SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 143
Nittaya Wongyai
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล : Media
 เป็นส่วนทีทำำให้เกิดกำรเชื่อมต่อระหว่ำงอุปกรณ์ตำงๆ เข้ำด้วย
            ่                                    ่
  กัน และทำำให้ข้อมูลเดินทำงผ่ำนจำกผู้ส่งไปสู่ผรับผ่ำนสื่อกลำง
                                               ู้
  ทีใช้
    ่
 กำรวัดปริมำณหรือควำมจุในกำรนำำข้อมูลเรียกกันว่ำ แบนด์วิดธ์
  (Bandwidth) มีหน่วยเป็นจำำนวน บิต ข้อมูลต่อวินำที (bits per
  second: bps)
 ลักษณะของตัวกลำงต่ำงๆ มีดังต่อไปนี้
    สื่อประเภทเหนียวนำำ/สื่อมีสำย (Conducted Media)
                   ่
    สื่อประเภทกระจำยคลื่น/สื่อไร้สำย (Radiated Media)
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล :
Media
 สื่อประเภทเหนี่ยวนำำ/สื่อมีสำย หมำยถึง สื่อกลำงที่เป็นสำย
  ซึ่งใช้ในกำรเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่ำง ๆ สำมำรถกำำหนดเส้น
  ทำงเพื่อใช้ในกำรส่งผ่ำนข้อมูลในระยะทำงที่ห่ำงกันไม่มำก
  นัก
 สำยคู่บิดเกลียว (twisted pair)
 สำยโคแอกเซียล (coaxial cable)
 เส้นใยแก้วนำำแสง (fiber optic)
สำยคู่บิดเกลียว (twisted pair)
 ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงทีหุ้มด้วยฉนวนป้องกัน 2 เส้นพัน
                           ่
  บิดเป็นเกลียว
 อัตรำกำรส่งข้อมูลผ่ำนสำยคู่บิดเกลียวจะขึ้นอยู่กับควำมหนำของ
  สำยทำำให้สำมำรถส่งข้อมูลด้วยอัตรำส่งสูง
 กำรส่งข้อมูลแบบดิจิทัล สัญญำณที่ส่งเป็นลักษณะคลืนสี่เหลี่ยม
                                                      ่
  สำยคูบิดเกลียวสำมำรถใช้ส่งข้อมูลได้ถึงร้อยเมกะบิตต่อวินำที
        ่
  ในระยะทำงไม่เกินร้อยเมตร
 มีรำคำไม่แพงมำก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี จึงได้รับควำมนิยมใช้กันมำก
สำยคู่บิดเกลียว (twisted pair)




                                 จำำนวนรอบของกำรถักเป็นเกลียว
                                       ต่อหนึ่งหน่วยควำมยำว
                                         (1 เมตรหรือ 1 ฟุต)
                                      จะเรียกว่ำ “Twist Ratio”
                                  ยิ่งมีรอบถักเกลียวหนำแน่นมำก
                                   เท่ำไหร่ ก็จะช่วยลดสัญญำณ
                                            รบกวนได้ดีขึ้น
ลำำดับ ขั้น   ควำมเร็ว                      กำรถ่ำยทอดสัญญำณ
Catagory
               Mbps

    1            1       ใช้กับระบบโทรศัพท์ เหมำะกับสัญญำณเสียง ไม่สำมำรถใช้ในกำร
                                           ส่ง ข้อมูลแบบดิจิตอลได้


    2            4       รองรับแบนด์วิธได้ถึง 4 MHz ซึ่งทำำให้สำมำรถส่งข้อมูลแบบดิจิตอล
                                      ได้ถึง 4 MHz มีสำยคู่บิดเกลียวอยู่ 2 คู่


    3           10       สำยที่สำมำรถส่งข้อมูลได้ถึง 16 Mbps และมีสำยคูบิดเกลียวอยู่ 4
                                                                       ่
                                                       คู่
ลำำดับ ขั้น   ควำมเร็ว                      กำรถ่ำยทอดสัญญำณ
Catagory
               Mbps


    4           16            ส่งข้อมูลได้ถึง 20 Mbps และมีสำยคู่บดเกลียวอยู่ 4 คู่
                                                                  ิ

5 Class D       100          ส่งข้อมูลได้ถึง 100 Mbps และมีสำยคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่

5 Class E      1,000     มีคณสมบัตเช่นเดียวกับ Cat 5 แต่มีคณภำพของสำยทีดีกว่ำ เพื่อ
                            ุ      ิ                       ุ              ่
                         รองรับกำรส่งข้อมูลแบบฟูลดูเพล็กซ์ท1,000 Mbps ซึ่งใช้4 คู่สำย
                                                             ี่

    6         10,000      ส่งข้อมูลได้ถึง 10,000 Mbps รองรับแบนด์วิธได้ถึง 250 MHz


    7         ทดลอง       รองรับแบนด์วิธได้ถึง 600 MHz และกำำลังอยู่ในระหว่ำงกำรวิจัย
สำยคู่บิดเกลียว (twisted pair)
 CAT1-CAT7
 ใช้คอนเน็กเตอร์แบบ RJ
 โทรศัพท์บ้ำน ใช้คอนเน็กเตอร์แบบ RJ-11
 สำย UTP ชนิด CAT5/CAT5e/CAT6 ใช้กบระบบเครือข่ำย
                                      ั
  ท้องถิ่น(LAN) ใช้คอนเน็กเตอร์แบบ RJ-45
สำยคู่บิดเกลียว (twisted pair)

 กำรเข้ำหัวสำย UTP กับหัวเชื่อมต่อแบบ RJ-45 มีอยู่สอง
  มำตรฐำนคือ
 แบบ EIA/TIA 568A และ EIA/TIA 568B
สำยคู่บิดเกลียว (twisted pair)

 สำยแพทช์คอร์ด เชื่อมต่อระหว่ำงอุปกรณ์ Hub กับ
  คอมพิวเตอร์ ปลำยของสำย UTP ทั้งสองด้ำนต้องเข้ำตำม
  มำตรฐำน EIA/TIA 568B
 สำยครอสโอเวอร์ เชื่อมต่อระหว่ำง Hub กับ Hub หรือ
  ระหว่ำงคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ ปลำยของสำย UTP
  ด้ำนหนึ่งต้องเข้ำแบบ EIA/TIA 568A ส่วนปลำยของสำย
  อีกด้ำนหนึ่งเข้ำแบบ EIA/TIA 568B
 สำย UTP ที่ใช้กับระบบ Ethernet
  ควำมยำวของสำยต้องไม่เกิน
  100 เมตร
สำยโคแอกเชียล (coaxial)
 มีแบนด์วิดธ์ที่สูงกว่ำสำยคูบิดเกลียว
                             ่
 สำยโคแอกเชียลชนิด 50 โอห์มใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิทัล และชนิด
  75 โอห์มใช้ส่งข้อมูลสัญญำณแอนะล็อก
 ประกอบด้วยลวดทองแดงทีเป็นแกนหลักหนึงเส้นทีหุ้มด้วยฉนวนชั้น
                            ่                ่    ่
  หนึง เพื่อป้องกันกระแสไฟรั่ว จำกนันจะหุมด้วยตัวนำำซึ่งทำำจำกลวด
      ่                             ้    ้
  ทองแดงถักเป็นเปีย เพื่อป้องกันกำรรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ
  และสัญญำณรบกวนอื่นๆ ก่อนจะหุ้มชั้นนอกสุดด้วยฉนวนพลำสติก
 ลวดทองแดงที่ถักเป็นเปียเป็นส่วนหนึ่งที่ทำำให้สำยประเภทนี้มีช่วง
  ควำมถี่สัญญำณไฟฟ้ำสำมำรถผ่ำนได้สูงมำก และนิยมใช้เป็นช่อง
  สื่อสำรสัญญำณแอนะล็อกเชื่องโยงผ่ำนใต้ทะเลและใต้ดน     ิ
 ป้องกันสัญญำณรบกวนได้ดี และเชื่อมต่อได้ในระยะไกล
สำยโคแอกเชียล (coaxial)
สำยโคแอกเชียล (coaxial)
สำยโคแอกเชียล (coaxial)
 กำรถ่ำยทอดสัญญำณในสำยโคแอกเซียลทำำได้สอง
 แบบ คือ
     แบบบรอดแบนด์

     แบบเบสแบนด์
กำรถ่ำยทอดสัญญำณแบบบรอดแบนด์
 (Broadband Transmission)

 แบ่งสำยออกเป็นช่องสัญญำณขนำดเล็กจำำนวนมำก ด้วยวิธีกำร
 ทำงอิเล็กทรอนิกส์ คือ แบ่งเป็นสัญญำณพำหะ (Carrier Wave)
 ออกเป็นช่องสัญญำณเล็กตำมขนำดคลื่นควำมถี่ โดยมีช่อง
 สัญญำณกันชน เรียกว่ำ Guard Band ทำำหน้ำที่เป็นตัวป้องกัน
 กำรรบกวนระหว่ำงช่องสัญญำณทีอยู่ติดกัน ดังนั้นสำยสัญญำณ
                                 ่
 ย่อยทุกเส้นจึงสำมำรถรับ-ส่งข้อมูลได้พร้อม ๆ กัน
กำรถ่ำยทอดสัญญำณแบบบรอดแบนด์
(Broadband Transmission)

 กำรส่งสัญญำณโทรทัศน์นบร้อยช่องผ่ำนทำงสำย
                       ั
  โคแอกเซียลเพียงเส้นเดียวไปตำมบ้ำนพักอำศัย
 บริษัทยูบีซีในประเทศไทยก็ทำำในลักษณะเดียวกันเพียงแต่ใช้
  สำยคนละชนิดกันคือสำยใยแก้วนำำแสง
กำรถ่ำยทอดสัญญำณแบบเบสแบนด์ (Baseband
Transmission)

 ใช้ในกำรสื่อสำร ข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยเฉพำะในระบบเครือข่ำย
  เฉพำะบริเวณ
 กรณีนสำยโคแอกเซียลจะมีเพียงช่องสัญญำณเดียว
         ี้
  (ที่มีควำมกว้ำงมำก)
สำยโคแอกเชียล (coaxial)
 ปัญหำที่สำำคัญของสำยโคแอกเซียล คือ เรื่องขนำดของสำย ซึ่ง
 มีขนำดใหญ่และมีนำ้ำหนักมำกเมื่อเปรียบเทียบกับสำยคูบิด
                                                   ่
 เกลียวหรือสำยใยแก้วนำำแสง
เส้นใยแก้วนำำแสง (fiber optic)
 แกนกลำงของสำยประกอบด้วยเส้นใยแก้วบริสุทธิ์ ขนำดเล็ก
    หลำยๆ เส้นอยู่รวมกัน และห่อหุ้มด้วยเส้นใยอีกชนิดหนึง ก่อน
                                                         ่
    จะหุ้มชั้นนอกสุดด้วยฉนวน
   สำมำรถส่งข้อมูลด้วยอัตรำควำมหนำแน่นของสัญญำณข้อมูลสูง
    มำก และไม่มีกำรก่อกวนของคลืนแม่เหล็กไฟฟ้ำ
                                   ่
   กำรบิดงอสำยสัญญำณจะทำำให้เส้นใยหัก จึงไม่สำมำรถใช้สื่อ
    กลำงนี้ในกำรเดินทำงตำมมุมตึกได้
   เหมำะที่จะใช้กับกำรเชื่อมโยงระหว่ำงอำคำรกับอำคำร หรือ
    ระหว่ำงเมืองกับเมือง เส้นใยนำำแสงจึงมักถูกนำำไปใช้เป็นสำย
    แกนหลัก(Blackbone) ระยะทำงไกลถึง 2000 เมตร
   เทคนิคกำรเคลือบสำยใยแก้วนำำแสงที่เรียกว่ำ Heat-Fused
    Cladding นันทำำให้กำรลักลอบขโมยสัญญำณเกือบจะเป็นไปไม่
                ้
    ได้
ส่วนประกอบหลักของใยแก้วนำำแสง
 Core
  ทำำหน้ำที่ให้แสงเดินทำงผ่ำน
 Cladding
  ทำำหน้ำที่เป็นตัวหักเหของแสง
 Jacket
  ทำำหน้ำที่ป้องกันส่วน Core และ Cladding
เส้นใยแก้วนำำแสง (fiber optic)
เส้นใยแก้วนำำแสง (fiber optic)
 เส้นใยแก้วนำำแสงแบบมัลติโหมด (Multimode Fiber Optic: MMF)
   ภำยในเส้นใยแก้วมีแนวลำำแสงอยู่จำำนวนหลำยลำำแสง
   นิยมนำำมำใช้งำนในระบบ LAN มำกทีสุด = 62.5/125 ไมโครเมตร
                                   ่
   ขนำดทีนิยมใช้ เส้นผ่ำนศูนย์กลำงของแกนอยู่ที่ 62.5 micron และ
          ่
    ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของแกนและส่วนที่เป็น Cladding อยู่ที่
    125 micron
   ขนำดของ Core จะมีขนำดใหญ่กว่ำเส้นใยแก้วนำำแสงแบบ SM
    fiber มีผลทำำให้แสงทีตกกระทบทีปลำยอินพุตของเส้นใยแก้วนำำ
                         ่         ่
    แสงมีมุมตกกระทบที่แตกต่ำงกันหลำยค่ำ ทำำให้มีแนวลำำแสงเกิด
    ขึ้นหลำยโหมด ซึ่งทำำให้เกิดกำรแตกกระจำยของโหมดแสง
 Step Index optic fiber (SI-fiber) เป็นเส้นใยแก้วนำำแสง
 ทีมีลักษณะกำรเปลียนแปลงของดัชนีกำรหักเหระหว่ำง Core กับ
   ่                 ่
 Cladding เป็นในลักษณะขั้นบันได (Step) วัสดุที่ใช้ในกำร
 เคลือบท่อใยแก้ว นำำแสงเป็นสำรประเภทพลำสติก หรือสำร
 สะท้อนแสง เพื่อใช้ทำำหน้ำทีสะท้อนแสงที่ส่งออกมำจำก แอลอี
                             ่
 ดี หรือเลเซอร์ให้อยู่ภำยในท่อใยแก้ว จนกระทังไปทะลุออกทำง
                                            ่
 ปลำยสำย เส้นใยแสงชนิดนี้อำจจะสร้ำงจำกแก้วหลำยๆชนิดปน
 กันหรือแก้วซิลิก้ำก็ได้
 Graded Index optic fiber (GI-fiber) เป็นเส้นใยแก้วนำำ
 แสงทีมีลักษณะกำรเปลียนแปลงของดัชนีกำรหักเหระหว่ำง Core
       ่                   ่
 กับ Cladding ค่อยๆ ลดลงทีละน้อย จึงเรียกว่ำ Graded Index
 optic fiber เส้นใยแสงชนิดนี้สร้ำงจำกแก้วหลำยชนิดปนกันหรือแก้ว
 ซิลก้ำก็ได้เช่น เดียวกับเส้นใยแสงชนิด Multi mode step index
     ิ
 แต่จะแตกต่ำงกันตรงทีสำรที่นำำมำใช้ จะต้องมีควำมบริสุทธิ์มำกกว่ำ
                         ่
 เพื่อลดกำร สูญเสียที่จะเกิดขึ้น ดังนั้นจึงทำำให้เส้นใยแสงชนิดนีมี
                                                                ้
 ประสิทธิภำพดีกว่ำเส้นใยแสงชนิด Multi mode step index
เส้นใยแก้วนำำแสง (fiber optic)
 เส้นใยแก้วนำำแสงแบบซิงเกิลโหมด (Single mode Fiber
 Optic: SMF)
   มีเส้นใยแก้วเป็นส่วนแกนขนำดเล็กกว่ำแบบมัลติโหมด
   ขนำดของเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของแกนประมำณ 8-10 micron
   ส่วนที่เป็น Cladding ประมำณ 125 micron
   เส้นใยประเภท SMF นี้ จะอนุญำตให้แสงเดินทำงเพียงแนว
    เดียว
   ทำำให้แสงไม่เกิดกำรแตกกระจำย ทำำให้สำมำรถรับสัญญำณที่
    ปลำยสำยได้ดีกว่ำแบบ MMF และสำมำรถส่งสัญญำณได้ใน
    ระยะทำงทีไกลกว่ำ
                ่
 เส้นใยแสงชนิด Single mode นีสำมำรถที่จะสร้ำงให้มี Index
                              ้
  Profile ได้ทงแบบ step index และ Graded Index แต่เนื่องจำก
              ั้
  กำรสร้ำงเส้นใยแสงแบบ Single mode ที่มี Index Profile แบบ
  Graded Index มีรำคำแพงและ คุณสมบัตที่ได้จำกกำรมี Index
                                         ิ
  Profile แบบ Graded Index ก็ไม่มีประโยชน์ต่อระบบกำรสื่อสำร
  ด้วยเส้นใยแสง ดังนั้นในปัจจุบันเส้นใยแสงแบบ Single mode ที่
  สร้ำงขึ้นในเชิงพำณิชย์กจะมีแต่เส้นใยแสง Single mode แบบ
                           ็
  Step Index เท่ำนั้น ซึ่งเหมำะสมสำำหรับงำนที่ตองกำรแบนด์วิธ
                                               ้
  กว้ำงและระยะทำงไกล (Long- Haul)
คุณสมบัติของเส้นใยแก้วนำำแสงแบบ Step Index, Grad Index, Single mode
สำยใยแก้วนำำแสง (Fiber Optic Cable)
 เป็นสำยสื่อสำรทีมีควำมกว้ำงช่องสื่อสำรสูงมำกกว่ำสำยทุกชนิด
                  ่
 สำมำรถถ่ำยทอดข้อมูลปริมำณสูงในเวลำสั้น อัตรำควำมเร็วใน
  กำรส่งข้อมูลเริ่มต้นที่ 100 ล้ำนบิตต่อวินำที
 อนำคตสำยชนิดนีจะสำมำรถส่งข้อมูลได้ที่อตรำควำมเร็วสูงถึง
                     ้                         ั
  2.5 ล้ำนล้ำนบิตต่อวินำที
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล :
Media
 สื่อกระจำยคลื่น/สื่อกลำงประเภทไร้สำย หมำยถึง สื่อกลำงที่
    ใช้กำรส่งข้อมูลผ่ำนอำกำศ โดยอำศัยพลังงำน
    คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำที่แพร่กระจำยอยู่ทั่วไป โดย
    คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำดังกล่ำวมีทั้งคลื่นควำมถี่ตำ่ำและคลื่น
    ควำมถี่สูง
   คลื่นวิทยุ (Radio Frequency: RF)
   ไมโครเวฟ (Terrestrial Microwave Transmission)
   ดำวเทียม (Satellite)
   อินฟรำเรด (Infrared Transmission)
   บลูทูธ (Bluetooth)
คลื่นวิทยุ (Broadcast Radio/Radio Frequency: RF)
  กำรสื่อสำรโดยอำศัยคลืนวิทยุ ทำำโดยกำรส่งคลืนไปยังอำกำศเพื่อ
                        ่                     ่
     เข้ำไปยังเครื่องรับวิทยุ
    ใช้เทคนิคกำรมอดูเลต ด้วยกำรรวมคลืนเสียงที่เป็นคลื่นไฟฟ้ำควำมถี่
                                           ่
     เสียงรวมกัน
    กำรแพร่กระจำยคลื่น หรือที่เรียกว่ำกำรส่งออกอำกำศ จะเกิดขึ้นใน
     ทุกทิศทำง (Omnidirectional) ทำำให้เสำอำกำศที่ใช้รับสัญญำณไม่
     จำำเป็นต้องตั้งทิศทำงให้ชี้ตรงมำยังเสำส่งสัญญำณ
    คลืนวิทยุมีควำมเร็วค่อนข้ำงตำ่ำและไวต่อสัญญำณรบกวน
         ่
    ออกอำกำศโดยทัวไปทังในระบบ AM และ FM มีควำมถี่อยู่ในช่วง
                        ่     ้
     30-300 MHz
คลื่นวิทยุ (Broadcast Radio/Radio Frequency: RF)




