SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 24
Database Systems Architecture
 การอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างและส่วนประกอบหลักที่นำามา
ประกอบรวมกันเป็นระบบฐานข้อมูล
 Internal Level
 Conceptual Level
 External Level
External Schema
Conceptual
Schema
Internal Schema
Database
 มี Internal Schema ที่ใช้อธิบายโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูล
เชิงกายภาพ
 ผู้ใช้งานฐานข้อมูลไม่สามารถมองเห็นรายละเอียดของ
โครงสร้างในระดับนี้ได้
 ผู้เข้าถึงข้อมูลในระดับนี้ได้มีเพียง ผู้บริหารข้อมูล (Database
Administrators: DBA)
 เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าโครงร่างข้อมูลแบบตรรกะ(Logical)
 จัดเป็นโครงสร้างหลักของระบบที่เรียกว่า แบบจำาลองข้อมูล
(Data Model)
 แสดงความสัมพันธ์ (relationship) ระหว่างข้อมูลเป็นหลัก
 การนำาเสนอข้อมูลจะแสดงในรูปของตารางหรือรีเลชั่น
 ผู้เข้าถึงโครงสร้างข้อมูลในระดับนี้ได้แก่ ผู้บริหารข้อมูล (data
administrators) หรือโปรแกรมเมอร์ (programmer) เท่านั้น
 เป็นมุมมองของผู้ใช้งานฐานข้อมูล (User)
 แบบจำำลองข้อมูล คือ เทคนิคที่นำำมำใช้ในกำรจัดกำรโครงสร้ำง
และควำมสัมพันธ์ระหว่ำงข้อมูลในระบบ
 มีวัตถุประสงค์ในกำรนำำเสนอข้อมูลเพื่อให้เกิดควำมเข้ำใจซึ่ง
กันและกัน และส่งผลให้กำรออกแบบฐำนข้อมูลเป็นไปได้ง่ำย
ขึ้น
 แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
 แบบจำำลองเพื่อกำรนำำไปใช้ (Implementation Data
Models)
 แบบจำำลองเชิงแนวคิด (Conceptual Data Models)
แบบจำำลองเพื่อกำรนำำไปใช้ (Implementation Data Models)
เป็นแบบจำำลองที่อธิบำยถึงโครงสร้ำงข้อมูลของฐำนข้อมูลโดยแบ่ง
ออกเป็น 5 ประเภทได้แก่
1. แบบจำำลองฐำนข้อมูลลำำดับชั้น*
2. แบบจำำลองฐำนข้อมูลเครือข่ำย**
3. แบบจำำลองฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์***
4. แบบจำำลองฐำนข้อมูลเชิงวัตถุ
5. แบบจำำลองฐำนข้อมูลแบบมัลติไดเมนชั่น
แบบจำำลองเชิงแนวคิด (Conceptual Data Models)
แสดงลักษณะของข้อมูลโดยนำำเสนอในลักษณะแผนภำพหรือ
ไดอะแกรมซึ่งประกอบไปด้วยเอ็นทิตี้ต่ำงๆ และควำมสัมพันธ์
ระหว่ำงเอ็นทิตี้ในระบบ ตัวอย่ำงแบบจำำลองชนิดนี้เช่น แผนภำพ
E-R (Entity-Relationship Diagram)
 แบบจำำลองลำำดับชั้น เป็นกำรจัดเก็บข้อมูลโดยมีกำรเชื่อมโยง
ข้อมูลเป็นโครงสร้ำงต้นไม้ ไฟล์ข้อมูลจัดไว้เป็นโครงสร้ำงแบบ
บนลงล่ำง (Top-Down) ข้อมูลแต่ละระดับจะมีควำมสัมพันธ์กัน
แบบ parent กับ child โดย parent หนึ่งๆ สำมำรถมีได้หลำย
child แต่ child หนึ่งจะมีได้เพียง parent เดียวเท่ำนั้น
Database system
Section 1 Section 2
Stu_A Stu_B Stu_C Stu_D
ข้อดี
 มีรูปแบบโครงสร้ำงที่เข้ำใจง่ำย
 โครงสร้ำงซับซ้อนน้อย เหมำะกับข้อมูลที่มีควำมสัมพันธ์แบบ
one-to-many
 ข้อมูลมีควำมคงสภำพ (Data Integrity)
ข้อเสีย
