SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 22
Descargar para leer sin conexión
วิทยาศาสตร ์ ม.3
เครื ่องใช้ไฟฟ้ า
        เครื่ องใช้ ไฟฟา เป็ นเครื่ องอานวยความสะดวกสบาย
                       ้
สามารถเปลี่ยนรู ปพลังงานไฟฟารูปอื่นๆ ตามความต้ องการ
                              ้
เช่ น เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานแสง พลังงานความร้ อน
                         ้
                                ่
พลังงานกล พลังงานเสียง ซึงผู้ใช้ ต้องมีความรู้ จงจะเลือกใช้
                                                ึ
ไฟฟาได้ อย่ างมีคุณค่ า ประหยัดและปลอดภัย
     ้
เครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีให้แสงสว่าง
                       ่
       อุปกรณ์ ทเปลี่ยนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานแสง ได้ แก่
                ่ี                ้
หลอดไฟฟา หลอดฟลูออเรสเซนต์ และหลอดไฟโฆษณา โธมัส
          ้
แอลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison) นักฟิ สิกส์ ชาว
อเมริกันได้ ประดิษฐ์ หลอดไฟฟา ขึ้นเป็ นครั้ งแรกเมื่อ พ.ศ.
                            ้
2422 โดยใช้ คาร์ บอนเส้ นเล็กๆเป็ นไส้ หลอดและต่ อมาได้ มี
การพัฒนาขึ้น จนเป็ นหลอดไฟฟาทีใช้ ในปั จจุบัน
                              ้ ่
หลอดไฟฟา มีส่วนประกอบดังนี ้
                ้
• ไส้หลอด ใช้คาร์ บอนเส้นเล็ก ๆ เป็ นไส้หลอด ซึ่งมีปัญหาคือ ไส้
หลอดขาดง่ายเมือได้รบความร้อน ปั จจุบนไส้หลอดทาด้วยทังสเตน
                  ่ ั                   ั
ซึ่งเป็ นโลหะทีหาง่าย ราคาไม่แพง มี ความต้านทานสูง มี จดหลอด
               ่                                        ุ
เหลวสูงมาก เมื อได้รบความร้อนจึ งไม่ขาดง่าย ลักษณะของไส้
                 ่ ั
หลอด ขดไว้เหมือนสปริ ง
 • หลอดแก้ว ทาจากหลอดแก้วใส ทนความร้อนได้ดี ภายในสูบ
อากาศออกจนหมด แล้วบรรจุแก๊ สไนโตรเจน และอาร์ กอนเพียง
เล็กน้อย
     • ขัวต่อไฟ เป็ นจุดต่อวงจรไฟฟ้ าภายในหลอด
          ้
หลักการทางานของหลอดไฟฟา
                               ้
        การทีหลอด ไฟฟ้ าให้แสงสว่างได้เป็ นไปตามหลักการดังนี ้
              ่
เมื อกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านไส้หลอด ซึ่งมีความต้านทานสูง พลังงาน
    ่
ไฟฟ้ าจะเปลียนเป็ นพลังงานความร้อน ทาให้ไส้หลอดร้อนจัดจน
            ่
เปล่งแสงออกมาได้ ซึ่งมีการเปลียนรูปพลังงานดังนี ้
                              ่