             ย่ำนควำมถี่ของสัญญำณต่ำงๆ
คลื่นวิทยุ (Broadcast Radio/Radio Frequency: RF)
   สัญญำณวิทยุ เอเอ็ม (Amplitude Modulation; AM) ใช้คลืน
                                                        ่
    ควำมถี่ตำ่ำกว่ำสัญญำณวิทยุเอฟเอ็ม (Frequency Modulation;
    FM)
   วิทยุเอเอ็มมีรัศมีกำรส่งออกอำกำศไปได้ไกลกว่ำเอฟเอ็ม เปรียบ
    เทียบจำกเครื่องที่มีกำำลังส่งเท่ำกัน จึงมีพื้นทีให้บริกำรมำกกว่ำ
                                                    ่
    แต่ก็จะถูกสัญญำณอืนรบกวนได้โดยง่ำย
                         ่
คลื่นวิทยุ (Broadcast Radio/Radio Frequency: RF)
   สัญญำณวิทยุเอฟเอ็ม (Frequency Modulation; FM)
   วิทยุคลืนเอฟเอ็มจึงรับฟังได้ชัดเจนกว่ำแม้ในขณะทีมีพำยุฝน
            ่                                       ่
   อิทธิพลของดวงอำทิตย์ก็มีผลโดยตรงต่อระยะทำงส่งสัญญำณ
    กลำงวัน อำกำศร้อน ควำมหนำแน่นน้อย ส่วนตอนเย็น อำกำศ
    เย็น ควำมหนำแน่นมำก ทำำให้สัญญำณวิทยุไปได้ไกลขึ้นและมี
    ควำมชัดเจนในกำรรับฟังมำกขึ้น
คลื่นวิทยุ (Broadcast Radio/Radio Frequency: RF)
  สัญญำณที่ใช้ในระบบวิทยุคลื่นสั้น (Shortwave radio; SW)
  ส่งออกอำกำศด้วยคลื่นในย่ำนควำมถี่ตำ่ำมำก จึงมีคณสมบัติทวไป
                                                  ุ       ั่
   คล้ำยกับวิทยุเอเอ็ม คือ สำมำรถส่งออกอำกำศได้ในระยะทำงที่
   ไกลมำก
  เช่น สถำนีวิทยุเสียงอเมริกำ-ภำควิทยุคลื่นสั้น (Voice of America)
   เคยเข้ำมำตังอยู่ใน ประเทศไทยในระหว่ำงสงครำมเวียดนำมเพื่อ
               ้
   ส่งสัญญำณออกอำกำศไปยังผูฟังทั่วไปในประเทศไทยและไปไกล
                                ้
   ถึงประเทศเวียดนำม
คลื่นวิทยุ (Broadcast Radio/Radio Frequency: RF)
 วิทยุสมัครเล่น (Citizen Band; CB)
  ใช้คลื่นควำมถี่ตำ่ำมำก
  ถูกนำำมำใช้สำำหรับกำรสื่อสำรระยะทำงใกล้สำำหรับประชำชนทัวไป
                                                           ่
  มีรัศมีกำรรับ-ส่งสัญญำณประมำณตังแต่ไม่กี่ร้อยเมตรไปจนถึง
                                    ้
    มำกกว่ำ 10 กิโลเมตร คุณภำพทีใช้งำนจึงไม่ค่อยเป็นปัญหำ
                                  ่
โทรทัศน์
 เป็นระบบโทรคมนำคม กระจำยภำพและเสียง
 TELE + VISION(visio)
 คลื่นควำมถีส่งแบ่งเป็น 2 ประเภทดังนี้
             ่
   ประเภทเครื่องส่งกับเสำอำกำศภำคพื้นดิน
     VHF (Very-High Frequency) Analog Only

       คลื่นตรง

     UHF (Ultra-High Frequency) Analog + Digital

       คลื่นไมโครเวฟ

   ประเภทเครื่องส่งกับดำวเทียม
     EHF (Extremely high frequency) ย่ำนควำมถี่ไมโครเวฟ

   ประเภทอืน่
     Cable TV With Fiber optic & Satellite
โทรทัศน์
       UHF (Ultra-High Frequency) Analog + Digital
 สัญญำณคลืนไมโครเวฟที่ใช้ในกำรส่งสัญญำณโทรทัศน์
               ่
 ควำมถี่อยู่ในช่วงคลื่น 400-900 MHz (เดิม) ปัจจุบันมีย่ำน
  ควำมถี่ทระหว่ำง 300 - 3000 MHz(30 GHz) ควำมยำวคลื่น
            ี่
  ตั้งแต่ 1เมตร ถึง 100 เมตร
 UHF เป็นกำรใช้งำนกำรส่งคลืนวิทยุโทรทัศน์ระบบดิจิตอล กำร
                               ่
  ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์ไร้สำย
โทรทัศน์
      VHF (Very-High Frequency) Analog Only
 ลักษณะคลื่นเป็นคลื่นตรง มีควำมถี่อยู่ในช่วงคลืน 50-225 MHz
                                                  ่
  (เดิม) ปัจจุบันมีย่ำนควำมถี่ที่ระหว่ำง 30 - 300 MHz
  ควำมยำวคลื่นตังแต่ 10เมตร ถึง 1 เมตร ส่วนมำกแล้วโดยทั่วไป
                  ้
  นัน VHF จะใช้ในกำรส่งคลื่นวิทยุสื่อสำร วิทยุโทรทัศน์ วิทยุ
    ้
  กระจำยเสียง
โทรทัศน์
ปัจจุบันมีกำรแพร่ภำพอยู่ 2 ประเภท คือ ควำมละเอียดมำตรฐำน
  (Standard-definition television : SDTV) กับ ควำมละเอียดสูง
  (High-definition television : HDTV)
 HDTV มีมติทเส้นอย่ำงน้อย2เท่ำของโทรทัศน์สัญญำณควำมคม
               ี่
  ชัดระดับมำตรฐำน (SDTV) ยิ่งกว่ำนันมำตรฐำนทำงเทคนิคเพื่อ
                                    ้
  แพร่ภำพ HDTV สำมำรถจัดกำรภำพลักษณะอัตรำส่วน16:9 โดย
  ปรำศจำกกำรใช้ letterboxing แบบยืดหยุ่น *Wide Screen
โทรทัศน์
สำำหรับประเทศไทยในปัจจุบันนี้สถำนีโทรทัศน์ฟรีทีวีของไทยยังไม่
   สำมำรถปล่อยสัญญำณทีมีควำมสะเอียดสูงได้(ยกเว้น Mcot)
                             ่
   ทำำให้กำรใช้งำน HDTV ยังไม่แพร่หลำยในเมืองไทย และยังใช้
   งำนได้ไม่เต็มประสิทธิภำพมำกนักด้วยข้อจำำกัดทำงด้ำน
   มำตรฐำนทำงด้ำน resolution ของ HDTV ซึ่งอยู่หลำยอย่ำงแต่
   อันที่คำดว่ำจะเป็นที่ใช้โดยทัวไปคือ 1080 x 1920 พิกเซล
                                ่
          กำรที่จะให้ HDTV ทำำงำนอย่ำงสมบูรณ์แบบนั้นก็ต้องมีสื่อ
   ทีสำมำรถรองรับกำรทำำงำนของ HDTV ได้เช่นกัน สือหลักๆทีมี
     ่                                                      ่
   อยู่ตอนนีก็เห็นจะได้แก่ Blu-Ray และ HD DVD
            ้
ประเภทของเครื่องรับโทรทัศน์
ไมโครเวฟ
 เป็นคลื่นควำมถี่วิทยุชนิดหนึ่งเดินทำงเป็นเส้นตรง
  สื่อสำรในระดับสำยตำ มีสัญญำณรบกวนเกิดขึ้นน้อย
 ใช้ในกำรสื่อสำรข้อมูลข่ำวสำรในปริมำณมำกๆ
 เส้นทำงในกำรสื่อสำรประมำณ 50-80 กิโลเมตรและไม่มีสิ่งกีดขวำง
 กำรสื่อสำรในรูปแบบนีมีผลต่อส่วนโค้งของโลก
                        ้
 ถ้ำต้องกำรสื่อสำรในระยะไกลกว่ำนี้จะต้องมีสถำนีทวนสัญญำณในระ
  ยะทุกๆ 50-80 กม. เพื่อให้รับสัญญำณและทำำกำรขยำยสัญญำณให้
  แรงขึ้นแล้วส่งสัญญำณต่อไป จนถึงปลำยทำง
ไมโครเวฟชนิดตั้งบนพื้นดิน (Terrestrial Microwave)
 สถำนีบนพื้นดินตังอยู่ใกล้กันในระยะประมำณ 40-48 กิโลเมตร
                    ้
  และอำจไกลถึง 88 กิโลเมตร รับส่งข้อมูลระหว่ำง 2 สถำนี
 สถำนีทงสองต้องตังอยู่สูงจำกพื้นดินมำก ๆ เช่น ตั้งอยู่บนยอด
          ั้          ้
  ตึกสูง ทั้งนีจะต้องไม่มีวัตถุใด ๆ ขวำงระหว่ำงสถำนีทงสอง
               ้                                     ั้
ไมโครเวฟที่สื่อสำรผ่ำนดำวเทียม (Satellite Microwave) .

 ดำวเทียม (Satellite) คือสถำนีส่งกำำลังกำรติดต่อระหว่ำงสถำนี
  ต้องมีอุปกรณ์ทำำกำรรับและส่งข้อมูลคือดำวเทียมหนึงดวงและ
                                                  ่
  สถำนีพื้นดินตั้งแต่สองสถำนีขึ้นไป
 สถำนีพื้นดินถูกนำำมำใช้เพื่อกำรรับและส่งสัญญำณไปยัง
  ดำวเทียม ซึ่งจะทำำหน้ำทีเป็นอุปกรณ์ทวนสัญญำณและจะถูกส่ง
                           ่
  กลับมำยังพื้นผิวโลกในตำำแหน่งทีสถำนีพื้นดินแห่งทีสองตั้งอยู่
                                    ่               ่
ไมโครเวฟที่สื่อสำรผ่ำนดำวเทียม (Satellite Microwave) .

 ดำวเทียมใช้เสำอำกำศในกำรรับสัญญำณที่ส่งขึ้นไปจำกพื้นโลก
  เรียกว่ำ กำรอัพลิ้งค์ (Uplink)
 จำกนั้นจะทำำกำรขยำยสัญญำณทีรับได้ให้มีควำมชัดเจนมำกขึ้น
                                 ่
  และเปลี่ยนขนำดควำมถี่คลื่นให้เหมำะสมแล้วจึงใช้อุปกรณ์ททำำี่
  หน้ำที่ส่งสัญญำณ เรียกว่ำ ทรำนสปอนเดอร์ (Transponder)
  เพื่อส่งสัญญำณนันกลับลงมำยังพื้นโลก เรียกว่ำ ดำวน์ลิ้งค์
                     ้
  (Downlink)




                         สัญญำณไมโครเวฟ
เครือข่ำยดำวเทียม
 ดำวเทียมสื่อสำร (communication satellite)
 ดำวเทียมอุตุนิยมวิทยำ (Meteorological Satellite)
 ดำวเทียมสำำรวจทรัพยำกร (Remote Sensing Satellite)
 ดำวเทียมกำำหนดตำำแหน่ง (Global Position System
  Satellite)
 ดำวเทียมในกิจกำรวิทยุสมัครเล่น (Radio Amateur
  Satellite)
เครือข่ำยดำวเทียม
 ดำวเทียมสื่อสำร (communication satellite)
 เป็นดำวเทียมทีมีวงโคจรแบบค้ำงฟ้ำ ใช้ทั้งสิ้น 3 ดวงคือ
                ่
    ดำวเทียมเหนือมหำสมุทรอินเดีย
    ดำวเทียมเหนือมหำสมุทรแปซิฟิค
    ดำวเทียมเหนือมหำสมุทรแอตแลนติก
วงโคจรของดำวเทียม
ดำวเทียมวงโคจรตำ่ำ LEO(Low Earth Orbit) 400-2000 km
 ระยะสูงจำกพื้นโลกไม่เกิน 2,000 กม. ใช้ในกำรสังเกตกำรณ์ สำำรวจ
  สภำวะแวดล้อม, ถ่ำยภำพ ไม่สำมำรถใช้งำนครอบคลุมบริเวณใด
  บริเวณหนึงได้ตลอดเวลำ เพรำะมีควำมเร็วในกำรเคลื่อนที่สูง ใช้
              ่
  เวลำในกำรโคจรรอบโลกหนึ่งรอบเพียง 90 ถึง 100 นำที สำมำรถ
  บันทึกภำพคลุมพื้นทีตำมเส้นทำงวงโคจรที่ผำนไป ตำมที่สถำนีภำค
                      ่                     ่
  พื้นดินจะกำำหนดเส้นทำงโคจรอยู่ในแนวขั้วโลก (Polar Orbit)
  ดำวเทียมวงโคจรระยะตำ่ำขนำดใหญ่บำงดวงสำมำรถมองเห็นได้ด้วย
  ตำเปล่ำในเวลำคำ่ำ หรือก่อนสว่ำง เพรำะดำวเทียมจะสว่ำงเป็นจุดเล็ก
  ๆ เคลื่อนที่ผำนในแนวนอน (แนวเส้นศูนย์สูตร) อย่ำงรวดเร็ว ข้อดีคือ
                ่
  อุปกรณ์รับ-ส่งสัญญำณไม่จำำเป็นต้องมีกำำลังมำกนัก
 กำรใช้งำนจำำเป็นต้องใช้ดำวเทียมมำกถึง 12 ดวง จึงจะครอบคลุม
  พื้นทีได้ทั่วโลกและสำมำรถใช้งำนได้อย่ำงต่อเนืองตลอดเวลำ
        ่                                      ่
วงโคจรของดำวเทียม
ดำวเทียมวงโคจรตำ่ำ LEO(Low Earth Orbit) 400-2000 km
 ตัวอย่ำงของดำวเทียมวงโคจรตำ่ำคือ อีริเดียม (Iridium) ของบริษัท
  โมโตโรลำร์ (Motorola) และดำวเทียม SMMS(Small Multi-
  Mission Satellite)
 ใช้ดำวเทียมทั้งหมด 66 ดวง มีวงโคจร 6 วงแต่ละวงมีดำวเทียม 11
  ดวง
วงโคจรของดำวเทียม
ดำวเทียมวงโคจรปำนกลำง MEO(Medium Earth Orbit)
  8000-12000 km
 อยู่ทระยะควำมสูงตั้งแต่ 10,000 กม. ขึ้นไป ส่วนใหญ่ใช้ในด้ำน
        ี่
  อุตนิยมวิทยำ และสำมำรถใช้ในกำรติดต่อสื่อสำรเฉพำะพื้นที่ได้
      ุ
  แต่หำกจะติดต่อให้ครอบคลุมทั่วโลกจะต้องใช้ดำวเทียมจำำนวน
  6 ดวง ดวงในกำรส่งผ่ำน...
 โครงกำร Odyssey เป็นตัวอย่ำงโครงกำรทีนำำดำวเทียมวงโคจร
                                          ่
  ปำนกลำงไปใช้ ซึ่งมีอยู่จำำนวน 12 ดวง โลก
วงโคจรของดำวเทียม
ดำวเทียมวงโคจรค้ำงฟ้ำ GEO(Geostationary Earth Orbit )
  >20000 km
 เป็นดำวเทียมเพื่อกำรสื่อสำรเป็นส่วนใหญ่ อยู่สูงจำกพื้นโลก 35,786
  กม. เส้นทำงโคจรอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร (Equatorial Orbit)
  ดำวเทียมจะหมุนรอบโลกด้วยควำมเร็วเชิงมุมเท่ำกับโลกหมุนรอบตัว
  เองทำำให้ดูเหมือนลอยนิ่งอยู่เหนือ จุดจุดหนึ่งบนโลกตลอดเวลำ (
  เรียกทั่ว ๆ ไปว่ำ "ดำวเทียมค้ำงฟ้ำ")
 ดำวเทียมค้ำงฟ้ำส่วนใหญ่ใช้ในกำรสื่อสำรระหว่ำงประเทศและ
  ภำยในประเทศ เช่น ดำวเทียมอนุกรม อินเทลแซต ๆลๆ
ดำวเทียมของประเทศไทย
 THAICOM1 (1A) และ THAICOM2
 ส่งสัญญำณในช่องสัญญำณ C-Band
    ครอบคลุมพื้นที่ประเทศไทย ลำว กัมพูชำ พม่ำ เวียดนำม
    มำเลเซีย ฟิลิปปินส์ เกำหลี ญี่ปุ่น และประเทศจีนบำงส่วน
   สำำหรับช่องสัญญำณ Ku-Band
    ครอบคลุมประเทศไทยและประเทศแถบอินโดจีน
   อำยุกำรใช้งำนประมำณ 15 ปี
   เริ่มใช้งำนตั้งแต่ปี 2536-2551 (THAICOM1 (1A) )
   เริ่มใช้งำนตั้งแต่ปี 2537-2552 (THAICOM2)
ดำวเทียมของประเทศไทย

 THAICOM3
 โคจรในพิกดเดียวกับ THAICOM2
           ั
 ครอบคลุมพื้นทีให้บริกำร ในทวีปเอเชีย ยุโรป ออสเตรเลีย
                ่
  และแอฟริกำ
 ถ่ำยทอดสัญญำณโทรทัศน์ตรงถึงที่พักอำศัย
 ปลดระวำงก่อนกำำหนดเนื่องจำกปัญหำเรื่องระบบไฟฟ้ำ
 ใช้งำนได้เพียงแค่ 9 ปี (2540-2549)
ดำวเทียมของประเทศไทย
 THAICOM4 (IPStar)
 เป็นบอร์ดแบรนด์ดำวเทียมดวงแรกของโลก
 เป็นดำวเทียมสื่อสำรเชิงพำณิชย์ ให้บริกำรสำำหรับ
  อินเตอร์เน็ตควำมเร็วสูง (45 Gbps)
 คิดค้นโดยคนไทย และจดสิทธิบัตรเป็นเทคโนโลยีของคน
  ไทย
ดำวเทียมของประเทศไทย

