SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 54
Protocol

  NITTAYA WONGYAI
Protocol
• กฎระเบียบที่ใช้กำำหนดวิธีกำรติดต่อสื่อสำรระหว่ำง
  อุปกรณ์ เนื่องจำกอุปกรณ์เหล่ำนี้อำจใช้รหัสแทนข้อมูล
  ที่แตกต่ำงกัน หรือมีกระบวนกำรทำำงำนที่แตกต่ำงกัน
  Protocol จึงเปรียบเหมือนตัวกลำงที่ทำำให้กำรติดต่อ
  สื่อสำรระหว่ำงอุปกรณ์เป็นไปได้อย่ำงรำบรืนโดย
                                           ่
  สำมำรถกำำหนดวิธีกำรสื่อสำรออกเป็น 3 กลุ่มได้แก่
   – รูปแบบการสื่อสาร (Syntax)
   – ความหมายที่ใช้ (Semantics)
   – ระยะเวลา (Timing)
OSI Reference Model


Open systems interconnection
แบบจำาลองเครือข่าย OSI

• OSI เป็นโปรโตคอลในระดับแนวคิด ถูกพัฒนำโดย
  องค์กำรมำตรฐำนนำนำชำติ (The International
  Organization for Standardization : ISO)
• พัฒนำขึนเพื่อให้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่ำยที่
          ้
  ผลิตโดยบริษทต่ำงๆ สำมำรถทำำงำนร่วมกันได้
               ั
• เป็นโปรโตคอลที่ไม่ได้ถกใช้งำนอย่ำงแพร่หลำย
                        ู
  เหมือน TCP/IP แต่ถกใช้เป็นแบบอ้ำงอิงในกำรทำำงำน
                     ู
  ของโปรโตคอลในเครือข่ำย
แบบจำาลองเครือข่าย OSI

LAYER 7

LAYER 6

LAYER 5

LAYER 4

LAYER 3

LAYER 2

LAYER 1
Application Layer

• โปรโตคอลชั้นที่ 7 จุดเริ่มต้นกระบวนกำร
  สือสำร
    ่
• ตัวอย่ำง เมือผู้ใช้ต้องกำรส่งอีเมล โปรแกรมที่ผู้
              ่
  ใช้ใช้สงอีเมลจะติดต่อกับโปรโตคอลในชัน
          ่                               ้
  ประยุกต์ (Application Layer) เพื่อเริ่ม
  กระบวนกำรทั้งหมด
• เช่น File Transfer, Virtual Terminal
  Protocal, Browser, HTTP
Presentation Layer
• โปรโตคอลชั้นที่ 6 จัดกำรรูปแบบของข้อมูลที่
  รับส่งผ่ำนเครือข่ำย
• คอมพิวเตอร์บำงเครื่องอำจมีวิธีกำรเข้ำรหัส
  (Encoding) ที่ต่ำงกันโปรโตคอลในชัน  ้
  Presentation Layer นีจะแปลงข้อมูลให้อยู่ใน
                        ้
  รูปแบบที่เป็นมำตรฐำน เพื่อให้คอมพิวเตอร์
  สำมำรถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้
Session Layer
• โปรโตคอลชั้นที่ 5 ควบคุมกำรสื่อสำรผ่ำนเครือ
  ข่ำยที่กำำลังเกิดขึ้น ในช่วงระยะเวลำใด เวลำ
  หนึง่
• ตัวอย่ำง เมื่อมีกำรถ่ำยโอนไฟล์ระหว่ำง
  คอมพิวเตอร์สองเครื่องในเครือข่ำย แล้วเครื่อง
  ใดเครื่องหนึงเกิดล้มเหลวกระทันหัน กำรถ่ำย
                ่
  โอนไฟล์นั้นอำจต้องเริ่มใหม่ แต่ Session
  Layer จะสำมำรถกำำหนดให้จุดเริ่มต้นของกำร
  ถ่ำยโอนไฟล์เริ่มต้นต่อจำกเมื่อครำวก่อนหน้ำนี้
  ได้
Transport Layer
• โปรโตคอลชั้นที่ 4 เคลื่อนย้ำยข้อมูลระหว่ำง
  เครื่องคอมพิวเตอร์ที่กำำลังทำำงำนอยู่
• จัดเรียงแพ็กเก็ตของข้อมูลที่อำจเดินทำงถึง
  ปลำยทำงไม่เป็นลำำดับ เนืองจำกบำงแพ็กเก็
                             ่
  ตอำจเดินทำงคนละเส้นทำง หรืออำจสูญหำย
  ระหว่ำงทำง
Network Layer
• โปรโตคอลชั้นที่ 3 จัดเส้นทำงให้กับข้อมูล
  ระหว่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์โดยกำรกำำหนด
  หมำยเลขประจำำเครื่อง (Logical Address) เพื่อ
  ใช้สำำหรับกำรอ้ำงอิงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แต่ละ
  ตัวในเครือข่ำย
• ใช้หมำยเลขประจำำเครื่อง คู่กับหมำยเลข
  MAC Address สำำหรับใช้อ้ำงอิงอุปกรณ์ในชัน้
  ของ Data Link Layer
Data Link Layer
• โปรโตคอลชั้นที่ 2 ควบคุมกำรรับส่งข้อมูลโดย
  ผ่ำนสือนำำข้อมูลประเภทต่ำงๆ มีกำรจัดข้อมูล
        ่
  ให้เป็นเฟรม (Frame)
• Ethernet, Token Ring, FDDI, Wi-Fi,
  Frame Relay
• มีกำรแยกแยะควำมแตกต่ำงของอุปกรณ์โดย
  อำศัย MAC Address หรือ Hardware Address
Physical Layer
• โปรโตคอลชั้นที่ 1 กำำหนดคุณสมบัติทำง
  กำยภำพของสือประเภทต่ำงๆ ในกำรรับส่งข้อมู
                  ่
• รับข้อมูลที่ส่งต่อมำจำกชัน Data Link Layer
                           ้
  เพือส่งออกไปยังระบบเครือข่ำย
     ่
• แปลงข้อมูลที่เป็นบิตในระบบเลขฐำนสองให้
  เป็นสัญญำณไฟฟ้ำหรือสัญญำณแสง
ตัวอย่างการดำาเนินงานทาง
         OSI                          หน้าที่                            ธุรกิจ

(7) Application Layer    โปรแกรมประยุกต์ตำงๆ ทีอำำนวย
                                         ่     ่             สินค้ำสำำเร็จรูปที่ผู้ซอสำมำรถ
                                                                                    ื้
                         ควำมสะดวกให้แก่ผู้ใช้               เลือกซื้อได้ตำมควำมต้องกำร

(6) Presentation Layer   กำรนำำเสนอข้อมูลให้เข้ำใจควำม       แคตตำล็อคแสดงสินค้ำหรือ
                         หมำยตรงกันทั้งสองฝั่ง               เว็บไซต์ทแสดงสินค้ำ
                                                                      ี่

(5) Session Layer        ควบคุมกำรเชื่อมต่อระหว่ำงต้นทำง ลูกค้ำโทรศัพท์ติดต่อกับผู้ขำย
                         และปลำยทำงให้สำมำรถสื่อสำรได้ เพื่อยืนยันกำรสั่งซือสินค้ำ
                                                                           ้
                         จนสำำเร็จ

(4) Transport Layer      กำรรับประกันกำรส่งข้อมูลให้ถึงมือ   กำรจัดส่งสินค้ำ หรือพัสดุทมีกำร
                                                                                       ี่
                         ผู้รับอย่ำงแน่นอน                   ลงทะเบียนผ่ำนไปรษณีย์

(3) Network Layer        กำำหนดเส้นทำงเพื่อกำรส่งข้อมูล      กำรที่กระจำยสินค้ำไปตำมแต่ละ
                         ไปยังปลำยทำง                        พื้นที่

(2) Data Link Layer      จัดรูปแบบข้อมูลในรูปแบบของ          บรรจุสินค้ำลงในหีบห่อพร้อมระบุ
                         เฟรมข้อมูล                          ทีอยู่ปลำยทำง
                                                               ่

(1) Physical Layer       อุปกรณ์ฮำร์ดแวร์ สำยสัญญำณ          รถบรรทุกส่งของ และถนน
                         และอุปกรณ์เชือมต่อในระบบเครือ
                                      ่
                         ข่ำย
Protocol
• Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยวงกว้ำง
• Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณ
• Protocol สำำหรับเครือข่ำยไร้สำย
Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยวงกว้ำง
• Protocol บนเครื่องเมนเฟรม
  –   Protocol   จัดกำรระดับตัวอักษร
  –   Protocol   จัดกำรแบบนับจำำนวนไบต์
  –   Protocol   จัดกำรระดับบิต
  –   Protocol   SNA
  –   Protocol   H.323
  –   Protocol   X.25
• Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต
  –   TCP/IP
  –   IPv6
  –   E-mail
  –   FTP,HTTP
Protocol บนเครื่องเมนเฟรม จัดกำรระดับตัวอักษร
(Character-Oriented or Character Synchronous Protocols)

Binary Synchronous Communication: BSC Or BISYNC
ส่งข้อมูลเป็นกลุ่มของตัวอักษรประกอบด้วยข้อมูลขนำด 8 บิต ใน
ลักษณะกึ่งสองทิศทำง (Half Duplex) แบบ Synchronous
•Protocol BSC ใช้ตัวอักษรพิเศษกลุ่มหนึงสำำหรับกำรควบคุมกำร
                                       ่
ทำำงำนเช่น กำรส่งตัวอักษร ACK เพื่อใช้ตอบรับข้อมูลที่ไม่มีข้อผิด
เพี้ยน (Error) หรือกำรส่งตัวอักษร NAK เพื่อใช้ตอบรับในกรณีที่
ตรวจพบข้อมูลผิดเพี้ยน
•ปัญหำสำำหรับ Protocol BSC คือมีอักษรอื่นซำ้ำกับอักษรควบคุมเรียก
ว่ำ Transparency สำมำรถแก้ปัญหำโดยเพิ่มตัวอักษรพิเศษคือ DLE
วำงไว้ก่อนหน้ำตัวอักษรพิเศษอื่นๆ เช่น DLE-EOT
Protocol บนเครื่องเมนเฟรม จัดกำรแบบนับจำำนวนไบต์
              (Byte – Count - Oriented Protocols)

• กำรส่งทีมี “บล๊อก” ใช้ในกำรเก็บข้อมูล และมีกำรนับจำำนวน byte
           ่
เมื่อส่งข้อมูลเสร็จ
•ใช้วิธีกำรเพิ่มข้อมูล จำำนวนไบต์ของข้อมูลในบล๊อก (หมำยเลขทีอยู่
                                                             ่
บนเครือข่ำย) และตัวอักษรควบคุมบล๊อกเข้ำไปแทนจึงไม่มีปัญหำ
ของข้อมูลซำ้ำ
• protocol แบบนับจำำนวนไบต์ จะเพิ่มหมำยเลขลำำดับเข้ำไปกับ
ข้อมูลทุกบล๊อก คือเลข 0-7 สำำหรับกำรส่งข้อมุลจำำนวน 8 บล๊อก
จำกนั้นจึงจะหยุดรอกำรตอบรับ
Protocol บนเครื่องเมนเฟรม จัดกำรระดับบิต
                     (Bit – Oriented Protocols)