    พลังงานไฟฟา ----> พลังงานความร้อน ----> พลังงานแสง
              ้
เครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีให้ความร้อน
                        ่
           เครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีให้พลังงานความร้อนเป็ นเครื ่องใช้ไฟฟ้ าที ่
                              ่
เปลียนพลังงานไฟฟ้ าเป็ น พลังงานความร้อน เช่น หม้อหุงข้าวไฟฟ้ า
      ่
กระทะไฟฟา เตาไฟฟา เตารี ดไฟฟ้ า หม้อต้มน้าไฟฟ้ าเครื ่องเป่ าผม
              ้             ้
เครื ่องปิ้ งขนมปั งไฟฟา เป็ นต้น
                          ้
ส่ วนประกอบสาคัญของเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ให้ พลังงานความร้ อน
                                  ้
  • ขดลวดหรื อแผ่นความร้อน ซึ่งเป็ นโลหะผสมระหว่าง นิ เกิ ลกับ
 โครเมียม มีความต้านทานไฟฟ้ าสูง ลวดนิ โครมมีจดหลอมเหลวสูง
                                                    ุ
 ทาให้ขดลวดไม่ขาด เมือเกิ ดความร้อน ทีขดลวด ขดลวดความร้อน
                        ่                      ่
 ในเครื ่องใช้ไฟฟ้ าจะขดอยู่ในทีรองรับทีเ่ ป็ นฉนวนไฟฟ้ า เพือป้ องกัน
                                ่                            ่
 ไฟฟารัว ซึ่งสามารถถ่ายเทความร้อนทีขดลวดให้แก่ภาชนะหรื อ
     ้ ่                                  ่
 วัตถุอืนได้
        ่
 • เทอร์ โมสตัท (Thermostat) หรื อสวิ ตซ์ ความร้อนอัตโนมัติ
 ทาหน้าทีควบคุมอุณหภูมิ หรื อระดับความร้อนของเครื ่องใช้ไฟฟ้ า
           ่
 โดย จะตัดวงจรไฟฟ้ าเมือเครื ่องใช้นนร้อนถึงจุดกาหนด
                             ่              ั้
หลักการทางานของเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ให้ ความร้ อน
                               ้
        เครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีให้ความร้อนมีหลักการคือเมือมีกระแสไฟฟา
                           ่                         ่          ้
ไหลผ่านความต้านทานไฟฟ้ าสูง พลังงานไฟฟ้ าจะเปลียนเป็ น ่
พลังงานความร้อน ดังนัน จึงให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านขดลวดนิ โครม
                             ้
หรื อแผ่นความร้อนซึ่งมีความต้านทานไฟฟ้ าสูง พลังงานไฟฟ้ าจะ
เปลียนเป็ นพลังงานความร้อนมากแล้วถ่ายเทพลังงานความร้อนไป
     ่
ยังภาชนะ
เครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีให้พลังงานกล
                       ่
         เครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีเ่ ปลียนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานกลได้
                                  ่           ้
ต้องใช้มอเตอร์ เป็ นอุปกรณ์ในการเปลียนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงาน
                                          ่
กล เช่น เครื ่องซักผ้า เครื ่องสูบน้า พัดลม จักรเย็บผ้า ตเู้ ย็น
เครื ่องปรับอากาศ เป็ นต้น
ส่ วนประกอบและหลักการทางานของมอเตอร์
       มอเตอร์ ประกอบด้วยขดลวดตัวนาอยู่ในสนามแม่เหล็ก
ทางานได้โดยอาศัยหลักการทีว่า เมือผ่านกระแสไฟฟ้ าเข้าไปใน
                          ่     ่
ขดลวดตัวนาทีพนรอบแกนเหล็กในสนามแม่เหล็กจะเกิ ดอานาจ
              ่ ั
แม่เหล็ก ผลักกับสนามแม่เหล็ก ทาให้ขดลวดหมุนได้
        การควบคุมให้มอเตอร์ หมุนช้าหรื อเร็ ว ทาได้โดยการเพิ่มหรื อ
ลดความต้านทานไฟฟ้ า ถ้าความต้านทานไฟฟ้ ามาก มอเตอร์ จะ
หมุนช้า ถ้าลดความต้านทานไฟฟ้ าลง มอเตอร์ จะหมุนเร็ วขึ้น
เครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีให้พลังงานเสียง
                        ่
       เครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีให้พลังงานเสียง เป็ นเครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีเ่ ปลียน
                          ่                                             ่
พลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานเสียง เช่น เครื ่องรับวิ ทยุ เครื ่อง
              ้
บันทึกเสียง เครื ่องขยายเสียง
เครื่ องรั บวิทยุ
           เป็ นอุปกรณ์ทีเ่ ปลียนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานเสียง โดย
                               ่