 ยำกต่อกำรนำำไปพัฒนำเป็นแอปพลิเคชัน
 โครงสร้ำงข้อมูลมีควำมยืดหยุ่นตำ่ำ
 ไม่รองรับควำมสัมพันธ์แบบ many-to-many
 ข้อมูลมีควำมซำ้ำซ้อน
 แบบจำำลองฐำนข้อมูลเครือข่ำยมีเป้ำหมำยเพื่อลดควำมซำ้ำซ้อน
ของข้อมูลที่เกิดขึ้นในแบบจำำลองลำำดับชั้น ด้วยกำรยอมให้เกิด
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงข้อมูลในแบบ many-to-many ได้โดย
child สำมำรถมี parent ได้มำกกว่ำ 1 parent แบบจำำลองเครือ
ข่ำยมีพื้นฐำนมำจำกทฤษฎีเซต (Set theory)
Registration
Database system Web admin
Stu_A Stu_B Stu_A Stu_C
ข้อดี
 สนับสนุนควำมสัมพันธ์แบบ many-to-many
 กำรเข้ำถึงข้อมูลมีควำมยืดหยุ่นสูงลดควำมซำ้ำซ้อนบำงส่วน
ข้อเสีย
 ระบบมีควำมซับซ้อน ยำกต่อกำรนำำไปใช้
 โครงสร้ำงไม่มีอิสระจำกข้อมูล
 แบบจำำลองฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นกำรนำำเสนอข้อมูลในลักษณะ
ตำรำง(Table) โดยตำรำงหนึ่งจะประกอบด้วยแถวและคอลัมน์
ข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในตำรำงสำมำรถเชื่อมโยงควำมสัมพันธ์กับตำรำ
งอื่นๆ ได้ ไม่ว่ำจะเป็นควำมสัมพันธ์แบบ one-to-many หรือแบบ
many-to-many ในปัจจุบันแบบจำำลองฐำนข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็น
แบบจำำลองที่มีควำมแพร่หลำยและนิยมใช้กันมำกที่สุดในปัจจุบัน
ข้อดี
 มีควำมเป็นอิสระในโครงสร้ำง
 ลดควำมซ้ำ้ำซ้้อนของข้อมูลได้เป็นส่วนใหญ่
 ใช้ชุดคำำสั่ง SQL ในกำรจัดกำรกับฐำนข้อมูล
 โครงสร้ำงมีควำมยืดหยุ่น
ข้อเสีย
 ค่ำใช้จ่ำยในระบบค่อนข้ำงสูง
 พื้นฐำนกำรสร้ำงแบบจำำลองข้อมูล (Data models) ในแบบจำำลอง
เชิงสัมพันธ์ ประกอบด้วย
 เอ็นทิตี้ (Entity)
 กลุ่มของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบุคคล สิ่งของ สถำนที่ หรือเหตุกำรณ์
เช่น เอ็นทิตี้พนักงำน
 แอททริบิวต์ (Attributes)
 คุณสมบัติของเอ็นทิตี้ เช่น เอ็นทิตี้พนักงำนประกอบไปด้วย
แอททริบิวต์ ชื่อพนักงำน, เพศ, แผนก, ที่อยู่, เบอร์โทร เป็นต้น
 ควำมสัมพันธ์ (Relationship)
 เป็นควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเอ็นทิตี้ เช่นควำมสัมพันธ์ระหว่ำง
เอ็นทิตี้พนักงำน กับเอ็นทิตี้สินค้ำ
รหัส
พนักงำน
ชื่อ นำมสกุล แผนก ตำำแหน่ง
Emp_ID Firstname Lastname Dep Position
Em1002 ชิดชัย ละไมสม ผลิต ผู้จัดกำรแผนก
Em1003 ตุลำ ไพบูลย์รุ่งเรือง จัดซ้ื้อ ผู้จัดกำรแผนก
Em1004 ธรรมดำ งำมดีพร้อม จัดซ้ื้อ พนักงำน
Em1005 สวยพร้อม กำรุณสรร ขำย ผู้จัดกำรแผนก
Em1006 เจตนำ พิทักษ์ทรัพย์ ขำย พนักงำน
Relation: Employee
ควำมหมำยของฟิลด์
ชื่อฟิลด์
แถว(Tuples)
คีย์ (key) หมำยถึง (คอลัมน์, ฟิลด์, แอตทริบิวต์) ซ้ึ่งจะมีค่ำไม่ซ้ำ้ำ
กันในแต่ละแถว (unique) ทำำให้สำมำรถใช้คอลัมน์เหล่ำนี้ระบุ
ถึง (แถว, เรคอร์ด, ทัพเพิล) แต่ละแถวได้
 กลุ่มของแอตทริบิวต์ที่ใช้ระบุถึงควำมเป็นเอกลักษณ์ในแต่ละ
ทัพเพิลของรีเลชั่นนั้นๆ ซ้ึ่งแอตทริบิวต์เหล่ำนั้นอำจไม่มีโอกำสมี