 THAICOM5
 ให้บริกำรครอบคลุมพื้นที่ 4 ทวีปในระบบ C-Band
 ในระบบ Ku-Band ให้บริกำรครอบคลุมประเทศไทย และ
  ภูมิภำคอินโดจีน
 ส่งขึ้นวงโคจรในปี 2549 เพื่อทดแทนไทยคม 3
 อำยุกำรใช้งำน ประมำณ 12 ปี
 ถ่ำยทอดสัญญำณโทรทัศน์ผ่ำนดำวเทียมตรงถึงที่พัก
  อำศัยหรือ Direct-to-Home (DTH) และกำรถ่ำยทอด
  สัญญำณโทรทัศน์ดิจิตอลควำมละเอียดสูง (High
  Definition TV)
 ดำวเทียมที่รับสัญญำณในระบบ C-Band
 และระบบ Ku-Band
ดำวเทียมของประเทศไทย

 THEOS : Thailand Earth Observation Satellite
 ระบบสำำรวจพื้นผิวโลกโดยใช้เทคโนโลยีภำพถ่ำยจำก
  ดำวเทียมของประเทศไทย
 เป็นดำวเทียมสำำรวจทรัพยำกรดวงแรกของไทยและเอเชียตะวัน
  ออกเฉียงใต้
 เป็นดำวเทียมวงโคจรตำ่ำ ส่งขึ้นวงโคจรในปี 2551
 ดำวเทียมยังได้เข้ำมำมีบทบำททีสำำคัญอีกอย่ำงหนึ่งคือระบบชี้
                               ่
  ตำำแหน่งจีพีเอส (Global Positioning System; GPS)
 ระบบนีใช้ดำวเทียมจำำนวน 24 ดวง โคจรห่ำงจำกผิวโลก
        ้
  19,200 กิโลเมตร
 กำรคำำนวณหำตำำแหน่งจะใช้สัญญำณจำกดำวเทียม 3 ดวงใน
  กำรเปรียบเทียบ
 จำำนวนดำวเทียม (Satellites) ในปัจจุบนมีมำกจนอำจสร้ำงปัญหำใน
                                      ั
   กำรใช้งำน เนื่องจำกกำรใช้สญญำณคลืนที่มีควำมถีใกล้เคียงกันของ
                             ั        ่         ่
   ดำวเทียมที่อยู่ใกล้กนจะรบกวนกันเองจนไม่สำมำรถใช้งำนได้
                       ั

   วิธีแก้ไขปัญหำกำำหนดระยะห่ำงของกำรวำงตำำแหน่งดำวเทียม

สำำหรับย่ำนควำมถี่ของสัญญำณ 4/6 GHz หรือย่ำน C Band
ระยะห่ำงกัน 4 องศำ (วัดมุมเทียบกับจุดศูนย์กลำงของโลก)
โดยมีแบนด์วิดท์ของสัญญำณUplink เท่ำกับ 5.925-6.425 GHz
และมีแบนด์วิดท์ของสัญญำณ Downlinkเท่ำกับ 3.7-4.2 GHz

สำำหรับย่ำนควำมถี่ของสัญญำณ 12/14 GHz หรือย่ำน KU Band
ระยะห่ำงกัน 3 องศำ (วัดมุมเทียบกับจุดศูนย์กลำงของโลก)
โดยมีแบนด์วิดท์ของสัญญำณUplink เท่ำกับ 14.0-14.5 GHz
และมีแบนด์วิดท์ของสัญญำณ Downlinkเท่ำกับ 11.7-12.2 GHz
 จำนรับ-ส่งสัญญำณข้อมูลกับ ดำวเทียมมีขนำดเล็กประมำณ
  0.76-2.40 เมตร
 สำมำรถส่งสัญญำณข้อมูลได้ด้วยอัตรำเร็วถึง 56 กิโลบิตต่อ
  วินำที
 มีอัตรำเร็วในกำรรับสัญญำณข้อมูลสูงสุดถึง 256 กิโลบิตต่อ
  วินำที
 ดำวเทียมที่นยมกันมำกที่สุดในปัจจุบันคือบริกำรเครือข่ำยวีแซท
               ิ
  (Very Small Aperture Terminal; VSAT)
Cellular Radio
 วิทยุเซลลูลำร์ (Cellular Radio) หรือทีเรียกกันว่ำ โทรศัพท์เคลื่อนที่
                                        ่
  (Mobile Telephone) โทรศัพท์มือถือ (Handheld Telephone)
 เป็นอุปกรณ์รับ-ส่งเสียงสนทนำหรือ ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่อำศัยสื่อ
  ประเภทคลื่นสัญญำณวิทยุ
 โทรศัพท์แบบเซลลูลำร์นมีระยะกำรรับและส่งสัญญำณที่จำำกัดอยู่
                            ี้
  ภำยในพื้นที่หนึ่งเรียกว่ำ เซลล์ (Cell) เซลล์แต่ละเซลล์จะมีเสำ
  อำกำศสำำหรับรับและส่งสัญญำณเป็นของตนเอง
 Cellular telephone เป็นประเภทกำรส่งผ่ำนของคลืนสั้นชนิดอะนำ
                                                     ่
  ล็อก หรือดิจิตอล ซึ่งผูใช้ตดต่อแบบไร้สำยจำกโทรศัพท์เคลื่อนที่ไป
                         ้     ิ
  ยังสถำนีส่งที่ใกล้ทสุด โดยทั่วไปแล้ว cellular จะใช้ในเมืองและถนน
                      ี่
  หลวง โดยผูใช้โทรศัพท์จะย้ำยจำกเซลส์ หรือพื้นที่ครอบคลุมไปยัง
                ้
  อีกเซลส์หนึง่
Cellular Radio
 ในยุคเริ่มต้นเซลล์แต่ละเซลล์มีพื้นที่ให้บริกำรขนำดใหญ่มำก ซึ่งอำจ
  ครอบคลุมทั่วทั้งเมือง ทำำให้เกิดปัญหำคือเป็นกำรจำำกัดจำำนวนโทรศัพท์
  เนื่องจำกจำำนวนโทรศัพท์แต่ละเครื่องที่กำำลังใช้งำนจะต้องใช้คลื่นควำมถี่ที่
  แตกต่ำงกัน ต้องสิ้นเปลืองพลังงำนมำกทั้งสำำหรับพลังงำนที่จ่ำยให้สถำนีฐำน
  และสำำหรับพลังงำนที่ต้องจ่ำยให้mobile unit แต่ละเครื่อง นอกจำกนี้กำรที่
  สถำนฐำนส่งสัญญำณด้วยกำำลังส่งที่สูงมำกๆนั้น บำงครั้งอำจทำำให้เกิดกำร
  รบกวนกันของสัญญำณกับสถำนีฐำนข้ำงเคียง นอกจำกนั้นในกรณีที่เครื่องลูก
  ข่ำยเคลื่อนที่ข้ำมพื้นที่ให้บริกำรไปยังพืนที่ของสถำนีฐำนต่ำงเมืองก็ไม่
                                           ้
  สำมำรถที่จะทำำกำรโทรได้
Cellular Radio
 จำกนั้นจึงได้มีกำรแก้ปัญหำนี้ด้วยกำรแบ่งย่อยขนำดของเซลล์ให้เป็นเซลล์จำำ
  นวนย่อยๆ ซึ่งจะได้จำำนวนเซลล์มำกขึนในขณะที่ควำมจุต่อเซลล์เท่ำเดิม
                                       ้
  เรียกเทคนิคกำรแบ่งเซลล์นี้ว่ำ “Cell Splitting” ข้อดีที่ได้จำกกำรแบ่งเซลล์
  คือสำมำรถลดกำำลังส่งของสถำนีฐำนลงได้ทำำให้เกิดควำมประหยัด และใน
  ส่วนของผู้ใช้บริกำรก็สำมำรถใช้เครื่อง mobile unit ที่มแบตเตอรี่ขนำดเล็ก
                                                          ี
  ได้ ทำำให้ขนำดเครื่องเล็กลง หรือในกรณีที่แบตเตอรี่เท่ำเดิมก็จะเห็นผลในแง่
  ของอำยุกำรใช้งำนที่มำกขึน ้
(Mobile Telecommunications Switching Office; MTSO)

  เซลล์ทั้งหมดจะเชื่อมต่อกับจุดสลับสัญญำณสำำหรับโทรศัพท์เซลลู
   ลำร์(MTSO) และ MTSO จะเชื่อมต่อกับ cell site โดยเชื่อมผ่ำนกลุ่ม
   voice trunk เพื่อกำรสนทนำ และผ่ำน data link เพื่อกำรส่งสัญญำณ
   signaling และสัญญำณควบคุม โดย MTSO จะควบคุม cell site ผ่ำน
   ทำงคลืนวิทยุ และควบคุมหลำยๆ function ของ mobile unit ด้วย ซึ่ง
          ่
   MTSO ยังทำำหน้ำที่บนทึกกำรโทรเพื่อคิดเงินค่ำบริกำรด้วย
                       ั
Cellular Radio
 Cell ที่อยู่ตดกันจะถูกกำำหนดให้ใช้คลื่นควำมถี่แตกต่ำงกันจึง
               ิ
  ไม่มีสัญญำณรบกวน และควำมถี่ในย่ำนเดิมยังสำมำรถนำำมำใช้
  ในเซลล์อื่นได้ด้วย
 เช่น Cell A มีพื้นทีอยู่ติดกับ Cell B จึงต้องใช้คลืนคนละควำมถี่
                      ่                              ่
  ในขณะที่ Cell C มีพื้นทีอยู่ติดกับ Cell B แต่ไม่มีเขตติดต่อกับ
                             ่
  Cell A ดังนันทัง Cell C และ Cell A จึงสำมำรถใช้คลื่นควำมถี่
              ้ ้
  เดียวกันได้
อินฟรำเรด (Infrared Transmission)
 เป็นคลื่นสัญญำณควำมถี่สั้น
 ส่งสัญญำณเป็นแนนเส้นตรงในระดับสำยตำและสำมำรถสะท้อน
  บนวัสดุ ผิวเรียบได้เหมือนกับแสงทัวไป
                                   ่
 นิยมนำำมำใช้งำนสำำหรับกำรสื่อสำรระยะใกล้ในระยะทำงประมำณ
  30-80 ฟุต หรือประมำณ 10-30 เมตร
 ไม่สำมำรถส่งคลืนทะลุสิ่งกีดขวำงได้
                   ่
 เช่น รีโมตคอนโทรล
อินฟรำเรด (Infrared Transmission)
 เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบชนิดใหม่ ๆ มักจะมีช่องสื่อสำร
  อินฟรำเรดติดตังมำด้วยเรียกว่ำ ช่องสื่อสำร IrDA (Infrared Data
                ้
  Association) สำมำรถสั่งงำนระยะไกลประมำณ1 – 5 เมตร
 รองรับควำมเร็วในกำรรับส่งข้อมูลหลำยระดับ
    • SIR (Serial Infrared) หรือIrDA 1.0 รองรับควำมเร็วที่ 2.4 -115.2 kbps
    • MIR (Medium Speed Infrared) หรือ IrDA 1.1 รองรับควำมเร็วที่ 576 Kbps - 1.152 Mbps
    • FIR (Fast Infrared) หรือIrDA 1.1 รองรับควำมเร็วที่ 4 Mbps
    • VFIR (Very Fast Infrared) หรือ IrDA 1.3 รองรับควำมเร็วที่ 16 Mbps
บลูทูธ (Bluetooth)
 เป็นคลื่นสัญญำณควำมถี่ระยะสั้น
 สำมำรถสื่อสำรทะลุสิ่งกีดขวำงหรือกำำแพงได้
 บลูทูธสำมำรถสื่อสำรระหว่ำงอุปกรณ์หลำยๆ ร่วมกันได้
  เช่น เครืองคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ แฟกซ์
           ่
 เครือข่ำยขนำดเล็กที่มีกำรเชื่อมต่ออุปกรณ์ไม่เกิน 7 ชิ้น
  เรำเรียกว่ำเครือข่ำย PAN(Personal Area Network)
บลูทธ สำมำรถเชือมต่อได้ทงแบบจุดต่อจุด (point-to-point)และแบบจุดต่อหลำยจุด (point-to-multipoint)
    ู              ่        ั้
คือสำมำรถส่งครังเดียวไปยังหลำยๆ เครื่องพร้อมกันได้อีกทังยังทำำงำนได้เป็นปกติดีแม้ในทีทมีคลืนรบกวนมำก
               ้                                       ้                             ่ ี่  ่
โดยจะมีควำมเร็วรับส่งอยูที่ 1 Mbps ในวงรัศมีทำำกำรประมำณ 5-10 เมตร โดยไม่ต้องใช้ตัวขยำยสัญญำณ
                        ่
 และด้วยควำมทีเป็นระบบไร้สำย จึงมีข้อกำำหนดให้ต้องมีระบบกำรตรวจสอบสิทธิ์กำรเชื่อมต่อและป้องกันกำรดัก
                 ่
สัญญำณระหว่ำงสื่อสำรไว้ด้วย
หลักกำรเลือกสื่อกลำงในกำรใช้งำน
1) รำคำของสื่อกลำง
 สื่อชนิดที่มีรำคำตำ่ำสุด คือสำยยูทีพี มีรำคำประมำณเมตรละ 18-50
  บำทขึ้นอยู่กับประเภทของสำย จึงทำำให้สำยชนิดนีเป็นที่นยมใน
                                                   ้     ิ
  กำรนำำมำใช้งำนอย่ำงกว้ำงขวำง
 สำยโคแอกเซียลมีรำคำสูงกว่ำสำยยูทีพี แต่ก็ยังคงมีรำคำถูกกว่ำ
  สำยใยแก้วนำำแสง โดยทัวไปสำยชนิดนี้มีรำคำอยู่ที่ประมำณเมตรละ
                             ่
  50-100 บำท
หลักกำรเลือกสื่อกลำงในกำรใช้งำน
1) รำคำของสื่อกลำง
 สำยประเภทที่มีรำคำสูงสุดคือสำยใยแก้วนำำแสง ถ้ำจำำนวนสำย
  4-8 Core รำคำต่อเมตร 300-500 บำท และจำำนวนสำย 8-12 Core
  รำคำ 400-800 บำท โดยไม่รวมค่ำติดตัง้
 ประเทศไทยมีสำยชนิดนีอยู่ 2 แบบคือ
                       ้
 แบบใช้เดินภำยในอำคำร
 แบบใช้เดินภำยนอกอำคำร ซึ่งจะต้องมีฉนวนหุมพิเศษและโดยปกติ
                                           ้
  จะต้องมีสำยลวดสำำหรับขึงระหว่ำงอำคำรหรือเสำไฟฟ้ำ
หลักกำรเลือกสื่อกลำงในกำรใช้งำน
2) ควำมเร็วในกำรส่งข้อมูล(Speed)
 สำยยูทีพีลำำดับขั้น 1 (Category 1) ได้ถูกนำำมำใช้งำนนำนมำกแล้ว
  จึงเป็นสำยที่มีควำมเร็วตำ่ำที่สุด
 สำยโคแอกเซียล สำยยูทพีลำำดับขั้น 6 (Category 6) ไมโครเวฟ
                             ี
  ทังแบบบนพื้นดินและแบบผ่ำนดำวเทียมมีควำมเร็วสูงขึ้นตำมลำำดับ
    ้
 เทคโนโลยีปัจจุบันสำยใยแก้วนำำแสงเป็นสื่อทีมีระดับควำมเร็วสูงสุด
                                               ่
หลักกำรเลือกสื่อกลำงในกำรใช้งำน
3) อัตรำกำรผิดพลำดของข้อมูล
  ควำมผิดเพี้ยนของสัญญำณ (Distortion) ซึ่งเป็น คุณสมบัตตำม
                                                       ิ
  ธรรมชำติทเกิดขึ้นจำกหลำยสำเหตุ เช่น
            ี่
   ควำมแรงหรือควำมเข้มของสัญญำณลดลง เนืองจำกระยะทำงไกลเกินไป
                                        ่
   สัญญำณรบกวนจำกอุปกรณ์สลับช่องสัญญำณหรือสัญญำณรบกวนที่เกิด
    จำกฟ้ำผ่ำลงมำโดยตรง
   จุดใกล้สำยสื่อสำรมำกถูกรบกวนได้โดยง่ำยจำกสัญญำณแม่เหล็กไฟฟ้ำ
    หรือจำกควำมผิดปกติของกระแสไฟฟ้ำเอง
หลักกำรเลือกสื่อกลำงในกำรใช้งำน
4) ควำมปลอดภัย (Security)
ควำมปลอดภัยในเรื่องข้อมูล
 กำรขโมยข้อมูลจำกสื่อที่เป็นสำยลวดทองแดงนันสำมำรถทำำได้งำย
                                           ้             ่
 โดยกำรปอกฉนวนหุมภำยนอกออกแล้วใช้สำยอีกเส้นหนึงทีเป็น
                ้                             ่ ่
 ลวดทองแดงเหมือนกันมำเชื่อมติดกัน เรียกว่ำ กำรแท็ปสำย

 ข้อมูลที่ส่งผ่ำนสำยเส้นแรกก็จะถูกส่งเข้ำไปยังสำยเส้นใหม่ด้วย

 ทำำให้กำรตรวจหำกำรขโมยสัญญำณด้วยวิธีนทำำได้ยำกมำก ดังนั้น
                                      ี้

 สำยประเภทนีจึงควรเดินร้อยเข้ำไปท่อโลหะหรือเดินผ่ำนสถำนที่ที่มี
            ้

 ควำมปลอดภัยเท่ำนัน
                  ้
หลักกำรเลือกสื่อกลำงในกำรใช้งำน
4) ควำมปลอดภัย (Security)
ควำมปลอดภัยในเรื่องข้อมูล
 สำยใยแก้วนำำแสงนั้นยำกแก่กำรขโมยสัญญำณด้วยวิธีกำรแท็ปสำยเพรำะ
              แสง
  จะถูกตรวจพบได้ง่ำยมำก เพรำะลำำแสงที่เป็นพำหะนำำสัญญำณภำยใน
  สำยนั้นจะต้องอยู่ในสภำพที่สมบูรณ์อปกรณ์ทำงฝั่งผู้รับจึงจะสำมำรถรับ
                                    ุ
  ข้อมูลที่สงมำได้ กำรตัดสำยหรือกำรเชื่อมสำยใยแก้วนำำแสงจะทำำให้
            ่
  ลำำแสงภำยในสำยนันเกิดกำรหักเหและทำำให้ผู้รับไม่สำมำรถอ่ำนข้อมูลได้
                  ้
  จึงทำำให้กำรสื่อสำรผ่ำนสำยเส้นนั้นหยุดลงในทันที
หลักกำรเลือกสื่อกลำงในกำรใช้งำน
4) ควำมปลอดภัย (Security)
ควำมปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน
   สำยยูทีพี สำยโคแอกเซียล และสำยทุกชนิดที่ใช้ลวดทองแดง

