SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
การพินจวรรณคดีมรดก
           ิ
      เรื่อง รามเกียรติ์
ตอนศึก กุม ภกรรณ กลุ่ม ที่ ๑ หน้า
             ๑ -๗
 กลอนบทละคร
หลังจากที่หนุมานช่วย
พระรามซึ่งถูกจับตัวไปออกมา
  จากเมืองบาดาลและสังหาร
 ไมยราพ เจ้าเมืองบาดาลได้
สำาเร็จ เมื่อทศกัณฐ์ทราบข่าวก็
 โกรธแค้นเป็นอย่างมาก และ
 เห็นว่าหากปล่อยไว้ข้าศึกจะ
  ยิ่งฮึกเฮิม จึงจะจัดทัพใหญ่
      ปราบให้สิ้นซาก เมื่อ
ใคร่ครวญแล้วทศกัณฐ์จึงเห็น
 ว่า กุมภกรรณเป็นผู้ที่สมควร
  จะนำาทัพไปมากที่สุด จึงให้
เมื่อกุมภกรรณได้เข้าพบทศกัณฐ์และ
 ฟังเรื่องราวแล้วก็พยายามหว่านล้อม
 ให้ทศกัณฐ์คืนนางสีดาซึ่งเป็นชนวน      นางสำามนักขา
 ของสงครามและความขัดแย้งนี้ให้แก่
  พระราม แต่ทศกัณฐ์ก็ยืนกรานที่จะ
  ให้นางสีดาอยู่ที่กรุงลงกาต่อไปและ
  ปฏิเสธที่จะเป็นมิตรกับฝ่ายพระราม
                อีกด้วย

  กุมภกรรณได้ฟังเเล้วได้อธิบาย
   เหตุผลว่าที่นางสำามนักขาน้องสาว
 ของตนกับทศกัณฐ์ถูกตัดหู จมูก เเละ
  มือเป็นเพราะนางเข้าไปเกี้ยวพาราสี
 พระรามทั้งยังทำาร้ายนาง สีดา ด้วย
  ความอาฆาตเมื่อนางกลับสู่กรุงลงกา
   นางจึง ยุยงให้ทศกัณฐ์หลงใหล
  นางสีดาเเละไปลักพาตัวนาง เกิดผล
 เลวร้ายสองประการคือทศกัณฐ์ทำาผิด
 ศีลธรรมอันดี เเละชักนำาศึกสงครามสู่
เเต่เเม้ว่ากุมภกรรณหวังให้ทศกัณฐ์หลีกเลียงสงคราม
                                         ่
 โดยคืนนางสีดาเเก่พระรามด้วยเหตุผลต่างๆ ทศกัณฐ์
กลับบันดาลโทสะ เเละดูหมิ่นว่ากุมภกรรณกลัวข้าศึกไม่
อยากไปสู้รบ ทั้งยังกล่าวประชดประชันให้กมภกรรณไป
                                          ุ
 เข้าสวามิภักดิ์กับพระรามเช่นเดียวกับพิเภกเเละทิ้งทศ
                   กัณฐ์ให้รบเเต่ลำาพัง
กุมภกรรณตกใจเป็นอย่างมาก เพราะกุมภกรรณรักเเละ
     เคารพทศกัณฐ์จึงกล่าวด้วยหวังหลีกเลี่ยงความสูญเสีย เเต่
    เมื่อไม่สำาเร็จ กุมภกรรณจึงตัดสินใจเลือกที่จะกตัญญูต่อทศ
     กัณฐ์เเละขอออกศึกจนตัวตาย ทำาให้ทศกัณฐ์เกิดความปิติ
    เป็นอย่างมากเข้าสวมกอดกุมภกรรณและกล่าวให้พรให้ได้
    รับชัยชนะ เเล้วจึงสั่งให้มโหทร ซึ่งเป็นยักษ์เสนาบดีพี่เลี้ยง
    ของทศกัณฐ์สั่งจัดทัพ โดยทัพหน้ามีทั้งหมด 21 กอง กุมกร
    รณเป็นเเม่ทัพเเบ่งทัพเป็นฝั่งซ้ายขวา มีธงสัญญาณสำาหรับ
    สั่ง ได้เเก่ ธงสีเขียวสำาหรับทัพซ้าย ธงสีเเดงสามชายสำาหรับ
    ทัพขวา เเละธงสีทองอยู่กลางทัพ โดยเมื่อกุมภกรรณสั่งทัพ
      ซ้ายบุกข้าศึก จะโบกธงสีเขียวเข้าทางซ้าย สั่งทัพขวาบุก
    จะโบกธงสีเเดงเข้าทางขวา หากโบกไปข้างหน้าตรงๆหมาย
       ถึงเข้าโจมตีพร้อมกันทั้งสองฝั่งเช่นเดียวกับการถอย เเต่
           สัญญาณจะโบกออกเเทนการโบกเข้าไปด้านหน้า
 