ค่ำซ้ำ้ำกันเลยในแต่ละแถว
รหัส
พนักงำน
ชื่อ นำมสกุล แผนก ตำำแหน่ง
Emp_ID Firstname Lastname Dep Position
Em1002 ชิดชัย ละไมสม ผลิต ผู้จัดกำรแผนก
Em1003 ตุลำ ไพบูลย์รุ่งเรือง จัดซ้ื้อ ผู้จัดกำรแผนก
Em1004 ธรรมดำ งำมดีพร้อม จัดซ้ื้อ พนักงำน
Em1005 สวยพร้อม กำรุณสรร ขำย ผู้จัดกำรแผนก
Em1006 เจตนำ พิทักษ์ทรัพย์ ขำย พนักงำน
 Employee (Emp_ID, Firstname, Lastname, Dep,
Position)
 Emp_ID
 Emp_ID, Firstname
 Emp_ID, Lastname
 Emp_ID, Dep
 Emp_ID, Positionรหัส
พนักงำน
ชื่อ นำมสกุล แผนก ตำำแหน่ง
Emp_ID Firstname Lastname Dep Position
Em1002 ชิดชัย ละไมสม ผลิต ผู้จัดกำรแผนก
Em1003 ตุลำ ไพบูลย์รุ่งเรือง จัดซ้ื้อ ผู้จัดกำรแผนก
Em1004 ธรรมดำ งำมดีพร้อม จัดซ้ื้อ พนักงำน
Super key
 superkey ที่มีคอลัมน์เดียว มีขนาดเล็กที่สุด และไม่มีบางส่วน
ของคีย์มีความเป็น unique subset
 Employee (Emp_ID, Firstname, Lastname, Dep,
Position)
 Emp_ID
 Emp_ID, Firstname
 Emp_ID, Lastname
 Emp_ID, Dep
 Emp_ID, Position
คือ Candidate key ที่ถูกคัดเลือกให้เป็นคีย์หลัก ที่สามารถนำาไป
ใช้เพื่อการอ้างอิงความเป็น unique ของแต่ละ Tuple โดย
คุณสมบัติของ Primary key มีดังนี้
 ต้องไม่บรรจุข้อมูลว่างเปล่า (Null)
 ต้องมีค่าที่ไม่ซ้ำ้ากันในแต่ละแถว (Unique)
 Primary key จะถูกเปลี่ยนแปลงค่าไม่ได้
โดยใน 1 relation หรือ 1 Entity จะมี Primary key ได้เพียง 1 ตัว
เท่านั้น
รหัส
พนักงาน
ชื่อ นามสกุล แผนก ตำาแหน่ง
Emp_ID Firstname Lastname Dep Position
Em1002 ชิดชัย ละไมสม ผลิต ผู้จัดการแผนก
Em1003 ตุลา ไพบูลย์รุ่งเรือง จัดซ้ื้อ ผู้จัดการแผนก
 คีย์นอก (FK) เป็นคีย์ที่สามารถใช้อ้างอิงร่วมกับ คีย์หลัก (PK)
ของอีกรีเลชันหนึ่งได้ โดยมีเป้าหมายที่จะเชื่อมโยงเพื่อสร้าง
ความสัมพันธ์ระหว่าง 2 รีเลชั่น ให้สามารถอ้างถึงค่าในคอลัมน์
อื่นๆ ได้
รหัส
พนักงาน
ชื่อ นามสกุล แผนก ตำาแหน่ง
Emp_ID Firstname Lastname Dep Position
Em1002 ชิดชัย ละไมสม ผลิต ผู้จัดการแผนก
Em1003 ตุลา ไพบูลย์รุ่งเรือง จัดซ้ื้อ ผู้จัดการแผนก
Em1004 ธรรมดา งามดีพร้อม จัดซ้ื้อ พนักงาน
Em1005 สวยพร้อม การุณสรร ขาย ผู้จัดการแผนก
Em1006 เจตนา พิทักษ์ทรัพย์ ขาย พนักงาน
Relation: Employees
Relation: Department
กำาหนด Entity ที่เกี่ยวข้อง
 ข้อมูลพนักงาน
 ข้อมูลลูกค้า
 ข้อมูลหนังสือ
พนักงาน: Employees
Employees (em_code, em_firstname, em_lastname, em_sex, em_address,
em_tel, dep, level)
ลูกค้า: Customers
Customers (cs_code, cs_firstname, cs_lastname, cs_sex, cs_address, cs_tel)
หนังสือ : Books
Books (B_code, title, Author, ISBN, Pub, Year, Lang, Price, Cate, Stock)
 ให้นักศึกษาออกแบบระบบงานในรูปแบบของ Relation
Schema พร้อมทั้งระบุ Primary key และ Foreign key ด้วย
 ส่งตัวแทนออกมาเลือกระบบงานกลุ่มละ 1 คน
 นำาเสนอหน้าชั้นเรียน