    เป็นพำหะในกำรส่งข้อมูลนันมีควำมปลอดภัยในระดับตำ่ำมำก
                            ้
    เนืองจำกเป็นตัวนำำกระแสไฟฟ้ำได้เป็นอย่ำงดี สำำหรับเส้นใยแก้ว
       ่
    นำำแสงนั้น กำรที่เส้นใยแก้วเป็นฉนวนทั้งหมด จึงไม่นำำกระแส
    ไฟฟ้ำ กำรลัดวงจร กำรเกิดอันตรำยจำกกระแสไฟฟ้ำจึงไม่เกิด
    ขึ้น
หลักกำรเลือกสื่อกลำงในกำรใช้งำน
4) ควำมปลอดภัย (Security)
 กำรส่งข้อมูลด้วยคลื่นสัญญำณควำมถีต่ำง ๆ นันเป็นวิธีกำรทีมีควำม
                                   ่        ้             ่
  ปลอดภัยน้อยสุด เนื่องจำกผู้ทต้องกำรขโมยสัญญำณเพียงแค่ใช้เสำ
                              ี่
  อำกำศหรือจำนรับสัญญำณดำวเทียมวำงไว้ในจุดที่เหมำะสมก็จะ
  สำมำรถรับข้อมูลทังหมดโดยไม่มีทำงถูกตรวจพบได้เลย
                   ้
 กำรรักษำควำมปลอดภัยจึงทำำได้เพียงทำงเดียวคือกำรเข้ำรหัสข้อมูล

  (Data Encryption) ก่อนทีจะถูกส่งออกไป และทำำกำรถอดรหัสข้อมูล
                          ่
  ทำงฝั่งผู้รับ ผู้ที่ขโมยสัญญำณไปก็จะได้สัญญำณที่ถกเข้ำรหัสไว้ ซึ่งก็
                                                   ู
  จะไม่สำมำรถทรำบได้ว่ำข้อมูลทีแท้จริงนันคืออะไร
                               ่        ้
คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล
           ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล
 อุปกรณ์ที่เป็นองค์ประกอบหลักในระบบเครือข่ำยทุกระบบคือ เครื่อง
  คอมพิวเตอร์ เครื่องเทอร์มินอลและเครื่องอุปกรณ์อื่น ๆ ทีทำำหน้ำที่
                                                          ่
  ในกำรรับและส่งข้อมูล
 เครื่องเทอร์มินอลเป็นอุปกรณ์เครือข่ำยทีทำำหน้ำที่พื้นฐำนในกำรรับ
                                          ่
  ข้อมูลและแสดงผลลัพธ์แต่บำงชนิดก็มีคณสมบัติอื่น ๆ เพิ่มเติม
                                        ุ
  มำกมำย อุปกรณ์แต่ละชนิดมีคุณสมบัติเฉพำะตัวที่แตกต่ำงกันตำม
  วัตถุประสงค์ที่ถูกสร้ำงขึ้นมำใช้งำน
คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล
          ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล
คอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ำย
 ระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์และ
  อุปกรณ์จำำนวนหนึงทีเชื่อมต่อเข้ำด้วยกัน
                  ่ ่
 สำมำรถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่ำงกันหรือใช้งำนอุปกรณ์บำงอย่ำง
  ร่วมกันได้
 ระบบเครือข่ำยชนิดทีนยมใช้กันทั่วไปคือ ระบบเครือข่ำยวงกว้ำง
                      ่ ิ
  และระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณ
คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล
           ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล
คอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ำย
 ระบบเครือข่ำยวงกว้ำง (Wide Area Network; WAN) เป็นระบบ
  เครือข่ำยทีเชื่อมต่ออุปกรณ์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งติดตังอยู่ตำม
              ่                                             ้
  สถำนที่ต่ำง ๆ เข้ำด้วยกัน ซึ่งมีอำณำเขตครอบคลุมพื้นที่ขนำดใหญ่
  มำก เช่น พื้นที่หลำยจังหวัด ทัวประเทศ หลำยประเทศหรือระหว่ำง
                                 ่
  ทวีป
 ส่วนระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณนันมีอำณำเขตเล็กมำก เช่น กำร
                                    ้
  เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่อยู่ภำยในห้องทำำงำนหนึ่ง
  เข้ำด้วยกัน

              Information Super Highway
คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล
           ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล
คอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ำย
 เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ำกับระบบเครือข่ำย ทัง
                                                                   ้
  ในระบบ เครือข่ำยวงกว้ำงและระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณทำำ
  หน้ำที่เป็นโหนด (Node) ซึ่งอำจเป็นอุปกรณ์ชนิดอื่นก็ได้ โหนดทุก
  โหนดมีควำมสำมำรถในกำรรับและส่งข้อมูลกับโหนดอื่น ๆ ได้และ
  จะต้องมี หมำยเลขที่อยู่บนเครือข่ำย เรียกว่ำ Network Address ที่
  ไม่ซำ้ำกันเลย
คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล
          ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล
คอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ำย
 เครื่องคอมพิวเตอร์อำจทำำหน้ำที่เป็นโฮสต์ (Host) ซึ่งมีคุณสมบัติ
 เหนือกว่ำโหนดธรรมดำ 3 ประกำรคือ
 1) เป็นเครื่องประมวลผลกลำงที่อนุญำตให้ผใช้จำกโหนดอื่นเข้ำมำ
                                           ู้
 ใช้งำนประมวลผลจำกระยะทำงไกลได้ เรียกว่ำ Remote Access
คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล
          ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล
คอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ำย
 เครื่องคอมพิวเตอร์อำจทำำหน้ำที่เป็นโฮสต์ (Host) ซึ่งมีคุณสมบัติ
 เหนือกว่ำโหนดธรรมดำ 3 ประกำรคือ
 2) เป็นอุปกรณ์ตวกลำงที่ยอมให้อุปกรณ์อื่น ๆ เชื่อมต่อเข้ำกับระบบ
                ั
 เครือข่ำยผ่ำนโฮสต์ได้
คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล
          ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล
คอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ำย
 เครื่องคอมพิวเตอร์อำจทำำหน้ำที่เป็นโฮสต์ (Host) ซึ่งมีคุณสมบัติ
 เหนือกว่ำโหนดธรรมดำ 3 ประกำรคือ
 3) เป็นอุปกรณ์ปลำยทำง (Terminator) สำำหรับระบบเครือข่ำย
 เครื่องคอมพิวเตอร์หลำยชนิดสำมำรถทำำหน้ำที่เป็นโหนดได้ เช่น
 เครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ เครื่อง มินคอมพิวเตอร์ และเครื่อง
                                      ิ
 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เป็นต้น
เครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
 เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนำดใหญ่มีรำคำแพงและมีควำมสำมำรถ
  ในกำรประมวลผลสูงมำก
 เครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ออกแบบมำสำำหรับธุรกิจขนำดใหญ่ที่มี
  จำำนวนข้อมูลจำำนวนมำกๆและมีกำรเข้ำถึงของผูใช้จำำนวนมำกใน
                                               ้
  เวลำเดียวกัน
 สำมำรถใช้งำนต่ำง ๆ กันได้ในเวลำเดียวกัน จึงมักจะทำำหน้ำทีเป็น
                                                           ่
  โฮสต์เมื่อเชื่อมต่อเข้ำกับระบบเครือข่ำย
 ในปัจจุบัน บริษัทและองค์กรต่ำง ๆ ทั้งภำครัฐและเอกชน (โดย
  เฉพำะในประเทศไทย) ได้เลิกใช้เครื่องเมนเฟรมแล้วหันไปใช้
  เครื่องคอมพิวเตอร์ขนำดเล็กเพื่อทำำหน้ำทีอย่ำงเดียวกัน
                                          ่
 เครื่องเมนเฟรมมักนำำไปใช้กับองค์กรขนำดใหญ่ เช่น กำรพยำกรณ์
  อำกำศ ธุรกิจประเภทธนำคำร สำยกำรบิน ธุรกิจประกันภัย
  ตลำดหลักทรัพย์ เป็นต้น
Mainframe Computer
คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล
          ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
 เครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องที่มีขีดควำมสำมำรถสูงกว่ำและ
  ระบบมีควำมซับซ้อนมำกกว่ำเครื่องเมนเฟรม
 เป็นคอมพิวเตอร์ขนำดใหญ่ที่สุด มีประสิทธิภำพและควำมสำมำรถ
  ในกำรทำำงำนสูงมำกเป็นพิเศษ สำมำรถประมวลผลงำนทีมีควำมซับ
                                                        ่
  ซ้อนและมีปริมำณมำกๆ ได้เป็นอย่ำงดี เช่น งำนโคจรรอบโลกของ
  ดำวเทียม งำนพยำกรณ์อำกำศ มักนิยมนำำมำใช้ในองค์กรขนำด
  ใหญ่ เช่น องค์กำรนำซำ(NASA) และ AT&T เป็นต้น
 ต้องติดตังในห้องที่มีสภำพแวดล้อมพิเศษ
            ้
 Supercomputer ทีมีควำมเร็วมำกทีสุดในโลกในปัจจุบันคือ IBM’s
                     ่                ่
  Blue Gene
IBM’s Blue Gene
คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล
          ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล
มินิคอมพิวเตอร์(Minicomputer)
 เรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ midrange computer เป็นคอมพิวเตอร์ขนำด
  กลำง มีประสิทธิภำพในกำรทำำงำนในด้ำนควำมเร็วและควำม
  สำมำรถในกำรจัดเก็บข้อมูลรองจำก Mainframe computer
 สำมำรถนำำมำใช้ในกำรแชร์ทรัพยำกรเพื่อใช้งำนร่วมกัน ด้วยกำรทำำ
  หน้ำที่เป็นเครื่อง Server ที่คอยบริกำรทรัพยำกรแก่เครื่องลูกข่ำย
 กำรใช้งำนทำงด้ำนระบบเครือข่ำยก็มีวัตถุประสงค์เดียวกันแต่มักจะ
  เป็นโหนดมำกกว่ำทีจะเป็นโฮสต์อย่ำงเครื่องเมนเฟรม
                       ่
 นิยมนำำมำใช้ในสถำบันกำรศึกษำโรงพยำบำล ห้ำงสรรพสินค้ำ หรือ
  หน่วยงำนขนำดกลำงเป็นต้น
คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล
           ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล
เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล(Personal Computer; PC) หรือพีซี
  เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro-Computer)
 เป็นคอมพิวเตอร์ที่กำำลังได้รับควำมนิยมมำกที่สุดในปัจจุบัน
 สำมำรถนำำมำใช้เป็นเครื่องเทอร์มินอลเพื่อเชื่อมต่อเป็นเครื่องลูก
  ข่ำยของเครื่องเมนเฟรมหรือเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ได้อีกด้วย
 ขีดควำมสำมำรถของเครื่องพีซีได้รับกำรพัฒนำให้สูงมำกขึ้นจน
  ทัดเทียมหรือในบำงกรณีเหนือกว่ำเครื่องมินิคอมพิวเตอร์
 กำรเชื่อมต่อเครื่องพีซีเข้ำกับระบบเครือข่ำยก็เป็นเรื่องที่สำมำรถ
  ทำำได้โดยง่ำยด้วยกำรติดตั้งอุปกรณ์ที่เรียกว่ำ กำร์ดเชื่อมต่อเครือ
  ข่ำย (Network Interface Card; NIC)
 สำมำรถแบ่งออกได้เป็น 4 ชนิด
Microcomputer/ Personal Computer
 Desktop Computer: คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ
    มีขนำดเล็กเหมำะกับโต๊ะทำำงำน แต่ใหญ่เกินไปสำำหรับพกพำ
     ไปในที่ตำงๆ
             ่
    สำมำรถนำำไปใช้กับงำนในสำำนักงำนและงำนส่วนตัว
    รำคำถูก
Microcomputer/ Personal Computer
 Notebook Computer/Laptop Computer
    มีประสิทธิภำพในกำรทำำงำนเหมือนกันกับ Desktop
     Computer แต่มีขนำดเล็กกว่ำ
    มีนำ้ำหนักเบำ สำมำรถพกพำไว้ในกระเป๋ำเอกสำรได้
Microcomputer/ Personal Computer
 Tablet PC
    เป็นLaptop Computer ชนิดหนึงทีสำมำรถรับข้อมูลจำกกำร
                                   ่ ่
     เขียนแล้วเปลี่ยนให้เป็นข้อควำมที่สำมำรถประมวลผลด้วย
     โปรแกรมได้
Tablet /Computer Tablet
Microcomputer/ Personal Computer
 Handheld Computer: คอมพิวเตอร์พกพำ
    Personal Digital Assistant: PDA
    อุปกรณ์ทสำมำรถจัดกำรข้อมูลส่วนบุคคล จดบันทึก กำร
              ี่
     สื่อสำร ตลอดจนกำรใช้งำนอินเทอร์เน็ต ใช้ปำกกำ Stylus
     เป็นอุปกรณ์ในกำรบันทึกข้อมูล
คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล
          ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล
เทอร์มินอล (Terminal or Clients)
 เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึงทีทำำหน้ำทีป้อนข้อมูลและแสดงผลข้อมูล
                    ่ ่          ่
  เท่ำนัน
        ้
 เทอร์มินอลจะต้องเชื่อมต่อเข้ำกับโฮสต์เพื่อทำำกำรประมวลผลและ
  จัดเก็บข้อมูล
 เทอร์มินอลถูกแบ่งออกเป็นสองชนิด คือ เทอร์มินอลแบบทั่วไป
  และเทอร์มินอลแบบพิเศษ
คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล
          ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล
 เทอร์มินอลแบบทั่วไป (General Purpose Terminal) มีชื่อเรียก
  หลำยชื่อ ได้แก่ จอซีอำร์ที (Cathode Ray Tube; CRT) และจอวีดี
  ที (Video Display Terminal; VDT)
 เป็นอุปกรณ์ พื้นฐำนที่ใช้ในกำรติดต่อกับโฮสต์ผำนระบบเครือข่ำย
                                               ่
  เฉพำะบริเวณของโฮสต์ประเภทของเทอร์มินอลแบบทัวไป    ่
คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล
        ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล
เทอร์มินอลแบบทัวไป (General Purpose Terminal)
                  ่
 แบ่งออกตำมหน่วยควำมจำำและควำมสำมำรถในกำรประมวลผล
         เทอร์มินอลแบบดัมบ์

         สมำร์ทเทอร์มินอล

         อินเทลลิเจนท์เทอร์มินอล

         โปรแกรมเมเบิลเทอร์มินอล
คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล
          ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล
เทอร์มินอลแบบทัวไป (General Purpose Terminal)
                ่
  เทอร์มินอลแบบดัมบ์ (Dumb Terminal)
   เป็นเทอร์มินอลแบบพื้นฐำนทีสุด ่
   ไม่มีควำมสำมำรถในกำรประมวลผลและเก็บรักษำข้อมูล
   กำรทำำงำนทั้งหมดจึงขึ้นอยู่กับเครื่องโฮสต์เท่ำนัน
                                                    ้
   ไม่มีบัฟเฟอร์ (Buffer) ซึ่งเป็นหน่วยควำมจำำขนำดเล็กที่ช่วยใน
     กำรรับและส่งข้อมูลควำมเร็วสูง ทำำให้ตองส่งข้อมูลทีได้รับเข้ำ
                                           ้           ่
     มำจำกทำงแป้นพิมพ์ไปยังโฮสต์ในทันที
คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล
          ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล
เทอร์มินอลแบบทัวไป (General Purpose Terminal)
                  ่
   สมำร์ทเทอร์มินอล(Smart Terminal)
   เป็นเทอร์มินอลที่มีหน่วยควำมจำำ (Memory) เป็นของตัวเอง
   สมำร์ทเทอร์มินอลจะเก็บรวบรวมข้อมูลเอำไว้กลุมหนึง เรียกว่ำ
                                                    ่    ่
     บล็อก (Block) ซึ่งอำจมีเพียงตัวอักษรเดียวหรือมีตวอักษรนับ
                                                       ั
     ร้อยตัวก็ได้ ข้อมูลทั้งบล็อกจะถูกส่งไปยังโฮสต์พร้อม ๆ กัน
     เรียกว่ำ กำรส่งข้อมูลแบบซิงโครนัส (Synchronous)
คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล
          ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล
เทอร์มินอลแบบทัวไป (General Purpose Terminal)
                   ่
เครื่องอินเทลลิเจนเทอร์มินอล (Intelligent Terminal)
 มีหน่วยควำมจำำเป็นของตนเอง
 มีฟังก์ชันกำรทำำงำนพิเศษ ซึ่งเป็นโปรแกรมทีถูกเก็บไว้ในชิป
                                               ่
  (Chip) บันทึกข้อมูลกึ่งถำวร เรียกว่ำ เฟิร์มแวร์ (Firmware)
  เนืองจำกกำรทีมีหน่วยควำมจำำเป็นของตนเอง และมีโปรแกรมกำร
      ่          ่
  ทำำงำนที่ได้รับกำรบรรจุไว้ล่วงหน้ำ เครื่องเทอร์มินอลชนิดนีจึง
                                                            ้
  สำมำรถทำำงำนตำมลำำพัง เรียกว่ำ ออฟไลน์ (Offline) คือไม่จำำเป็น
  ต้องอำศัยโฮสต์ก็ได้
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media
Media

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสารช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสารPaksorn Runlert
 
คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7 คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7 Kru Jhair
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายTum WinNing
 
Simat Presentation
Simat PresentationSimat Presentation
Simat PresentationShaen PD
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์nuchanad
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Onanong Phetsawat
 
การบ้านครั้งที่ 5
การบ้านครั้งที่ 5การบ้านครั้งที่ 5
การบ้านครั้งที่ 5Mameaw'z Indy
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ตteaw-sirinapa
 
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailandNectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailandtaweesakw
 
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402Pibi Densiriaksorn
 
Internet
InternetInternet
Internetthelay
 
0012006 Internet and Communication in Daily Life
0012006 Internet and Communication in Daily Life0012006 Internet and Communication in Daily Life
0012006 Internet and Communication in Daily Lifethelay
 
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407Mullika Pummuen
 
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)Pampam Chaiklahan
 

La actualidad más candente (18)

ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสารช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
ช่องทางสื่อสารและอุปกรณ์สื่อสาร
 
คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7 คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
Simat Presentation
Simat PresentationSimat Presentation
Simat Presentation
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
Homework 5
Homework 5Homework 5
Homework 5
 