• เป็นกำรรวมข้อมูลจริงและข้อมูลควบคุมเข้ำด้วยกันเป็น Frame ผู้สงและ   ่
ผู้รับใช้ Bit ในกำรส่งข้อมูล
• SDLC เป็น protocol ตัวแรก ที่บริษท IBM เป็นผู้พัฒนำ และใช้
                                       ั
controlled media access protocol เป็นตัวควบคุมข้อผิดพลำดและเส้น
ทำงของข้อมูล โดยมี flag เป็นจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของข้อมูล เช่น
01111110
• Frame หรือแพ็กเกตข้อมูลที่ถูกส่งมำจำกชั้นสือสำรข้อมูลระดับบนจะมี
                                                 ่
หมำยเลขลำำดับสำำหรับแพ็กเกตนันอยู่แล้วหำกแพ๊กเกตมีขนำดใหญ่ต้อง
                                   ้
แบ่งเป็นแพ๊กเกตย่อยๆ
•กำรใช้หมำยเลขลำำดับช่วยให้โพรโทคอลนี้สำมำรถทำำงำนได้ทั้งในแบบกึ่ง
สองทิศทำงและสองทิศทำงสมบูรณ์ กำรตอบรับและกำรตอบปฏิเสธ เฟรม
จำกผู้รับก็ทำำได้ ในขณะที่ผู้ส่งยังคงส่งเฟรมอื่น ๆ ได้อย่ำงต่อเนื่อง เฟรมที่
เสียหำยอำจถูกส่งมำใหม่ได้ทุกเมือ     ่
Protocol บนเครื่องเมนเฟรม /
               System Network Architecture : SNA

• ใช้สื่อสำรระหว่ำงเครื่องเมนเฟรมด้วยกัน และใช้สื่อสำรระหว่ำง
  เครื่องเมนเฟรมกับเทอร์มินอล รูปแบบกำรเชื่อมต่อเป็นแบบลำำดับ
  ชั้น (Subarea Network) by IBM กำำหนดให้โหนดทุกโหนดใน
  ระบบมีควำมสำำคัญ มีขีดควำมสำมำรถในกำรทำำงำนและมีควำมรับ
  ผิดชอบต่อระบบเหมือนกัน
• ระบบเครือข่ำยเล็ก ๆ เช่น LAN และอื่น ๆ สำมำรถเชื่อมต่อเข้ำกับ
  ระบบเอสเอ็นเอได้โดยตรง
Protocol บนเครื่องเมนเฟรม / H.323

• สื่อสำรแบบ Packet Switched Network โดย H.323 Protocol ใช้
ส่งข้อมูลทุกชนิดแบบ Real-Time โดยกำรส่งข้อมูลจำกจุดหนึงไปยัง
                                                          ่
อีกจุดหนึง จะมีกำรแบ่งข้อมูลออกเป็นส่วนเล็กๆ เรียกว่ำ Packet เพื่อ
         ่
ส่งไปยัง เป้ำหมำยตำมสำยสื่อสำรที่เร็วทีสุด
                                       ่
Protocol บนเครื่องเมนเฟรม / X.25

• Protocol มำตรฐำนใช้ในกำรสื่อสำรระหว่ำงประเทศ (WAN) ผ่ำนระบบเครือข่ำย
   ที่ใช้แพ็กเกตสวิทชิ่ง (Packet-switching Network or Packet Distribution
   Network) อำจเรียกว่ำเป็น (Packet Layer Protocol) โดยแบ่งข้อมูลออกเป็น
   ส่วนเล็ก ๆ คือ Packet เพือส่งออกทำงสำยสื่อสำรควำมเร็วสูงไปยังผู้รับ X.25
                            ่
   ทำำงำนในส่วนของ OSI Model Layer 1-3

• โปรโตคอล X.25 ใช้ติดต่อระหว่ำง DTE (Data Terminal Equipment) กับDCE
   (Data Communication Equipment) สำำหรับในกำรอินเตอร์เฟซกับเลเยอร์ชั้น
   ล่ำงสุด (Physical Layer)

• LAPB เป็นข้อมูลเชื่อมต่อ Protocol X.25 ให้บริหำรกำรติดต่อและจัดกำร
   Packetระหว่ำง อุปกรณ์ DTE และ DCE ฉะนั้น LAPB จึงจัดเป็น bit-oriented
   Protocol ซึ่งเฟรมนั้นจะถูกต้องตำมต้องกำรและไม่มีขอมูลผิดพลำดแน่นอน
                                                    ้
Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต : TCP/IP
Transmission Control Protocol/Internet Protocol
• เป็นโปรโตคอลที่นิยมใช้กันอย่ำงแพร่หลำย โดยเฉพำะเมือนำำไปใช้กบเครือข่ำย
                                                    ่         ั
   อินเทอร์เน็ต
• มีกำรแบ่งชั้นกำรสื่อสำร (Stack) อยู่ 4 ชั้น




                                 TCP

                                  IP
Application Layer
รองรับกำรทำำงำนของแอพพลิเคชั่นต่ำงๆ ที่ทำำงำนเป็นโปรเซสเช่น
  กำรถ่ำยโอนข้อมูลผ่ำน เครื่องแม่ข่ำย โดยใช้โปรโตคอล FTP
  Server, Web Server(HTTP Server), DNS Server, DHCP
  Server เป็นต้น
รองรับกำรทำำงำนผ่ำนโปรแกรมในเครื่องลูกข่ำย โดยใช้โปรแกรม
  Web browser, อีเมล์, FTP Client
สำมำรถทำำงำนได้หลำยๆ โปรโตคอลพร้อมๆ กัน
Transport /Host-to-Host Layer
• เชื่อมโยงหรือจับคู่แอพพลิเคชั่นต่ำงๆ ที่อยู่ต่ำงเครื่องให้สำมำรถติดต่อกัน
  ได้ และข้อมูลไม่ปนกัน โดยกำรกำำหนดหมำยเลขพอร์ตที่ไม่ซำ้ำกันให้กับ
  แอพพลิเคชั่นแต่ละตัวในเครื่อง โดยหมำยเลขพอร์ตของแอพพลิเคชั่นใน
  เครื่องต้นทำงจะถูกจับคู่เข้ำกับหมำยเลขพอร์ตของแอพพลิเคชั่นในเครื่อง
  ปลำยทำง
• กำรทำำงำนในชั้นนีจะประกอบไปด้วยโปรโตคอล 2 ตัวคือ
                   ้
    – TCP (Transmission Control Protocol)
        • ทำำหน้ำทีในลักษณะของ Connection Oriented
                    ่
        • ต้องมีกำรเชื่อมโยงผู้รับกับผู้ส่งเข้ำด้วยกันก่อนจึงจะทำำกำรรับส่งข้อมูลได้
        • ข้อมูลทีส่งมีควำมถูกต้องครบถ้วนและเชื่อถือได้
                  ่
    – UDP (User Datagram Protocol)
        • ทำำหน้ำทีในลักษณะของ Connectionless Oriented
                   ่
        • ไม่ต้องมีกำรเชือมโยงผู้รับกับผู้ส่งก่อนทำำกำรรับส่งข้อมูล
                         ่
        • ข้อมูลอำจสูญหำยระหว่ำงทำงได้
Internet Layer
•   รับผิดชอบกำรลำำเลียงข้อมูลภำยในเครือข่ำยหรือระหว่ำงเครือข่ำย
•   รับ-ส่งข้อมูลในรูปแบบ “แพ็คเก็ต”
•   โปรโตคอลหลักที่ทำำงำนคือ IP(Internet Provider)
•   ทำำงำนโดยอำศัย IP Address
•   ทำำงำนผ่ำนอุปกรณ์เครือข่ำยอย่ำง Router หรือ Gateway เป็นหลัก
Network Access Layer
• ทำำหน้ำที่แปลงข้อมูล IP datagram ให้อยู่ในรูปทีเหมำะสมและ
                                                 ่
  แปลงสัญญำณไฟฟ้ำส่งไปยังเครือข่ำย
• ครอบคลุมกำรทำำงำนเช่นเดียวกับชั้นของ Data Link Layer
  และ Physical Layer ของ OSI
FTP    HTTP    Telnet      DNS    DHCP
Application Layer



                             TCP                  UDP

Host-to-Host Layer



                                       IP


Internet Layer


                         Ethernet    Token Ring         FDDI

Network Access Layer
IP Address
• Internet Protocol Address หมำยเลขอ้ำงอิงประจำำ
  ตัวของอุปกรณ์ต่ำงๆ ที่เชือมต่ออยู่ในเครือข่ำย
                             ่
  อินเทอร์เน็ต ที่ไม่ซำ้ำกัน
• ปัจจุบัน IP Address ที่ใช้งำนอยู่เป็นเวอร์ชน 4 นิยม
                                             ั
  เรียกว่ำ IPv4 เป็นหมำยเลข IP ที่มีขนำด 32 บิต
  ประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุดคันด้วยจุด เช่น
                               ่
  204.283.255.20
Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต : IPv6

• อินเทอร์เน็ตโพรโตคอลรุ่นที่หก(Internet Protocol version 6;
  IPv6) สร้ำงขึ้นเพื่อทดแทนอินเทอร์เน็ตโพรโตคอลรุ่นเดิม
  IPv4โดย IPv6 มีวัตถุประสงค์ เพื่อปรับปรุงโครงสร้ำงของตัว
  Protocol ให้รองรับหมำยเลขแอดเดรสจำำนวนมำก และปรับปรุง
  คุณลักษณะอื่นๆ อีกหลำยประกำร ทั้งในแง่ของประสิทธิภำพและ
  ควำมปลอดภัยรองรับระบบแอพพลิเคชั่น (application) ใหม่ๆ ที่
  จะเกิดขึ้นในอนำคต และเพิ่มประสิทธิภำพในกำรประมวลผลแพ็ก
  เก็ต (packet) ให้ดีขึ้น ทำำให้สำมำรถตอบสนองต่อกำรขยำยตัว
  และควำมต้องกำรใช้งำนเทคโนโลยีบนเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตใน
  อนำคตได้เป็นอย่ำงดีโดย IPv6 กำำหนดให้มีขนำดถึง 128 บิต
  ประกอบไปด้วย กลุ่มตัวเลข 8 กลุ่มเขียนขึ้นด้วยเครื่องหมำย “:”
  โดยแต่ละกลุ่มคือเลขฐำน 16 จำำนวน 4 ตัว (16 บิต) เช่น
  2001:260:20:2000::/64
Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต : Electronic Mail

ใช้สำำหรับกำรรับ-ส่งจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่
• Protocol X.400
   – กำำหนดวิธีกำรส่งจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์เพือให้สำมำรถสื่อสำรกันได้ทั่ว
                                             ่
     โลก มีโครงสร้ำงแบบลำำดับชั้น โดยมีชื่อประเทศอยู่ชั้นบนสุด ตำมด้วย
     ประเภทองค์กร ชื่อองค์กร และชื่อผู้รับ



• Protocol X.500
   – กำำหนดโครงสร้ำงของไดเรกทอรี สำำหรับกำรเก็บรักษำชื่อและที่อยู่ของ
     จดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ใช้ในระบบ โดยผู้ใช้สำมำรถค้นหำชื่อและ
     ที่อยู่ของผู้ใช้อื่นๆ ที่อยู่ในไดเรกทอรีนี้ได้เหมือนกับกำรค้นหำชื่อคนใน
     สมุดโทรศัพท์
   – ใช้เสริมกำรทำำงำนของ Protocol X.400
Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต : Electronic Mail