เมื่อกุมภกรรณรับคำาสั่งจากทศกัณฐ์แล้วก็กลับไปยังตำาหนัก
  ของตนเพื่อไปอาบนำ้าชำาระกาย กุมภกรรณได้พรมนำ้าหอม
 จนกลินดอกไม้ฟุ้งไปทั่ว ต่อจากนั้นก็สวมเข็มขัดและเสื้อผ้า
         ่
 ประดับด้วยพลอยนานาชนิด รวมถึงที่รัดแขนที่สลักลวดลาย
  อย่างงดงาม และสวมแหวนรูปครุฑก่อนที่จะหยิบอาวุธขึ้น
 มา ในตอนนี้กุมภกรรณดูสง่าราวกับท้าวเวสสุวรรณ พร้อม
     ที่จะนำาทัพไปรบข้าศึกแล้วจึงเดินขึ้นราชรถไปทำาศึก
                          สงคราม
ราชรถของทัพกุมภกรรณมีความงดงามมาก คนขับมีความ
 ชำานาญการรบและสันทัดในการใช้อาวุธ ในขบวนประกอบ
 ด้วยฉัตรอภิรุมและธงชัยนำาทัพ เหล่าทหารในทัพหนาแน่น
  เบียดเสียด เสียงฆ้องกลองและเสียงโห่ร้องดังกึกก้อง ก่อน
  พากันยกทัพเข้ากรุงลงกา เมื่อถึงสนามรบกุมภกรรณจึงสั่ง
  ให้พลช้างม้ารถและยักษ์หยุดเพื่อดูท่าทีศตรูอยู่ริมเชิงเขา
                                           ั
ฝ่ายพระรามประทับอยู่หน้าพลับพลาพร้อมหนุมาน ได้ยิน
 เสียงอึกทึกจึงถามพิเภกว่าผู้ใดยกทัพมา พิเภกจึงทูลว่าเป็น
 ทัพของกุมภกรรณ พี่ชายแท้ๆของพิเภก ผู้เป็นที่รู้กันว่าตั้ง
 มั่นในธรรม แต่ที่คราวนี้จำาต้องออกศึกเพราะขัดทศกัณฐ์ไม่
 ได้ และได้ขอให้พระรามไว้ชีวิตกุมภกรรณ เมื่อพระรามได้
  ฟังจึงปรานีไม่คิดสังหาร แต่สั่งพิเภกไปห้ามกุมภกรรณให้
  ยกทัพกลับไปเสีย โดยหากยอมตกลงเมื่อสงครามจบจะยก
                      ให้ครองกรุงลงกา
พิเภกได้รับสั่งดังนั้นจึงรีบกลับไปแจ้งข่าวแก่กุมภกรรณ เมื่อ
  เห็นราชรถของกุมภกรรณที่ตั้งอยู่ท่ามกลางกองทัพแล้ว ก็
   หวั่นใจกลัว แต่ก็เดินเข้าไปหากุมภกรรณ เมื่อกุมภกรรณ
  เห็นพิเภกก็โกรธแค้นแล้วตะโกนว่าด่าทอ พิเภทจึงทูลกลับ
 ไปว่าตนนั้นไม่ได้ติดจะตัดขาดญาติมิตรแต่อย่างใด ที่มาใน
     วันนี้ก็เพราะพระรามสั่งให้มาแจ้งว่าให้กุมภกรรณนั้น
                        ถอยทัพออกไป
 เมื่อได้ยินดังนั้นกุมภกรรณจึงต่อว่าพิเภก เพราะพิเภกได้
  บอกว่า ถ้ากุมภกรรณยอมถอยทัพ เสร็จศึกลงกาแล้วจะให้
   กุมภกรรณครองกรุงลงกา แต่กุมภกรรณไม่ยอมเชื่อ แล้ว
 ย้อนพิเภกว่า พระรามยกกรุงลงกาให้พิเภกแล้วจะมายกให้
    ตนได้อย่างไร เป็นการกล่าวกระทบกระเทียบว่าพิเภกรู้
 ไม่ทันคนและพระรามพูดไม่จริง กุมภกรรณได้ทิ้งปริศนาไว้
 ว่า 'คือ ชีโ ฉดหญิง โหดมารยา ช้า งงารีช ายทรชน ' ชี
  โฉดคือนักบวชที่ไม่มีไหวพริบ หมายถึงพระราม หญิงโหด
 มารยาคือหญิงที่เลวทรามและมีเล่ห์เหลียม หมายถึงนางสำา
                                        ่
 มนักขา ช้างงารีคือผู้ที่เกะกะระราน หมายถึงทศกัณฐ์ ชาย
  ทรชนคือคนชั่ว คนอกตัญญู หมายถึงพิเภก กุมภกรรณได้
ทศกัณฐ์
1. อารมณ์ร ุน เเรง ทั้ง รัก มาก เเละ
  โกรธมาก
    จากหน้า 3 ตอนที่ 2 เมื่อกุมภกรรณ
  หว่านล้อมให้คืนนางสีดาเเก่พระราม
       "...ได้ฟังกริ้วโกรธดั่งเพลิงกัลป์ ขบ
  ฟันกระทืบบาทา เหวยอ้ายอัปปรีย์ไม่มี
  อาย กลัวตายกระไรหนักหนา..."
           "...ความโกรธมลายหายสิ้น อสุริ
  นทร์เเสนโสมนัสสา สวมสอดกอดองค์พระ
  น้องยา ลูบหลังลูบหน้าเเล้วตรัสไป...“
2. รัก ญาติพ ี่น ้อ ง
    จากหน้า 1 ทศกัณฐ์ทราบข่าวไมยราพ
            “…ชลนาคลอเนตรหลังไหล ยิ่ง
                                   ่
กุมภกรรณ
1. มีค ุณ ธรรมคือ ไม่ม ีอ คติ
       จากหน้าที่ 3 ตอนที่ 1 ต่อว่านางสำามนักขาที่เป็นน้อง
  สาวแท้ของตน
       "...อันน้องของเรานี้หนักนัก ทรลักษณ์เกี้ยวชายให้
  ขายหน้า ชั่วชาติกว่าหญิงทั้งโลกา..."
2. รัก ศัก ดิ์ศ รี
       จากหน้าที่ 3 ตอนที่กุมภกรรณกล่าวหลังจากถูกทศ
  กัณฐ์กล่าวดูหมิ่น
       "...ข้านี้ทัดทานด้วยสุจริต จะเกรงปัจจามิตรนั้น
  หาไม่..."
3. กตัญ ญู และจงรัก ภัก ดี
     จากหน้าที่3 ตอนที่3
     “…เมื่อว่าพระองค์ไม่เห็นด้วย จะสู้ม้วยมิให้เคือง
พิเภก
1. มีค วามห่ว งใยพี่น ้อ ง
  จากหน้า5 พิเภกขอให้พระรามไว้ชิวิ
  ตกุมภกรรณ
    “…พระองค์ผู้ทรงภพไตร จงไว้ชีวิต
  อสุรี…”
  จากหน้า 6 พิเภกมาแจ้งข่าวแก่กุมภ
  กรรณ
    “…อันตัวข้านี้จงรัก ภักดีต่อองค์พระ
  เชษฐา ใช่จะตัดขาดญาติกา ความรัก
  วงศาดั่งชีวิต…”
พระราม
1. มีจ ิต ใจเมตตา
  จากหน้า5 พิเภทขอให้พระรามไว้ชวิตกุมภกรรณ
                                    ิ
    “…ได้ฟังก็คิดปราณี จึ่งมีพระราชบัญชา…”
2. มีค ุณ ธรรม
  จากหน้า 5 พิเภกขอให้พระรามไว้ชิวิตกุมภกรรณ
    “…ซึ่งว่ากุมภกรรณยักษา ตั้งอยู่ในทศธรรมา
      มิได้เบียดเบียนโลกาให้เดือดร้อน ไม่ควรที่เราจะ
  สังหาร…”
สนามรบ มีเสียงดังอึกทึกกึกก้อง
  “…พอได้ยินสำาเนียงโห่ร้อง กึกก้องสะเทือนเลื่อนลัน…”
                                                  ่
พระโรงคัล หมายถึง ท้องพระโรงสำาหรับเฝ้าพระมหา
 กษัตริย์(ไม่มีการบรรยายบรรยากาศ)
ทศกัณ ฐ์ และ กุม ภกรรณ
  1. ทศกัณฐ์สั่งให้กุมภกรรณ
    ไปรบกับพระรามแต่กุมภ
  กรรณไม่เห็นด้วยความรู้สึก
  ของกุมภกรรณ จึงไม่ตรงกับ
   ความต้องการของทศกัณฐ์
  2. กุมภกรรณต้องตัดสินใจ
  ระหว่าง ศีลธรรม เเละ ความ
 กตัญญูต่อทศกัณฐ์ กุมภกรรณ
   ไปออกรบทั้งๆที่ไม่เห็นด้วย
  แต่ก็ยอมทำาเพราะยึดมั่นใน
    ความจงรักภักดีมากกว่า
     คุณธรรม ความถูกต้อง
อุปมา
หน้า ที่ 3 ตอนที่ 2 เมื่อ ทศกัณ ฐ์ไ ด้ฟ ง คำา กุม ภกรรณจึง
                                         ั
 เกิด บัน ดาลโทสะ
     “...เมื่อนั้น ทศเศียรสุริยวงศ์รังสรรค์ ได้ฟังกริ้วโกรธดัง
 เพลิงกัลป์...”
      **เปรียบเทียบความรุนเเรงว่าโกรธราวกับไฟไหม้ในอก
หน้า ที่ 3 ตอนที่ 2 เมือ ทศกัณ ฐ์ก ล่า วดูห มิ่น กุม ภกรรณ
 ว่า กลัว ตาย
      “...ดั่งเนื้อได้กลินพยัคฆา เหมือนกาตาเเววเห็นธนู...”
                         ่
        **เปรียบเทียบอาการหวาดกลัวข้าศึกของกุมภกรรณว่า
 เหมือน เนื้อได้กลิ่นเสือ เเละกาที่เห็นลูกธนู
หน้า ที่ 3 ตอนที่ 3 เมื่อ กุม ภกรรณเเสดงอาการตกใจที่
 ทศกัณ ฐ์ต ่อ ว่า ดูห มิ่น
      “...เมื่อนั้น พระยากุมภกรรณยักษา ตกไปเพียงสิ้นชีวา
 นบนิ้ววันทาเเล้วทูลไป...”
      **เปรียบเทียบ ความตกใจของกุมภกรรณว่าตกใจมาก
 จน เเทบสติเสียชีวิต
หน้า ที่ 3 ตอนที่ 4 เมื่อ ทศกัณ ฐ์เ กิด ปิต ิ
        “...ฟังพระอนุชาชัยชาญ ดั่งได้วิมานในเมืองฟ้า...”
        **เปรียบเทียบความปลื้มปิติของทศกัณฐ์ว่ามากราวกับ
 ได้วิมานในเเดนสวรรค์
หน้า ที่ 4 ตอนที่5 กุม ภกรรณแต่ง ตัว เตรีย มออกรบ
        “…งามสง่าดั่งท้าวเวสสุวรรณ จรจรัลไปขึ้นพิชัยรถ…”
     **เปรียบเทียบกุมภกรรณที่งามสง่าราวกับท้าวเวส
 สุวรรณ
นามนัย
หน้า ที่ 7 ตอนที่ 1 กุม ภกรรณคิด ปริศ นาให้พ ระราม
 แก้
 “…คือชีโฉดหญิงโหดมารยา ช้างงารีชายทรชน…”
   ** ชีโฉดคือนักบวชที่ไม่มีไหวพริบ หมายถึงพระราม
    หญิงโหดมารยาคือหญิงที่เลวทรามและมีเล่ห์เหลี่ยม
    หมายถึงนางสำามนักขา ช้างงารีคือผู้ที่เกะกะระราน
    หมายถึงทศกัณฐ์ ชายทรชนคือคนชั่ว คนอกตัญญู
                      หมายถึงพิเภก
หน้า ที่ 3 ตอนที่ 2 ทศกัณ ฐ์ก ล่า วดูห มิ่น กุม ภกรรณ
   "...ยังไม่ทันเห็นธงชัย เเต่ได้ข่าวศึกก็ทรุดอยู่..."
   **โดยยก ธงชัย เเทนความหมายของ ข้าศึก หรือ
 กองทัพฝ่ายศัตรู
นาฎการ
หน้า 1 ทศกัณ ฑ์ท ราบข่า วไมยราพ
            “...ชลนาคลอเนตรหลั่ง ไหล ยิ่งคิดยิ่งแค้น
 แสนอาลัย สะอื้น ให้ค รำ่า ครวญถึง หลานรัก …”
หน้า ที่ 3 ตอนที่ 2 ทศกัณ ฐ์เ เสดงอาการโกรธ
            “...ได้ฟังกริ้วโกรธดั่งเพลิงกัลป์ ขบฟัน
 กระทืบ บาทา...”
หน้า ที่ 3 ตอนที่ 4 ทศกัณ ฐ์เ เสดงความปิต ิต อ กุม ภ
                                                 ่
 กรรณ
            “...อสุริทร์เเสนโสมนัสสา สวมสอดกอดองค์
 พระน้อ งยา ลูบหลังลูบหน้าเเล้วตรัสไป...”
หน้า ที่ 4 ตอนที่ 3 บรรยายการเข้า โจมตีข ้า ศึก
            “...ถ้าโบกตรงจงเข้าให้พร้อมพักตร์ หนุน
 หนัก ฟัน เเทงให้ย ่อ ยยับ ...”
พิโรธวาทัง
  หน้า 3 ตอนที่ 2 เเสดงความโกรธของทศกัณ ฐ์ท ม ี       ี่
ต่อ กุม ภกรรณ
        “...เหวยอ้ายอัปรีย์ไม่มีอาย กลัวตายอะไรหนัก
หนา...มึงว่ากูชวเเล้วเร่งไป เข้าพวกไพรีกับน้องชาย...”
                ั่
หน้า 6 ตอนที่ 3 กุม ภกรรณต่อ ว่า พิเ ภก
      “…เหลือบแลไปเห็นอนุชา โกรธาขบเขี้บวเคี้ยว
ฟัน…”
เสาวรจนี
หน้า 4 ตอนที่ 4 กุม ภกรรณแต่ง ตัว เตรีย มออกรบ
       “…กลิ่นตรลบอบอาเสาวคนธ์ หอมฟุ้งปรุงปรนสุมา
 มาลย์…”
หน้า 4 ตอนที่ 5 ชมคสามงามของราชรถ
       “…เรือนแปรกแอกงอนอ่อนชด ขั้นลดช่องตั้ง
 บัลลังก์ทอง…”
สัลลาปังคพิสัย
หน้า ที่ 1 ตอนที่ 1 ทศกัณ ฑ์ท ราบข่า วไมยราพ
 “… ฟังข่าวเร่าร้อนดั่งเพลิงกาล พระยามารสลดระทดใจ
 ความรักความเสียดายนั้นหนักหนา ชลนาคลอเนตรหลั่ง
 ไหล ยิ่งคิดยิ่งแค้นแสนอาลัยสะอื้นไห้ครวญครำ่าถึง
 หลานรัก…”                    ไมยราพ
การเล่นคำา
1. ซำ้าคำา
  หน้าที่ 3 ตอนที่ 1
        “...พระองค์เชื่อฟังคำามัน ให้เสียธรรม์เสียสัตย์เสียศรี...”
        **เน้นว่าที่ทศกัณฐ์ไปลักพาตัวนางสีดาทำาให้เกิดเเต่ผลเสีย
 ทั้งเสีย ธรรมะ เเละศักดิ์ศรี