เครื ่องรับวิ ทยุอาศัยการรับคลืนวิ ทยุจากสถานีส่ง แล้วใช้อปกรณ์
                                 ่                          ุ
อิ เล็กทรอนิ กส์ขยายสัญญาณเสียงทีอยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้ าให้
                                        ่
แรงขึ้นจนเพียงพอทีทาให้ลาโพงเสียงสันสะเทือนเป็ นเสียงให้เราได้
                       ่                  ่
ยิ น
           สถานีวิทยุกระจายเสียงแต่ละสถานีจะส่งคลืนวิ ทยุดวย
                                                       ่      ้
ความถีทีแตกต่างกัน ซึ่งเราสามารถเลือกสถานีเพือรับฟั งได้โดยหมุน
          ่ ่                                        ่
ปุ่ มเลือกสถานี
เครื่องบันทึกเสียง
        เครื ่องบันทึกเสียงเป็ นเครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีเ่ ปลียนพลังงานไฟฟ้ า
                                                         ่
เป็ นพลังงานเสียง โดยขณะบันทึกใช้การพดผ่านไมโครโฟน ซึ่ งจะ
                                                ู
เปลียนเสียงเป็ นสัญญาณไฟฟ้ า แล้วบันทึกลงในแถบบันทึกเสียงซึ่ง
     ่
ฉาบด้วยสารแม่เหล็กในรูปของสัญญาณแม่เหล็ก เมือนาแถบ         ่
บันทึกเสียงทีบนทึกไว้มาเล่น สัญญาณแม่เหล็กจะถูกเปลียนกลับไป
               ่ ั                                              ่
เป็ นสัญญาณไฟฟ้ า และสัญญาณไฟฟ้ าจะถูกขยายให้แรงขึ้นด้วย
อุปกรณ์ไฟฟ้ าสัญญาณไฟฟ้ าจะถูกส่งไปถึงลาโพง ทาให้ลาโพง
สันสะเทือนกลับเป็ นเสียงขึ้นอีกครังหนึ่ง
  ่                                    ้
เครื่องขยายเสียง
      เป็ นเครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีเ่ ปลียนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานเสียง
                                    ่
โดยการใช้ไมโครโฟนเปลียนเสียงเป็ นสัญญาณไฟฟ้ า แล้วขยาย
                           ่
สัญญาณไฟฟ้ าให้แรงขึ้นด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ จนทาให้ลาโพง
สันสะเทือนเป็ นเสียง
  ่
เครื่องขยายเสียงมีส่วนประกอบดังนี ้
       • ไมโครโฟน เปลียนพลังงานเสียงให้เป็ นสัญญาณไฟฟ้ า
                        ่
       • เครื ่องขยายสัญญาณไฟฟ้ า ขยายสัญญาณไฟฟ้ าให้แรง
ขึ้น
         • ลาโพง เปลียนสัญญาณไฟฟ้ าให้เป็ นพลังงานเสียง
                     ่
 เครื ่องใช้ไฟฟาหลายชนิ ด สามารถเปลียนพลังงานไฟฟ้ าเป็ น
                ้                   ่
พลังงานอืนๆ หลายรูปได้พร้อมกัน เช่น โทรทัศน์สามารถเปลียน
           ่                                            ่
พลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานแสง และพลังงานเสียงในเวลาเดียวกัน
              ้
วิธีใช้ เครื่องใช้ ไฟฟาอย่ างปลอดภัยและ
                          ้
    ประหยัดพลังงานไฟฟา      ้
เครื ่องรับโทรทัศน์ เครื ่องรับวิ ทยุ       โคมไฟ
       • ปิ ดเครื ่องทุกครังเมือไม่มีคนดู
                           ้ ่              • ควรเลือกใช้โคมไฟแบบสะท้อน
       • ควรถอดเต้าเสียบให้                 แสง เพราะจะทาให้ความสว่าง
เรี ยบร้อยเมือเลิ กใช้งาน ไม่ควรปิ ด
              ่                             มากขึ้น
ด้วยรี โมทคอนโทรล เพราะการปิ ด              • ควรใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์
เครื ่อง ด้วยรี โมทนัน กระแสไฟฟา
                       ้            ้       ประหยัดพลังงาน (หลอดผอม)
ยังคงไหลผ่านอยู่ตลอดเวลา                    หรื อหลอดคอมแพคฟลูออเรส
                                            เซนต์ แทนหลอดไฟฟ้ า
พัดลม                               เครื่องดูดฝุ่ น
    • เปิ ดระดับความเร็ วของพัด     • เครื ่องดูดฝุ่ นไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็ น
ลมพอสมควร                           เวลานานหลายชัวโมง เพราะเครื ่อง
                                                        ่
    • ขณะเปิ ดพัดลม ควรเปิ ด        จะร้อนอาจเกิ ดกระแสไฟฟาลัดวงจร
                                                                ้
หน้าต่างเพือให้อากาศถ่ายเทได้ดี
           ่                        และเกิ ดการลุกไหม้ขึ้นได้

