย่างชัดเจนว่า ผูเ้ รี ยนมีความสามารถคิดคล่อง คิดละเอียด
คิดกว้าง คิดลึกซึ้ ง คิดหลากหลาย และคิดสร้างสรรค์แตกต่างกันไปตามคุณลักษณะและภูมิหลัง
                                   ่
ประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่ส่งสมอยูในสมองเดิมของผูเ้ รี ยนแต่ละคน
                              ั

 การพัฒนากระบวนการคิด
         การคิดเป็น คิดคล่อง คิดไดชดเจน จนสามารถคิดเป็น ปฏิบติเป็น และแกปัญหาได้ จะมีลกษณะเป็น
                                  ้ ั                             ั         ้               ั
กระบวนการ การพฒนาการคิดแก่ผเู ้ รียนจึงเป็นการสอนกระบวนการและฝึกฝนวธีการอยางหลากหลาย
                     ั                                                          ิ       ่
ที่เป็นปัจจยส่งเสริมเก้ือกลกน คือ
            ั                ู ั
         1. การสร้างความพร้อมด้านร่ างกาย นับแต่การรับประทานอาหาร ดื่มนํ้า การหายใจ การผ่อนคลาย
การฟังเสี ยงดนตรี หรื อฟังเพลง การบริ หารสมองด้วยการบริ หารร่ างกายอย่างถูกวิธี
         2. การสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้ออํานวยต่อการคิด การเสริ มแรงให้ผเู ้ รี ยนเกิดการ
เรียนรู้และพฒนาตนเอง
              ั
         3. การจัดกิจกรรมและการสร้างเนื้อหาการเรี ยนรู ้ที่เหมาะสมต่อการฝึ กฝนวิธีการคิดรู ปแบบต่างๆ
โดยใช้การเรี ยนรู้กระตุนผ่านการสอนและการฝึ กทักษะการคิด
                           ้
         4. การจัดกิจกรรมและกระบวนการเรี ยนรู ้เพื่อส่ งเสริ มการคิดตามทฤษฎีต่างๆ ที่ผานการวิจยและ
                                                                                      ่        ั
พัฒนามาแล้ว เช่น ทฤษฏีพหุ ปัญหา ทฤษฎีการสร้างความรู ้ หลักเสริ มสร้างความเป็ นพหูสูตและหลักโยนิ-
โสมนสิ การของพุทธศาสนา การจัดกิจกรรมบูรณาการการสอนกับการฝึ กทักษะการคิดในกลุ่มสาระต่างๆ
                   ่
และการเรี ยนรู ้ผานการทําโครงงาน เป็ นต้น
         5. การใช้เทคนิควิธีการที่ส่งเสริ มและพัฒนาการคิดของผูเ้ รี ยน สอดแทรกในบทเรี ยนต่างๆ เช่น
เทคนิคการใช้คาถาม การอภิปรายโดยใช้เทคนิคหมวก 6 ใบ การทําผังกราฟฟิ ก แผนภูมิความรู ้ ผังมโนทัศน์
                 ํ
และการใช้กิจกรรมบริ หารสมอง (brain gym) เป็ นต้น ซึ่ งมีผพฒนาเทคนิควิธีการเหล่านี้และได้รับความนิยม
                                                             ู้ ั
อย่างแพร่ หลายในสถานศึกษาต่างๆ
           หมายเหตุ : การสร้างศักยภาพการคิดผ่านการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดให้แก่ผเู ้ รี ยน
เป็ นหัวใจสําคัญอย่างยิงของการปฏิรูปการศึกษา และยังใช้เกณฑ์ประเมินวิทยฐานะครู รวมทั้งมาตรฐานการ
                         ่
ปฏิบติงานของวิชาชีพครู โปรดศึกษาวิธีการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นกระบวนการคิด จากคู่มือครู
       ั
และแผนการจัดการเรี ยนรู ้อิงมาตรฐาน ทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้และทุกรายวิชา ที่จดพิมพ์เผยแพร่ โดย
                                                                                  ั
บริษท อกษรเจริญทศน์ อจท. จํากัด และศึกษาค้นคว้าจาก www.aksorn.com ไดตลอดเวลา
      ั ั              ั                                                      ้
คําอธิบายรายวิชา
รายวิชา วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้                                                      วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรี ยนที่ 1                                                                -2
รหัสวิชา ว 11101 เวลา                                                                        80 ชวโมง/ปี
                                                                                                  ่ั

 ศึกษา วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างสิ่ งมีชีวตกับสิ่ งไม่มีชีวต ลักษณะหน้าที่ของโครงสร้าง
                                               ิ             ิ
ภายนอกของพืชและสัตว์ ลักษณะ หน้าที่ และความสําคัญของอวัยวะภายนอกของมนุษย์ ตลอดจนการดูแล
รักษาสุ ขภาพ ลักษณะของสิ่ งมีชีวตในท้องถิ่น และนํามาจัดจําแนกโดยใช้ลกษณะภายนอกเป็ นเกณฑ์
                                    ิ                                             ั
ลักษณะหรื อสมบัติของวัสดุที่ใช้ทาของเล่น ของใช้ในชีวตประจําวัน จําแนกวัสดุที่ใช้เป็ นของเล่น ของใช้
                                      ํ                  ิ
การดึง การผลักวัตถุ องค์ประกอบและสมบัติทางกายภาพของดินในท้องถิ่น ในท้องฟ้ ามีดวงอาทิตย์
ดวงจนทร์ และดวงดาว
      ั
 โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสื บเสาะหาความรู ้ การสํารวจ ตรวจสอบ การสื บค้นข้อมูล
และการอภิปราย
         เพื่อให้เกิดความรู ้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ มีความสามารถในการตัดสิ นใจ
เห็นคุณค่าของการนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ในชีวตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริ ยธรรม คุณธรรม และ
                                                   ิ
ค่านิยมที่เหมาะสม

        ตัวชี้วด
               ั
        ว 1.1   ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
        ว 1.2   ป.1/1
        ว 3.1   ป.1/1, ป.1/2
        ว 4.1   ป.1/1
        ว 6.1   ป.1/1
        ว 7.1   ป.1/1
        ว 8.1   ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5, ป.1/6, ป.1/7
โครงสร้ างรายวิชา วิทยาศาสตร์
                                                          ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
                                มาตรฐานการ                                                                                                                                เวลา นําหนัก
                                                                                                                                                                                   ้
ลําดับที่ ชื่อหน่วยการเรียน                                                                         สาระสําคัญ
                               เรียนรู้ /ตัวชี้วด
                                                ั                                                                                                                       (ชั่วโมง) คะแนน
   1     สิ่งมีชีวตและ
                   ิ         ว 1.1 ป.1/1          ส่ิ งมีชีวตมีลกษณะแตกต่างจากส่ิ งไม่มีชีวต
                                                                           ิ ั                                                                                        ิ      6
         สิ่ งไม่มีชีวต  ิ   ว 8.1 ป.1/1-ป.1/7 โดยส่ิ งมีชีวตจะมีการเคลื่อนที่ กินอาหาร       ิ
                                                  ขบถ่าย หายใจ เจริญเติบโต สืบพนธุ์ และ
                                                             ั                                                                                    ั
                                                  ตอบสนองต่อสิ่ งเร้า แต่สิ่งไม่มีชีวตจะไม่มี                                                   ิ
                                                  ลกษณะดงกล่าว
                                                       ั                             ั
   2     สนใจพืชและสตว ์ ว 1.1 ป.1/2
                           ั                      พืชและสตวเ์ ป็นสิ่งมีชีวตเช่นเดียวกน แตมี
                                                                                   ั                                 ิ                                   ั ่                 8
                             ว 8.1 ป.1/1-ป.1/7 ลกษณะโครงสร้างภายนอกแตกต่างกน
                                                         ั                                                                                                      ั
                                                  โครงสร้างภายนอกของพืช ไดแก่ ราก ลาตน                                               ้                              ํ ้
                                                  ใบ ดอก และผล แต่ละส่วนทาหนาที่                                                         ํ ้
                                                  แตกต่างกน โครงสร้างภายนอกของสตว ์    ั                                                                          ั
                                                  ไดแก่ ตา หู จมูก ปาก ขา และเทา
                                                                      ้                                                                                   ้
                                                  แต่ละส่วนทาหนาที่แตกต่างกน                    ํ ้                                ั
   3     สิ่งมีชีวตใกล ้
                     ิ       ว 1.2 ป.1/1          ส่ิ งมีชีวตในทองถิ่น จะมีลกษณะที่
                                                                            ิ                    ้                       ั                                                   4