   หน้า 3 ตอนที่ 4
       “...สวมสอดกอดองค์พระน้องยา ลูบหลังลูบหน้าเเล้วตรัส
 ไป...”
      **เน้นการกระทำา ว่าลูบทั้งหลังเเละหน้าของกุมภกรรณ
หน้าที่ 4 ตอนที่ 3
     “...โบกเข้าเบื้องซ้ายให้ซ้ายตี ที่โบกเข้าขวาให้ขวา
 หัก...”
     **เน้นว่าเมื่อโบกเเล้วจะเกิดผลอย่างไร เช่น โบกเข้า
 ทางซ้ายใหทัพซ้ายเข้ารบ
2. การเล่นคำาเชิงถาม
 หน้าที่ 3 ตอนที่ 4
        “...ทำาไมกับมนุษย์วานร ฤๅจะรอต่อกรกับเจ้าได้...”
     **บอกว่ากุมภกรรณมีฤทธิมากไม่จำาเป็นต้องกลัว
 หนุมาน
การเล่นเสียง
1. เล่นเสียงพยัญชนะ+วรรณยุกต์
หน้า 3 ตอนที่ 1
       “...น้องของเรานี้หนักนัก ทรลักษณ์เกี้ยวชายให้ขาย
 หน้า..”
       **น้อง-หนัก-นัก ,หนัก-นัก
2. เล่นเสียงพยัญชนะ
หน้า 3 ตอนที่ 2
        “...ได้ฟังกริ้วโกรธดั่งเพลิงกัลป์ ขบฟันกระทืบ
  บาทา...”
        **กริ้ว-โกรธ-กระ
        “...เหวยอ้ายอัปรีย์ไม่มีอาย กลัวตายกระไรหนัก
  หนา...”
        **อ้าย-อั(ปรีย์)-อาย
 