ใช้สำำหรับกำรรับ-ส่งจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่
• Post Office Protocol Version3: POP3
   – ทำำงำนในลักษณะผู้ให้บริกำรและผู้ใช้บริกำร (Client/Server)
   – เมื่อมีอีเมล์มำถึงผู้รับ Server จะทำำหน้ำที่เก็บรักษำอีเมลนั้นไว้จนกว่ำ
     Client จะเข้ำมำอ่ำน ซึ่งข้อควำมจะถูกส่งไปเก็บไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์
     ของผู้ใช้ ส่วน Server ก็จะลบข้อควำมนั้นทิ้งไป
   – ทำำงำนแบบ Offline

• Simple mail Transfer Protocol: SMTP
   – ทำำงำนควบคู่กับ Protocol POP3 หรือ IMAP(Interactive Mail Access
     Protocol)
   – กำรรับ-ส่งอีเมล์จะใช้ SMTP เป็นตัวส่งและใช้ POP3 หรือ IMAP เป็นตัว
     รับ
   – ทำำงำนแบบ Online
Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต : Electronic Mail

ใช้สำำหรับกำรรับ-ส่งจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่
• IMAP4 (Internet Message Access Protocol Version 4)
   – IMAP เป็น Protocol ที่เอำไว้ใช้ในกำร อ่ำนและเขียนจดหมำยที่มมำ      ี
     เพือแก้ปัญหำข้อด้อยของ POP กล่ำวคือ POP จะทำำกำรดึงจดหมำย
         ่
     จำก Mail Server มำเก็บไว้ที่เครื่องผู้ที่ใช้งำน เมื่อเรำดึง Mail มำแล้ว
     หำกเรำต้องกำรอ่ำน E-mail ฉบับนั้นอีก แต่ไม่ได้อยู่บนเครื่องเดิม หำก
     เรำใช้คอมพิวเตอร์อีกเครื่องดึงเมล์เพือมำอ่ำนอีก เรำจะพบกับควำมว่ำง
                                           ่
     เปล่ำ เพรำะว่ำ E-mail ของเรำ ที่ Mail Server ได้ถูกดึงมำอ่ำนไปที่
     คอมพิวเตอร์เครื่องแรกเรียบร้อยแล้ว
   – IMAP จึงถูกออกแบบมำเพือแก้ปัญหำนี้ กล่ำวคือ กำรทำำงำนของ IMAP
                               ่
     นั้น จะเป็นกำร Access เข้ำไปโดยตรงที่ Mail Box ของเรำ ทำำให้เรำ
     สำมำรถ อ่ำน เขียน ลบ E-mail ของเรำได้จำกคอมพิวเตอร์เครื่องไหน
     ก็ได้ เพรำะ E-mail ของเรำ จะอยู่ที่เครื่อง Mail Server ตลอดเวลำ
     ทำำให้ง่ำยต่อกำรเข้ำถึง
Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต
• File Transfer Protocol : FTP
   – ใช้สำำหรับกำรถ่ำยโอนแฟ้มข้อมูล (Download/Upload) ข้อมูลบน
     อินเทอร์เน็ตระหว่ำง Client กับ Serverโดยใช้ TCP/IP เป็นกลไกในกำรส่ง
     ข้อมูล
   – ทำำหน้ำที่ในชั้นสื่อสำรโปรแกรมประยุกต์ (Application Layer)
   – ต้องทำำงำนผ่ำนโปรแกรม FTP เช่น CuteFTP, WS_FTP เป็นต้น
Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต
Hypertext Transfer Protocol: HTTP

   – ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่ำงกันในรูปแบบภำษำ HTML ( HyperText
      Markup Language) ผ่ำนเครือข่ำยใยแมงมุม WWW (Word Wide Web)
      โดยกำำหนดที่อยู่เว็บ (Uniform Resource Locators : URLs)
   - HTTP จะทำำงำนที่พอร์ต 80 ส่งข้อมูลเป็นแบบ Clear text คือ ข้อมูลที่ทำำกำร
      ส่งไปนั้น ไม่ได้ทำำกำรเข้ำรหัส ทำำให้สำมำรถถูกดักจับข้อมูลนั้นได้โดยง่ำย
Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต
HTTPS (Hypertext Transfer Protocol over Secure Socket Layer)

• HTTPS สร้ำงเพื่อควำมปลอดภัยสำำหรับกำรสื่อสำรผ่ำนอินเตอร์เน็ต
• เชื่อมต่อแบบ Secure HTTP เรียกใช้ด้วยรูปแบบ https://
• HTTPS จะทำำงำนที่พอร์ต TCP443 ออกแบบโดยบริษัท Netscape ทำำงำนโดย
  กำรเพิ่มข้อมูลในกำรระบุตัวผู้ส่ง ( Authentication) และกำรเข้ำรหัสข้อมูล
  (Encryption) ภำยใน HTTP กับ TCP
• ในกำรส่งข้อมูลจะเป็นแบบ HTTP แต่จะมีกำรเข้ำรหัสเป็นแบบ SSL 128 bit
• นิยมใช้กบ Web ที่ต้องกำรควำมปลอดภัยสูง เช่น พวก Web ของธนำคำร กำร
            ั
  เงินต่ำงๆ หรือข้อมูลส่วนของรำชกำร เป็นต้น
• HTTPS ส่งข้อมูลเป็นแบบ Cipher text คือ ข้อมูลที่ทำำกำรส่งได้ถูกเข้ำรหัสเอำ
  ไว้ โดยใช้ Asymmetric Algorithm ซึ่งถ้ำถูกดักจับได้แต่กไม่สำมำรถที่จะอ่ำน
                                                              ็
  ข้อมูลนั้นได้รู้เรื่อง โดยข้อมูลนั้นจะถูกอ่ำนโดยตัวเรำกับเครื่อง Server เท่ำนั้น
Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณ

X.PC
• Protocol X.PC เป็นโปรโตคอลที่ใช้สำำหรับกำรเปลี่ยนรูปแบบของ
  ข้อมูลที่ส่งมำในแบบ Asynchronous ให้อยู่ในรูปแบบที่สำมำรถ
  ส่งออกไปทำงระบบเครือข่ำยแบบ Switching ได้
• สำมำรถช่วยให้เครื่องพีซีคอมพิวเตอร์สำมำรถติดต่อกับเครื่อง
  โฮสต์หลำยโฮสต์ได้พร้อมกัน
Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณ

Ethernet

• เป็นเทคโนโลยีเครือข่ำยทีเป็นฐำนหลักของเทคโนโลยีเครือข่ำย
                          ่
  แบบท้องถิ่น (LAN)
• ถูกพัฒนำโดย 3 บริษัทใหญ่เมื่อกว่ำ 30 ปีมำแล้ว ได้แก่ บริษท
                                                           ั
  Xerox Corporation, Digital Equipment Corporation, Intel
• ปัจจุบันอยู่ในกำรดูแลของสถำบัน IEEE(Institute of Electrical
  and Electronics Engineer)
• Ethernet จัดอยู่ในมำตรฐำน IEEE 802.3
• เริ่มพัฒนำนำควำมเร็วในกำรรับส่งข้อมูลจำก 10 Mbps เป็น 100
  Mbps และ 1000 Mbps ล่ำสุดพัฒนำไปจนถึงระดับ 10 Gbps
  (10,000 Mbps)
Ethernet
• ในสมัยแรก Ethernet ใช้เทคนิคกำรรับส่งข้อมูลทีเรียกว่ำ CSMA/
                                                ่
  CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision Detection)
  เป็นกำรส่งข้อมูลแบบ Half Duplex ควำมเร็วในกำรส่งข้อมูล 10
  Mbps
• ต่อมำได้พัฒนำระบบกำรรับส่งข้อมูลของ Ethernet เป็นแบบ Full
  Duplex กลำยเป็นระบบอีเธอร์เน็ตควำมเร็วสูง(Fast Ethernet)
  ควำมเร็วในกำรส่งข้อมูล 100 Mbps
• ปัจจุบันได้มีกำรพัฒนำควำมเร็วไปถึงระดับกิกะบิตอีเธอร์เน็ต
  (Gigabit Ethernet) ให้ควำมเร็วที่ 1,000 Mbps/ 1 Gbps
• และเทนกิกะบิตอีเธอร์เน็ต(10 Gigabit Ethernet) อำจเรียกอีก
  อย่ำงหนึงว่ำ 10GbE ให้ควำมเร็วที่ 10,000 Mbps/10 Gbps
           ่
การเรียกชื่อ Ethernet ตามมาตรฐาน IEEE802.3