         ตวเรา
             ั               ว 8.1 ป.1/1-ป.1/7 เหมือนกนและแตกต่างกน ซ่ ึงสามารถ ั                                      ั
                                                  นามาจาแนกโดยใชลกษณะภายนอกเป็น
                                                               ํ ํ                                             ้ ั
                                                  เกณฑ์
   4     ดินในทองถ่ิน  ้     ว 6.1 ป. 1/1         ดินเป็ นสิ่ งแวดล้อมทางธรรมชาติที่                                                                                         4
                             ว 8.1 ป.1/1-ป.1/7 ประกอบดวยเศษหิน ซากพืช ซากสตว ์              ้                                                                 ั
                                                  ซ่ ึงดินในแต่ละทองถิ่นมีสมบติทางกายภาพ             ้                           ั
                                                  แตกต่างกนออกไป                         ั
   5     ตวเรา ั             ว 1.1 ป. 1/3         ร่ างกายของมนุษย์ประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ                                                                                     8
                             ว 8.1 ป.1/1-ป.1/7 ทั้งอวัยวะภายในร่ างกาย และอวัยวะ
                                                  ภายนอกร่างกาย อวยวะภายนอกของมนุษย ์                            ั
                                                  มีลกษณะและหนาที่แตกต่างกน อวยวะ
                                                                         ั                             ้                               ั                    ั
                                                  เหล่าน้ ีมีความสาคญต่อการดารงชีวต จึง            ํ ั                         ํ                    ิ
                                                  ต้องป้ องกันดูแลรักษาไม่ให้อวัยวะเหล่านี้
                                                  ไดรับอนตราย           ้ ั
   6     ของเล่นแสนรัก ว 3.1 ป. 1/1               วสดุที่ใชทาของเล่นและของใชใน
                                                     ั                            ้ ํ                                                       ้                                8
         ของใชใกลตว
                  ้ ้ ั      ป.1/2                ชีวตประจาวนอาจมีรูปร่าง สี ขนาด พ้ืนผิว
                                                                    ิ                      ํ ั
                             ว 8.1 ป.1/1-ป.1/7 ความแขง เหมือนกนหรือแตกต่างกน  ็                              ั                                        ั
                                                  ลกษณะหรือสมบติต่างๆ ของวสดุสามารถ
                                                           ั                                             ั                                ั
                                                  นามาใชเ้ ป็นเกณฑในการจาแนกวสดุที่ใช้
                                                                ํ                                          ์               ํ                  ั
                                                  ทาของเล่นและของใชในชีวตประจาวน
                                                                  ํ                                                ้         ิ                          ํ ั
มาตรฐานการ                                                     เวลา นําหนัก
                                                                                                         ้
ลําดับที่ ชื่อหน่วยการเรียน                                         สาระสําคัญ
                                เรียนรู้ /ตัวชี้วด
                                                 ั                                            (ชั่วโมง) คะแนน
  7      แรงของเรา            ว 4.1 ป. 1/1         การดึงและการผลกวตถุ เป็นการออกแรง
                                                                      ั ั                         16
                              ว 8.1 ป.1/1-ป.1/7 กระทาต่อวตถุ ซ่ ึงอาจทาใหวตถุเคลื่อนที่
                                                            ํ ั               ํ ้ั
                                                   หรื ออาจไม่เคลื่อนที่ และเปลี่ยนแปลง