                    • ควรเทฝุ่ นในถุงกรองทิ้ งทุกครั้งทีใช้งานเสร็ จ เพราะ
                                                        ่
                    จะช่วยให้เครื ่องทางานมีประสิ ทธิ ภาพ มากยิ่ งขึ้นและ
                    ไม่เปลืองพลังงานไฟฟา ้
เตารี ดไฟฟา
                                ้                               เครื่ องทาน้าอุ่น
       • ตังปุ่ มปรับความร้อนให้เหมาะสมกับ
           ้                                        • ควรปรับระดับความร้อนของน้า
ชนิ ดของผ้า                                     ให้เหมาะสมกับร่ างกาย
      • อย่าพรมน้าจนเปี ยกแฉะ                        • หากมี รอยรั่วควรรี บทาการแก้ไข
      • ดึงเต้าเสียบออกก่อนจะรี ดเสร็ จ         ทันที
ประมาณ 2 – 3 นาที แล้วรี ดต่อไปจนเสร็ จ              • ควรต่อสายลงดิ นในจุดที จดไว้ให้
                                                                                    ่ั
      • ควรรี ดผ้าคราวละมาก ๆ ติ ดต่อกันจน      ของเครื ่องทาน้าอุ่น เพือป้ องกัน
                                                                         ่
เสร็ จ                                          กระแสไฟฟ้ ารัว   ่
      • ควรเริ่ มรี ดผ้าบาง ๆ ก่อน                   • ปิ ดสวิ ตซ์ ไฟฟ้ าของเครื ่องทา
      • ถอดเต้าเสียบ ออกทุกครั้งเมื อเลิ กใช้
                                    ่           น้าอุ่น เมื อไม่ใช้
                                                            ่
งาน
ตู้เย็น ตู้แช่                                                 หม้อหุงข้าวไฟฟ้ า
    • เลือกขนาดให้พอเหมาะกับความ                   • ควรหุงข้าวให้พอดีกบจานวนผู้
                                                                        ั
ต้องการของครอบครัว                            รับประทาน
    • ควรวางตูเ้ ย็นในบริ เวณที อากาศ
                                   ่               • ควรดึงเต้าเสียบออกเมื อข้าวสุก
                                                                           ่
ถ่ายเทได้ดี และไม่เกิ ดความร้อน               แล้ว
    • ตังสวิ ตซ์ ควบคุมอุณหภูมิให้
         ้                                         • อย่าทาให้กนหม้อตัวในเกิ ดรอยบุบ
                                                                 ้
เหมาะกับจานวนสิ่ งของทีบรรจุ  ่               จะทาให้ข้าวสุกช้า
    • อย่าเปิ ดตูเ้ ย็นทิ้ งไว้นาน ๆ และไม่        • หมันตรวจบริ เวณแท่นความร้อนใน
                                                         ่
ควรนาอาหารร้อนมาแช่                           หม้ออย่าให้เม็ดข้าวเกาะติ ด จะทาให้ข้าว
    • หมันละลายน้าแข็งเมื อเห็นว่า
           ่                     ่            สุกช้าและเปลืองพลังงานไฟฟ้ า
น้าแข็งเกาะหนามาก                                  • ใช้ขนาดทีเ่ หมาะสมกับจานวน
                                              สมาชิ กในครอบครัว
เครื่องปรั บอากาศ                    เครื่องซักผ้ า
• ปิ ดเครื ่องทุกครั้งเมื อไม่ได้ใช้งาน
                          ่                              • จำนวนผ้ ำที่จะใส่ใน
• ปิ ดประตูหน้าต่างให้สนิ ท และติ ดตังผ้าม่านเพือกัน
                                         ้       ่       เครื่ องควรใส่แต่พอเหมำะไม่
ความร้อนจากภายนอก                                        น้ อยเกินไปและไม่มำกจน
• อุณหภูมิทีเ่ หมาะสม และไม่สิ้นเปลื องพลังงานไฟฟา  ้    เกินกำลังของเครื่ อง
ควรอยู่ทีประมาณ 25 ° C
         ่                                               • โดยปกติแล้ วควรใช้ น ้ำ
• ควรเลือกขนาดของเครื ่องปรับอากาศให้เหมาะสมกับ          เย็นในกำรซักผ้ ำ ส่วนน ้ำ
ขนาดของห้องทีจะติ ดตัง
                 ่          ้                            ร้ อนให้ ใช้ เฉพำะกรณีที่