 Bandwidth+ช่องสัญญำณ+ชนิดสำยสัญญำณ
                   เช่น
                10BASE-T
   ใช้ Bandwidth 10Mbps ลักษณะของช่อง
 สัญญำณแบบ Baseband ชนิดของสำยสัญญำณ
             แบบ Twisted Pairs
มำตรฐำน Ethernet IEEE 802.3
มาตรฐาน                       รายละเอียด
10BASE-5 เป็น Ethernet ที่ใช้สำยสัญญำณชนิด Coaxial แบบ
         หนำ (Thick Ethernet/ Thicknet) ใช้ Topology แบบ
         Bus ระยะทำงสูงสุด 500 เมตร ควำมเร็วสูงสุด 10
         Mbps
10BASE-2 เป็น Ethernet ที่ใช้สำยสัญญำณชนิด Coaxial แบบบำง
         (Thin Ethernet/ Thinnet) ระยะทำงสูงสุด 185 เมตร
         ควำมเร็วสูงสุด 10 Mbps
10BASE-T ใช้สำยสัญญำณชนิด UTP Cat3 ขึ้นไป ลวดทองแดงขด
         4 คู่ใช้เพียง2 คู่ ใช้ Topology แบบ Star ระยะทำง
         สูงสุด 100 เมตร ทำำงำนแบบ Half Duplex ควำมเร็ว
         สูงสุด 10 Mbps เป็นต้นแบบของระบบ LAN
10BASE-F ใช้สำย Fiber Optic ส่งสัญญำณได้ไกลสุด 2 Km
มำตรฐำน Ethernet IEEE 802.3
 มาตรฐาน                             รายละเอียด
100BASE-TX   Fast Ethernet ใช้สำยสัญญำณชนิด UTP แบบ CAT5 หรือ
             STP1 ลวดทองแดงบิดเกลียว 4 คู่ใช้เพียง 2 คู่ ลักษณะคล้ำยกับ
             มำตรฐำน 10Base-T แต่ควำมเร็วสูงสุดได้ถึง 100 Mbps
100BASE-T4   Fast Ethernet ใช้สำยสัญญำณชนิด UTP แบบ CAT3 ขึนไป      ้
             ลวดทองแดงบิดเกลียว 4 คู่ใช้ทั้ง 4 คู่ ควำมเร็วสูงสุด 100 Mbps
             โดยรับส่งข้อมูลผ่ำนลวดทองแดงบิดเกลียวคู่ละ
             25 Mbps
100BASE-T2   Fast Ethernet ใช้สำยสัญญำณชนิด UTP แบบ CAT3 ใช้ลวด
             ทองแดงภำยในสำย UTP 2 คู่ในกำรรับส่งข้อมูล
100BASE-FX   Fast Ethernet ใช้สำยสัญญำณชนิด Fiber Optic ควำมเร็วสูงสุด
             100 Mbps ส่งสัญญำณได้ไกลถึง 20 Km เมื่อใช้สำยแบบ Single
             mode นิยมใช้เชื่อมต่อระหว่ำง Hub และ Switch หรือ Backbone
             ของระบบ LAN
มำตรฐำน Ethernet IEEE 802.3
  มาตรฐาน                       รายละเอียด
1000BASE-LX   Gigabit Ethernet ที่ใช้สำยสัญญำณ Fiber Optic โดย
              ใช้ควำมยำวคลืนขนำด 1300 nm ให้ควำมเร็วสูงสุดที่
                            ่
              1000 Mbps หรือ 1 Gbps
1000BASE-SX   Gigabit Ethernet ที่ใช้สำยสัญญำณ Fiber Optic โดย
              ใช้ควำมยำวคลืนขนำด 850 nm
                            ่
1000BASE-T    Gigabit Ethernet ที่ใช้สำยลวดทองแดงแบบ UTP
              ชนิด Cat5, Cat5e หรือ Cat6 ใช้เส้นลวดทองแดงทั้ง 4
              คู่ โดยแต่ละคู่รับส่งข้อมูลที่ควำมเร็ว 250 Mbps
มำตรฐำน Ethernet IEEE 802.3e
  มาตรฐาน                       รายละเอียด
10GBase-SR    10 Gigabit Ethernet ใช้สำย Fiber Optic แบบ MMF
              ควำมยำวคลื่น 850 nm รับส่งข้อมูลแบบ Full Duplex
              รับส่งสัญญำณได้ไกลที่ระยะทำง 65 เมตร
10GBase-SW    10 Gigabit Ethernet ใช้สำย Fiber Optic แบบ MMF
              ควำมยำวคลื่น 850 nm รับส่งข้อมูลแบบ Full Duplex
              สำมำรถรองรับระบบ WAN รับส่งสัญญำณได้ไกลที่ระยะ
              ทำง 65 เมตร
10GBase-LX4   10 Gigabit Ethernet ใช้สำย Fiber Optic แบบ MMF
              หรือ SMF ควำมยำวคลื่น 1,310 nm รับส่งข้อมูลแบบ
              Full Duplex รับส่งสัญญำณได้ไกลที่ระยะทำง 300
              เมตรสำำหรับแบบ MMF และรับส่งสัญญำณได้ไกลที่ระยะ
              ทำง 10,000 เมตร สำำหรับแบบ SMF
มำตรฐำน Ethernet IEEE 802.3e
  มาตรฐาน                         รายละเอียด
10GBase-LR   10 Gigabit Ethernet ใช้สำย Fiber Optic แบบ SMF
             ควำมยำวคลื่น 1,310 nm รับส่งข้อมูลแบบ Full Duplexรับส่ง
             สัญญำณได้ไกลที่ระยะทำง 10,000 เมตร
10GBase-LW   10 Gigabit Ethernet ใช้สำย Fiber Optic แบบ SMF
             ควำมยำวคลื่น 1,310 nm รับส่งข้อมูลแบบ Full Duplex
             รองรับระบบ WAN รับส่งสัญญำณได้ไกลที่ระยะทำง 10,000
10GBase-ER   เมตร
             10 Gigabit Ethernet ใช้สำย Fiber Optic แบบ SMF
             ควำมยำวคลื่น 1,510 nm รับส่งข้อมูลแบบ Full Duplex รับ
             ส่งสัญญำณได้ไกลที่ระยะทำง 40,000 เมตร
10GBase-EW   10 Gigabit Ethernet ใช้สำย Fiber Optic แบบ SMF
             ควำมยำวคลื่น 1,510 nm รับส่งข้อมูลแบบ Full Duplex รับ
             ส่งสัญญำณได้ไกลที่ระยะทำง 40,000 เมตร รองรับระบบ
             WAN
Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณ

 Token
• ปรับปรุงวิธีกำรใช้สำยสื่อสำรให้มีประสิทธิภำพที่ดีขน โดยหลักกำรคือจะทำำกำร
                                                    ึ้
   สร้ำงข้อมูลพิเศษที่เรียกว่ำ “Token” ส่งผ่ำนไปยังอุปกรณ์ทั้งหมดที่เชื่อมต่อใน
   ระบบเครือข่ำยเดียวกัน อุปกรณ์ใดต้องกำรส่งข้อมูลต้องได้รับ Token ก่อน จึงจะ
   ส่งได้ เมื่อส่งเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็จะปล่อยโทเก้นไปให้กับอุปกรณ์อื่นต่อไป

• ระบบที่ใช้โปรโตคอลส่งผ่ำนโทเก้น แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด
    – ระบบเครือข่ำย ARCNET มีกำรเชื่อมต่อเครือข่ำยแบบ Star ควำมเร็วสูงสุด 2.5 Mbps
      ควำมยำวกำรสื่อสำรไม่เกิน 20,000 ฟุต

    – ระบบเครือข่ำยวงแหวนโทเก้น (Token Ring :IEEE 802.5) นิยมใช้มำกทีสุด
                                                                     ่
      ควำมเร็วสูงสุด 16 Mbps และ Fast Token Ring ที่ควำมเร็ว 100 Mbps

    – ระบบเครือข่ำย FDDI
Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณ

IPX/SPX (Internetwork Packet Exchange / Sequence Package Exchange)

• ได้รับกำรพัฒนำจำกบริษัท Novell ขึ้นมำเพื่อใช้งำนกับระบบเครือข่ำยท้องถิ่น
  ของ Novell Netware
• โปรโตคอล IPX ทำำหน้ำที่ในระดับ network layer ตำมมำตรฐำน OSI Model
  มีกลไกกำรส่งผ่ำนข้อมูลแบบ connectionless คือไม่ต้องทำำกำรเชื่อมต่อกัน
  ระหว่ำง host กับเครื่องที่ติดต่อกันอย่ำงถำวรเมื่อมีกำรส่งข้อมูล และไม่
  ต้องกำรรอสัญญำนยืนยันกำรรับข้อมูลจำกปลำยทำง โดยตัวโปรโตคอลจะ
  พยำยำมส่งข้อมูลนั้นไปยังปลำยทำงให้ดีที่สุด
• โปรโตคอล SPX ทำำหน้ำที่ในระดับ transport layer ตำมมำตรฐำน OSI Model
  โดยส่งผ่ำนข้อมูลตรงข้ำมกับโปรโตคอล IPXคือ ต้องมีกำรเชื่อมโยงกันก่อน
  และมีกำรส่งผ่ำนข้อมูลที่เชื่อถือได้ ด้วยกำรตรวจสอบสัญญำณยืนยันกำรรับส่ง
  ข้อมูลจำกปลำยทำง
Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยไร้สำย

CDPD (Cellular Digital Packet Data) หรือ Wireless IP
• โพรโทคอล CDPD ช่วยให้ผู้ใช้สำมำรถติดต่อระบบอินเทอร์เน็ตได้ที่
  ควำมเร็วไม่เกิน 19.2 Kbps โดยกำรส่งสัญญำณสลับกับเสียงสนทนำที่
  ใช้ควำมถี่เดียวกันในช่องสัญญำณเดียวกันผ่ำนอุปกรณ์สอสำรโมเด็ม
                                                      ื่
  แบบไร้สำยส่งมูลผ่ำนระบบเครือข่ำยแพ็กเกตสวิทไร้สำย
• มีโครงสร้ำงตำมรูปแบบโอเอสไอ โดยทำำงำนในชันสือสำรกำยภำพและ
                                                 ้ ่
  ชั้นเชื่อมต่อข้อมูล
• สำมำรถทำำงำนร่วมกับโพรโทคอลไอพีที่ใช้บนระบบเครือข่ำย
  อินเทอร์เน็ต จึงส่งข้อมูลแบบหลำยจุด (Multicast) ได้ คือส่งข้อมูล
  แพ็กเกตเดียวไปยังผู้รับหลำยคน
• กำรแลกเปลียนสัญญำณระหว่ำงผู้ใช้ที่อยู่ในระบบเครือข่ำย CDPD กับ
               ่
  ระบบเครือข่ำยแบบอื่นจะต้องมีจุดเชื่อมต่อหรือจุดแลกเปลียนสัญญำณ
                                                         ่
Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยไร้สำย

WAP(Wireless Application Protocol)
• พัฒนำขึ้นมำจำกษริษัท Motorola, Nokia และ Phone.Com
• มีหน้ำที่ให้บริกำรสำำหรับโปรแกรมประยุกต์ททำำงำนบนระบบเครือ
                                           ี่
  ข่ำยไร้สำย ในที่นยังคงจำำกัดเพียงโปรแกรมประเภทเว็บบรำวเซอร์
                    ี้
  เท่ำนั้น
• โพรโทคอลนี้ควบคุมกำรทำำงำนจำกผูส่งข้อมูลไปจนถึงตัวผูรับ
                                     ้                    ้
  ข้อมูล ซึ่งมีลกษณะแบบ Client/Server ดังนันผูใช้จำำเป็นจะต้อง
                ั                             ้ ้
  ติดตั้งโปรแกรมควบคุมประเภท Client Software เรียกว่ำ WAP-
  enabled
• ผูให้บริกำรก็จะต้องติดตังโปรแกรม Server Software สำำหรับ
    ้                       ้
  ควบคุมกำรติดต่อจำกผูใช้ผำนระบบเครือข่ำยไร้สำย
                          ้   ่
Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยไร้สำย

Apple Talk
• ออกแบบโดยบริษท Apple สำำหรับใช้งำนบนระบบเครือข่ำยที่เชื่อมต่อ
                     ั
  บนเครื่อง Macintosh ของตนเองเข้ำด้วยกัน เรียกว่ำ Apple Talk (เพื่อ
  แข่งขันกับเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีในตระกูลไอบีเอ็ม)
• โพรโทคอลนี้ใช้วิธีกำรทำำงำนแบบ CSMA เหมือนกับที่ใช้บนเครือข่ำย
  อีเทอร์เน็ต
• บริษทฯ ได้พัฒนำวิธีกำรหลีกเลียงกำรเกิดสัญญำณซ้อน เรียกว่ำ CA
        ั                        ่
  (Collision Avoidance) เพื่อให้ระบบเครือข่ำยมีประสิทธิภำพกำรทำำงำน
  สูงขึ้น
• โพรโทคอลนี้สำมำรถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ได้มำกที่สุดเพียง 32
  เครื่อง
• ส่งข้อมูลได้ที่ควำมเร็ว 230 Kbps ภำยในระยะ 1,000 ฟุตเท่ำนัน  ้
• ข้อดีตรงที่อุปกรณ์ระบบเครือข่ำยจะติดตั้งมำพร้อมกับเครื่องเรียบร้อย
  แล้ว ทำำให้ผู้ใช้สำมำรถใช้งำนระบบเครือข่ำยได้ในทันที
Protocol

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 2 โครงงาน
บทที่ 2 โครงงานบทที่ 2 โครงงาน
บทที่ 2 โครงงานBell Andaman
 
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศคำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศPhatthira Thongdonmuean
 
โปรโตคอลคืออะไร
โปรโตคอลคืออะไรโปรโตคอลคืออะไร
โปรโตคอลคืออะไรattakowit
 
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ Tong Thitiphong
 
ระบบเครือข่ายเบื้องต้น
ระบบเครือข่ายเบื้องต้นระบบเครือข่ายเบื้องต้น
ระบบเครือข่ายเบื้องต้นTanaporn Na Wayo
 

La actualidad más candente (6)

บทที่ 2 โครงงาน
บทที่ 2 โครงงานบทที่ 2 โครงงาน
บทที่ 2 โครงงาน
 
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
 
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศคำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โปรโตคอลคืออะไร
โปรโตคอลคืออะไรโปรโตคอลคืออะไร
โปรโตคอลคืออะไร
 
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำศัพท์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบเครือข่ายเบื้องต้น
ระบบเครือข่ายเบื้องต้นระบบเครือข่ายเบื้องต้น
ระบบเครือข่ายเบื้องต้น
 