                                                   รู ปร่ างหรื ออาจไม่เปลี่ยนแปลงรู ปร่ าง
  8      ท้องฟ้ าแสนงาม       ว 7.1 ป. 1/1      ในทองฟ้ามีดวงอาทิตย ์ ดวงจนทร์ และ
                                                      ้                   ั                     16
                              ว 8.1 ป.1/1-ป.1/7 ดวงดาว โดยมองเห็นทองฟ้ามีลกษณะเป็น
                                                                      ้     ั
                                                ครึ่ งทรงกลมครอบแผ่นดินเอาไว้
ตารางกําหนดแผนการจัดการเรียนรู้
                          รายวิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 เวลา 80 ชั่วโมง
                      แผนการจด                  ั                                                               เวลา
 หน่วยการเรียนรู้                                   วิธีสอน/กระบวนการจดการเรียนรู้
                                                                      ั                    ทักษะการคิด
                      การเรียนรู้                                                                             (ชั่วโมง)
หน่วยการเรียนรู้ 1. ลกษณะของ
                      ั                             - วธีสอนแบบกระบวนการทาง
                                                       ิ                             - ทกษะการคิดวเิ คราะห์
                                                                                        ั                          3
ที่ 1                สิ่งมีชีวตและ    ิ               วทยาศาสตร์
                                                         ิ
สิ่งมีชีวตและ
            ิ        สิ่ งไม่มีชีวต         ิ
สิ่ งไม่มีชีวติ   2. ความแตกต่าง                    - วธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม
                                                       ิ                             - ทกษะการคิดสร้างสรรค์
                                                                                        ั                        3
                     ระหวาง       ่
                     สิ่งมีชีวตและ      ิ
                     สิ่ งไม่มีชีวต           ิ
หน่วยการเรียนรู้ 1. โครงสร้าง                       - วธีสอนแบบกระบวนการทาง
                                                       ิ                             - ทกษะการคิดวเิ คราะห์
                                                                                        ั                        4
ที่ 2                อวัยวะ                           วทยาศาสตร์
                                                         ิ
สนใจพืชและสตว ์ ั    ภายนอกและ
                     หนาที่ของ
                            ้
                     อวัยวะต่างๆ
                     ของพืช
                  2. โครงสร้าง                      - วิธีสอนแบบกระบวนการสื บเสาะ - ทกษะการคิดวเิ คราะห์
                                                                                     ั                           4
                     อวัยวะ
                     ภายนอกและ
                     หนาที่ของ้
                     อวัยวะต่างๆ
                     ของสตว ์       ั
หน่วยการเรียนรู้ 1. ลกษณะและ
                        ั                           - วิธีสอนแบบกระบวนการสื บสวน - ทกษะการคิดวเิ คราะห์
                                                                                    ั                            3
ที่ 3                การจาแนก   ํ                      สอบสวน
สิ่งมีชีวตใกล ้
          ิ          สิ่งมีชีวตใน         ิ
ตวเรา
    ั                ทองถ่ิน
                          ้



                           2. ลกษณะและ
                               ั                    -วธีการสอนแบบกระบวนการกลุ่ม
                                                      ิ                              -ทกษะการคิดวเิ คราะห์
                                                                                       ั                         3
                              การจาแนก
                                     ํ
                              สิ่งมีชีวตใน
                                       ิ
                              ทองถ่ิน(2)
                                 ้
แผนการจดั                                                                เวลา