การบ้านครั้งที่ 5
การบ้านครั้งที่ 5การบ้านครั้งที่ 5
การบ้านครั้งที่ 5
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
Internet7.1
Internet7.1Internet7.1
Internet7.1
 
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
 
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailandNectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
Nectec ntc wi-max_frequency_report_for_thailand
 
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
0012006 Internet and Communication in Daily Life
0012006 Internet and Communication in Daily Life0012006 Internet and Communication in Daily Life
0012006 Internet and Communication in Daily Life
 
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
 
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
 

Destacado

บทที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร
บทที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารบทที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร
บทที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารSO Good
 

Destacado (9)

Local area network
Local area networkLocal area network
Local area network
 
Normalization
NormalizationNormalization
Normalization
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
บทที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร
บทที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารบทที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร
บทที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร
 
Network equipment
Network equipmentNetwork equipment
Network equipment
 
Normalization
NormalizationNormalization
Normalization
 
Data tranmission
Data tranmissionData tranmission
Data tranmission
 
E r diagram
E r diagramE r diagram
E r diagram
 

Similar a Media

ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่alisa1421
 
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่Paweena Man
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405Te Mu Su
 
หน่วยที่ 2 มาตรฐานการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
หน่วยที่ 2 มาตรฐานการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่ายหน่วยที่ 2 มาตรฐานการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
หน่วยที่ 2 มาตรฐานการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่ายekkachai kaikaew
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405คทาณัฐ เมธชนัน
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลwatnawong
 
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์xsitezaa
 
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401Blank Jirayusw
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Noppanut Bany
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Noppanut Bany
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Onanong Phetsawat
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารGreenteaICY
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารGreenteaICY
 

Similar a Media (20)

01 basic
01 basic01 basic
01 basic
 
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
 
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
 
Media
MediaMedia
Media
 
หน่วยที่ 2 มาตรฐานการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
หน่วยที่ 2 มาตรฐานการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่ายหน่วยที่ 2 มาตรฐานการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
หน่วยที่ 2 มาตรฐานการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
 
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บบที่ 4 การสื่อสารข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
 
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
สายคู่บิดเกลียว(จืรายุส+สุภัทรชัย)401
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 
Supichaya
SupichayaSupichaya
Supichaya
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารแบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
แบบฝึกหัด 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 

Más de Nittaya Intarat

Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and networkNittaya Intarat
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technologyNittaya Intarat
 
Ch2 ระบบสารสนเทศ
Ch2 ระบบสารสนเทศCh2 ระบบสารสนเทศ
Ch2 ระบบสารสนเทศNittaya Intarat
 
Ch2 องค์การและระบบสารสนเทศ
Ch2 องค์การและระบบสารสนเทศCh2 องค์การและระบบสารสนเทศ
Ch2 องค์การและระบบสารสนเทศNittaya Intarat
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการNittaya Intarat
 

Más de Nittaya Intarat (20)

Database architecture
Database architectureDatabase architecture
Database architecture
 
Data management pub
Data management pubData management pub
Data management pub
 
Data management
Data managementData management
Data management
 
Data management
Data managementData management
Data management
 
Data communication
Data communicationData communication
Data communication
 
Opac exam
Opac examOpac exam
Opac exam
 
Ch5 database system
Ch5 database systemCh5 database system
Ch5 database system
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and network
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
 
Ch3 in fo re_source
Ch3 in fo re_sourceCh3 in fo re_source
Ch3 in fo re_source
 
Information sources 1
Information  sources 1Information  sources 1
Information sources 1
 
Ch2 ระบบสารสนเทศ
Ch2 ระบบสารสนเทศCh2 ระบบสารสนเทศ
Ch2 ระบบสารสนเทศ
 
Ch2 องค์การและระบบสารสนเทศ
Ch2 องค์การและระบบสารสนเทศCh2 องค์การและระบบสารสนเทศ
Ch2 องค์การและระบบสารสนเทศ
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
 
Db architecture
Db architectureDb architecture
Db architecture
 
Data management
Data managementData management
Data management
 
Data management
Data managementData management
Data management
 
Ethernet
EthernetEthernet
Ethernet
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
Network equipment
Network equipmentNetwork equipment
Network equipment
 