Más contenido relacionado

Similar a Db architecture

สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลskiats
 
Database Review for Midterm Exam
Database Review for Midterm ExamDatabase Review for Midterm Exam
Database Review for Midterm Examkunemata
 
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูลด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบSarawut Panchon
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูลด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 

Similar a Db architecture (14)

สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
 
Database Review for Midterm Exam
Database Review for Midterm ExamDatabase Review for Midterm Exam
Database Review for Midterm Exam
 
Ch5 database system
Ch5 database systemCh5 database system
Ch5 database system
 
228-8 /231-9
228-8 /231-9228-8 /231-9
228-8 /231-9
 
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมและการออกแบบฐานข้อมูล
 
Lesson 19
Lesson 19Lesson 19
Lesson 19
 
Php mysql
Php mysqlPhp mysql
Php mysql
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
Act
ActAct
Act
 
Lesson 1 intro2_db
Lesson 1 intro2_dbLesson 1 intro2_db
Lesson 1 intro2_db
 
Lesson 1 intro2_db
Lesson 1 intro2_dbLesson 1 intro2_db
Lesson 1 intro2_db
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
 
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
 

Más de Nittaya Intarat (20)

Normalization
NormalizationNormalization
Normalization
 
Normalization
NormalizationNormalization
Normalization
 
Local area network
Local area networkLocal area network
Local area network
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
E r diagram
E r diagramE r diagram
E r diagram
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
Data tranmission
Data tranmissionData tranmission
Data tranmission
 
Network equipment
Network equipmentNetwork equipment
Network equipment
 
Network equipment
Network equipmentNetwork equipment
Network equipment
 
Media
MediaMedia
Media
 
Data management pub
Data management pubData management pub
Data management pub
 
Data management
Data managementData management
Data management
 
Data management
Data managementData management
Data management
 
Data communication
Data communicationData communication
Data communication
 
Opac exam
Opac examOpac exam
Opac exam
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and network
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
 
Ch3 in fo re_source
Ch3 in fo re_sourceCh3 in fo re_source
Ch3 in fo re_source
 
Information sources 1
Information  sources 1Information  sources 1
Information sources 1
 
Ch2 ระบบสารสนเทศ
Ch2 ระบบสารสนเทศCh2 ระบบสารสนเทศ
Ch2 ระบบสารสนเทศ
 

Db architecture