หน่วยการเรียนรู้                   วิธีสอน/กระบวนการจดการเรียนรู้
                                                     ั                    ทักษะการคิด
                       การเรียนรู้                                                            (ชั่วโมง)
หน่วยการเรียนรู้   1. องค์ประกอบ - วธีสอนแบบกระบวนการทาง
                                       ิ                            - ทกษะการคิดวเิ คราะห์
                                                                       ั                           5
ที่ 4                 และสมบัติทาง    วทยาศาสตร์
                                         ิ
ดินในทองถ่ิน
      ้               กายภาพ
                      ของดิน

หน่วยการเรียนรู้   1. ร่างกายของเรา   - วธีสอนแบบกระบวนการ
                                         ิ                          - ทกษะการคิดวเิ คราะห์
                                                                       ั                         6
ที่ 5                 (1)               สืบเสาะหาความรู้ : 5Es
ตวเรา
 ั                 2. ร่างกายของเรา   - วธีสอนแบบกระบวนการ
                                         ิ                          - ทกษะการคิดวเิ คราะห์
                                                                       ั                         3
                      (2)               สืบเสาะหาความรู้ : 5Es
                   3. ร่างกายของเรา   - วธีสอนแบบกระบวนการ
                                           ิ                        -ทกษะการคิดวเิ คราะห์
                                                                      ั                          3
                      (3)               สืบเสาะหาความรู้ : 5Es
                   4. ร่างกายของเรา   - วธีสอนแบบกระบวนการ
                                             ิ                      -ทกษะการคิดวเิ คราะห์
                                                                      ั                          3
                      (4)               สืบเสาะหาความรู้ : 5Es
หน่วยการเรียนรู้   1. ของเล่นและ      - วธีสอนแบบกระบวนการทาง
                                               ิ                    - ทกษะการคิดสร้างสรรค์
                                                                       ั                         7
ที่ 6                 ของใช้ของฉัน      วทยาศาสตร์
                                                 ิ
ของเล่นแสนรัก      2. วสดุใกลตว
                       ั     ้ ั      - วธีสอนแบบกระบวนการทาง
                                         ิ                          1. ทกษะการคิดสร้างสรรค์
                                                                          ั                      7
ของใชใกลตว
      ้ ้ ั                             วทยาศาสตร์
                                             ิ                      2. ทกษะการคิดวเิ คราะห์
                                                                            ั
หน่วยการเรียนรู้   1. ดึงและผลก
                              ั       - วธีสอนแบบกระบวนการทาง
                                           ิ                        1. ทกษะการคิดวเิ คราะห์
                                                                              ั                  13
ที่ 7                                   วทยาศาสตร์
                                               ิ                    2. ทกษะการคิดสงเคราะห์
                                                                        ั            ั
แรงของเรา
หน่วยการเรียนรู้   1. บนท้องฟ้ า      - วธีสอนแบบกระบวนการทาง
                                         ิ                          1. ทกษะการคิดสร้างสรรค์
                                                                          ั                      13
ที่ 8                                   วทยาศาสตร์
                                           ิ                        2. ทกษะการคิดวเิ คราะห์
                                                                        ั
ทองฟ้าแสนงาม
   ้

Más contenido relacionado

Destacado

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 

Destacado (20)

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 

วิเคราะห์หลักสูตรที่ใช้ในการอยรมทำเวบบอก