Similar a Protocol

บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสารเทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายสถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายtaenmai
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์T'tle Tanwarat
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nattapon
 
ดัชนีคำศัพท์ วริศรา บัวแก้ว
ดัชนีคำศัพท์ วริศรา บัวแก้วดัชนีคำศัพท์ วริศรา บัวแก้ว
ดัชนีคำศัพท์ วริศรา บัวแก้วKphum Rueangsen
 
ด ชน คำศ_พท_
ด ชน คำศ_พท_ด ชน คำศ_พท_
ด ชน คำศ_พท_Mooky Saowaphan
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12paween
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ Rawinnipa Manee
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012NECTEC
 
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ตteaw-sirinapa
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 

Similar a Protocol (20)

Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสารเทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสาร
 
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายสถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
 
Home network
Home networkHome network
Home network
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
ดัชนีคำศัพท์ วริศรา บัวแก้ว
ดัชนีคำศัพท์ วริศรา บัวแก้วดัชนีคำศัพท์ วริศรา บัวแก้ว
ดัชนีคำศัพท์ วริศรา บัวแก้ว
 
ดัชนี
ดัชนีดัชนี
ดัชนี
 
ด ชน คำศ_พท_
ด ชน คำศ_พท_ด ชน คำศ_พท_
ด ชน คำศ_พท_
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 
OSI Model
OSI ModelOSI Model
OSI Model
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์
 
Network equipment
Network equipmentNetwork equipment
Network equipment
 
ดาวน์
ดาวน์ดาวน์
ดาวน์
 
ดัชนี
ดัชนีดัชนี
ดัชนี
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
 
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
07เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Más de Nittaya Intarat (20)

Normalization
NormalizationNormalization
Normalization
 
Normalization
NormalizationNormalization
Normalization
 
Local area network
Local area networkLocal area network
Local area network
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
E r diagram
E r diagramE r diagram
E r diagram
 
Data tranmission
Data tranmissionData tranmission
Data tranmission
 
Network equipment
Network equipmentNetwork equipment
Network equipment
 
Media
MediaMedia
Media
 
Database architecture
Database architectureDatabase architecture
Database architecture
 
Data management pub
Data management pubData management pub
Data management pub
 
Data management
Data managementData management
Data management
 
Data management
Data managementData management
Data management
 
Data communication
Data communicationData communication
Data communication
 
Opac exam
Opac examOpac exam
Opac exam
 
Ch5 database system
Ch5 database systemCh5 database system
Ch5 database system
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and network
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
 
Ch3 in fo re_source
Ch3 in fo re_sourceCh3 in fo re_source
Ch3 in fo re_source
 
Information sources 1
Information  sources 1Information  sources 1
Information sources 1
 