หน้า 3 ตอนที่ 3
        “...คิดว่าจะระงับดับภัย มิให้รณรงค์ราวี...”
        **ระ-รณ-รงค์-รา(วี)
        “...ก็จะยกโยธาไปต่อตี ตามมีพระราชโองการ...”
        **ยก-โย(ธา), ต่อ-ตี
 
หน้า 3 ตอนที่ 4
    “...ฟังพระอนุชาชัยชาญ ดั่งได้วิมานในเมืองฟ้า...”
     **(อนุ)ชา-ชัย-ชาญ
     “...ความโกรธก็หายมลายสิ้น อสุรินทร์เเสนโสมนัสสา...”
      **สุ-เเสน-โสม-สา

หน้า 4 ตอนที่ 4
     “…ชายแครงเครือหงส์อลงการ แก้วประพาฬเกราะ
 เกล็ดเพชรพราย…”
      **แครง-เครือ, หงส์-อลง, แก้ว-เกราะ, พาฬ-เพชร-
 พราย

หน้า 5 ตอนที่ 2
       “…พอได้ยินสำาเนียงโห่ร้อง กึกก้องสะเทือนเลือน
                                                  ่
 ลั่น…”
       **กึก-ก้อง, เทือน-เลื่อน, เลื่อน-ลั่น
3. เล่นเสียงสระ
หน้าที่ 4ตอนที่ 5
 “…เรือนแปรกแอกงอนอ่อนชด ขั้นลดช่องตั้งบัลลังก์
 ทอง…”
    **แปลก-แอก
หน้าที่ 4 ตอนที่ 4
 “…รัดอกฉลององค์ทรงประพาส แสงตาดเลื่อมศรีมณี
 ฉาย…”
    **องค์-ทรง, ศรี-มณี
4. คำาพ้องเสียง
หน้าที่ 6 ตอนที่ 4
 “…ว่าทศเศียรอสุรี ไปลักพระลักษมีแจ่มจันทร์…”
    **ลัก-ลักษ(มี)
กวีม ีค วามสามารถในการถ่า ยทอดอารมณ์ค วาม
    รู้ส ึก ของตัว ละครได้เ ป็น อย่า งดี โดยใช้โ วหาร
  ภาพพจน์โ ดยเฉพาะอย่า งยิ่ง อุป มาในการเปรีย บ
เทีย บความรู้ส ึก นั้น ๆและนาฏการในการแสดงท่า ทาง
การเคลื่อ นไหว ทำา ให้เ กิด ภาพและสื่อ ถึง อารมณ์ข อง
                   ตัว ละครนั้น ๆได้ส มจริง เช่น
         เมื่อนั้น                             ทศเศียรผู้ปรีชา
                                หาญ
          ฟังข่าวเร่าร้อนดั่งเพลิงกาล
                       พระยามารสลดระทดใจ
    ความรักความเสียดายนั้นหนักหนา                        ชลนา
                         คลอเนตรหลั่งไหล
     ยิ่งคิดยิ่งแค้นแสนอาลัย                   สะอื้นไห้ครวญ
                          ครำ่าถึงหลานรัก
 บทนี้แสดงถึงความรู้สึกของทศกัณฐ์หลังจากทราบข่าวการ
                         ตายของไมยราพ
 เมื่อ ทราบข่า วอารมณ์แ รกในใจคือ ความโกรธ โดย
จากตอนนี้ทำาให้ได้ข้อคิดว่า คุณธรรม 2 ข้อสำาคัญของ
 กุมภกรรณคือ ไม่อคติ เเละกตัญญู ซึ่งเป็นคุณธรรมที่ดี
เเต่ต้องตั้งอยู่บน หลักศีลธรรม จะต้องเลือกที่จะกตัญญู
                    ต่อผู้มีศลมีธรรม
                             ี
• การจัดทัพในสมัยก่อน การเมืองการปกครองสมัยก่อนที่
 เคารพบูชา
กษัตรย์ รวมถึงค่านิยมการจงรักภักดี
   จากคำา ประพัน ธ์ใ นหลายๆตอนจะเห็น ได้ว ่า ทศ
 กัณ ฐ์ม ัก จะให้เ ครือ ญาติช ่ว ยในการทำา ศึก
 มากกว่า จะให้ท หารของตนรบเอง เห็น ได้ว ่า ทศ
 กัณ ฐ์ไ ว้ว างใจญาติข องตนมากกว่า ดัง นัน จะเห็น ้
 สัง คมเครือ ญาติเ ป็น ระบบที่ใ กล้ช ิด และสำา คัญ มาก
 เมื่อ เป็น ญาติก ัน ก็ต ้อ งช่ว ยเหลือ ซึ่ง กัน และกัน
จัดทำาโดย
น.ส.กรรวี ชยาบูรณ์ เลขที่ 1
น.ส.กฤตกร รังสิพราหมณกุล เลขที่ 2
น.ส.นัตตา เผ่าจินดามุข เลขที่ 14
น.ส.วราทิพย์ เตชะเศรษฐ์ เลขที่ 26
น.ส.อภิชญา เตชะจิรสิน เลขที่ 32
          ห้อ ง 657

More Related Content

What's hot

แผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธาแผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธาG ''Pamiiz Porpam
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์bambookruble
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดTong Thitiphong
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
หน่วยที่ 1 ใจหาย
หน่วยที่ 1 ใจหายหน่วยที่ 1 ใจหาย
หน่วยที่ 1 ใจหายSutimon Onsuratoom
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
คำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองคำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองโอ๋ อโนทัย
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5SAM RANGSAM
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชChoengchai Rattanachai
 

What's hot (20)

แผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธาแผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธา
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
หน่วยที่ 1 ใจหาย
หน่วยที่ 1 ใจหายหน่วยที่ 1 ใจหาย
หน่วยที่ 1 ใจหาย
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
คำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองคำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทอง
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 

Similar to พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)

ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายkrunoree.wordpress.com
 
23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf
23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf
23 โสมนัสสจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
33 สุตโสมจริยา มจร.pdf
33 สุตโสมจริยา มจร.pdf33 สุตโสมจริยา มจร.pdf
33 สุตโสมจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณีนิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณีKritsadaporn Chamseang
 
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณีนิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณีKritsadaporn Chamseang
 
สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1Sirisak Promtip
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
งานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครงานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครbambookruble
 
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์Parit_Blue
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาChinnakorn Pawannay
 

Similar to พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1) (18)

ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
 
23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf
23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf
23 โสมนัสสจริยา มจร.pdf
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
33 สุตโสมจริยา มจร.pdf
33 สุตโสมจริยา มจร.pdf33 สุตโสมจริยา มจร.pdf
33 สุตโสมจริยา มจร.pdf
 
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณีนิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
 
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณีนิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
 
สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ท๊อป
สามัคคีเภทคำฉันท์ท๊อปสามัคคีเภทคำฉันท์ท๊อป
สามัคคีเภทคำฉันท์ท๊อป
 
งานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครงานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละคร
 
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ปสามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
 

พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)