  • 1. การพัฒนาศักยภาพการคิดของผูเ้ รียน  การคิดและกระบวนการคิด การคิดเป็ นพฤติกรรมการทํางานทางสมองของมนุษย์ในการเรี ยบเรี ยงข้อมูลความรู ้และความรู ้สึก ่ นึกคิดที่เกิดจากกระบวนการเรี ยนรู ้ผานการดู การอ่าน การฟัง การสังเกต การสัมผัส และการดึงข้อมูลความรู้ ่ ที่บรรจุอยูในสมองเดิมตามประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่ถูกสั่งสมมา ทักษะการคิดจึงเป็ นพฤติกรรมที่มนุษย์แสดงการกระทําออกมาได้อย่างชัดเจนมองเห็นเป็ นรู ปธรรม เช่น พฤติกรรมการสังเกต แสดงออกด้วยการเพ่งดูอย่างพินิจพิเคราะห์ หรื อพฤติกรรมการเปรี ยบเทียบ เป็ นการนําลักษณะของสิ่ งของตั้งแต่สองอย่างขึ้นไปมาเปรี ยบเทียบกัน เพื่อแสดงให้เห็นถึงสิ่ งเหมือนหรื อ สิ่ งต่าง เป็ นต้น ดังนั้น การคิดจึงเป็ นพฤติกรรมซับซ้อนที่มีลกษณะแยกย่อยแตกต่างกันไป เช่น การคิดวิเคราะห์ ั การคิดสร้างสรรค์ การคิดไตร่ ตรองโดยใช้วจารณญาณ ซึ่ งล้วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการทํางานของร่ างกาย ิ ั ่ ประสาทสัมผัสทั้ง 5 และการเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลที่รับรู ้เข้ามาใหม่กบข้อมูลเก่าที่ถูกบรรจุอยูในคลังสมอง ของคนเราตลอดเวลา ั หากเปรี ยบเทียบการทํางานของระบบคอมพิวเตอร์ กบสมองมนุษย์หรื ออาจเปรี ยบได้กบสมองคนกับ ั สมองกล จะพบว่า การทํางานของสมองคน ประกอบด้วยความชาญฉลาด 3 ลักษณะ คือ 1. ความสามารถในการเรียนรู้ และสื บค้ น (Tactical Intelligence) ทั้งในรู ปแบบการสังเกต การค้นหา การซักถาม การทดลองปฏิบติ เป็ นต้น ั 2. ความสามารถในการแยกแยะคุณค่ า (Emotional Intelligence) ทั้งในรู ปแบบการตัดสิ น การลงมติ การแสดงความคิดเห็น วิพากษ์วจารณ์ ด้วยอารมณ์ความรู ้สึกที่เห็นด้วยหรื อต่อต้าน หรื อวางเฉย ิ เป็นตน้ 3. ความสามารถในการประมวลเนือหาสาระ (Content Intelligence) จากเรื่องราวที่เรียนรู้ใหม่ ้ ่ ผสมผสานกับประสบการณ์เดิมที่ถูกจัดเก็บอยูในสมอง โดยผ่านกระบวนการกลันกรอง และ ่ สังเคราะห์เป็ นความรู ้ใหม่ ที่มกประกอบไปด้วยความเข้าใจ เหตุผล และทัศนคติ ทั้งในเชิงบวก ั หรื อเชิงลบ ซึ่ งความรู ้สึกนึกคิดต่อเรื่ องราวต่างๆ นี่เองที่สมองกลของคอมพิวเตอร์ ไม่สามารถ ทํางานได้เหมือนสมองของมนุษย์ การฝึ กฝนกระบวนการเรี ยนรู ้แก่ผเู ้ รี ยนจึงต้องกระตุนการทํางานและเสริ มสร้างความสามารถของ ้ สมองทั้ง 3 ด้านที่กล่าวมา จึงจะบังเกิดผลการเรี ยนรู ้ที่สมบูรณ์ คือ บังเกิดความรู ้ความเข้าใจที่มีความชัดเจน ยิงขึ้น บังเกิดความชํานาญในทักษะและการปฏิบติได้คล่องแคล่วขึ้น และที่สาคัญบังเกิดค่านิยมคุณธรรมที่ ่ ั ํ งอกงามขึ้นในจิตใจของผูเ้ รี ยน
  • 2.  การสร้ างศักยภาพในการคิดของสมอง การจัดการเรี ยนการสอนตามจุดหมายของการปฏิรูปการเรี ยนรู ้ทศวรรษที่ 2 และเป้ าหมายการเรี ยนรู ้ ของหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 มีจุดมุ่งหมายสําคัญ คือ การฝึ กฝนให้ผเู ้ รี ยนมี ั ความสามารถในการคิดและการเรี ยนรู ้ ผูสอนต้องจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้สัมพันธ์กบกระบวนการทํางาน ้ ทางสมองของผูเ้ รี ยน (Brain Based Learning : BBL) โดยฝึ กฝนพฤติกรรมการคิดระดับต่างๆ ตามลําดับ ทักษะกระบวนการคิดที่เป็ นแกนสําคัญ (Core Thinking Processes) ดังนี้ 1. การสังเกตลักษณะของสิ่ งต่างๆ 2. การสังเกตและระบุความเหมือน 3. การสังเกตและจําแนกความแตกต่าง 4. การจัดหมวดหมู่สิ่งของหรื อตัวอย่างที่เข้าพวก 5. การระบุสิ่งของและจําแนกตัวอย่างที่ไม่เข้าพวก 6. การเปรี ยบเทียบและระบุขอมูลความรู ้ได้ถูกต้อง ้ 7. การคนหาสิ่งของที่มีลกษณะหมวดหมู่เดียวกน ้ ั ั 8. การรวบรวมและจัดลําดับสิ่ งของตามขนาด 9. การรวบรวมและจัดลําดับเหตุการณ์ตามกาลเวลา 10. การยกตัวอย่างและการกล่าวอ้าง 11. การสรุ ปความหมายจากสิ่ งที่อ่านหรื อฟัง 12. การสรุ ปความหมายจากสิ่ งที่สังเกตและพบเห็น 13. การวิเคราะห์เชื่อมโยงความสัมพันธ์ 14. การวิเคราะห์รูปแบบและจัดลําดับความสําคัญ 15. การวิเคราะห์ขอมูลและสร้างความรู ้ความคิด ้ 16. การนําเสนอข้อมูลความรู ้ความคิดเป็ นระบบ 17. การแยกแยะข้อเท็จจริ ง และรายละเอียดที่เป็ นความคิดเห็น 18. การนิยามและการสรุ ปความ 19. การค้นหาความเชื่อพื้นฐานและการอ้างอิง ั 20. การแยกแยะรายละเอียดที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กนและการใช้เหตุผล 21. การคิดวิเคราะห์ขอมูลความรู ้จากเรื่ องที่อ่านอย่างมีวจารณญาณ ้ ิ 22. การตั้งสมมติฐานและการตัดสิ นใจ 23. การทดสอบสมมติฐาน อธิ บายสาเหตุและผลที่เกิดขึ้น 24. การพินิจพิเคราะห์ ทําความกระจ่างและเสนอความคิดที่แตกต่าง 25. การคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ การจัดระบบและโครงสร้าง 26. การออกแบบสร้างสรรค์และการประยุกต์ดดแปลง ั