Ch2 ระบบสารสนเทศ
Ch2 ระบบสารสนเทศCh2 ระบบสารสนเทศ
Ch2 ระบบสารสนเทศ
 

Protocol

  • 2. Protocol • กฎระเบียบที่ใช้กำำหนดวิธีกำรติดต่อสื่อสำรระหว่ำง อุปกรณ์ เนื่องจำกอุปกรณ์เหล่ำนี้อำจใช้รหัสแทนข้อมูล ที่แตกต่ำงกัน หรือมีกระบวนกำรทำำงำนที่แตกต่ำงกัน Protocol จึงเปรียบเหมือนตัวกลำงที่ทำำให้กำรติดต่อ สื่อสำรระหว่ำงอุปกรณ์เป็นไปได้อย่ำงรำบรืนโดย ่ สำมำรถกำำหนดวิธีกำรสื่อสำรออกเป็น 3 กลุ่มได้แก่ – รูปแบบการสื่อสาร (Syntax) – ความหมายที่ใช้ (Semantics) – ระยะเวลา (Timing)
  • 3. OSI Reference Model Open systems interconnection
  • 4. แบบจำาลองเครือข่าย OSI • OSI เป็นโปรโตคอลในระดับแนวคิด ถูกพัฒนำโดย องค์กำรมำตรฐำนนำนำชำติ (The International Organization for Standardization : ISO) • พัฒนำขึนเพื่อให้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่ำยที่ ้ ผลิตโดยบริษทต่ำงๆ สำมำรถทำำงำนร่วมกันได้ ั • เป็นโปรโตคอลที่ไม่ได้ถกใช้งำนอย่ำงแพร่หลำย ู เหมือน TCP/IP แต่ถกใช้เป็นแบบอ้ำงอิงในกำรทำำงำน ู ของโปรโตคอลในเครือข่ำย
  • 6. Application Layer • โปรโตคอลชั้นที่ 7 จุดเริ่มต้นกระบวนกำร สือสำร ่ • ตัวอย่ำง เมือผู้ใช้ต้องกำรส่งอีเมล โปรแกรมที่ผู้ ่ ใช้ใช้สงอีเมลจะติดต่อกับโปรโตคอลในชัน ่ ้ ประยุกต์ (Application Layer) เพื่อเริ่ม กระบวนกำรทั้งหมด • เช่น File Transfer, Virtual Terminal Protocal, Browser, HTTP
  • 7. Presentation Layer • โปรโตคอลชั้นที่ 6 จัดกำรรูปแบบของข้อมูลที่ รับส่งผ่ำนเครือข่ำย • คอมพิวเตอร์บำงเครื่องอำจมีวิธีกำรเข้ำรหัส (Encoding) ที่ต่ำงกันโปรโตคอลในชัน ้ Presentation Layer นีจะแปลงข้อมูลให้อยู่ใน ้ รูปแบบที่เป็นมำตรฐำน เพื่อให้คอมพิวเตอร์ สำมำรถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้
  • 8. Session Layer • โปรโตคอลชั้นที่ 5 ควบคุมกำรสื่อสำรผ่ำนเครือ ข่ำยที่กำำลังเกิดขึ้น ในช่วงระยะเวลำใด เวลำ หนึง่ • ตัวอย่ำง เมื่อมีกำรถ่ำยโอนไฟล์ระหว่ำง คอมพิวเตอร์สองเครื่องในเครือข่ำย แล้วเครื่อง ใดเครื่องหนึงเกิดล้มเหลวกระทันหัน กำรถ่ำย ่ โอนไฟล์นั้นอำจต้องเริ่มใหม่ แต่ Session Layer จะสำมำรถกำำหนดให้จุดเริ่มต้นของกำร ถ่ำยโอนไฟล์เริ่มต้นต่อจำกเมื่อครำวก่อนหน้ำนี้ ได้
  • 9. Transport Layer • โปรโตคอลชั้นที่ 4 เคลื่อนย้ำยข้อมูลระหว่ำง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่กำำลังทำำงำนอยู่ • จัดเรียงแพ็กเก็ตของข้อมูลที่อำจเดินทำงถึง ปลำยทำงไม่เป็นลำำดับ เนืองจำกบำงแพ็กเก็ ่ ตอำจเดินทำงคนละเส้นทำง หรืออำจสูญหำย ระหว่ำงทำง
  • 10. Network Layer • โปรโตคอลชั้นที่ 3 จัดเส้นทำงให้กับข้อมูล ระหว่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์โดยกำรกำำหนด หมำยเลขประจำำเครื่อง (Logical Address) เพื่อ ใช้สำำหรับกำรอ้ำงอิงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แต่ละ ตัวในเครือข่ำย • ใช้หมำยเลขประจำำเครื่อง คู่กับหมำยเลข MAC Address สำำหรับใช้อ้ำงอิงอุปกรณ์ในชัน้ ของ Data Link Layer
  • 11. Data Link Layer • โปรโตคอลชั้นที่ 2 ควบคุมกำรรับส่งข้อมูลโดย ผ่ำนสือนำำข้อมูลประเภทต่ำงๆ มีกำรจัดข้อมูล ่ ให้เป็นเฟรม (Frame) • Ethernet, Token Ring, FDDI, Wi-Fi, Frame Relay • มีกำรแยกแยะควำมแตกต่ำงของอุปกรณ์โดย อำศัย MAC Address หรือ Hardware Address
  • 12. Physical Layer • โปรโตคอลชั้นที่ 1 กำำหนดคุณสมบัติทำง กำยภำพของสือประเภทต่ำงๆ ในกำรรับส่งข้อมู ่ • รับข้อมูลที่ส่งต่อมำจำกชัน Data Link Layer ้ เพือส่งออกไปยังระบบเครือข่ำย ่ • แปลงข้อมูลที่เป็นบิตในระบบเลขฐำนสองให้ เป็นสัญญำณไฟฟ้ำหรือสัญญำณแสง
  • 13.
  • 14. ตัวอย่างการดำาเนินงานทาง OSI หน้าที่ ธุรกิจ (7) Application Layer โปรแกรมประยุกต์ตำงๆ ทีอำำนวย ่ ่ สินค้ำสำำเร็จรูปที่ผู้ซอสำมำรถ ื้ ควำมสะดวกให้แก่ผู้ใช้ เลือกซื้อได้ตำมควำมต้องกำร (6) Presentation Layer กำรนำำเสนอข้อมูลให้เข้ำใจควำม แคตตำล็อคแสดงสินค้ำหรือ หมำยตรงกันทั้งสองฝั่ง เว็บไซต์ทแสดงสินค้ำ ี่ (5) Session Layer ควบคุมกำรเชื่อมต่อระหว่ำงต้นทำง ลูกค้ำโทรศัพท์ติดต่อกับผู้ขำย และปลำยทำงให้สำมำรถสื่อสำรได้ เพื่อยืนยันกำรสั่งซือสินค้ำ ้ จนสำำเร็จ (4) Transport Layer กำรรับประกันกำรส่งข้อมูลให้ถึงมือ กำรจัดส่งสินค้ำ หรือพัสดุทมีกำร ี่ ผู้รับอย่ำงแน่นอน ลงทะเบียนผ่ำนไปรษณีย์ (3) Network Layer กำำหนดเส้นทำงเพื่อกำรส่งข้อมูล กำรที่กระจำยสินค้ำไปตำมแต่ละ ไปยังปลำยทำง พื้นที่ (2) Data Link Layer จัดรูปแบบข้อมูลในรูปแบบของ บรรจุสินค้ำลงในหีบห่อพร้อมระบุ เฟรมข้อมูล ทีอยู่ปลำยทำง ่ (1) Physical Layer อุปกรณ์ฮำร์ดแวร์ สำยสัญญำณ รถบรรทุกส่งของ และถนน และอุปกรณ์เชือมต่อในระบบเครือ ่ ข่ำย
  • 15.
  • 16. Protocol • Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยวงกว้ำง • Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณ • Protocol สำำหรับเครือข่ำยไร้สำย
  • 17. Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยวงกว้ำง • Protocol บนเครื่องเมนเฟรม – Protocol จัดกำรระดับตัวอักษร – Protocol จัดกำรแบบนับจำำนวนไบต์ – Protocol จัดกำรระดับบิต – Protocol SNA – Protocol H.323 – Protocol X.25 • Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต – TCP/IP – IPv6 – E-mail – FTP,HTTP
  • 18. Protocol บนเครื่องเมนเฟรม จัดกำรระดับตัวอักษร (Character-Oriented or Character Synchronous Protocols) Binary Synchronous Communication: BSC Or BISYNC ส่งข้อมูลเป็นกลุ่มของตัวอักษรประกอบด้วยข้อมูลขนำด 8 บิต ใน ลักษณะกึ่งสองทิศทำง (Half Duplex) แบบ Synchronous •Protocol BSC ใช้ตัวอักษรพิเศษกลุ่มหนึงสำำหรับกำรควบคุมกำร ่ ทำำงำนเช่น กำรส่งตัวอักษร ACK เพื่อใช้ตอบรับข้อมูลที่ไม่มีข้อผิด เพี้ยน (Error) หรือกำรส่งตัวอักษร NAK เพื่อใช้ตอบรับในกรณีที่ ตรวจพบข้อมูลผิดเพี้ยน •ปัญหำสำำหรับ Protocol BSC คือมีอักษรอื่นซำ้ำกับอักษรควบคุมเรียก ว่ำ Transparency สำมำรถแก้ปัญหำโดยเพิ่มตัวอักษรพิเศษคือ DLE วำงไว้ก่อนหน้ำตัวอักษรพิเศษอื่นๆ เช่น DLE-EOT
  • 19. Protocol บนเครื่องเมนเฟรม จัดกำรแบบนับจำำนวนไบต์ (Byte – Count - Oriented Protocols) • กำรส่งทีมี “บล๊อก” ใช้ในกำรเก็บข้อมูล และมีกำรนับจำำนวน byte ่ เมื่อส่งข้อมูลเสร็จ •ใช้วิธีกำรเพิ่มข้อมูล จำำนวนไบต์ของข้อมูลในบล๊อก (หมำยเลขทีอยู่ ่ บนเครือข่ำย) และตัวอักษรควบคุมบล๊อกเข้ำไปแทนจึงไม่มีปัญหำ ของข้อมูลซำ้ำ • protocol แบบนับจำำนวนไบต์ จะเพิ่มหมำยเลขลำำดับเข้ำไปกับ ข้อมูลทุกบล๊อก คือเลข 0-7 สำำหรับกำรส่งข้อมุลจำำนวน 8 บล๊อก จำกนั้นจึงจะหยุดรอกำรตอบรับ
  • 20. Protocol บนเครื่องเมนเฟรม จัดกำรระดับบิต (Bit – Oriented Protocols) • เป็นกำรรวมข้อมูลจริงและข้อมูลควบคุมเข้ำด้วยกันเป็น Frame ผู้สงและ ่ ผู้รับใช้ Bit ในกำรส่งข้อมูล • SDLC เป็น protocol ตัวแรก ที่บริษท IBM เป็นผู้พัฒนำ และใช้ ั controlled media access protocol เป็นตัวควบคุมข้อผิดพลำดและเส้น ทำงของข้อมูล โดยมี flag เป็นจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของข้อมูล เช่น 01111110 • Frame หรือแพ็กเกตข้อมูลที่ถูกส่งมำจำกชั้นสือสำรข้อมูลระดับบนจะมี ่ หมำยเลขลำำดับสำำหรับแพ็กเกตนันอยู่แล้วหำกแพ๊กเกตมีขนำดใหญ่ต้อง ้ แบ่งเป็นแพ๊กเกตย่อยๆ •กำรใช้หมำยเลขลำำดับช่วยให้โพรโทคอลนี้สำมำรถทำำงำนได้ทั้งในแบบกึ่ง สองทิศทำงและสองทิศทำงสมบูรณ์ กำรตอบรับและกำรตอบปฏิเสธ เฟรม จำกผู้รับก็ทำำได้ ในขณะที่ผู้ส่งยังคงส่งเฟรมอื่น ๆ ได้อย่ำงต่อเนื่อง เฟรมที่ เสียหำยอำจถูกส่งมำใหม่ได้ทุกเมือ ่
  • 21. Protocol บนเครื่องเมนเฟรม / System Network Architecture : SNA • ใช้สื่อสำรระหว่ำงเครื่องเมนเฟรมด้วยกัน และใช้สื่อสำรระหว่ำง เครื่องเมนเฟรมกับเทอร์มินอล รูปแบบกำรเชื่อมต่อเป็นแบบลำำดับ ชั้น (Subarea Network) by IBM กำำหนดให้โหนดทุกโหนดใน ระบบมีควำมสำำคัญ มีขีดควำมสำมำรถในกำรทำำงำนและมีควำมรับ ผิดชอบต่อระบบเหมือนกัน • ระบบเครือข่ำยเล็ก ๆ เช่น LAN และอื่น ๆ สำมำรถเชื่อมต่อเข้ำกับ ระบบเอสเอ็นเอได้โดยตรง
  • 22. Protocol บนเครื่องเมนเฟรม / H.323 • สื่อสำรแบบ Packet Switched Network โดย H.323 Protocol ใช้ ส่งข้อมูลทุกชนิดแบบ Real-Time โดยกำรส่งข้อมูลจำกจุดหนึงไปยัง ่ อีกจุดหนึง จะมีกำรแบ่งข้อมูลออกเป็นส่วนเล็กๆ เรียกว่ำ Packet เพื่อ ่ ส่งไปยัง เป้ำหมำยตำมสำยสื่อสำรที่เร็วทีสุด ่
  • 23. Protocol บนเครื่องเมนเฟรม / X.25 • Protocol มำตรฐำนใช้ในกำรสื่อสำรระหว่ำงประเทศ (WAN) ผ่ำนระบบเครือข่ำย ที่ใช้แพ็กเกตสวิทชิ่ง (Packet-switching Network or Packet Distribution Network) อำจเรียกว่ำเป็น (Packet Layer Protocol) โดยแบ่งข้อมูลออกเป็น ส่วนเล็ก ๆ คือ Packet เพือส่งออกทำงสำยสื่อสำรควำมเร็วสูงไปยังผู้รับ X.25 ่ ทำำงำนในส่วนของ OSI Model Layer 1-3 • โปรโตคอล X.25 ใช้ติดต่อระหว่ำง DTE (Data Terminal Equipment) กับDCE (Data Communication Equipment) สำำหรับในกำรอินเตอร์เฟซกับเลเยอร์ชั้น ล่ำงสุด (Physical Layer) • LAPB เป็นข้อมูลเชื่อมต่อ Protocol X.25 ให้บริหำรกำรติดต่อและจัดกำร Packetระหว่ำง อุปกรณ์ DTE และ DCE ฉะนั้น LAPB จึงจัดเป็น bit-oriented Protocol ซึ่งเฟรมนั้นจะถูกต้องตำมต้องกำรและไม่มีขอมูลผิดพลำดแน่นอน ้