  • 1. การพินจวรรณคดีมรดก ิ เรื่อง รามเกียรติ์ ตอนศึก กุม ภกรรณ กลุ่ม ที่ ๑ หน้า ๑ -๗
  • 2.
  • 4. หลังจากที่หนุมานช่วย พระรามซึ่งถูกจับตัวไปออกมา จากเมืองบาดาลและสังหาร ไมยราพ เจ้าเมืองบาดาลได้ สำาเร็จ เมื่อทศกัณฐ์ทราบข่าวก็ โกรธแค้นเป็นอย่างมาก และ เห็นว่าหากปล่อยไว้ข้าศึกจะ ยิ่งฮึกเฮิม จึงจะจัดทัพใหญ่ ปราบให้สิ้นซาก เมื่อ ใคร่ครวญแล้วทศกัณฐ์จึงเห็น ว่า กุมภกรรณเป็นผู้ที่สมควร จะนำาทัพไปมากที่สุด จึงให้
  • 5. เมื่อกุมภกรรณได้เข้าพบทศกัณฐ์และ ฟังเรื่องราวแล้วก็พยายามหว่านล้อม ให้ทศกัณฐ์คืนนางสีดาซึ่งเป็นชนวน นางสำามนักขา ของสงครามและความขัดแย้งนี้ให้แก่ พระราม แต่ทศกัณฐ์ก็ยืนกรานที่จะ ให้นางสีดาอยู่ที่กรุงลงกาต่อไปและ ปฏิเสธที่จะเป็นมิตรกับฝ่ายพระราม อีกด้วย กุมภกรรณได้ฟังเเล้วได้อธิบาย เหตุผลว่าที่นางสำามนักขาน้องสาว ของตนกับทศกัณฐ์ถูกตัดหู จมูก เเละ มือเป็นเพราะนางเข้าไปเกี้ยวพาราสี พระรามทั้งยังทำาร้ายนาง สีดา ด้วย ความอาฆาตเมื่อนางกลับสู่กรุงลงกา นางจึง ยุยงให้ทศกัณฐ์หลงใหล นางสีดาเเละไปลักพาตัวนาง เกิดผล เลวร้ายสองประการคือทศกัณฐ์ทำาผิด ศีลธรรมอันดี เเละชักนำาศึกสงครามสู่
  • 6. เเต่เเม้ว่ากุมภกรรณหวังให้ทศกัณฐ์หลีกเลียงสงคราม ่ โดยคืนนางสีดาเเก่พระรามด้วยเหตุผลต่างๆ ทศกัณฐ์ กลับบันดาลโทสะ เเละดูหมิ่นว่ากุมภกรรณกลัวข้าศึกไม่ อยากไปสู้รบ ทั้งยังกล่าวประชดประชันให้กมภกรรณไป ุ เข้าสวามิภักดิ์กับพระรามเช่นเดียวกับพิเภกเเละทิ้งทศ กัณฐ์ให้รบเเต่ลำาพัง
  • 7. กุมภกรรณตกใจเป็นอย่างมาก เพราะกุมภกรรณรักเเละ เคารพทศกัณฐ์จึงกล่าวด้วยหวังหลีกเลี่ยงความสูญเสีย เเต่ เมื่อไม่สำาเร็จ กุมภกรรณจึงตัดสินใจเลือกที่จะกตัญญูต่อทศ กัณฐ์เเละขอออกศึกจนตัวตาย ทำาให้ทศกัณฐ์เกิดความปิติ เป็นอย่างมากเข้าสวมกอดกุมภกรรณและกล่าวให้พรให้ได้ รับชัยชนะ เเล้วจึงสั่งให้มโหทร ซึ่งเป็นยักษ์เสนาบดีพี่เลี้ยง ของทศกัณฐ์สั่งจัดทัพ โดยทัพหน้ามีทั้งหมด 21 กอง กุมกร รณเป็นเเม่ทัพเเบ่งทัพเป็นฝั่งซ้ายขวา มีธงสัญญาณสำาหรับ สั่ง ได้เเก่ ธงสีเขียวสำาหรับทัพซ้าย ธงสีเเดงสามชายสำาหรับ ทัพขวา เเละธงสีทองอยู่กลางทัพ โดยเมื่อกุมภกรรณสั่งทัพ ซ้ายบุกข้าศึก จะโบกธงสีเขียวเข้าทางซ้าย สั่งทัพขวาบุก จะโบกธงสีเเดงเข้าทางขวา หากโบกไปข้างหน้าตรงๆหมาย ถึงเข้าโจมตีพร้อมกันทั้งสองฝั่งเช่นเดียวกับการถอย เเต่ สัญญาณจะโบกออกเเทนการโบกเข้าไปด้านหน้า  
  • 8. เมื่อกุมภกรรณรับคำาสั่งจากทศกัณฐ์แล้วก็กลับไปยังตำาหนัก ของตนเพื่อไปอาบนำ้าชำาระกาย กุมภกรรณได้พรมนำ้าหอม จนกลินดอกไม้ฟุ้งไปทั่ว ต่อจากนั้นก็สวมเข็มขัดและเสื้อผ้า ่ ประดับด้วยพลอยนานาชนิด รวมถึงที่รัดแขนที่สลักลวดลาย อย่างงดงาม และสวมแหวนรูปครุฑก่อนที่จะหยิบอาวุธขึ้น มา ในตอนนี้กุมภกรรณดูสง่าราวกับท้าวเวสสุวรรณ พร้อม ที่จะนำาทัพไปรบข้าศึกแล้วจึงเดินขึ้นราชรถไปทำาศึก สงคราม ราชรถของทัพกุมภกรรณมีความงดงามมาก คนขับมีความ ชำานาญการรบและสันทัดในการใช้อาวุธ ในขบวนประกอบ ด้วยฉัตรอภิรุมและธงชัยนำาทัพ เหล่าทหารในทัพหนาแน่น เบียดเสียด เสียงฆ้องกลองและเสียงโห่ร้องดังกึกก้อง ก่อน พากันยกทัพเข้ากรุงลงกา เมื่อถึงสนามรบกุมภกรรณจึงสั่ง ให้พลช้างม้ารถและยักษ์หยุดเพื่อดูท่าทีศตรูอยู่ริมเชิงเขา ั
  • 9. ฝ่ายพระรามประทับอยู่หน้าพลับพลาพร้อมหนุมาน ได้ยิน เสียงอึกทึกจึงถามพิเภกว่าผู้ใดยกทัพมา พิเภกจึงทูลว่าเป็น ทัพของกุมภกรรณ พี่ชายแท้ๆของพิเภก ผู้เป็นที่รู้กันว่าตั้ง มั่นในธรรม แต่ที่คราวนี้จำาต้องออกศึกเพราะขัดทศกัณฐ์ไม่ ได้ และได้ขอให้พระรามไว้ชีวิตกุมภกรรณ เมื่อพระรามได้ ฟังจึงปรานีไม่คิดสังหาร แต่สั่งพิเภกไปห้ามกุมภกรรณให้ ยกทัพกลับไปเสีย โดยหากยอมตกลงเมื่อสงครามจบจะยก ให้ครองกรุงลงกา
  • 10. พิเภกได้รับสั่งดังนั้นจึงรีบกลับไปแจ้งข่าวแก่กุมภกรรณ เมื่อ เห็นราชรถของกุมภกรรณที่ตั้งอยู่ท่ามกลางกองทัพแล้ว ก็ หวั่นใจกลัว แต่ก็เดินเข้าไปหากุมภกรรณ เมื่อกุมภกรรณ เห็นพิเภกก็โกรธแค้นแล้วตะโกนว่าด่าทอ พิเภทจึงทูลกลับ ไปว่าตนนั้นไม่ได้ติดจะตัดขาดญาติมิตรแต่อย่างใด ที่มาใน วันนี้ก็เพราะพระรามสั่งให้มาแจ้งว่าให้กุมภกรรณนั้น ถอยทัพออกไป เมื่อได้ยินดังนั้นกุมภกรรณจึงต่อว่าพิเภก เพราะพิเภกได้ บอกว่า ถ้ากุมภกรรณยอมถอยทัพ เสร็จศึกลงกาแล้วจะให้ กุมภกรรณครองกรุงลงกา แต่กุมภกรรณไม่ยอมเชื่อ แล้ว ย้อนพิเภกว่า พระรามยกกรุงลงกาให้พิเภกแล้วจะมายกให้ ตนได้อย่างไร เป็นการกล่าวกระทบกระเทียบว่าพิเภกรู้ ไม่ทันคนและพระรามพูดไม่จริง กุมภกรรณได้ทิ้งปริศนาไว้ ว่า 'คือ ชีโ ฉดหญิง โหดมารยา ช้า งงารีช ายทรชน ' ชี โฉดคือนักบวชที่ไม่มีไหวพริบ หมายถึงพระราม หญิงโหด มารยาคือหญิงที่เลวทรามและมีเล่ห์เหลียม หมายถึงนางสำา ่ มนักขา ช้างงารีคือผู้ที่เกะกะระราน หมายถึงทศกัณฐ์ ชาย ทรชนคือคนชั่ว คนอกตัญญู หมายถึงพิเภก กุมภกรรณได้