Media

  • 2. ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล : Media  เป็นส่วนทีทำำให้เกิดกำรเชื่อมต่อระหว่ำงอุปกรณ์ตำงๆ เข้ำด้วย ่ ่ กัน และทำำให้ข้อมูลเดินทำงผ่ำนจำกผู้ส่งไปสู่ผรับผ่ำนสื่อกลำง ู้ ทีใช้ ่  กำรวัดปริมำณหรือควำมจุในกำรนำำข้อมูลเรียกกันว่ำ แบนด์วิดธ์ (Bandwidth) มีหน่วยเป็นจำำนวน บิต ข้อมูลต่อวินำที (bits per second: bps)  ลักษณะของตัวกลำงต่ำงๆ มีดังต่อไปนี้  สื่อประเภทเหนียวนำำ/สื่อมีสำย (Conducted Media) ่  สื่อประเภทกระจำยคลื่น/สื่อไร้สำย (Radiated Media)
  • 3. ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล : Media  สื่อประเภทเหนี่ยวนำำ/สื่อมีสำย หมำยถึง สื่อกลำงที่เป็นสำย ซึ่งใช้ในกำรเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่ำง ๆ สำมำรถกำำหนดเส้น ทำงเพื่อใช้ในกำรส่งผ่ำนข้อมูลในระยะทำงที่ห่ำงกันไม่มำก นัก  สำยคู่บิดเกลียว (twisted pair)  สำยโคแอกเซียล (coaxial cable)  เส้นใยแก้วนำำแสง (fiber optic)
  • 4. สำยคู่บิดเกลียว (twisted pair)  ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงทีหุ้มด้วยฉนวนป้องกัน 2 เส้นพัน ่ บิดเป็นเกลียว  อัตรำกำรส่งข้อมูลผ่ำนสำยคู่บิดเกลียวจะขึ้นอยู่กับควำมหนำของ สำยทำำให้สำมำรถส่งข้อมูลด้วยอัตรำส่งสูง  กำรส่งข้อมูลแบบดิจิทัล สัญญำณที่ส่งเป็นลักษณะคลืนสี่เหลี่ยม ่ สำยคูบิดเกลียวสำมำรถใช้ส่งข้อมูลได้ถึงร้อยเมกะบิตต่อวินำที ่ ในระยะทำงไม่เกินร้อยเมตร  มีรำคำไม่แพงมำก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี จึงได้รับควำมนิยมใช้กันมำก
  • 5. สำยคู่บิดเกลียว (twisted pair) จำำนวนรอบของกำรถักเป็นเกลียว ต่อหนึ่งหน่วยควำมยำว (1 เมตรหรือ 1 ฟุต) จะเรียกว่ำ “Twist Ratio” ยิ่งมีรอบถักเกลียวหนำแน่นมำก เท่ำไหร่ ก็จะช่วยลดสัญญำณ รบกวนได้ดีขึ้น
  • 6. ลำำดับ ขั้น ควำมเร็ว กำรถ่ำยทอดสัญญำณ Catagory Mbps 1 1 ใช้กับระบบโทรศัพท์ เหมำะกับสัญญำณเสียง ไม่สำมำรถใช้ในกำร ส่ง ข้อมูลแบบดิจิตอลได้ 2 4 รองรับแบนด์วิธได้ถึง 4 MHz ซึ่งทำำให้สำมำรถส่งข้อมูลแบบดิจิตอล ได้ถึง 4 MHz มีสำยคู่บิดเกลียวอยู่ 2 คู่ 3 10 สำยที่สำมำรถส่งข้อมูลได้ถึง 16 Mbps และมีสำยคูบิดเกลียวอยู่ 4 ่ คู่
  • 7. ลำำดับ ขั้น ควำมเร็ว กำรถ่ำยทอดสัญญำณ Catagory Mbps 4 16 ส่งข้อมูลได้ถึง 20 Mbps และมีสำยคู่บดเกลียวอยู่ 4 คู่ ิ 5 Class D 100 ส่งข้อมูลได้ถึง 100 Mbps และมีสำยคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่ 5 Class E 1,000 มีคณสมบัตเช่นเดียวกับ Cat 5 แต่มีคณภำพของสำยทีดีกว่ำ เพื่อ ุ ิ ุ ่ รองรับกำรส่งข้อมูลแบบฟูลดูเพล็กซ์ท1,000 Mbps ซึ่งใช้4 คู่สำย ี่ 6 10,000 ส่งข้อมูลได้ถึง 10,000 Mbps รองรับแบนด์วิธได้ถึง 250 MHz 7 ทดลอง รองรับแบนด์วิธได้ถึง 600 MHz และกำำลังอยู่ในระหว่ำงกำรวิจัย
  • 8. สำยคู่บิดเกลียว (twisted pair)  CAT1-CAT7  ใช้คอนเน็กเตอร์แบบ RJ  โทรศัพท์บ้ำน ใช้คอนเน็กเตอร์แบบ RJ-11  สำย UTP ชนิด CAT5/CAT5e/CAT6 ใช้กบระบบเครือข่ำย ั ท้องถิ่น(LAN) ใช้คอนเน็กเตอร์แบบ RJ-45
  • 9. สำยคู่บิดเกลียว (twisted pair)  กำรเข้ำหัวสำย UTP กับหัวเชื่อมต่อแบบ RJ-45 มีอยู่สอง มำตรฐำนคือ  แบบ EIA/TIA 568A และ EIA/TIA 568B
  • 10. สำยคู่บิดเกลียว (twisted pair)  สำยแพทช์คอร์ด เชื่อมต่อระหว่ำงอุปกรณ์ Hub กับ คอมพิวเตอร์ ปลำยของสำย UTP ทั้งสองด้ำนต้องเข้ำตำม มำตรฐำน EIA/TIA 568B  สำยครอสโอเวอร์ เชื่อมต่อระหว่ำง Hub กับ Hub หรือ ระหว่ำงคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ ปลำยของสำย UTP ด้ำนหนึ่งต้องเข้ำแบบ EIA/TIA 568A ส่วนปลำยของสำย อีกด้ำนหนึ่งเข้ำแบบ EIA/TIA 568B  สำย UTP ที่ใช้กับระบบ Ethernet ควำมยำวของสำยต้องไม่เกิน 100 เมตร
  • 11. สำยโคแอกเชียล (coaxial)  มีแบนด์วิดธ์ที่สูงกว่ำสำยคูบิดเกลียว ่  สำยโคแอกเชียลชนิด 50 โอห์มใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิทัล และชนิด 75 โอห์มใช้ส่งข้อมูลสัญญำณแอนะล็อก  ประกอบด้วยลวดทองแดงทีเป็นแกนหลักหนึงเส้นทีหุ้มด้วยฉนวนชั้น ่ ่ ่ หนึง เพื่อป้องกันกระแสไฟรั่ว จำกนันจะหุมด้วยตัวนำำซึ่งทำำจำกลวด ่ ้ ้ ทองแดงถักเป็นเปีย เพื่อป้องกันกำรรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ และสัญญำณรบกวนอื่นๆ ก่อนจะหุ้มชั้นนอกสุดด้วยฉนวนพลำสติก  ลวดทองแดงที่ถักเป็นเปียเป็นส่วนหนึ่งที่ทำำให้สำยประเภทนี้มีช่วง ควำมถี่สัญญำณไฟฟ้ำสำมำรถผ่ำนได้สูงมำก และนิยมใช้เป็นช่อง สื่อสำรสัญญำณแอนะล็อกเชื่องโยงผ่ำนใต้ทะเลและใต้ดน ิ  ป้องกันสัญญำณรบกวนได้ดี และเชื่อมต่อได้ในระยะไกล
  • 15. กำรถ่ำยทอดสัญญำณแบบบรอดแบนด์ (Broadband Transmission)  แบ่งสำยออกเป็นช่องสัญญำณขนำดเล็กจำำนวนมำก ด้วยวิธีกำร ทำงอิเล็กทรอนิกส์ คือ แบ่งเป็นสัญญำณพำหะ (Carrier Wave) ออกเป็นช่องสัญญำณเล็กตำมขนำดคลื่นควำมถี่ โดยมีช่อง สัญญำณกันชน เรียกว่ำ Guard Band ทำำหน้ำที่เป็นตัวป้องกัน กำรรบกวนระหว่ำงช่องสัญญำณทีอยู่ติดกัน ดังนั้นสำยสัญญำณ ่ ย่อยทุกเส้นจึงสำมำรถรับ-ส่งข้อมูลได้พร้อม ๆ กัน
  • 16. กำรถ่ำยทอดสัญญำณแบบบรอดแบนด์ (Broadband Transmission)  กำรส่งสัญญำณโทรทัศน์นบร้อยช่องผ่ำนทำงสำย ั โคแอกเซียลเพียงเส้นเดียวไปตำมบ้ำนพักอำศัย  บริษัทยูบีซีในประเทศไทยก็ทำำในลักษณะเดียวกันเพียงแต่ใช้ สำยคนละชนิดกันคือสำยใยแก้วนำำแสง
  • 17. กำรถ่ำยทอดสัญญำณแบบเบสแบนด์ (Baseband Transmission)  ใช้ในกำรสื่อสำร ข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยเฉพำะในระบบเครือข่ำย เฉพำะบริเวณ  กรณีนสำยโคแอกเซียลจะมีเพียงช่องสัญญำณเดียว ี้ (ที่มีควำมกว้ำงมำก)
  • 18. สำยโคแอกเชียล (coaxial)  ปัญหำที่สำำคัญของสำยโคแอกเซียล คือ เรื่องขนำดของสำย ซึ่ง มีขนำดใหญ่และมีนำ้ำหนักมำกเมื่อเปรียบเทียบกับสำยคูบิด ่ เกลียวหรือสำยใยแก้วนำำแสง
  • 19. เส้นใยแก้วนำำแสง (fiber optic)  แกนกลำงของสำยประกอบด้วยเส้นใยแก้วบริสุทธิ์ ขนำดเล็ก หลำยๆ เส้นอยู่รวมกัน และห่อหุ้มด้วยเส้นใยอีกชนิดหนึง ก่อน ่ จะหุ้มชั้นนอกสุดด้วยฉนวน  สำมำรถส่งข้อมูลด้วยอัตรำควำมหนำแน่นของสัญญำณข้อมูลสูง มำก และไม่มีกำรก่อกวนของคลืนแม่เหล็กไฟฟ้ำ ่  กำรบิดงอสำยสัญญำณจะทำำให้เส้นใยหัก จึงไม่สำมำรถใช้สื่อ กลำงนี้ในกำรเดินทำงตำมมุมตึกได้  เหมำะที่จะใช้กับกำรเชื่อมโยงระหว่ำงอำคำรกับอำคำร หรือ ระหว่ำงเมืองกับเมือง เส้นใยนำำแสงจึงมักถูกนำำไปใช้เป็นสำย แกนหลัก(Blackbone) ระยะทำงไกลถึง 2000 เมตร  เทคนิคกำรเคลือบสำยใยแก้วนำำแสงที่เรียกว่ำ Heat-Fused Cladding นันทำำให้กำรลักลอบขโมยสัญญำณเกือบจะเป็นไปไม่ ้ ได้
  • 20. ส่วนประกอบหลักของใยแก้วนำำแสง  Core ทำำหน้ำที่ให้แสงเดินทำงผ่ำน  Cladding ทำำหน้ำที่เป็นตัวหักเหของแสง  Jacket ทำำหน้ำที่ป้องกันส่วน Core และ Cladding
  • 21.
  • 23. เส้นใยแก้วนำำแสง (fiber optic)  เส้นใยแก้วนำำแสงแบบมัลติโหมด (Multimode Fiber Optic: MMF)  ภำยในเส้นใยแก้วมีแนวลำำแสงอยู่จำำนวนหลำยลำำแสง  นิยมนำำมำใช้งำนในระบบ LAN มำกทีสุด = 62.5/125 ไมโครเมตร ่  ขนำดทีนิยมใช้ เส้นผ่ำนศูนย์กลำงของแกนอยู่ที่ 62.5 micron และ ่ ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของแกนและส่วนที่เป็น Cladding อยู่ที่ 125 micron  ขนำดของ Core จะมีขนำดใหญ่กว่ำเส้นใยแก้วนำำแสงแบบ SM fiber มีผลทำำให้แสงทีตกกระทบทีปลำยอินพุตของเส้นใยแก้วนำำ ่ ่ แสงมีมุมตกกระทบที่แตกต่ำงกันหลำยค่ำ ทำำให้มีแนวลำำแสงเกิด ขึ้นหลำยโหมด ซึ่งทำำให้เกิดกำรแตกกระจำยของโหมดแสง
  • 24.
  • 25.  Step Index optic fiber (SI-fiber) เป็นเส้นใยแก้วนำำแสง ทีมีลักษณะกำรเปลียนแปลงของดัชนีกำรหักเหระหว่ำง Core กับ ่ ่ Cladding เป็นในลักษณะขั้นบันได (Step) วัสดุที่ใช้ในกำร เคลือบท่อใยแก้ว นำำแสงเป็นสำรประเภทพลำสติก หรือสำร สะท้อนแสง เพื่อใช้ทำำหน้ำทีสะท้อนแสงที่ส่งออกมำจำก แอลอี ่ ดี หรือเลเซอร์ให้อยู่ภำยในท่อใยแก้ว จนกระทังไปทะลุออกทำง ่ ปลำยสำย เส้นใยแสงชนิดนี้อำจจะสร้ำงจำกแก้วหลำยๆชนิดปน กันหรือแก้วซิลิก้ำก็ได้
  • 26.  Graded Index optic fiber (GI-fiber) เป็นเส้นใยแก้วนำำ แสงทีมีลักษณะกำรเปลียนแปลงของดัชนีกำรหักเหระหว่ำง Core ่ ่ กับ Cladding ค่อยๆ ลดลงทีละน้อย จึงเรียกว่ำ Graded Index optic fiber เส้นใยแสงชนิดนี้สร้ำงจำกแก้วหลำยชนิดปนกันหรือแก้ว ซิลก้ำก็ได้เช่น เดียวกับเส้นใยแสงชนิด Multi mode step index ิ แต่จะแตกต่ำงกันตรงทีสำรที่นำำมำใช้ จะต้องมีควำมบริสุทธิ์มำกกว่ำ ่ เพื่อลดกำร สูญเสียที่จะเกิดขึ้น ดังนั้นจึงทำำให้เส้นใยแสงชนิดนีมี ้ ประสิทธิภำพดีกว่ำเส้นใยแสงชนิด Multi mode step index
  • 27. เส้นใยแก้วนำำแสง (fiber optic)  เส้นใยแก้วนำำแสงแบบซิงเกิลโหมด (Single mode Fiber Optic: SMF)  มีเส้นใยแก้วเป็นส่วนแกนขนำดเล็กกว่ำแบบมัลติโหมด  ขนำดของเส้นผ่ำนศูนย์กลำงของแกนประมำณ 8-10 micron  ส่วนที่เป็น Cladding ประมำณ 125 micron  เส้นใยประเภท SMF นี้ จะอนุญำตให้แสงเดินทำงเพียงแนว เดียว  ทำำให้แสงไม่เกิดกำรแตกกระจำย ทำำให้สำมำรถรับสัญญำณที่ ปลำยสำยได้ดีกว่ำแบบ MMF และสำมำรถส่งสัญญำณได้ใน ระยะทำงทีไกลกว่ำ ่
  • 28.  เส้นใยแสงชนิด Single mode นีสำมำรถที่จะสร้ำงให้มี Index ้ Profile ได้ทงแบบ step index และ Graded Index แต่เนื่องจำก ั้ กำรสร้ำงเส้นใยแสงแบบ Single mode ที่มี Index Profile แบบ Graded Index มีรำคำแพงและ คุณสมบัตที่ได้จำกกำรมี Index ิ Profile แบบ Graded Index ก็ไม่มีประโยชน์ต่อระบบกำรสื่อสำร ด้วยเส้นใยแสง ดังนั้นในปัจจุบันเส้นใยแสงแบบ Single mode ที่ สร้ำงขึ้นในเชิงพำณิชย์กจะมีแต่เส้นใยแสง Single mode แบบ ็ Step Index เท่ำนั้น ซึ่งเหมำะสมสำำหรับงำนที่ตองกำรแบนด์วิธ ้ กว้ำงและระยะทำงไกล (Long- Haul)
  • 30. สำยใยแก้วนำำแสง (Fiber Optic Cable)  เป็นสำยสื่อสำรทีมีควำมกว้ำงช่องสื่อสำรสูงมำกกว่ำสำยทุกชนิด ่  สำมำรถถ่ำยทอดข้อมูลปริมำณสูงในเวลำสั้น อัตรำควำมเร็วใน กำรส่งข้อมูลเริ่มต้นที่ 100 ล้ำนบิตต่อวินำที  อนำคตสำยชนิดนีจะสำมำรถส่งข้อมูลได้ที่อตรำควำมเร็วสูงถึง ้ ั 2.5 ล้ำนล้ำนบิตต่อวินำที
  • 31.
  • 32. ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล : Media  สื่อกระจำยคลื่น/สื่อกลำงประเภทไร้สำย หมำยถึง สื่อกลำงที่ ใช้กำรส่งข้อมูลผ่ำนอำกำศ โดยอำศัยพลังงำน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำที่แพร่กระจำยอยู่ทั่วไป โดย คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำดังกล่ำวมีทั้งคลื่นควำมถี่ตำ่ำและคลื่น ควำมถี่สูง  คลื่นวิทยุ (Radio Frequency: RF)  ไมโครเวฟ (Terrestrial Microwave Transmission)  ดำวเทียม (Satellite)  อินฟรำเรด (Infrared Transmission)  บลูทูธ (Bluetooth)
  • 33. คลื่นวิทยุ (Broadcast Radio/Radio Frequency: RF)  กำรสื่อสำรโดยอำศัยคลืนวิทยุ ทำำโดยกำรส่งคลืนไปยังอำกำศเพื่อ ่ ่ เข้ำไปยังเครื่องรับวิทยุ  ใช้เทคนิคกำรมอดูเลต ด้วยกำรรวมคลืนเสียงที่เป็นคลื่นไฟฟ้ำควำมถี่ ่ เสียงรวมกัน  กำรแพร่กระจำยคลื่น หรือที่เรียกว่ำกำรส่งออกอำกำศ จะเกิดขึ้นใน ทุกทิศทำง (Omnidirectional) ทำำให้เสำอำกำศที่ใช้รับสัญญำณไม่ จำำเป็นต้องตั้งทิศทำงให้ชี้ตรงมำยังเสำส่งสัญญำณ  คลืนวิทยุมีควำมเร็วค่อนข้ำงตำ่ำและไวต่อสัญญำณรบกวน ่  ออกอำกำศโดยทัวไปทังในระบบ AM และ FM มีควำมถี่อยู่ในช่วง ่ ้ 30-300 MHz
  • 34. คลื่นวิทยุ (Broadcast Radio/Radio Frequency: RF) ย่ำนควำมถี่ของสัญญำณต่ำงๆ
  • 35. คลื่นวิทยุ (Broadcast Radio/Radio Frequency: RF)  สัญญำณวิทยุ เอเอ็ม (Amplitude Modulation; AM) ใช้คลืน ่ ควำมถี่ตำ่ำกว่ำสัญญำณวิทยุเอฟเอ็ม (Frequency Modulation; FM)  วิทยุเอเอ็มมีรัศมีกำรส่งออกอำกำศไปได้ไกลกว่ำเอฟเอ็ม เปรียบ เทียบจำกเครื่องที่มีกำำลังส่งเท่ำกัน จึงมีพื้นทีให้บริกำรมำกกว่ำ ่ แต่ก็จะถูกสัญญำณอืนรบกวนได้โดยง่ำย ่
  • 36. คลื่นวิทยุ (Broadcast Radio/Radio Frequency: RF)  สัญญำณวิทยุเอฟเอ็ม (Frequency Modulation; FM)  วิทยุคลืนเอฟเอ็มจึงรับฟังได้ชัดเจนกว่ำแม้ในขณะทีมีพำยุฝน ่ ่  อิทธิพลของดวงอำทิตย์ก็มีผลโดยตรงต่อระยะทำงส่งสัญญำณ กลำงวัน อำกำศร้อน ควำมหนำแน่นน้อย ส่วนตอนเย็น อำกำศ เย็น ควำมหนำแน่นมำก ทำำให้สัญญำณวิทยุไปได้ไกลขึ้นและมี ควำมชัดเจนในกำรรับฟังมำกขึ้น
  • 37. คลื่นวิทยุ (Broadcast Radio/Radio Frequency: RF)  สัญญำณที่ใช้ในระบบวิทยุคลื่นสั้น (Shortwave radio; SW)  ส่งออกอำกำศด้วยคลื่นในย่ำนควำมถี่ตำ่ำมำก จึงมีคณสมบัติทวไป ุ ั่ คล้ำยกับวิทยุเอเอ็ม คือ สำมำรถส่งออกอำกำศได้ในระยะทำงที่ ไกลมำก  เช่น สถำนีวิทยุเสียงอเมริกำ-ภำควิทยุคลื่นสั้น (Voice of America) เคยเข้ำมำตังอยู่ใน ประเทศไทยในระหว่ำงสงครำมเวียดนำมเพื่อ ้ ส่งสัญญำณออกอำกำศไปยังผูฟังทั่วไปในประเทศไทยและไปไกล ้ ถึงประเทศเวียดนำม
  • 38. คลื่นวิทยุ (Broadcast Radio/Radio Frequency: RF) วิทยุสมัครเล่น (Citizen Band; CB)  ใช้คลื่นควำมถี่ตำ่ำมำก  ถูกนำำมำใช้สำำหรับกำรสื่อสำรระยะทำงใกล้สำำหรับประชำชนทัวไป ่  มีรัศมีกำรรับ-ส่งสัญญำณประมำณตังแต่ไม่กี่ร้อยเมตรไปจนถึง ้ มำกกว่ำ 10 กิโลเมตร คุณภำพทีใช้งำนจึงไม่ค่อยเป็นปัญหำ ่
  • 39. โทรทัศน์  เป็นระบบโทรคมนำคม กระจำยภำพและเสียง  TELE + VISION(visio)  คลื่นควำมถีส่งแบ่งเป็น 2 ประเภทดังนี้ ่  ประเภทเครื่องส่งกับเสำอำกำศภำคพื้นดิน  VHF (Very-High Frequency) Analog Only  คลื่นตรง  UHF (Ultra-High Frequency) Analog + Digital  คลื่นไมโครเวฟ  ประเภทเครื่องส่งกับดำวเทียม  EHF (Extremely high frequency) ย่ำนควำมถี่ไมโครเวฟ  ประเภทอืน่  Cable TV With Fiber optic & Satellite
  • 40. โทรทัศน์  UHF (Ultra-High Frequency) Analog + Digital  สัญญำณคลืนไมโครเวฟที่ใช้ในกำรส่งสัญญำณโทรทัศน์ ่  ควำมถี่อยู่ในช่วงคลื่น 400-900 MHz (เดิม) ปัจจุบันมีย่ำน ควำมถี่ทระหว่ำง 300 - 3000 MHz(30 GHz) ควำมยำวคลื่น ี่ ตั้งแต่ 1เมตร ถึง 100 เมตร  UHF เป็นกำรใช้งำนกำรส่งคลืนวิทยุโทรทัศน์ระบบดิจิตอล กำร ่ ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์ไร้สำย
  • 41. โทรทัศน์  VHF (Very-High Frequency) Analog Only  ลักษณะคลื่นเป็นคลื่นตรง มีควำมถี่อยู่ในช่วงคลืน 50-225 MHz ่ (เดิม) ปัจจุบันมีย่ำนควำมถี่ที่ระหว่ำง 30 - 300 MHz ควำมยำวคลื่นตังแต่ 10เมตร ถึง 1 เมตร ส่วนมำกแล้วโดยทั่วไป ้ นัน VHF จะใช้ในกำรส่งคลื่นวิทยุสื่อสำร วิทยุโทรทัศน์ วิทยุ ้ กระจำยเสียง