  • 24. Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต : TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol • เป็นโปรโตคอลที่นิยมใช้กันอย่ำงแพร่หลำย โดยเฉพำะเมือนำำไปใช้กบเครือข่ำย ่ ั อินเทอร์เน็ต • มีกำรแบ่งชั้นกำรสื่อสำร (Stack) อยู่ 4 ชั้น TCP IP
  • 25. Application Layer รองรับกำรทำำงำนของแอพพลิเคชั่นต่ำงๆ ที่ทำำงำนเป็นโปรเซสเช่น กำรถ่ำยโอนข้อมูลผ่ำน เครื่องแม่ข่ำย โดยใช้โปรโตคอล FTP Server, Web Server(HTTP Server), DNS Server, DHCP Server เป็นต้น รองรับกำรทำำงำนผ่ำนโปรแกรมในเครื่องลูกข่ำย โดยใช้โปรแกรม Web browser, อีเมล์, FTP Client สำมำรถทำำงำนได้หลำยๆ โปรโตคอลพร้อมๆ กัน
  • 26. Transport /Host-to-Host Layer • เชื่อมโยงหรือจับคู่แอพพลิเคชั่นต่ำงๆ ที่อยู่ต่ำงเครื่องให้สำมำรถติดต่อกัน ได้ และข้อมูลไม่ปนกัน โดยกำรกำำหนดหมำยเลขพอร์ตที่ไม่ซำ้ำกันให้กับ แอพพลิเคชั่นแต่ละตัวในเครื่อง โดยหมำยเลขพอร์ตของแอพพลิเคชั่นใน เครื่องต้นทำงจะถูกจับคู่เข้ำกับหมำยเลขพอร์ตของแอพพลิเคชั่นในเครื่อง ปลำยทำง • กำรทำำงำนในชั้นนีจะประกอบไปด้วยโปรโตคอล 2 ตัวคือ ้ – TCP (Transmission Control Protocol) • ทำำหน้ำทีในลักษณะของ Connection Oriented ่ • ต้องมีกำรเชื่อมโยงผู้รับกับผู้ส่งเข้ำด้วยกันก่อนจึงจะทำำกำรรับส่งข้อมูลได้ • ข้อมูลทีส่งมีควำมถูกต้องครบถ้วนและเชื่อถือได้ ่ – UDP (User Datagram Protocol) • ทำำหน้ำทีในลักษณะของ Connectionless Oriented ่ • ไม่ต้องมีกำรเชือมโยงผู้รับกับผู้ส่งก่อนทำำกำรรับส่งข้อมูล ่ • ข้อมูลอำจสูญหำยระหว่ำงทำงได้
  • 27. Internet Layer • รับผิดชอบกำรลำำเลียงข้อมูลภำยในเครือข่ำยหรือระหว่ำงเครือข่ำย • รับ-ส่งข้อมูลในรูปแบบ “แพ็คเก็ต” • โปรโตคอลหลักที่ทำำงำนคือ IP(Internet Provider) • ทำำงำนโดยอำศัย IP Address • ทำำงำนผ่ำนอุปกรณ์เครือข่ำยอย่ำง Router หรือ Gateway เป็นหลัก
  • 28. Network Access Layer • ทำำหน้ำที่แปลงข้อมูล IP datagram ให้อยู่ในรูปทีเหมำะสมและ ่ แปลงสัญญำณไฟฟ้ำส่งไปยังเครือข่ำย • ครอบคลุมกำรทำำงำนเช่นเดียวกับชั้นของ Data Link Layer และ Physical Layer ของ OSI
  • 29. FTP HTTP Telnet DNS DHCP Application Layer TCP UDP Host-to-Host Layer IP Internet Layer Ethernet Token Ring FDDI Network Access Layer
  • 30. IP Address • Internet Protocol Address หมำยเลขอ้ำงอิงประจำำ ตัวของอุปกรณ์ต่ำงๆ ที่เชือมต่ออยู่ในเครือข่ำย ่ อินเทอร์เน็ต ที่ไม่ซำ้ำกัน • ปัจจุบัน IP Address ที่ใช้งำนอยู่เป็นเวอร์ชน 4 นิยม ั เรียกว่ำ IPv4 เป็นหมำยเลข IP ที่มีขนำด 32 บิต ประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุดคันด้วยจุด เช่น ่ 204.283.255.20
  • 31. Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต : IPv6 • อินเทอร์เน็ตโพรโตคอลรุ่นที่หก(Internet Protocol version 6; IPv6) สร้ำงขึ้นเพื่อทดแทนอินเทอร์เน็ตโพรโตคอลรุ่นเดิม IPv4โดย IPv6 มีวัตถุประสงค์ เพื่อปรับปรุงโครงสร้ำงของตัว Protocol ให้รองรับหมำยเลขแอดเดรสจำำนวนมำก และปรับปรุง คุณลักษณะอื่นๆ อีกหลำยประกำร ทั้งในแง่ของประสิทธิภำพและ ควำมปลอดภัยรองรับระบบแอพพลิเคชั่น (application) ใหม่ๆ ที่ จะเกิดขึ้นในอนำคต และเพิ่มประสิทธิภำพในกำรประมวลผลแพ็ก เก็ต (packet) ให้ดีขึ้น ทำำให้สำมำรถตอบสนองต่อกำรขยำยตัว และควำมต้องกำรใช้งำนเทคโนโลยีบนเครือข่ำยอินเทอร์เน็ตใน อนำคตได้เป็นอย่ำงดีโดย IPv6 กำำหนดให้มีขนำดถึง 128 บิต ประกอบไปด้วย กลุ่มตัวเลข 8 กลุ่มเขียนขึ้นด้วยเครื่องหมำย “:” โดยแต่ละกลุ่มคือเลขฐำน 16 จำำนวน 4 ตัว (16 บิต) เช่น 2001:260:20:2000::/64
  • 32. Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต : Electronic Mail ใช้สำำหรับกำรรับ-ส่งจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ • Protocol X.400 – กำำหนดวิธีกำรส่งจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์เพือให้สำมำรถสื่อสำรกันได้ทั่ว ่ โลก มีโครงสร้ำงแบบลำำดับชั้น โดยมีชื่อประเทศอยู่ชั้นบนสุด ตำมด้วย ประเภทองค์กร ชื่อองค์กร และชื่อผู้รับ • Protocol X.500 – กำำหนดโครงสร้ำงของไดเรกทอรี สำำหรับกำรเก็บรักษำชื่อและที่อยู่ของ จดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ใช้ในระบบ โดยผู้ใช้สำมำรถค้นหำชื่อและ ที่อยู่ของผู้ใช้อื่นๆ ที่อยู่ในไดเรกทอรีนี้ได้เหมือนกับกำรค้นหำชื่อคนใน สมุดโทรศัพท์ – ใช้เสริมกำรทำำงำนของ Protocol X.400
  • 33. Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต : Electronic Mail ใช้สำำหรับกำรรับ-ส่งจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ • Post Office Protocol Version3: POP3 – ทำำงำนในลักษณะผู้ให้บริกำรและผู้ใช้บริกำร (Client/Server) – เมื่อมีอีเมล์มำถึงผู้รับ Server จะทำำหน้ำที่เก็บรักษำอีเมลนั้นไว้จนกว่ำ Client จะเข้ำมำอ่ำน ซึ่งข้อควำมจะถูกส่งไปเก็บไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้ ส่วน Server ก็จะลบข้อควำมนั้นทิ้งไป – ทำำงำนแบบ Offline • Simple mail Transfer Protocol: SMTP – ทำำงำนควบคู่กับ Protocol POP3 หรือ IMAP(Interactive Mail Access Protocol) – กำรรับ-ส่งอีเมล์จะใช้ SMTP เป็นตัวส่งและใช้ POP3 หรือ IMAP เป็นตัว รับ – ทำำงำนแบบ Online
  • 34. Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต : Electronic Mail ใช้สำำหรับกำรรับ-ส่งจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ • IMAP4 (Internet Message Access Protocol Version 4) – IMAP เป็น Protocol ที่เอำไว้ใช้ในกำร อ่ำนและเขียนจดหมำยที่มมำ ี เพือแก้ปัญหำข้อด้อยของ POP กล่ำวคือ POP จะทำำกำรดึงจดหมำย ่ จำก Mail Server มำเก็บไว้ที่เครื่องผู้ที่ใช้งำน เมื่อเรำดึง Mail มำแล้ว หำกเรำต้องกำรอ่ำน E-mail ฉบับนั้นอีก แต่ไม่ได้อยู่บนเครื่องเดิม หำก เรำใช้คอมพิวเตอร์อีกเครื่องดึงเมล์เพือมำอ่ำนอีก เรำจะพบกับควำมว่ำง ่ เปล่ำ เพรำะว่ำ E-mail ของเรำ ที่ Mail Server ได้ถูกดึงมำอ่ำนไปที่ คอมพิวเตอร์เครื่องแรกเรียบร้อยแล้ว – IMAP จึงถูกออกแบบมำเพือแก้ปัญหำนี้ กล่ำวคือ กำรทำำงำนของ IMAP ่ นั้น จะเป็นกำร Access เข้ำไปโดยตรงที่ Mail Box ของเรำ ทำำให้เรำ สำมำรถ อ่ำน เขียน ลบ E-mail ของเรำได้จำกคอมพิวเตอร์เครื่องไหน ก็ได้ เพรำะ E-mail ของเรำ จะอยู่ที่เครื่อง Mail Server ตลอดเวลำ ทำำให้ง่ำยต่อกำรเข้ำถึง
  • 35. Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต • File Transfer Protocol : FTP – ใช้สำำหรับกำรถ่ำยโอนแฟ้มข้อมูล (Download/Upload) ข้อมูลบน อินเทอร์เน็ตระหว่ำง Client กับ Serverโดยใช้ TCP/IP เป็นกลไกในกำรส่ง ข้อมูล – ทำำหน้ำที่ในชั้นสื่อสำรโปรแกรมประยุกต์ (Application Layer) – ต้องทำำงำนผ่ำนโปรแกรม FTP เช่น CuteFTP, WS_FTP เป็นต้น
  • 36. Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต Hypertext Transfer Protocol: HTTP – ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่ำงกันในรูปแบบภำษำ HTML ( HyperText Markup Language) ผ่ำนเครือข่ำยใยแมงมุม WWW (Word Wide Web) โดยกำำหนดที่อยู่เว็บ (Uniform Resource Locators : URLs) - HTTP จะทำำงำนที่พอร์ต 80 ส่งข้อมูลเป็นแบบ Clear text คือ ข้อมูลที่ทำำกำร ส่งไปนั้น ไม่ได้ทำำกำรเข้ำรหัส ทำำให้สำมำรถถูกดักจับข้อมูลนั้นได้โดยง่ำย
  • 37.
  • 38. Protocol สำำหรับระบบอินเทอร์เน็ต HTTPS (Hypertext Transfer Protocol over Secure Socket Layer) • HTTPS สร้ำงเพื่อควำมปลอดภัยสำำหรับกำรสื่อสำรผ่ำนอินเตอร์เน็ต • เชื่อมต่อแบบ Secure HTTP เรียกใช้ด้วยรูปแบบ https:// • HTTPS จะทำำงำนที่พอร์ต TCP443 ออกแบบโดยบริษัท Netscape ทำำงำนโดย กำรเพิ่มข้อมูลในกำรระบุตัวผู้ส่ง ( Authentication) และกำรเข้ำรหัสข้อมูล (Encryption) ภำยใน HTTP กับ TCP • ในกำรส่งข้อมูลจะเป็นแบบ HTTP แต่จะมีกำรเข้ำรหัสเป็นแบบ SSL 128 bit • นิยมใช้กบ Web ที่ต้องกำรควำมปลอดภัยสูง เช่น พวก Web ของธนำคำร กำร ั เงินต่ำงๆ หรือข้อมูลส่วนของรำชกำร เป็นต้น • HTTPS ส่งข้อมูลเป็นแบบ Cipher text คือ ข้อมูลที่ทำำกำรส่งได้ถูกเข้ำรหัสเอำ ไว้ โดยใช้ Asymmetric Algorithm ซึ่งถ้ำถูกดักจับได้แต่กไม่สำมำรถที่จะอ่ำน ็ ข้อมูลนั้นได้รู้เรื่อง โดยข้อมูลนั้นจะถูกอ่ำนโดยตัวเรำกับเครื่อง Server เท่ำนั้น
  • 39.
  • 40. Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณ X.PC • Protocol X.PC เป็นโปรโตคอลที่ใช้สำำหรับกำรเปลี่ยนรูปแบบของ ข้อมูลที่ส่งมำในแบบ Asynchronous ให้อยู่ในรูปแบบที่สำมำรถ ส่งออกไปทำงระบบเครือข่ำยแบบ Switching ได้ • สำมำรถช่วยให้เครื่องพีซีคอมพิวเตอร์สำมำรถติดต่อกับเครื่อง โฮสต์หลำยโฮสต์ได้พร้อมกัน