  • 11.
  • 12. ทศกัณฐ์ 1. อารมณ์ร ุน เเรง ทั้ง รัก มาก เเละ โกรธมาก จากหน้า 3 ตอนที่ 2 เมื่อกุมภกรรณ หว่านล้อมให้คืนนางสีดาเเก่พระราม "...ได้ฟังกริ้วโกรธดั่งเพลิงกัลป์ ขบ ฟันกระทืบบาทา เหวยอ้ายอัปปรีย์ไม่มี อาย กลัวตายกระไรหนักหนา..." "...ความโกรธมลายหายสิ้น อสุริ นทร์เเสนโสมนัสสา สวมสอดกอดองค์พระ น้องยา ลูบหลังลูบหน้าเเล้วตรัสไป...“ 2. รัก ญาติพ ี่น ้อ ง จากหน้า 1 ทศกัณฐ์ทราบข่าวไมยราพ “…ชลนาคลอเนตรหลังไหล ยิ่ง ่
  • 13. กุมภกรรณ 1. มีค ุณ ธรรมคือ ไม่ม ีอ คติ จากหน้าที่ 3 ตอนที่ 1 ต่อว่านางสำามนักขาที่เป็นน้อง สาวแท้ของตน "...อันน้องของเรานี้หนักนัก ทรลักษณ์เกี้ยวชายให้ ขายหน้า ชั่วชาติกว่าหญิงทั้งโลกา..." 2. รัก ศัก ดิ์ศ รี จากหน้าที่ 3 ตอนที่กุมภกรรณกล่าวหลังจากถูกทศ กัณฐ์กล่าวดูหมิ่น "...ข้านี้ทัดทานด้วยสุจริต จะเกรงปัจจามิตรนั้น หาไม่..." 3. กตัญ ญู และจงรัก ภัก ดี จากหน้าที่3 ตอนที่3 “…เมื่อว่าพระองค์ไม่เห็นด้วย จะสู้ม้วยมิให้เคือง
  • 14. พิเภก 1. มีค วามห่ว งใยพี่น ้อ ง จากหน้า5 พิเภกขอให้พระรามไว้ชิวิ ตกุมภกรรณ “…พระองค์ผู้ทรงภพไตร จงไว้ชีวิต อสุรี…” จากหน้า 6 พิเภกมาแจ้งข่าวแก่กุมภ กรรณ “…อันตัวข้านี้จงรัก ภักดีต่อองค์พระ เชษฐา ใช่จะตัดขาดญาติกา ความรัก วงศาดั่งชีวิต…”
  • 15. พระราม 1. มีจ ิต ใจเมตตา จากหน้า5 พิเภทขอให้พระรามไว้ชวิตกุมภกรรณ ิ “…ได้ฟังก็คิดปราณี จึ่งมีพระราชบัญชา…” 2. มีค ุณ ธรรม จากหน้า 5 พิเภกขอให้พระรามไว้ชิวิตกุมภกรรณ “…ซึ่งว่ากุมภกรรณยักษา ตั้งอยู่ในทศธรรมา มิได้เบียดเบียนโลกาให้เดือดร้อน ไม่ควรที่เราจะ สังหาร…”
  • 16. สนามรบ มีเสียงดังอึกทึกกึกก้อง “…พอได้ยินสำาเนียงโห่ร้อง กึกก้องสะเทือนเลื่อนลัน…” ่ พระโรงคัล หมายถึง ท้องพระโรงสำาหรับเฝ้าพระมหา กษัตริย์(ไม่มีการบรรยายบรรยากาศ)
  • 17. ทศกัณ ฐ์ และ กุม ภกรรณ 1. ทศกัณฐ์สั่งให้กุมภกรรณ ไปรบกับพระรามแต่กุมภ กรรณไม่เห็นด้วยความรู้สึก ของกุมภกรรณ จึงไม่ตรงกับ ความต้องการของทศกัณฐ์ 2. กุมภกรรณต้องตัดสินใจ ระหว่าง ศีลธรรม เเละ ความ กตัญญูต่อทศกัณฐ์ กุมภกรรณ ไปออกรบทั้งๆที่ไม่เห็นด้วย แต่ก็ยอมทำาเพราะยึดมั่นใน ความจงรักภักดีมากกว่า คุณธรรม ความถูกต้อง
  • 18.
  • 19. อุปมา หน้า ที่ 3 ตอนที่ 2 เมื่อ ทศกัณ ฐ์ไ ด้ฟ ง คำา กุม ภกรรณจึง ั เกิด บัน ดาลโทสะ “...เมื่อนั้น ทศเศียรสุริยวงศ์รังสรรค์ ได้ฟังกริ้วโกรธดัง เพลิงกัลป์...” **เปรียบเทียบความรุนเเรงว่าโกรธราวกับไฟไหม้ในอก หน้า ที่ 3 ตอนที่ 2 เมือ ทศกัณ ฐ์ก ล่า วดูห มิ่น กุม ภกรรณ ว่า กลัว ตาย “...ดั่งเนื้อได้กลินพยัคฆา เหมือนกาตาเเววเห็นธนู...” ่ **เปรียบเทียบอาการหวาดกลัวข้าศึกของกุมภกรรณว่า เหมือน เนื้อได้กลิ่นเสือ เเละกาที่เห็นลูกธนู
  • 20. หน้า ที่ 3 ตอนที่ 3 เมื่อ กุม ภกรรณเเสดงอาการตกใจที่ ทศกัณ ฐ์ต ่อ ว่า ดูห มิ่น “...เมื่อนั้น พระยากุมภกรรณยักษา ตกไปเพียงสิ้นชีวา นบนิ้ววันทาเเล้วทูลไป...” **เปรียบเทียบ ความตกใจของกุมภกรรณว่าตกใจมาก จน เเทบสติเสียชีวิต หน้า ที่ 3 ตอนที่ 4 เมื่อ ทศกัณ ฐ์เ กิด ปิต ิ “...ฟังพระอนุชาชัยชาญ ดั่งได้วิมานในเมืองฟ้า...” **เปรียบเทียบความปลื้มปิติของทศกัณฐ์ว่ามากราวกับ ได้วิมานในเเดนสวรรค์ หน้า ที่ 4 ตอนที่5 กุม ภกรรณแต่ง ตัว เตรีย มออกรบ “…งามสง่าดั่งท้าวเวสสุวรรณ จรจรัลไปขึ้นพิชัยรถ…” **เปรียบเทียบกุมภกรรณที่งามสง่าราวกับท้าวเวส สุวรรณ
  • 21. นามนัย หน้า ที่ 7 ตอนที่ 1 กุม ภกรรณคิด ปริศ นาให้พ ระราม แก้ “…คือชีโฉดหญิงโหดมารยา ช้างงารีชายทรชน…” ** ชีโฉดคือนักบวชที่ไม่มีไหวพริบ หมายถึงพระราม หญิงโหดมารยาคือหญิงที่เลวทรามและมีเล่ห์เหลี่ยม หมายถึงนางสำามนักขา ช้างงารีคือผู้ที่เกะกะระราน หมายถึงทศกัณฐ์ ชายทรชนคือคนชั่ว คนอกตัญญู หมายถึงพิเภก หน้า ที่ 3 ตอนที่ 2 ทศกัณ ฐ์ก ล่า วดูห มิ่น กุม ภกรรณ "...ยังไม่ทันเห็นธงชัย เเต่ได้ข่าวศึกก็ทรุดอยู่..." **โดยยก ธงชัย เเทนความหมายของ ข้าศึก หรือ กองทัพฝ่ายศัตรู
  • 22. นาฎการ หน้า 1 ทศกัณ ฑ์ท ราบข่า วไมยราพ “...ชลนาคลอเนตรหลั่ง ไหล ยิ่งคิดยิ่งแค้น แสนอาลัย สะอื้น ให้ค รำ่า ครวญถึง หลานรัก …” หน้า ที่ 3 ตอนที่ 2 ทศกัณ ฐ์เ เสดงอาการโกรธ “...ได้ฟังกริ้วโกรธดั่งเพลิงกัลป์ ขบฟัน กระทืบ บาทา...” หน้า ที่ 3 ตอนที่ 4 ทศกัณ ฐ์เ เสดงความปิต ิต อ กุม ภ ่ กรรณ “...อสุริทร์เเสนโสมนัสสา สวมสอดกอดองค์ พระน้อ งยา ลูบหลังลูบหน้าเเล้วตรัสไป...” หน้า ที่ 4 ตอนที่ 3 บรรยายการเข้า โจมตีข ้า ศึก “...ถ้าโบกตรงจงเข้าให้พร้อมพักตร์ หนุน หนัก ฟัน เเทงให้ย ่อ ยยับ ...”