  • 42. โทรทัศน์ ปัจจุบันมีกำรแพร่ภำพอยู่ 2 ประเภท คือ ควำมละเอียดมำตรฐำน (Standard-definition television : SDTV) กับ ควำมละเอียดสูง (High-definition television : HDTV)  HDTV มีมติทเส้นอย่ำงน้อย2เท่ำของโทรทัศน์สัญญำณควำมคม ี่ ชัดระดับมำตรฐำน (SDTV) ยิ่งกว่ำนันมำตรฐำนทำงเทคนิคเพื่อ ้ แพร่ภำพ HDTV สำมำรถจัดกำรภำพลักษณะอัตรำส่วน16:9 โดย ปรำศจำกกำรใช้ letterboxing แบบยืดหยุ่น *Wide Screen
  • 43. โทรทัศน์ สำำหรับประเทศไทยในปัจจุบันนี้สถำนีโทรทัศน์ฟรีทีวีของไทยยังไม่ สำมำรถปล่อยสัญญำณทีมีควำมสะเอียดสูงได้(ยกเว้น Mcot) ่ ทำำให้กำรใช้งำน HDTV ยังไม่แพร่หลำยในเมืองไทย และยังใช้ งำนได้ไม่เต็มประสิทธิภำพมำกนักด้วยข้อจำำกัดทำงด้ำน มำตรฐำนทำงด้ำน resolution ของ HDTV ซึ่งอยู่หลำยอย่ำงแต่ อันที่คำดว่ำจะเป็นที่ใช้โดยทัวไปคือ 1080 x 1920 พิกเซล ่ กำรที่จะให้ HDTV ทำำงำนอย่ำงสมบูรณ์แบบนั้นก็ต้องมีสื่อ ทีสำมำรถรองรับกำรทำำงำนของ HDTV ได้เช่นกัน สือหลักๆทีมี ่ ่ อยู่ตอนนีก็เห็นจะได้แก่ Blu-Ray และ HD DVD ้
  • 45.
  • 46. ไมโครเวฟ  เป็นคลื่นควำมถี่วิทยุชนิดหนึ่งเดินทำงเป็นเส้นตรง สื่อสำรในระดับสำยตำ มีสัญญำณรบกวนเกิดขึ้นน้อย  ใช้ในกำรสื่อสำรข้อมูลข่ำวสำรในปริมำณมำกๆ  เส้นทำงในกำรสื่อสำรประมำณ 50-80 กิโลเมตรและไม่มีสิ่งกีดขวำง  กำรสื่อสำรในรูปแบบนีมีผลต่อส่วนโค้งของโลก ้  ถ้ำต้องกำรสื่อสำรในระยะไกลกว่ำนี้จะต้องมีสถำนีทวนสัญญำณในระ ยะทุกๆ 50-80 กม. เพื่อให้รับสัญญำณและทำำกำรขยำยสัญญำณให้ แรงขึ้นแล้วส่งสัญญำณต่อไป จนถึงปลำยทำง
  • 47. ไมโครเวฟชนิดตั้งบนพื้นดิน (Terrestrial Microwave)  สถำนีบนพื้นดินตังอยู่ใกล้กันในระยะประมำณ 40-48 กิโลเมตร ้ และอำจไกลถึง 88 กิโลเมตร รับส่งข้อมูลระหว่ำง 2 สถำนี  สถำนีทงสองต้องตังอยู่สูงจำกพื้นดินมำก ๆ เช่น ตั้งอยู่บนยอด ั้ ้ ตึกสูง ทั้งนีจะต้องไม่มีวัตถุใด ๆ ขวำงระหว่ำงสถำนีทงสอง ้ ั้
  • 48.
  • 49. ไมโครเวฟที่สื่อสำรผ่ำนดำวเทียม (Satellite Microwave) .  ดำวเทียม (Satellite) คือสถำนีส่งกำำลังกำรติดต่อระหว่ำงสถำนี ต้องมีอุปกรณ์ทำำกำรรับและส่งข้อมูลคือดำวเทียมหนึงดวงและ ่ สถำนีพื้นดินตั้งแต่สองสถำนีขึ้นไป  สถำนีพื้นดินถูกนำำมำใช้เพื่อกำรรับและส่งสัญญำณไปยัง ดำวเทียม ซึ่งจะทำำหน้ำทีเป็นอุปกรณ์ทวนสัญญำณและจะถูกส่ง ่ กลับมำยังพื้นผิวโลกในตำำแหน่งทีสถำนีพื้นดินแห่งทีสองตั้งอยู่ ่ ่
  • 50. ไมโครเวฟที่สื่อสำรผ่ำนดำวเทียม (Satellite Microwave) .  ดำวเทียมใช้เสำอำกำศในกำรรับสัญญำณที่ส่งขึ้นไปจำกพื้นโลก เรียกว่ำ กำรอัพลิ้งค์ (Uplink)  จำกนั้นจะทำำกำรขยำยสัญญำณทีรับได้ให้มีควำมชัดเจนมำกขึ้น ่ และเปลี่ยนขนำดควำมถี่คลื่นให้เหมำะสมแล้วจึงใช้อุปกรณ์ททำำี่ หน้ำที่ส่งสัญญำณ เรียกว่ำ ทรำนสปอนเดอร์ (Transponder) เพื่อส่งสัญญำณนันกลับลงมำยังพื้นโลก เรียกว่ำ ดำวน์ลิ้งค์ ้ (Downlink) สัญญำณไมโครเวฟ
  • 51.
  • 52. เครือข่ำยดำวเทียม  ดำวเทียมสื่อสำร (communication satellite)  ดำวเทียมอุตุนิยมวิทยำ (Meteorological Satellite)  ดำวเทียมสำำรวจทรัพยำกร (Remote Sensing Satellite)  ดำวเทียมกำำหนดตำำแหน่ง (Global Position System Satellite)  ดำวเทียมในกิจกำรวิทยุสมัครเล่น (Radio Amateur Satellite)
  • 53. เครือข่ำยดำวเทียม  ดำวเทียมสื่อสำร (communication satellite)  เป็นดำวเทียมทีมีวงโคจรแบบค้ำงฟ้ำ ใช้ทั้งสิ้น 3 ดวงคือ ่  ดำวเทียมเหนือมหำสมุทรอินเดีย  ดำวเทียมเหนือมหำสมุทรแปซิฟิค  ดำวเทียมเหนือมหำสมุทรแอตแลนติก
  • 54. วงโคจรของดำวเทียม ดำวเทียมวงโคจรตำ่ำ LEO(Low Earth Orbit) 400-2000 km  ระยะสูงจำกพื้นโลกไม่เกิน 2,000 กม. ใช้ในกำรสังเกตกำรณ์ สำำรวจ สภำวะแวดล้อม, ถ่ำยภำพ ไม่สำมำรถใช้งำนครอบคลุมบริเวณใด บริเวณหนึงได้ตลอดเวลำ เพรำะมีควำมเร็วในกำรเคลื่อนที่สูง ใช้ ่ เวลำในกำรโคจรรอบโลกหนึ่งรอบเพียง 90 ถึง 100 นำที สำมำรถ บันทึกภำพคลุมพื้นทีตำมเส้นทำงวงโคจรที่ผำนไป ตำมที่สถำนีภำค ่ ่ พื้นดินจะกำำหนดเส้นทำงโคจรอยู่ในแนวขั้วโลก (Polar Orbit) ดำวเทียมวงโคจรระยะตำ่ำขนำดใหญ่บำงดวงสำมำรถมองเห็นได้ด้วย ตำเปล่ำในเวลำคำ่ำ หรือก่อนสว่ำง เพรำะดำวเทียมจะสว่ำงเป็นจุดเล็ก ๆ เคลื่อนที่ผำนในแนวนอน (แนวเส้นศูนย์สูตร) อย่ำงรวดเร็ว ข้อดีคือ ่ อุปกรณ์รับ-ส่งสัญญำณไม่จำำเป็นต้องมีกำำลังมำกนัก  กำรใช้งำนจำำเป็นต้องใช้ดำวเทียมมำกถึง 12 ดวง จึงจะครอบคลุม พื้นทีได้ทั่วโลกและสำมำรถใช้งำนได้อย่ำงต่อเนืองตลอดเวลำ ่ ่
  • 55. วงโคจรของดำวเทียม ดำวเทียมวงโคจรตำ่ำ LEO(Low Earth Orbit) 400-2000 km  ตัวอย่ำงของดำวเทียมวงโคจรตำ่ำคือ อีริเดียม (Iridium) ของบริษัท โมโตโรลำร์ (Motorola) และดำวเทียม SMMS(Small Multi- Mission Satellite)  ใช้ดำวเทียมทั้งหมด 66 ดวง มีวงโคจร 6 วงแต่ละวงมีดำวเทียม 11 ดวง
  • 56. วงโคจรของดำวเทียม ดำวเทียมวงโคจรปำนกลำง MEO(Medium Earth Orbit) 8000-12000 km  อยู่ทระยะควำมสูงตั้งแต่ 10,000 กม. ขึ้นไป ส่วนใหญ่ใช้ในด้ำน ี่ อุตนิยมวิทยำ และสำมำรถใช้ในกำรติดต่อสื่อสำรเฉพำะพื้นที่ได้ ุ แต่หำกจะติดต่อให้ครอบคลุมทั่วโลกจะต้องใช้ดำวเทียมจำำนวน 6 ดวง ดวงในกำรส่งผ่ำน...  โครงกำร Odyssey เป็นตัวอย่ำงโครงกำรทีนำำดำวเทียมวงโคจร ่ ปำนกลำงไปใช้ ซึ่งมีอยู่จำำนวน 12 ดวง โลก
  • 57. วงโคจรของดำวเทียม ดำวเทียมวงโคจรค้ำงฟ้ำ GEO(Geostationary Earth Orbit ) >20000 km  เป็นดำวเทียมเพื่อกำรสื่อสำรเป็นส่วนใหญ่ อยู่สูงจำกพื้นโลก 35,786 กม. เส้นทำงโคจรอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร (Equatorial Orbit) ดำวเทียมจะหมุนรอบโลกด้วยควำมเร็วเชิงมุมเท่ำกับโลกหมุนรอบตัว เองทำำให้ดูเหมือนลอยนิ่งอยู่เหนือ จุดจุดหนึ่งบนโลกตลอดเวลำ ( เรียกทั่ว ๆ ไปว่ำ "ดำวเทียมค้ำงฟ้ำ")  ดำวเทียมค้ำงฟ้ำส่วนใหญ่ใช้ในกำรสื่อสำรระหว่ำงประเทศและ ภำยในประเทศ เช่น ดำวเทียมอนุกรม อินเทลแซต ๆลๆ
  • 58.
  • 59. ดำวเทียมของประเทศไทย  THAICOM1 (1A) และ THAICOM2  ส่งสัญญำณในช่องสัญญำณ C-Band ครอบคลุมพื้นที่ประเทศไทย ลำว กัมพูชำ พม่ำ เวียดนำม มำเลเซีย ฟิลิปปินส์ เกำหลี ญี่ปุ่น และประเทศจีนบำงส่วน  สำำหรับช่องสัญญำณ Ku-Band ครอบคลุมประเทศไทยและประเทศแถบอินโดจีน  อำยุกำรใช้งำนประมำณ 15 ปี  เริ่มใช้งำนตั้งแต่ปี 2536-2551 (THAICOM1 (1A) )  เริ่มใช้งำนตั้งแต่ปี 2537-2552 (THAICOM2)
  • 60. ดำวเทียมของประเทศไทย  THAICOM3  โคจรในพิกดเดียวกับ THAICOM2 ั  ครอบคลุมพื้นทีให้บริกำร ในทวีปเอเชีย ยุโรป ออสเตรเลีย ่ และแอฟริกำ  ถ่ำยทอดสัญญำณโทรทัศน์ตรงถึงที่พักอำศัย  ปลดระวำงก่อนกำำหนดเนื่องจำกปัญหำเรื่องระบบไฟฟ้ำ  ใช้งำนได้เพียงแค่ 9 ปี (2540-2549)
  • 61. ดำวเทียมของประเทศไทย  THAICOM4 (IPStar)  เป็นบอร์ดแบรนด์ดำวเทียมดวงแรกของโลก  เป็นดำวเทียมสื่อสำรเชิงพำณิชย์ ให้บริกำรสำำหรับ อินเตอร์เน็ตควำมเร็วสูง (45 Gbps)  คิดค้นโดยคนไทย และจดสิทธิบัตรเป็นเทคโนโลยีของคน ไทย
  • 62. ดำวเทียมของประเทศไทย  THAICOM5  ให้บริกำรครอบคลุมพื้นที่ 4 ทวีปในระบบ C-Band  ในระบบ Ku-Band ให้บริกำรครอบคลุมประเทศไทย และ ภูมิภำคอินโดจีน  ส่งขึ้นวงโคจรในปี 2549 เพื่อทดแทนไทยคม 3  อำยุกำรใช้งำน ประมำณ 12 ปี  ถ่ำยทอดสัญญำณโทรทัศน์ผ่ำนดำวเทียมตรงถึงที่พัก อำศัยหรือ Direct-to-Home (DTH) และกำรถ่ำยทอด สัญญำณโทรทัศน์ดิจิตอลควำมละเอียดสูง (High Definition TV)
  • 64. ดำวเทียมของประเทศไทย  THEOS : Thailand Earth Observation Satellite  ระบบสำำรวจพื้นผิวโลกโดยใช้เทคโนโลยีภำพถ่ำยจำก ดำวเทียมของประเทศไทย  เป็นดำวเทียมสำำรวจทรัพยำกรดวงแรกของไทยและเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้  เป็นดำวเทียมวงโคจรตำ่ำ ส่งขึ้นวงโคจรในปี 2551
  • 65.  ดำวเทียมยังได้เข้ำมำมีบทบำททีสำำคัญอีกอย่ำงหนึ่งคือระบบชี้ ่ ตำำแหน่งจีพีเอส (Global Positioning System; GPS)  ระบบนีใช้ดำวเทียมจำำนวน 24 ดวง โคจรห่ำงจำกผิวโลก ้ 19,200 กิโลเมตร  กำรคำำนวณหำตำำแหน่งจะใช้สัญญำณจำกดำวเทียม 3 ดวงใน กำรเปรียบเทียบ
  • 66.  จำำนวนดำวเทียม (Satellites) ในปัจจุบนมีมำกจนอำจสร้ำงปัญหำใน ั กำรใช้งำน เนื่องจำกกำรใช้สญญำณคลืนที่มีควำมถีใกล้เคียงกันของ ั ่ ่ ดำวเทียมที่อยู่ใกล้กนจะรบกวนกันเองจนไม่สำมำรถใช้งำนได้ ั วิธีแก้ไขปัญหำกำำหนดระยะห่ำงของกำรวำงตำำแหน่งดำวเทียม สำำหรับย่ำนควำมถี่ของสัญญำณ 4/6 GHz หรือย่ำน C Band ระยะห่ำงกัน 4 องศำ (วัดมุมเทียบกับจุดศูนย์กลำงของโลก) โดยมีแบนด์วิดท์ของสัญญำณUplink เท่ำกับ 5.925-6.425 GHz และมีแบนด์วิดท์ของสัญญำณ Downlinkเท่ำกับ 3.7-4.2 GHz สำำหรับย่ำนควำมถี่ของสัญญำณ 12/14 GHz หรือย่ำน KU Band ระยะห่ำงกัน 3 องศำ (วัดมุมเทียบกับจุดศูนย์กลำงของโลก) โดยมีแบนด์วิดท์ของสัญญำณUplink เท่ำกับ 14.0-14.5 GHz และมีแบนด์วิดท์ของสัญญำณ Downlinkเท่ำกับ 11.7-12.2 GHz
  • 67.  จำนรับ-ส่งสัญญำณข้อมูลกับ ดำวเทียมมีขนำดเล็กประมำณ 0.76-2.40 เมตร  สำมำรถส่งสัญญำณข้อมูลได้ด้วยอัตรำเร็วถึง 56 กิโลบิตต่อ วินำที  มีอัตรำเร็วในกำรรับสัญญำณข้อมูลสูงสุดถึง 256 กิโลบิตต่อ วินำที  ดำวเทียมที่นยมกันมำกที่สุดในปัจจุบันคือบริกำรเครือข่ำยวีแซท ิ (Very Small Aperture Terminal; VSAT)
  • 68. Cellular Radio  วิทยุเซลลูลำร์ (Cellular Radio) หรือทีเรียกกันว่ำ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ่ (Mobile Telephone) โทรศัพท์มือถือ (Handheld Telephone)  เป็นอุปกรณ์รับ-ส่งเสียงสนทนำหรือ ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่อำศัยสื่อ ประเภทคลื่นสัญญำณวิทยุ  โทรศัพท์แบบเซลลูลำร์นมีระยะกำรรับและส่งสัญญำณที่จำำกัดอยู่ ี้ ภำยในพื้นที่หนึ่งเรียกว่ำ เซลล์ (Cell) เซลล์แต่ละเซลล์จะมีเสำ อำกำศสำำหรับรับและส่งสัญญำณเป็นของตนเอง  Cellular telephone เป็นประเภทกำรส่งผ่ำนของคลืนสั้นชนิดอะนำ ่ ล็อก หรือดิจิตอล ซึ่งผูใช้ตดต่อแบบไร้สำยจำกโทรศัพท์เคลื่อนที่ไป ้ ิ ยังสถำนีส่งที่ใกล้ทสุด โดยทั่วไปแล้ว cellular จะใช้ในเมืองและถนน ี่ หลวง โดยผูใช้โทรศัพท์จะย้ำยจำกเซลส์ หรือพื้นที่ครอบคลุมไปยัง ้ อีกเซลส์หนึง่
  • 69.
  • 70. Cellular Radio  ในยุคเริ่มต้นเซลล์แต่ละเซลล์มีพื้นที่ให้บริกำรขนำดใหญ่มำก ซึ่งอำจ ครอบคลุมทั่วทั้งเมือง ทำำให้เกิดปัญหำคือเป็นกำรจำำกัดจำำนวนโทรศัพท์ เนื่องจำกจำำนวนโทรศัพท์แต่ละเครื่องที่กำำลังใช้งำนจะต้องใช้คลื่นควำมถี่ที่ แตกต่ำงกัน ต้องสิ้นเปลืองพลังงำนมำกทั้งสำำหรับพลังงำนที่จ่ำยให้สถำนีฐำน และสำำหรับพลังงำนที่ต้องจ่ำยให้mobile unit แต่ละเครื่อง นอกจำกนี้กำรที่ สถำนฐำนส่งสัญญำณด้วยกำำลังส่งที่สูงมำกๆนั้น บำงครั้งอำจทำำให้เกิดกำร รบกวนกันของสัญญำณกับสถำนีฐำนข้ำงเคียง นอกจำกนั้นในกรณีที่เครื่องลูก ข่ำยเคลื่อนที่ข้ำมพื้นที่ให้บริกำรไปยังพืนที่ของสถำนีฐำนต่ำงเมืองก็ไม่ ้ สำมำรถที่จะทำำกำรโทรได้
  • 71. Cellular Radio  จำกนั้นจึงได้มีกำรแก้ปัญหำนี้ด้วยกำรแบ่งย่อยขนำดของเซลล์ให้เป็นเซลล์จำำ นวนย่อยๆ ซึ่งจะได้จำำนวนเซลล์มำกขึนในขณะที่ควำมจุต่อเซลล์เท่ำเดิม ้ เรียกเทคนิคกำรแบ่งเซลล์นี้ว่ำ “Cell Splitting” ข้อดีที่ได้จำกกำรแบ่งเซลล์ คือสำมำรถลดกำำลังส่งของสถำนีฐำนลงได้ทำำให้เกิดควำมประหยัด และใน ส่วนของผู้ใช้บริกำรก็สำมำรถใช้เครื่อง mobile unit ที่มแบตเตอรี่ขนำดเล็ก ี ได้ ทำำให้ขนำดเครื่องเล็กลง หรือในกรณีที่แบตเตอรี่เท่ำเดิมก็จะเห็นผลในแง่ ของอำยุกำรใช้งำนที่มำกขึน ้
  • 72. (Mobile Telecommunications Switching Office; MTSO)  เซลล์ทั้งหมดจะเชื่อมต่อกับจุดสลับสัญญำณสำำหรับโทรศัพท์เซลลู ลำร์(MTSO) และ MTSO จะเชื่อมต่อกับ cell site โดยเชื่อมผ่ำนกลุ่ม voice trunk เพื่อกำรสนทนำ และผ่ำน data link เพื่อกำรส่งสัญญำณ signaling และสัญญำณควบคุม โดย MTSO จะควบคุม cell site ผ่ำน ทำงคลืนวิทยุ และควบคุมหลำยๆ function ของ mobile unit ด้วย ซึ่ง ่ MTSO ยังทำำหน้ำที่บนทึกกำรโทรเพื่อคิดเงินค่ำบริกำรด้วย ั
  • 73. Cellular Radio  Cell ที่อยู่ตดกันจะถูกกำำหนดให้ใช้คลื่นควำมถี่แตกต่ำงกันจึง ิ ไม่มีสัญญำณรบกวน และควำมถี่ในย่ำนเดิมยังสำมำรถนำำมำใช้ ในเซลล์อื่นได้ด้วย  เช่น Cell A มีพื้นทีอยู่ติดกับ Cell B จึงต้องใช้คลืนคนละควำมถี่ ่ ่ ในขณะที่ Cell C มีพื้นทีอยู่ติดกับ Cell B แต่ไม่มีเขตติดต่อกับ ่ Cell A ดังนันทัง Cell C และ Cell A จึงสำมำรถใช้คลื่นควำมถี่ ้ ้ เดียวกันได้
  • 74. อินฟรำเรด (Infrared Transmission)  เป็นคลื่นสัญญำณควำมถี่สั้น  ส่งสัญญำณเป็นแนนเส้นตรงในระดับสำยตำและสำมำรถสะท้อน บนวัสดุ ผิวเรียบได้เหมือนกับแสงทัวไป ่  นิยมนำำมำใช้งำนสำำหรับกำรสื่อสำรระยะใกล้ในระยะทำงประมำณ 30-80 ฟุต หรือประมำณ 10-30 เมตร  ไม่สำมำรถส่งคลืนทะลุสิ่งกีดขวำงได้ ่  เช่น รีโมตคอนโทรล
  • 75. อินฟรำเรด (Infrared Transmission)  เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบชนิดใหม่ ๆ มักจะมีช่องสื่อสำร อินฟรำเรดติดตังมำด้วยเรียกว่ำ ช่องสื่อสำร IrDA (Infrared Data ้ Association) สำมำรถสั่งงำนระยะไกลประมำณ1 – 5 เมตร  รองรับควำมเร็วในกำรรับส่งข้อมูลหลำยระดับ • SIR (Serial Infrared) หรือIrDA 1.0 รองรับควำมเร็วที่ 2.4 -115.2 kbps • MIR (Medium Speed Infrared) หรือ IrDA 1.1 รองรับควำมเร็วที่ 576 Kbps - 1.152 Mbps • FIR (Fast Infrared) หรือIrDA 1.1 รองรับควำมเร็วที่ 4 Mbps • VFIR (Very Fast Infrared) หรือ IrDA 1.3 รองรับควำมเร็วที่ 16 Mbps
  • 76. บลูทูธ (Bluetooth)  เป็นคลื่นสัญญำณควำมถี่ระยะสั้น  สำมำรถสื่อสำรทะลุสิ่งกีดขวำงหรือกำำแพงได้  บลูทูธสำมำรถสื่อสำรระหว่ำงอุปกรณ์หลำยๆ ร่วมกันได้ เช่น เครืองคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ แฟกซ์ ่  เครือข่ำยขนำดเล็กที่มีกำรเชื่อมต่ออุปกรณ์ไม่เกิน 7 ชิ้น เรำเรียกว่ำเครือข่ำย PAN(Personal Area Network)
  • 77. บลูทธ สำมำรถเชือมต่อได้ทงแบบจุดต่อจุด (point-to-point)และแบบจุดต่อหลำยจุด (point-to-multipoint) ู ่ ั้ คือสำมำรถส่งครังเดียวไปยังหลำยๆ เครื่องพร้อมกันได้อีกทังยังทำำงำนได้เป็นปกติดีแม้ในทีทมีคลืนรบกวนมำก ้ ้ ่ ี่ ่ โดยจะมีควำมเร็วรับส่งอยูที่ 1 Mbps ในวงรัศมีทำำกำรประมำณ 5-10 เมตร โดยไม่ต้องใช้ตัวขยำยสัญญำณ ่ และด้วยควำมทีเป็นระบบไร้สำย จึงมีข้อกำำหนดให้ต้องมีระบบกำรตรวจสอบสิทธิ์กำรเชื่อมต่อและป้องกันกำรดัก ่ สัญญำณระหว่ำงสื่อสำรไว้ด้วย
  • 78. หลักกำรเลือกสื่อกลำงในกำรใช้งำน 1) รำคำของสื่อกลำง  สื่อชนิดที่มีรำคำตำ่ำสุด คือสำยยูทีพี มีรำคำประมำณเมตรละ 18-50 บำทขึ้นอยู่กับประเภทของสำย จึงทำำให้สำยชนิดนีเป็นที่นยมใน ้ ิ กำรนำำมำใช้งำนอย่ำงกว้ำงขวำง  สำยโคแอกเซียลมีรำคำสูงกว่ำสำยยูทีพี แต่ก็ยังคงมีรำคำถูกกว่ำ สำยใยแก้วนำำแสง โดยทัวไปสำยชนิดนี้มีรำคำอยู่ที่ประมำณเมตรละ ่ 50-100 บำท