  • 41. Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณ Ethernet • เป็นเทคโนโลยีเครือข่ำยทีเป็นฐำนหลักของเทคโนโลยีเครือข่ำย ่ แบบท้องถิ่น (LAN) • ถูกพัฒนำโดย 3 บริษัทใหญ่เมื่อกว่ำ 30 ปีมำแล้ว ได้แก่ บริษท ั Xerox Corporation, Digital Equipment Corporation, Intel • ปัจจุบันอยู่ในกำรดูแลของสถำบัน IEEE(Institute of Electrical and Electronics Engineer) • Ethernet จัดอยู่ในมำตรฐำน IEEE 802.3 • เริ่มพัฒนำนำควำมเร็วในกำรรับส่งข้อมูลจำก 10 Mbps เป็น 100 Mbps และ 1000 Mbps ล่ำสุดพัฒนำไปจนถึงระดับ 10 Gbps (10,000 Mbps)
  • 42. Ethernet • ในสมัยแรก Ethernet ใช้เทคนิคกำรรับส่งข้อมูลทีเรียกว่ำ CSMA/ ่ CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision Detection) เป็นกำรส่งข้อมูลแบบ Half Duplex ควำมเร็วในกำรส่งข้อมูล 10 Mbps • ต่อมำได้พัฒนำระบบกำรรับส่งข้อมูลของ Ethernet เป็นแบบ Full Duplex กลำยเป็นระบบอีเธอร์เน็ตควำมเร็วสูง(Fast Ethernet) ควำมเร็วในกำรส่งข้อมูล 100 Mbps • ปัจจุบันได้มีกำรพัฒนำควำมเร็วไปถึงระดับกิกะบิตอีเธอร์เน็ต (Gigabit Ethernet) ให้ควำมเร็วที่ 1,000 Mbps/ 1 Gbps • และเทนกิกะบิตอีเธอร์เน็ต(10 Gigabit Ethernet) อำจเรียกอีก อย่ำงหนึงว่ำ 10GbE ให้ควำมเร็วที่ 10,000 Mbps/10 Gbps ่
  • 43. การเรียกชื่อ Ethernet ตามมาตรฐาน IEEE802.3 Bandwidth+ช่องสัญญำณ+ชนิดสำยสัญญำณ เช่น 10BASE-T ใช้ Bandwidth 10Mbps ลักษณะของช่อง สัญญำณแบบ Baseband ชนิดของสำยสัญญำณ แบบ Twisted Pairs
  • 44. มำตรฐำน Ethernet IEEE 802.3 มาตรฐาน รายละเอียด 10BASE-5 เป็น Ethernet ที่ใช้สำยสัญญำณชนิด Coaxial แบบ หนำ (Thick Ethernet/ Thicknet) ใช้ Topology แบบ Bus ระยะทำงสูงสุด 500 เมตร ควำมเร็วสูงสุด 10 Mbps 10BASE-2 เป็น Ethernet ที่ใช้สำยสัญญำณชนิด Coaxial แบบบำง (Thin Ethernet/ Thinnet) ระยะทำงสูงสุด 185 เมตร ควำมเร็วสูงสุด 10 Mbps 10BASE-T ใช้สำยสัญญำณชนิด UTP Cat3 ขึ้นไป ลวดทองแดงขด 4 คู่ใช้เพียง2 คู่ ใช้ Topology แบบ Star ระยะทำง สูงสุด 100 เมตร ทำำงำนแบบ Half Duplex ควำมเร็ว สูงสุด 10 Mbps เป็นต้นแบบของระบบ LAN 10BASE-F ใช้สำย Fiber Optic ส่งสัญญำณได้ไกลสุด 2 Km
  • 45. มำตรฐำน Ethernet IEEE 802.3 มาตรฐาน รายละเอียด 100BASE-TX Fast Ethernet ใช้สำยสัญญำณชนิด UTP แบบ CAT5 หรือ STP1 ลวดทองแดงบิดเกลียว 4 คู่ใช้เพียง 2 คู่ ลักษณะคล้ำยกับ มำตรฐำน 10Base-T แต่ควำมเร็วสูงสุดได้ถึง 100 Mbps 100BASE-T4 Fast Ethernet ใช้สำยสัญญำณชนิด UTP แบบ CAT3 ขึนไป ้ ลวดทองแดงบิดเกลียว 4 คู่ใช้ทั้ง 4 คู่ ควำมเร็วสูงสุด 100 Mbps โดยรับส่งข้อมูลผ่ำนลวดทองแดงบิดเกลียวคู่ละ 25 Mbps 100BASE-T2 Fast Ethernet ใช้สำยสัญญำณชนิด UTP แบบ CAT3 ใช้ลวด ทองแดงภำยในสำย UTP 2 คู่ในกำรรับส่งข้อมูล 100BASE-FX Fast Ethernet ใช้สำยสัญญำณชนิด Fiber Optic ควำมเร็วสูงสุด 100 Mbps ส่งสัญญำณได้ไกลถึง 20 Km เมื่อใช้สำยแบบ Single mode นิยมใช้เชื่อมต่อระหว่ำง Hub และ Switch หรือ Backbone ของระบบ LAN
  • 46. มำตรฐำน Ethernet IEEE 802.3 มาตรฐาน รายละเอียด 1000BASE-LX Gigabit Ethernet ที่ใช้สำยสัญญำณ Fiber Optic โดย ใช้ควำมยำวคลืนขนำด 1300 nm ให้ควำมเร็วสูงสุดที่ ่ 1000 Mbps หรือ 1 Gbps 1000BASE-SX Gigabit Ethernet ที่ใช้สำยสัญญำณ Fiber Optic โดย ใช้ควำมยำวคลืนขนำด 850 nm ่ 1000BASE-T Gigabit Ethernet ที่ใช้สำยลวดทองแดงแบบ UTP ชนิด Cat5, Cat5e หรือ Cat6 ใช้เส้นลวดทองแดงทั้ง 4 คู่ โดยแต่ละคู่รับส่งข้อมูลที่ควำมเร็ว 250 Mbps
  • 47. มำตรฐำน Ethernet IEEE 802.3e มาตรฐาน รายละเอียด 10GBase-SR 10 Gigabit Ethernet ใช้สำย Fiber Optic แบบ MMF ควำมยำวคลื่น 850 nm รับส่งข้อมูลแบบ Full Duplex รับส่งสัญญำณได้ไกลที่ระยะทำง 65 เมตร 10GBase-SW 10 Gigabit Ethernet ใช้สำย Fiber Optic แบบ MMF ควำมยำวคลื่น 850 nm รับส่งข้อมูลแบบ Full Duplex สำมำรถรองรับระบบ WAN รับส่งสัญญำณได้ไกลที่ระยะ ทำง 65 เมตร 10GBase-LX4 10 Gigabit Ethernet ใช้สำย Fiber Optic แบบ MMF หรือ SMF ควำมยำวคลื่น 1,310 nm รับส่งข้อมูลแบบ Full Duplex รับส่งสัญญำณได้ไกลที่ระยะทำง 300 เมตรสำำหรับแบบ MMF และรับส่งสัญญำณได้ไกลที่ระยะ ทำง 10,000 เมตร สำำหรับแบบ SMF
  • 48. มำตรฐำน Ethernet IEEE 802.3e มาตรฐาน รายละเอียด 10GBase-LR 10 Gigabit Ethernet ใช้สำย Fiber Optic แบบ SMF ควำมยำวคลื่น 1,310 nm รับส่งข้อมูลแบบ Full Duplexรับส่ง สัญญำณได้ไกลที่ระยะทำง 10,000 เมตร 10GBase-LW 10 Gigabit Ethernet ใช้สำย Fiber Optic แบบ SMF ควำมยำวคลื่น 1,310 nm รับส่งข้อมูลแบบ Full Duplex รองรับระบบ WAN รับส่งสัญญำณได้ไกลที่ระยะทำง 10,000 10GBase-ER เมตร 10 Gigabit Ethernet ใช้สำย Fiber Optic แบบ SMF ควำมยำวคลื่น 1,510 nm รับส่งข้อมูลแบบ Full Duplex รับ ส่งสัญญำณได้ไกลที่ระยะทำง 40,000 เมตร 10GBase-EW 10 Gigabit Ethernet ใช้สำย Fiber Optic แบบ SMF ควำมยำวคลื่น 1,510 nm รับส่งข้อมูลแบบ Full Duplex รับ ส่งสัญญำณได้ไกลที่ระยะทำง 40,000 เมตร รองรับระบบ WAN
  • 49. Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณ Token • ปรับปรุงวิธีกำรใช้สำยสื่อสำรให้มีประสิทธิภำพที่ดีขน โดยหลักกำรคือจะทำำกำร ึ้ สร้ำงข้อมูลพิเศษที่เรียกว่ำ “Token” ส่งผ่ำนไปยังอุปกรณ์ทั้งหมดที่เชื่อมต่อใน ระบบเครือข่ำยเดียวกัน อุปกรณ์ใดต้องกำรส่งข้อมูลต้องได้รับ Token ก่อน จึงจะ ส่งได้ เมื่อส่งเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็จะปล่อยโทเก้นไปให้กับอุปกรณ์อื่นต่อไป • ระบบที่ใช้โปรโตคอลส่งผ่ำนโทเก้น แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด – ระบบเครือข่ำย ARCNET มีกำรเชื่อมต่อเครือข่ำยแบบ Star ควำมเร็วสูงสุด 2.5 Mbps ควำมยำวกำรสื่อสำรไม่เกิน 20,000 ฟุต – ระบบเครือข่ำยวงแหวนโทเก้น (Token Ring :IEEE 802.5) นิยมใช้มำกทีสุด ่ ควำมเร็วสูงสุด 16 Mbps และ Fast Token Ring ที่ควำมเร็ว 100 Mbps – ระบบเครือข่ำย FDDI
  • 50. Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยเฉพำะบริเวณ IPX/SPX (Internetwork Packet Exchange / Sequence Package Exchange) • ได้รับกำรพัฒนำจำกบริษัท Novell ขึ้นมำเพื่อใช้งำนกับระบบเครือข่ำยท้องถิ่น ของ Novell Netware • โปรโตคอล IPX ทำำหน้ำที่ในระดับ network layer ตำมมำตรฐำน OSI Model มีกลไกกำรส่งผ่ำนข้อมูลแบบ connectionless คือไม่ต้องทำำกำรเชื่อมต่อกัน ระหว่ำง host กับเครื่องที่ติดต่อกันอย่ำงถำวรเมื่อมีกำรส่งข้อมูล และไม่ ต้องกำรรอสัญญำนยืนยันกำรรับข้อมูลจำกปลำยทำง โดยตัวโปรโตคอลจะ พยำยำมส่งข้อมูลนั้นไปยังปลำยทำงให้ดีที่สุด • โปรโตคอล SPX ทำำหน้ำที่ในระดับ transport layer ตำมมำตรฐำน OSI Model โดยส่งผ่ำนข้อมูลตรงข้ำมกับโปรโตคอล IPXคือ ต้องมีกำรเชื่อมโยงกันก่อน และมีกำรส่งผ่ำนข้อมูลที่เชื่อถือได้ ด้วยกำรตรวจสอบสัญญำณยืนยันกำรรับส่ง ข้อมูลจำกปลำยทำง
  • 51. Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยไร้สำย CDPD (Cellular Digital Packet Data) หรือ Wireless IP • โพรโทคอล CDPD ช่วยให้ผู้ใช้สำมำรถติดต่อระบบอินเทอร์เน็ตได้ที่ ควำมเร็วไม่เกิน 19.2 Kbps โดยกำรส่งสัญญำณสลับกับเสียงสนทนำที่ ใช้ควำมถี่เดียวกันในช่องสัญญำณเดียวกันผ่ำนอุปกรณ์สอสำรโมเด็ม ื่ แบบไร้สำยส่งมูลผ่ำนระบบเครือข่ำยแพ็กเกตสวิทไร้สำย • มีโครงสร้ำงตำมรูปแบบโอเอสไอ โดยทำำงำนในชันสือสำรกำยภำพและ ้ ่ ชั้นเชื่อมต่อข้อมูล • สำมำรถทำำงำนร่วมกับโพรโทคอลไอพีที่ใช้บนระบบเครือข่ำย อินเทอร์เน็ต จึงส่งข้อมูลแบบหลำยจุด (Multicast) ได้ คือส่งข้อมูล แพ็กเกตเดียวไปยังผู้รับหลำยคน • กำรแลกเปลียนสัญญำณระหว่ำงผู้ใช้ที่อยู่ในระบบเครือข่ำย CDPD กับ ่ ระบบเครือข่ำยแบบอื่นจะต้องมีจุดเชื่อมต่อหรือจุดแลกเปลียนสัญญำณ ่
  • 52. Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยไร้สำย WAP(Wireless Application Protocol) • พัฒนำขึ้นมำจำกษริษัท Motorola, Nokia และ Phone.Com • มีหน้ำที่ให้บริกำรสำำหรับโปรแกรมประยุกต์ททำำงำนบนระบบเครือ ี่ ข่ำยไร้สำย ในที่นยังคงจำำกัดเพียงโปรแกรมประเภทเว็บบรำวเซอร์ ี้ เท่ำนั้น • โพรโทคอลนี้ควบคุมกำรทำำงำนจำกผูส่งข้อมูลไปจนถึงตัวผูรับ ้ ้ ข้อมูล ซึ่งมีลกษณะแบบ Client/Server ดังนันผูใช้จำำเป็นจะต้อง ั ้ ้ ติดตั้งโปรแกรมควบคุมประเภท Client Software เรียกว่ำ WAP- enabled • ผูให้บริกำรก็จะต้องติดตังโปรแกรม Server Software สำำหรับ ้ ้ ควบคุมกำรติดต่อจำกผูใช้ผำนระบบเครือข่ำยไร้สำย ้ ่
  • 53. Protocol สำำหรับระบบเครือข่ำยไร้สำย Apple Talk • ออกแบบโดยบริษท Apple สำำหรับใช้งำนบนระบบเครือข่ำยที่เชื่อมต่อ ั บนเครื่อง Macintosh ของตนเองเข้ำด้วยกัน เรียกว่ำ Apple Talk (เพื่อ แข่งขันกับเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีในตระกูลไอบีเอ็ม) • โพรโทคอลนี้ใช้วิธีกำรทำำงำนแบบ CSMA เหมือนกับที่ใช้บนเครือข่ำย อีเทอร์เน็ต • บริษทฯ ได้พัฒนำวิธีกำรหลีกเลียงกำรเกิดสัญญำณซ้อน เรียกว่ำ CA ั ่ (Collision Avoidance) เพื่อให้ระบบเครือข่ำยมีประสิทธิภำพกำรทำำงำน สูงขึ้น • โพรโทคอลนี้สำมำรถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ได้มำกที่สุดเพียง 32 เครื่อง • ส่งข้อมูลได้ที่ควำมเร็ว 230 Kbps ภำยในระยะ 1,000 ฟุตเท่ำนัน ้ • ข้อดีตรงที่อุปกรณ์ระบบเครือข่ำยจะติดตั้งมำพร้อมกับเครื่องเรียบร้อย แล้ว ทำำให้ผู้ใช้สำมำรถใช้งำนระบบเครือข่ำยได้ในทันที