  • 3. รู ปแบบการคิดทั้ง 26 ประเภทนี้ ผูสอนสามารถนํามาสร้างเป็ นจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ จัดกิจกรรมการ ้ เรี ยนการสอน มอบหมายให้ผเู ้ รี ยนลงมือปฏิบติและแสดงพฤติกรรมการคิดตามลําดับเนื้อหาการเรี ยนรู ้ ั เหมาะสมกับวัยและจิตวิทยาการเรี ยนรู ้ ตั้งแต่ระดับช่วงชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-3 ประถมศึกษาปี ที่ 4-6 และ ระดับมัธยมศึกษาปี ที่ 1-6 ซึ่ งจะสะท้อนออกมาได้อย่างชัดเจนว่า ผูเ้ รี ยนมีความสามารถคิดคล่อง คิดละเอียด คิดกว้าง คิดลึกซึ้ ง คิดหลากหลาย และคิดสร้างสรรค์แตกต่างกันไปตามคุณลักษณะและภูมิหลัง ่ ประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่ส่งสมอยูในสมองเดิมของผูเ้ รี ยนแต่ละคน ั  การพัฒนากระบวนการคิด การคิดเป็น คิดคล่อง คิดไดชดเจน จนสามารถคิดเป็น ปฏิบติเป็น และแกปัญหาได้ จะมีลกษณะเป็น ้ ั ั ้ ั กระบวนการ การพฒนาการคิดแก่ผเู ้ รียนจึงเป็นการสอนกระบวนการและฝึกฝนวธีการอยางหลากหลาย ั ิ ่ ที่เป็นปัจจยส่งเสริมเก้ือกลกน คือ ั ู ั 1. การสร้างความพร้อมด้านร่ างกาย นับแต่การรับประทานอาหาร ดื่มนํ้า การหายใจ การผ่อนคลาย การฟังเสี ยงดนตรี หรื อฟังเพลง การบริ หารสมองด้วยการบริ หารร่ างกายอย่างถูกวิธี 2. การสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้ออํานวยต่อการคิด การเสริ มแรงให้ผเู ้ รี ยนเกิดการ เรียนรู้และพฒนาตนเอง ั 3. การจัดกิจกรรมและการสร้างเนื้อหาการเรี ยนรู ้ที่เหมาะสมต่อการฝึ กฝนวิธีการคิดรู ปแบบต่างๆ โดยใช้การเรี ยนรู้กระตุนผ่านการสอนและการฝึ กทักษะการคิด ้ 4. การจัดกิจกรรมและกระบวนการเรี ยนรู ้เพื่อส่ งเสริ มการคิดตามทฤษฎีต่างๆ ที่ผานการวิจยและ ่ ั พัฒนามาแล้ว เช่น ทฤษฏีพหุ ปัญหา ทฤษฎีการสร้างความรู ้ หลักเสริ มสร้างความเป็ นพหูสูตและหลักโยนิ- โสมนสิ การของพุทธศาสนา การจัดกิจกรรมบูรณาการการสอนกับการฝึ กทักษะการคิดในกลุ่มสาระต่างๆ ่ และการเรี ยนรู ้ผานการทําโครงงาน เป็ นต้น 5. การใช้เทคนิควิธีการที่ส่งเสริ มและพัฒนาการคิดของผูเ้ รี ยน สอดแทรกในบทเรี ยนต่างๆ เช่น เทคนิคการใช้คาถาม การอภิปรายโดยใช้เทคนิคหมวก 6 ใบ การทําผังกราฟฟิ ก แผนภูมิความรู ้ ผังมโนทัศน์ ํ และการใช้กิจกรรมบริ หารสมอง (brain gym) เป็ นต้น ซึ่ งมีผพฒนาเทคนิควิธีการเหล่านี้และได้รับความนิยม ู้ ั อย่างแพร่ หลายในสถานศึกษาต่างๆ หมายเหตุ : การสร้างศักยภาพการคิดผ่านการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดให้แก่ผเู ้ รี ยน เป็ นหัวใจสําคัญอย่างยิงของการปฏิรูปการศึกษา และยังใช้เกณฑ์ประเมินวิทยฐานะครู รวมทั้งมาตรฐานการ ่ ปฏิบติงานของวิชาชีพครู โปรดศึกษาวิธีการออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นกระบวนการคิด จากคู่มือครู ั และแผนการจัดการเรี ยนรู ้อิงมาตรฐาน ทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้และทุกรายวิชา ที่จดพิมพ์เผยแพร่ โดย ั บริษท อกษรเจริญทศน์ อจท. จํากัด และศึกษาค้นคว้าจาก www.aksorn.com ไดตลอดเวลา ั ั ั ้
  • 4. คําอธิบายรายวิชา รายวิชา วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรี ยนที่ 1 -2 รหัสวิชา ว 11101 เวลา 80 ชวโมง/ปี ่ั ศึกษา วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างสิ่ งมีชีวตกับสิ่ งไม่มีชีวต ลักษณะหน้าที่ของโครงสร้าง ิ ิ ภายนอกของพืชและสัตว์ ลักษณะ หน้าที่ และความสําคัญของอวัยวะภายนอกของมนุษย์ ตลอดจนการดูแล รักษาสุ ขภาพ ลักษณะของสิ่ งมีชีวตในท้องถิ่น และนํามาจัดจําแนกโดยใช้ลกษณะภายนอกเป็ นเกณฑ์ ิ ั ลักษณะหรื อสมบัติของวัสดุที่ใช้ทาของเล่น ของใช้ในชีวตประจําวัน จําแนกวัสดุที่ใช้เป็ นของเล่น ของใช้ ํ ิ การดึง การผลักวัตถุ องค์ประกอบและสมบัติทางกายภาพของดินในท้องถิ่น ในท้องฟ้ ามีดวงอาทิตย์ ดวงจนทร์ และดวงดาว ั โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสื บเสาะหาความรู ้ การสํารวจ ตรวจสอบ การสื บค้นข้อมูล และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู ้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ มีความสามารถในการตัดสิ นใจ เห็นคุณค่าของการนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ในชีวตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริ ยธรรม คุณธรรม และ ิ ค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วด ั ว 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3 ว 1.2 ป.1/1 ว 3.1 ป.1/1, ป.1/2 ว 4.1 ป.1/1 ว 6.1 ป.1/1 ว 7.1 ป.1/1 ว 8.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5, ป.1/6, ป.1/7