  • 79. หลักกำรเลือกสื่อกลำงในกำรใช้งำน 1) รำคำของสื่อกลำง  สำยประเภทที่มีรำคำสูงสุดคือสำยใยแก้วนำำแสง ถ้ำจำำนวนสำย 4-8 Core รำคำต่อเมตร 300-500 บำท และจำำนวนสำย 8-12 Core รำคำ 400-800 บำท โดยไม่รวมค่ำติดตัง้  ประเทศไทยมีสำยชนิดนีอยู่ 2 แบบคือ ้  แบบใช้เดินภำยในอำคำร  แบบใช้เดินภำยนอกอำคำร ซึ่งจะต้องมีฉนวนหุมพิเศษและโดยปกติ ้ จะต้องมีสำยลวดสำำหรับขึงระหว่ำงอำคำรหรือเสำไฟฟ้ำ
  • 80. หลักกำรเลือกสื่อกลำงในกำรใช้งำน 2) ควำมเร็วในกำรส่งข้อมูล(Speed)  สำยยูทีพีลำำดับขั้น 1 (Category 1) ได้ถูกนำำมำใช้งำนนำนมำกแล้ว จึงเป็นสำยที่มีควำมเร็วตำ่ำที่สุด  สำยโคแอกเซียล สำยยูทพีลำำดับขั้น 6 (Category 6) ไมโครเวฟ ี ทังแบบบนพื้นดินและแบบผ่ำนดำวเทียมมีควำมเร็วสูงขึ้นตำมลำำดับ ้  เทคโนโลยีปัจจุบันสำยใยแก้วนำำแสงเป็นสื่อทีมีระดับควำมเร็วสูงสุด ่
  • 81. หลักกำรเลือกสื่อกลำงในกำรใช้งำน 3) อัตรำกำรผิดพลำดของข้อมูล ควำมผิดเพี้ยนของสัญญำณ (Distortion) ซึ่งเป็น คุณสมบัตตำม ิ ธรรมชำติทเกิดขึ้นจำกหลำยสำเหตุ เช่น ี่  ควำมแรงหรือควำมเข้มของสัญญำณลดลง เนืองจำกระยะทำงไกลเกินไป ่  สัญญำณรบกวนจำกอุปกรณ์สลับช่องสัญญำณหรือสัญญำณรบกวนที่เกิด จำกฟ้ำผ่ำลงมำโดยตรง  จุดใกล้สำยสื่อสำรมำกถูกรบกวนได้โดยง่ำยจำกสัญญำณแม่เหล็กไฟฟ้ำ หรือจำกควำมผิดปกติของกระแสไฟฟ้ำเอง
  • 82. หลักกำรเลือกสื่อกลำงในกำรใช้งำน 4) ควำมปลอดภัย (Security) ควำมปลอดภัยในเรื่องข้อมูล  กำรขโมยข้อมูลจำกสื่อที่เป็นสำยลวดทองแดงนันสำมำรถทำำได้งำย ้ ่ โดยกำรปอกฉนวนหุมภำยนอกออกแล้วใช้สำยอีกเส้นหนึงทีเป็น ้ ่ ่ ลวดทองแดงเหมือนกันมำเชื่อมติดกัน เรียกว่ำ กำรแท็ปสำย ข้อมูลที่ส่งผ่ำนสำยเส้นแรกก็จะถูกส่งเข้ำไปยังสำยเส้นใหม่ด้วย ทำำให้กำรตรวจหำกำรขโมยสัญญำณด้วยวิธีนทำำได้ยำกมำก ดังนั้น ี้ สำยประเภทนีจึงควรเดินร้อยเข้ำไปท่อโลหะหรือเดินผ่ำนสถำนที่ที่มี ้ ควำมปลอดภัยเท่ำนัน ้
  • 83. หลักกำรเลือกสื่อกลำงในกำรใช้งำน 4) ควำมปลอดภัย (Security) ควำมปลอดภัยในเรื่องข้อมูล  สำยใยแก้วนำำแสงนั้นยำกแก่กำรขโมยสัญญำณด้วยวิธีกำรแท็ปสำยเพรำะ แสง จะถูกตรวจพบได้ง่ำยมำก เพรำะลำำแสงที่เป็นพำหะนำำสัญญำณภำยใน สำยนั้นจะต้องอยู่ในสภำพที่สมบูรณ์อปกรณ์ทำงฝั่งผู้รับจึงจะสำมำรถรับ ุ ข้อมูลที่สงมำได้ กำรตัดสำยหรือกำรเชื่อมสำยใยแก้วนำำแสงจะทำำให้ ่ ลำำแสงภำยในสำยนันเกิดกำรหักเหและทำำให้ผู้รับไม่สำมำรถอ่ำนข้อมูลได้ ้ จึงทำำให้กำรสื่อสำรผ่ำนสำยเส้นนั้นหยุดลงในทันที
  • 84. หลักกำรเลือกสื่อกลำงในกำรใช้งำน 4) ควำมปลอดภัย (Security) ควำมปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน  สำยยูทีพี สำยโคแอกเซียล และสำยทุกชนิดที่ใช้ลวดทองแดง เป็นพำหะในกำรส่งข้อมูลนันมีควำมปลอดภัยในระดับตำ่ำมำก ้ เนืองจำกเป็นตัวนำำกระแสไฟฟ้ำได้เป็นอย่ำงดี สำำหรับเส้นใยแก้ว ่ นำำแสงนั้น กำรที่เส้นใยแก้วเป็นฉนวนทั้งหมด จึงไม่นำำกระแส ไฟฟ้ำ กำรลัดวงจร กำรเกิดอันตรำยจำกกระแสไฟฟ้ำจึงไม่เกิด ขึ้น
  • 85. หลักกำรเลือกสื่อกลำงในกำรใช้งำน 4) ควำมปลอดภัย (Security)  กำรส่งข้อมูลด้วยคลื่นสัญญำณควำมถีต่ำง ๆ นันเป็นวิธีกำรทีมีควำม ่ ้ ่ ปลอดภัยน้อยสุด เนื่องจำกผู้ทต้องกำรขโมยสัญญำณเพียงแค่ใช้เสำ ี่ อำกำศหรือจำนรับสัญญำณดำวเทียมวำงไว้ในจุดที่เหมำะสมก็จะ สำมำรถรับข้อมูลทังหมดโดยไม่มีทำงถูกตรวจพบได้เลย ้  กำรรักษำควำมปลอดภัยจึงทำำได้เพียงทำงเดียวคือกำรเข้ำรหัสข้อมูล (Data Encryption) ก่อนทีจะถูกส่งออกไป และทำำกำรถอดรหัสข้อมูล ่ ทำงฝั่งผู้รับ ผู้ที่ขโมยสัญญำณไปก็จะได้สัญญำณที่ถกเข้ำรหัสไว้ ซึ่งก็ ู จะไม่สำมำรถทรำบได้ว่ำข้อมูลทีแท้จริงนันคืออะไร ่ ้
  • 86. คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล  อุปกรณ์ที่เป็นองค์ประกอบหลักในระบบเครือข่ำยทุกระบบคือ เครื่อง คอมพิวเตอร์ เครื่องเทอร์มินอลและเครื่องอุปกรณ์อื่น ๆ ทีทำำหน้ำที่ ่ ในกำรรับและส่งข้อมูล  เครื่องเทอร์มินอลเป็นอุปกรณ์เครือข่ำยทีทำำหน้ำที่พื้นฐำนในกำรรับ ่ ข้อมูลและแสดงผลลัพธ์แต่บำงชนิดก็มีคณสมบัติอื่น ๆ เพิ่มเติม ุ มำกมำย อุปกรณ์แต่ละชนิดมีคุณสมบัติเฉพำะตัวที่แตกต่ำงกันตำม วัตถุประสงค์ที่ถูกสร้ำงขึ้นมำใช้งำน
  • 87. คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล คอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ำย  ระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์จำำนวนหนึงทีเชื่อมต่อเข้ำด้วยกัน ่ ่  สำมำรถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่ำงกันหรือใช้งำนอุปกรณ์บำงอย่ำง ร่วมกันได้  ระบบเครือข่ำยชนิดทีนยมใช้กันทั่วไปคือ ระบบเครือข่ำยวงกว้ำง ่ ิ และระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณ
  • 88. คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล คอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ำย  ระบบเครือข่ำยวงกว้ำง (Wide Area Network; WAN) เป็นระบบ เครือข่ำยทีเชื่อมต่ออุปกรณ์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งติดตังอยู่ตำม ่ ้ สถำนที่ต่ำง ๆ เข้ำด้วยกัน ซึ่งมีอำณำเขตครอบคลุมพื้นที่ขนำดใหญ่ มำก เช่น พื้นที่หลำยจังหวัด ทัวประเทศ หลำยประเทศหรือระหว่ำง ่ ทวีป  ส่วนระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณนันมีอำณำเขตเล็กมำก เช่น กำร ้ เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่อยู่ภำยในห้องทำำงำนหนึ่ง เข้ำด้วยกัน Information Super Highway
  • 89. คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล คอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ำย  เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ำกับระบบเครือข่ำย ทัง ้ ในระบบ เครือข่ำยวงกว้ำงและระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณทำำ หน้ำที่เป็นโหนด (Node) ซึ่งอำจเป็นอุปกรณ์ชนิดอื่นก็ได้ โหนดทุก โหนดมีควำมสำมำรถในกำรรับและส่งข้อมูลกับโหนดอื่น ๆ ได้และ จะต้องมี หมำยเลขที่อยู่บนเครือข่ำย เรียกว่ำ Network Address ที่ ไม่ซำ้ำกันเลย
  • 90. คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล คอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ำย เครื่องคอมพิวเตอร์อำจทำำหน้ำที่เป็นโฮสต์ (Host) ซึ่งมีคุณสมบัติ เหนือกว่ำโหนดธรรมดำ 3 ประกำรคือ 1) เป็นเครื่องประมวลผลกลำงที่อนุญำตให้ผใช้จำกโหนดอื่นเข้ำมำ ู้ ใช้งำนประมวลผลจำกระยะทำงไกลได้ เรียกว่ำ Remote Access
  • 91. คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล คอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ำย เครื่องคอมพิวเตอร์อำจทำำหน้ำที่เป็นโฮสต์ (Host) ซึ่งมีคุณสมบัติ เหนือกว่ำโหนดธรรมดำ 3 ประกำรคือ 2) เป็นอุปกรณ์ตวกลำงที่ยอมให้อุปกรณ์อื่น ๆ เชื่อมต่อเข้ำกับระบบ ั เครือข่ำยผ่ำนโฮสต์ได้
  • 92. คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล คอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ำย เครื่องคอมพิวเตอร์อำจทำำหน้ำที่เป็นโฮสต์ (Host) ซึ่งมีคุณสมบัติ เหนือกว่ำโหนดธรรมดำ 3 ประกำรคือ 3) เป็นอุปกรณ์ปลำยทำง (Terminator) สำำหรับระบบเครือข่ำย เครื่องคอมพิวเตอร์หลำยชนิดสำมำรถทำำหน้ำที่เป็นโหนดได้ เช่น เครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ เครื่อง มินคอมพิวเตอร์ และเครื่อง ิ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เป็นต้น
  • 93. เครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)  เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนำดใหญ่มีรำคำแพงและมีควำมสำมำรถ ในกำรประมวลผลสูงมำก  เครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ออกแบบมำสำำหรับธุรกิจขนำดใหญ่ที่มี จำำนวนข้อมูลจำำนวนมำกๆและมีกำรเข้ำถึงของผูใช้จำำนวนมำกใน ้ เวลำเดียวกัน  สำมำรถใช้งำนต่ำง ๆ กันได้ในเวลำเดียวกัน จึงมักจะทำำหน้ำทีเป็น ่ โฮสต์เมื่อเชื่อมต่อเข้ำกับระบบเครือข่ำย  ในปัจจุบัน บริษัทและองค์กรต่ำง ๆ ทั้งภำครัฐและเอกชน (โดย เฉพำะในประเทศไทย) ได้เลิกใช้เครื่องเมนเฟรมแล้วหันไปใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์ขนำดเล็กเพื่อทำำหน้ำทีอย่ำงเดียวกัน ่  เครื่องเมนเฟรมมักนำำไปใช้กับองค์กรขนำดใหญ่ เช่น กำรพยำกรณ์ อำกำศ ธุรกิจประเภทธนำคำร สำยกำรบิน ธุรกิจประกันภัย ตลำดหลักทรัพย์ เป็นต้น
  • 95.
  • 96. คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล ซูเปอร์คอมพิวเตอร์  เครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องที่มีขีดควำมสำมำรถสูงกว่ำและ ระบบมีควำมซับซ้อนมำกกว่ำเครื่องเมนเฟรม  เป็นคอมพิวเตอร์ขนำดใหญ่ที่สุด มีประสิทธิภำพและควำมสำมำรถ ในกำรทำำงำนสูงมำกเป็นพิเศษ สำมำรถประมวลผลงำนทีมีควำมซับ ่ ซ้อนและมีปริมำณมำกๆ ได้เป็นอย่ำงดี เช่น งำนโคจรรอบโลกของ ดำวเทียม งำนพยำกรณ์อำกำศ มักนิยมนำำมำใช้ในองค์กรขนำด ใหญ่ เช่น องค์กำรนำซำ(NASA) และ AT&T เป็นต้น  ต้องติดตังในห้องที่มีสภำพแวดล้อมพิเศษ ้  Supercomputer ทีมีควำมเร็วมำกทีสุดในโลกในปัจจุบันคือ IBM’s ่ ่ Blue Gene
  • 98.
  • 99. คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล มินิคอมพิวเตอร์(Minicomputer)  เรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ midrange computer เป็นคอมพิวเตอร์ขนำด กลำง มีประสิทธิภำพในกำรทำำงำนในด้ำนควำมเร็วและควำม สำมำรถในกำรจัดเก็บข้อมูลรองจำก Mainframe computer  สำมำรถนำำมำใช้ในกำรแชร์ทรัพยำกรเพื่อใช้งำนร่วมกัน ด้วยกำรทำำ หน้ำที่เป็นเครื่อง Server ที่คอยบริกำรทรัพยำกรแก่เครื่องลูกข่ำย  กำรใช้งำนทำงด้ำนระบบเครือข่ำยก็มีวัตถุประสงค์เดียวกันแต่มักจะ เป็นโหนดมำกกว่ำทีจะเป็นโฮสต์อย่ำงเครื่องเมนเฟรม ่  นิยมนำำมำใช้ในสถำบันกำรศึกษำโรงพยำบำล ห้ำงสรรพสินค้ำ หรือ หน่วยงำนขนำดกลำงเป็นต้น
  • 100.
  • 101.
  • 102. คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล(Personal Computer; PC) หรือพีซี เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro-Computer)  เป็นคอมพิวเตอร์ที่กำำลังได้รับควำมนิยมมำกที่สุดในปัจจุบัน  สำมำรถนำำมำใช้เป็นเครื่องเทอร์มินอลเพื่อเชื่อมต่อเป็นเครื่องลูก ข่ำยของเครื่องเมนเฟรมหรือเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ได้อีกด้วย  ขีดควำมสำมำรถของเครื่องพีซีได้รับกำรพัฒนำให้สูงมำกขึ้นจน ทัดเทียมหรือในบำงกรณีเหนือกว่ำเครื่องมินิคอมพิวเตอร์  กำรเชื่อมต่อเครื่องพีซีเข้ำกับระบบเครือข่ำยก็เป็นเรื่องที่สำมำรถ ทำำได้โดยง่ำยด้วยกำรติดตั้งอุปกรณ์ที่เรียกว่ำ กำร์ดเชื่อมต่อเครือ ข่ำย (Network Interface Card; NIC)  สำมำรถแบ่งออกได้เป็น 4 ชนิด
  • 103. Microcomputer/ Personal Computer  Desktop Computer: คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ  มีขนำดเล็กเหมำะกับโต๊ะทำำงำน แต่ใหญ่เกินไปสำำหรับพกพำ ไปในที่ตำงๆ ่  สำมำรถนำำไปใช้กับงำนในสำำนักงำนและงำนส่วนตัว  รำคำถูก
  • 104. Microcomputer/ Personal Computer  Notebook Computer/Laptop Computer  มีประสิทธิภำพในกำรทำำงำนเหมือนกันกับ Desktop Computer แต่มีขนำดเล็กกว่ำ  มีนำ้ำหนักเบำ สำมำรถพกพำไว้ในกระเป๋ำเอกสำรได้
  • 105. Microcomputer/ Personal Computer  Tablet PC  เป็นLaptop Computer ชนิดหนึงทีสำมำรถรับข้อมูลจำกกำร ่ ่ เขียนแล้วเปลี่ยนให้เป็นข้อควำมที่สำมำรถประมวลผลด้วย โปรแกรมได้
  • 107. Microcomputer/ Personal Computer  Handheld Computer: คอมพิวเตอร์พกพำ  Personal Digital Assistant: PDA  อุปกรณ์ทสำมำรถจัดกำรข้อมูลส่วนบุคคล จดบันทึก กำร ี่ สื่อสำร ตลอดจนกำรใช้งำนอินเทอร์เน็ต ใช้ปำกกำ Stylus เป็นอุปกรณ์ในกำรบันทึกข้อมูล
  • 108. คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล เทอร์มินอล (Terminal or Clients)  เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึงทีทำำหน้ำทีป้อนข้อมูลและแสดงผลข้อมูล ่ ่ ่ เท่ำนัน ้  เทอร์มินอลจะต้องเชื่อมต่อเข้ำกับโฮสต์เพื่อทำำกำรประมวลผลและ จัดเก็บข้อมูล  เทอร์มินอลถูกแบ่งออกเป็นสองชนิด คือ เทอร์มินอลแบบทั่วไป และเทอร์มินอลแบบพิเศษ
  • 109. คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล  เทอร์มินอลแบบทั่วไป (General Purpose Terminal) มีชื่อเรียก หลำยชื่อ ได้แก่ จอซีอำร์ที (Cathode Ray Tube; CRT) และจอวีดี ที (Video Display Terminal; VDT)  เป็นอุปกรณ์ พื้นฐำนที่ใช้ในกำรติดต่อกับโฮสต์ผำนระบบเครือข่ำย ่ เฉพำะบริเวณของโฮสต์ประเภทของเทอร์มินอลแบบทัวไป ่
  • 110. คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล เทอร์มินอลแบบทัวไป (General Purpose Terminal) ่  แบ่งออกตำมหน่วยควำมจำำและควำมสำมำรถในกำรประมวลผล  เทอร์มินอลแบบดัมบ์  สมำร์ทเทอร์มินอล  อินเทลลิเจนท์เทอร์มินอล  โปรแกรมเมเบิลเทอร์มินอล
  • 111. คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล เทอร์มินอลแบบทัวไป (General Purpose Terminal) ่ เทอร์มินอลแบบดัมบ์ (Dumb Terminal)  เป็นเทอร์มินอลแบบพื้นฐำนทีสุด ่  ไม่มีควำมสำมำรถในกำรประมวลผลและเก็บรักษำข้อมูล  กำรทำำงำนทั้งหมดจึงขึ้นอยู่กับเครื่องโฮสต์เท่ำนัน ้  ไม่มีบัฟเฟอร์ (Buffer) ซึ่งเป็นหน่วยควำมจำำขนำดเล็กที่ช่วยใน กำรรับและส่งข้อมูลควำมเร็วสูง ทำำให้ตองส่งข้อมูลทีได้รับเข้ำ ้ ่ มำจำกทำงแป้นพิมพ์ไปยังโฮสต์ในทันที
  • 112.
  • 113. คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล เทอร์มินอลแบบทัวไป (General Purpose Terminal) ่ สมำร์ทเทอร์มินอล(Smart Terminal)  เป็นเทอร์มินอลที่มีหน่วยควำมจำำ (Memory) เป็นของตัวเอง  สมำร์ทเทอร์มินอลจะเก็บรวบรวมข้อมูลเอำไว้กลุมหนึง เรียกว่ำ ่ ่ บล็อก (Block) ซึ่งอำจมีเพียงตัวอักษรเดียวหรือมีตวอักษรนับ ั ร้อยตัวก็ได้ ข้อมูลทั้งบล็อกจะถูกส่งไปยังโฮสต์พร้อม ๆ กัน เรียกว่ำ กำรส่งข้อมูลแบบซิงโครนัส (Synchronous)
  • 114.
  • 115. คอมพิวเตอร์และเทอร์มินอล ในระบบเครือข่ำยสื่อสำรข้อมูล เทอร์มินอลแบบทัวไป (General Purpose Terminal) ่ เครื่องอินเทลลิเจนเทอร์มินอล (Intelligent Terminal)  มีหน่วยควำมจำำเป็นของตนเอง  มีฟังก์ชันกำรทำำงำนพิเศษ ซึ่งเป็นโปรแกรมทีถูกเก็บไว้ในชิป ่ (Chip) บันทึกข้อมูลกึ่งถำวร เรียกว่ำ เฟิร์มแวร์ (Firmware) เนืองจำกกำรทีมีหน่วยควำมจำำเป็นของตนเอง และมีโปรแกรมกำร ่ ่ ทำำงำนที่ได้รับกำรบรรจุไว้ล่วงหน้ำ เครื่องเทอร์มินอลชนิดนีจึง ้ สำมำรถทำำงำนตำมลำำพัง เรียกว่ำ ออฟไลน์ (Offline) คือไม่จำำเป็น ต้องอำศัยโฮสต์ก็ได้

Notas del editor

  1. สัญญาณคลื่นที่ใช้ในการส่งโทรทัศน์ กลุ่มยูเอชเอฟ ( Ultra-High Frequency; UHF) อยู่ในช่วงคลื่น 400-900 MHz มีคุณภาพสัญญาณที่ดีกว่าแต่อาจถูกรบกวนได้ง่ายกว่า