  • 23. พิโรธวาทัง หน้า 3 ตอนที่ 2 เเสดงความโกรธของทศกัณ ฐ์ท ม ี ี่ ต่อ กุม ภกรรณ “...เหวยอ้ายอัปรีย์ไม่มีอาย กลัวตายอะไรหนัก หนา...มึงว่ากูชวเเล้วเร่งไป เข้าพวกไพรีกับน้องชาย...” ั่ หน้า 6 ตอนที่ 3 กุม ภกรรณต่อ ว่า พิเ ภก “…เหลือบแลไปเห็นอนุชา โกรธาขบเขี้บวเคี้ยว ฟัน…”
  • 24. เสาวรจนี หน้า 4 ตอนที่ 4 กุม ภกรรณแต่ง ตัว เตรีย มออกรบ “…กลิ่นตรลบอบอาเสาวคนธ์ หอมฟุ้งปรุงปรนสุมา มาลย์…” หน้า 4 ตอนที่ 5 ชมคสามงามของราชรถ “…เรือนแปรกแอกงอนอ่อนชด ขั้นลดช่องตั้ง บัลลังก์ทอง…”
  • 25. สัลลาปังคพิสัย หน้า ที่ 1 ตอนที่ 1 ทศกัณ ฑ์ท ราบข่า วไมยราพ “… ฟังข่าวเร่าร้อนดั่งเพลิงกาล พระยามารสลดระทดใจ ความรักความเสียดายนั้นหนักหนา ชลนาคลอเนตรหลั่ง ไหล ยิ่งคิดยิ่งแค้นแสนอาลัยสะอื้นไห้ครวญครำ่าถึง หลานรัก…” ไมยราพ
  • 26. การเล่นคำา 1. ซำ้าคำา หน้าที่ 3 ตอนที่ 1 “...พระองค์เชื่อฟังคำามัน ให้เสียธรรม์เสียสัตย์เสียศรี...” **เน้นว่าที่ทศกัณฐ์ไปลักพาตัวนางสีดาทำาให้เกิดเเต่ผลเสีย ทั้งเสีย ธรรมะ เเละศักดิ์ศรี หน้า 3 ตอนที่ 4 “...สวมสอดกอดองค์พระน้องยา ลูบหลังลูบหน้าเเล้วตรัส ไป...” **เน้นการกระทำา ว่าลูบทั้งหลังเเละหน้าของกุมภกรรณ
  • 27. หน้าที่ 4 ตอนที่ 3 “...โบกเข้าเบื้องซ้ายให้ซ้ายตี ที่โบกเข้าขวาให้ขวา หัก...” **เน้นว่าเมื่อโบกเเล้วจะเกิดผลอย่างไร เช่น โบกเข้า ทางซ้ายใหทัพซ้ายเข้ารบ 2. การเล่นคำาเชิงถาม หน้าที่ 3 ตอนที่ 4 “...ทำาไมกับมนุษย์วานร ฤๅจะรอต่อกรกับเจ้าได้...” **บอกว่ากุมภกรรณมีฤทธิมากไม่จำาเป็นต้องกลัว หนุมาน
  • 28. การเล่นเสียง 1. เล่นเสียงพยัญชนะ+วรรณยุกต์ หน้า 3 ตอนที่ 1 “...น้องของเรานี้หนักนัก ทรลักษณ์เกี้ยวชายให้ขาย หน้า..” **น้อง-หนัก-นัก ,หนัก-นัก
  • 29. 2. เล่นเสียงพยัญชนะ หน้า 3 ตอนที่ 2 “...ได้ฟังกริ้วโกรธดั่งเพลิงกัลป์ ขบฟันกระทืบ บาทา...” **กริ้ว-โกรธ-กระ “...เหวยอ้ายอัปรีย์ไม่มีอาย กลัวตายกระไรหนัก หนา...” **อ้าย-อั(ปรีย์)-อาย   หน้า 3 ตอนที่ 3 “...คิดว่าจะระงับดับภัย มิให้รณรงค์ราวี...” **ระ-รณ-รงค์-รา(วี) “...ก็จะยกโยธาไปต่อตี ตามมีพระราชโองการ...” **ยก-โย(ธา), ต่อ-ตี  
  • 30. หน้า 3 ตอนที่ 4 “...ฟังพระอนุชาชัยชาญ ดั่งได้วิมานในเมืองฟ้า...” **(อนุ)ชา-ชัย-ชาญ “...ความโกรธก็หายมลายสิ้น อสุรินทร์เเสนโสมนัสสา...” **สุ-เเสน-โสม-สา หน้า 4 ตอนที่ 4 “…ชายแครงเครือหงส์อลงการ แก้วประพาฬเกราะ เกล็ดเพชรพราย…” **แครง-เครือ, หงส์-อลง, แก้ว-เกราะ, พาฬ-เพชร- พราย หน้า 5 ตอนที่ 2 “…พอได้ยินสำาเนียงโห่ร้อง กึกก้องสะเทือนเลือน ่ ลั่น…” **กึก-ก้อง, เทือน-เลื่อน, เลื่อน-ลั่น
  • 31. 3. เล่นเสียงสระ หน้าที่ 4ตอนที่ 5 “…เรือนแปรกแอกงอนอ่อนชด ขั้นลดช่องตั้งบัลลังก์ ทอง…” **แปลก-แอก หน้าที่ 4 ตอนที่ 4 “…รัดอกฉลององค์ทรงประพาส แสงตาดเลื่อมศรีมณี ฉาย…” **องค์-ทรง, ศรี-มณี
  • 32. 4. คำาพ้องเสียง หน้าที่ 6 ตอนที่ 4 “…ว่าทศเศียรอสุรี ไปลักพระลักษมีแจ่มจันทร์…” **ลัก-ลักษ(มี)
  • 33.
  • 34. กวีม ีค วามสามารถในการถ่า ยทอดอารมณ์ค วาม รู้ส ึก ของตัว ละครได้เ ป็น อย่า งดี โดยใช้โ วหาร ภาพพจน์โ ดยเฉพาะอย่า งยิ่ง อุป มาในการเปรีย บ เทีย บความรู้ส ึก นั้น ๆและนาฏการในการแสดงท่า ทาง การเคลื่อ นไหว ทำา ให้เ กิด ภาพและสื่อ ถึง อารมณ์ข อง ตัว ละครนั้น ๆได้ส มจริง เช่น เมื่อนั้น ทศเศียรผู้ปรีชา หาญ ฟังข่าวเร่าร้อนดั่งเพลิงกาล พระยามารสลดระทดใจ ความรักความเสียดายนั้นหนักหนา ชลนา คลอเนตรหลั่งไหล ยิ่งคิดยิ่งแค้นแสนอาลัย สะอื้นไห้ครวญ ครำ่าถึงหลานรัก บทนี้แสดงถึงความรู้สึกของทศกัณฐ์หลังจากทราบข่าวการ ตายของไมยราพ เมื่อ ทราบข่า วอารมณ์แ รกในใจคือ ความโกรธ โดย
  • 35. จากตอนนี้ทำาให้ได้ข้อคิดว่า คุณธรรม 2 ข้อสำาคัญของ กุมภกรรณคือ ไม่อคติ เเละกตัญญู ซึ่งเป็นคุณธรรมที่ดี เเต่ต้องตั้งอยู่บน หลักศีลธรรม จะต้องเลือกที่จะกตัญญู ต่อผู้มีศลมีธรรม ี
  • 36. • การจัดทัพในสมัยก่อน การเมืองการปกครองสมัยก่อนที่ เคารพบูชา กษัตรย์ รวมถึงค่านิยมการจงรักภักดี จากคำา ประพัน ธ์ใ นหลายๆตอนจะเห็น ได้ว ่า ทศ กัณ ฐ์ม ัก จะให้เ ครือ ญาติช ่ว ยในการทำา ศึก มากกว่า จะให้ท หารของตนรบเอง เห็น ได้ว ่า ทศ กัณ ฐ์ไ ว้ว างใจญาติข องตนมากกว่า ดัง นัน จะเห็น ้ สัง คมเครือ ญาติเ ป็น ระบบที่ใ กล้ช ิด และสำา คัญ มาก เมื่อ เป็น ญาติก ัน ก็ต ้อ งช่ว ยเหลือ ซึ่ง กัน และกัน
  • 37. จัดทำาโดย น.ส.กรรวี ชยาบูรณ์ เลขที่ 1 น.ส.กฤตกร รังสิพราหมณกุล เลขที่ 2 น.ส.นัตตา เผ่าจินดามุข เลขที่ 14 น.ส.วราทิพย์ เตชะเศรษฐ์ เลขที่ 26 น.ส.อภิชญา เตชะจิรสิน เลขที่ 32 ห้อ ง 657