  • 5. โครงสร้ างรายวิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 มาตรฐานการ เวลา นําหนัก ้ ลําดับที่ ชื่อหน่วยการเรียน สาระสําคัญ เรียนรู้ /ตัวชี้วด ั (ชั่วโมง) คะแนน 1 สิ่งมีชีวตและ ิ ว 1.1 ป.1/1 ส่ิ งมีชีวตมีลกษณะแตกต่างจากส่ิ งไม่มีชีวต ิ ั ิ 6 สิ่ งไม่มีชีวต ิ ว 8.1 ป.1/1-ป.1/7 โดยส่ิ งมีชีวตจะมีการเคลื่อนที่ กินอาหาร ิ ขบถ่าย หายใจ เจริญเติบโต สืบพนธุ์ และ ั ั ตอบสนองต่อสิ่ งเร้า แต่สิ่งไม่มีชีวตจะไม่มี ิ ลกษณะดงกล่าว ั ั 2 สนใจพืชและสตว ์ ว 1.1 ป.1/2 ั พืชและสตวเ์ ป็นสิ่งมีชีวตเช่นเดียวกน แตมี ั ิ ั ่ 8 ว 8.1 ป.1/1-ป.1/7 ลกษณะโครงสร้างภายนอกแตกต่างกน ั ั โครงสร้างภายนอกของพืช ไดแก่ ราก ลาตน ้ ํ ้ ใบ ดอก และผล แต่ละส่วนทาหนาที่ ํ ้ แตกต่างกน โครงสร้างภายนอกของสตว ์ ั ั ไดแก่ ตา หู จมูก ปาก ขา และเทา ้ ้ แต่ละส่วนทาหนาที่แตกต่างกน ํ ้ ั 3 สิ่งมีชีวตใกล ้ ิ ว 1.2 ป.1/1 ส่ิ งมีชีวตในทองถิ่น จะมีลกษณะที่ ิ ้ ั 4 ตวเรา ั ว 8.1 ป.1/1-ป.1/7 เหมือนกนและแตกต่างกน ซ่ ึงสามารถ ั ั นามาจาแนกโดยใชลกษณะภายนอกเป็น ํ ํ ้ ั เกณฑ์ 4 ดินในทองถ่ิน ้ ว 6.1 ป. 1/1 ดินเป็ นสิ่ งแวดล้อมทางธรรมชาติที่ 4 ว 8.1 ป.1/1-ป.1/7 ประกอบดวยเศษหิน ซากพืช ซากสตว ์ ้ ั ซ่ ึงดินในแต่ละทองถิ่นมีสมบติทางกายภาพ ้ ั แตกต่างกนออกไป ั 5 ตวเรา ั ว 1.1 ป. 1/3 ร่ างกายของมนุษย์ประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ 8 ว 8.1 ป.1/1-ป.1/7 ทั้งอวัยวะภายในร่ างกาย และอวัยวะ ภายนอกร่างกาย อวยวะภายนอกของมนุษย ์ ั มีลกษณะและหนาที่แตกต่างกน อวยวะ ั ้ ั ั เหล่าน้ ีมีความสาคญต่อการดารงชีวต จึง ํ ั ํ ิ ต้องป้ องกันดูแลรักษาไม่ให้อวัยวะเหล่านี้ ไดรับอนตราย ้ ั 6 ของเล่นแสนรัก ว 3.1 ป. 1/1 วสดุที่ใชทาของเล่นและของใชใน ั ้ ํ ้ 8 ของใชใกลตว ้ ้ ั ป.1/2 ชีวตประจาวนอาจมีรูปร่าง สี ขนาด พ้ืนผิว ิ ํ ั ว 8.1 ป.1/1-ป.1/7 ความแขง เหมือนกนหรือแตกต่างกน ็ ั ั ลกษณะหรือสมบติต่างๆ ของวสดุสามารถ ั ั ั นามาใชเ้ ป็นเกณฑในการจาแนกวสดุที่ใช้ ํ ์ ํ ั ทาของเล่นและของใชในชีวตประจาวน ํ ้ ิ ํ ั
  • 6. มาตรฐานการ เวลา นําหนัก ้ ลําดับที่ ชื่อหน่วยการเรียน สาระสําคัญ เรียนรู้ /ตัวชี้วด ั (ชั่วโมง) คะแนน 7 แรงของเรา ว 4.1 ป. 1/1 การดึงและการผลกวตถุ เป็นการออกแรง ั ั 16 ว 8.1 ป.1/1-ป.1/7 กระทาต่อวตถุ ซ่ ึงอาจทาใหวตถุเคลื่อนที่ ํ ั ํ ้ั หรื ออาจไม่เคลื่อนที่ และเปลี่ยนแปลง รู ปร่ างหรื ออาจไม่เปลี่ยนแปลงรู ปร่ าง 8 ท้องฟ้ าแสนงาม ว 7.1 ป. 1/1 ในทองฟ้ามีดวงอาทิตย ์ ดวงจนทร์ และ ้ ั 16 ว 8.1 ป.1/1-ป.1/7 ดวงดาว โดยมองเห็นทองฟ้ามีลกษณะเป็น ้ ั ครึ่ งทรงกลมครอบแผ่นดินเอาไว้
  • 7. ตารางกําหนดแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 เวลา 80 ชั่วโมง แผนการจด ั เวลา หน่วยการเรียนรู้ วิธีสอน/กระบวนการจดการเรียนรู้ ั ทักษะการคิด การเรียนรู้ (ชั่วโมง) หน่วยการเรียนรู้ 1. ลกษณะของ ั - วธีสอนแบบกระบวนการทาง ิ - ทกษะการคิดวเิ คราะห์ ั 3 ที่ 1 สิ่งมีชีวตและ ิ วทยาศาสตร์ ิ สิ่งมีชีวตและ ิ สิ่ งไม่มีชีวต ิ สิ่ งไม่มีชีวติ 2. ความแตกต่าง - วธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม ิ - ทกษะการคิดสร้างสรรค์ ั 3 ระหวาง ่ สิ่งมีชีวตและ ิ สิ่ งไม่มีชีวต ิ หน่วยการเรียนรู้ 1. โครงสร้าง - วธีสอนแบบกระบวนการทาง ิ - ทกษะการคิดวเิ คราะห์ ั 4 ที่ 2 อวัยวะ วทยาศาสตร์ ิ สนใจพืชและสตว ์ ั ภายนอกและ หนาที่ของ ้ อวัยวะต่างๆ ของพืช 2. โครงสร้าง - วิธีสอนแบบกระบวนการสื บเสาะ - ทกษะการคิดวเิ คราะห์ ั 4 อวัยวะ ภายนอกและ หนาที่ของ้ อวัยวะต่างๆ ของสตว ์ ั หน่วยการเรียนรู้ 1. ลกษณะและ ั - วิธีสอนแบบกระบวนการสื บสวน - ทกษะการคิดวเิ คราะห์ ั 3 ที่ 3 การจาแนก ํ สอบสวน สิ่งมีชีวตใกล ้ ิ สิ่งมีชีวตใน ิ ตวเรา ั ทองถ่ิน ้ 2. ลกษณะและ ั -วธีการสอนแบบกระบวนการกลุ่ม ิ -ทกษะการคิดวเิ คราะห์ ั 3 การจาแนก ํ สิ่งมีชีวตใน ิ ทองถ่ิน(2) ้
  • 8. แผนการจดั เวลา หน่วยการเรียนรู้ วิธีสอน/กระบวนการจดการเรียนรู้ ั ทักษะการคิด การเรียนรู้ (ชั่วโมง) หน่วยการเรียนรู้ 1. องค์ประกอบ - วธีสอนแบบกระบวนการทาง ิ - ทกษะการคิดวเิ คราะห์ ั 5 ที่ 4 และสมบัติทาง วทยาศาสตร์ ิ ดินในทองถ่ิน ้ กายภาพ ของดิน หน่วยการเรียนรู้ 1. ร่างกายของเรา - วธีสอนแบบกระบวนการ ิ - ทกษะการคิดวเิ คราะห์ ั 6 ที่ 5 (1) สืบเสาะหาความรู้ : 5Es ตวเรา ั 2. ร่างกายของเรา - วธีสอนแบบกระบวนการ ิ - ทกษะการคิดวเิ คราะห์ ั 3 (2) สืบเสาะหาความรู้ : 5Es 3. ร่างกายของเรา - วธีสอนแบบกระบวนการ ิ -ทกษะการคิดวเิ คราะห์ ั 3 (3) สืบเสาะหาความรู้ : 5Es 4. ร่างกายของเรา - วธีสอนแบบกระบวนการ ิ -ทกษะการคิดวเิ คราะห์ ั 3 (4) สืบเสาะหาความรู้ : 5Es หน่วยการเรียนรู้ 1. ของเล่นและ - วธีสอนแบบกระบวนการทาง ิ - ทกษะการคิดสร้างสรรค์ ั 7 ที่ 6 ของใช้ของฉัน วทยาศาสตร์ ิ ของเล่นแสนรัก 2. วสดุใกลตว ั ้ ั - วธีสอนแบบกระบวนการทาง ิ 1. ทกษะการคิดสร้างสรรค์ ั 7 ของใชใกลตว ้ ้ ั วทยาศาสตร์ ิ 2. ทกษะการคิดวเิ คราะห์ ั หน่วยการเรียนรู้ 1. ดึงและผลก ั - วธีสอนแบบกระบวนการทาง ิ 1. ทกษะการคิดวเิ คราะห์ ั 13 ที่ 7 วทยาศาสตร์ ิ 2. ทกษะการคิดสงเคราะห์ ั ั แรงของเรา หน่วยการเรียนรู้ 1. บนท้องฟ้ า - วธีสอนแบบกระบวนการทาง ิ 1. ทกษะการคิดสร้างสรรค์ ั 13 ที่ 8 วทยาศาสตร์ ิ 2. ทกษะการคิดวเิ คราะห์ ั ทองฟ้าแสนงาม ้