• ควรติ ดตังเครื ่องให้อยู่ในระดับที สูงพอเหมาะ และให้
              ้                        ่                 เสื ้อผ้ ำมีรอยเปื อน ไขมัน
                                                                            ้
อากาศร้อนระบายออกด้านหลังเครื ่องได้สะดวก                มำก ควรตังโปรแกรมซัก
                                                                        ้
• ควรบารุงรักษาเครื ่องให้มีสภาพดีตลอดเวลา               ตำมชนิดของผ้ ำ และตำม
• ควรหมันทาความสะอาดแผ่นกรองอากาศ และแผง
            ่                                            คำแนะนำของแต่ละเครื่ อง
            ระบายความร้อน
1. ใช้ อปกรณ์ไฟฟำอย่ำงถูกวิธี
        ุ            ้                                       ข้ อควรปฏิบัตในการิ
2. อุปกรณ์ไฟฟำชำรุดให้ รีบแก้ ไขโดยช่ำงที่มีควำมรู้
                   ้                                         ใช้ พลังงานไฟฟา      ้
3. ไม่ควรใช้ เครื่องใช้ ไฟฟำหลำยเครื่ องจำกเต้ ำรับอันเดียว
                           ้
4. ไม่ควรติดตังอุปกรณ์ไฟฟำต่ำเกินไป
                 ้           ้
5. ไม่ควรซ่อมแซมอุปกรณ์ไฟฟำโดยไม่มีควำมรู้
                                 ้
6. สำยไฟเปื่ อยหรื อชำรุด ให้ รีบแก้ ไขโดยช่ำงที่มีควำมรู้
7. กำรใช้ เครื่ องใช้ ไฟฟำประเภทให้ ควำมร้ อน ต้ องใช้ ด้วยควำมระมัดระวังอย่ำงมำก
                         ้
8. สำยไฟขำดอย่ำเข้ ำใกล้
9. อย่ำก่อสร้ ำงใกล้ แนวสำยไฟแรงสูง ถ้ ำจำเป็ นต้ องสร้ ำงใกล้ แนวสำยไฟแรงสูง ต้ อง
เอำฉนวนครอบสำยไฟแรงสูงไว้ ก่อนชัวครำว  ่
10. กิ่งไม้ ใกล้ แนวสำยไฟเป็ นอันตรำย ไม่ควรตัดเองควรแจ้ งให้ กำรไฟฟำทรำบ
                                                                      ้
11. ควรหลีกเลี่ยงกำรติดตังเสำเครื่ องรับวิทยุและเครื่ องรับโทรทัศน์ใกล้ แนวสำย
                               ้
ไฟฟำแรงสูง
   ้

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6orohimaro
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้าPhachakorn Khrueapuk
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าRattanapron Tacomdee
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong2012
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าaing_siripatra
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)ying08932
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1boom500937
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าPanatsaya
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 

La actualidad más candente (12)

Vvv
VvvVvv
Vvv
 
M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 

Similar a ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า

M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6orohimaro
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6orohimaro
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong20155
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าI'am Jeed
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf0841766393
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.PdfKanoknat Kaosim
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.PdfPanatsaya
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอBoyz Bill
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าwattanakub00
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1boom500937
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1boom500937
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าchitchanupong
 

Similar a ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า (20)

M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6
 
G8injv'.=hwaahk
G8injv'.=hwaahkG8injv'.=hwaahk
G8injv'.=hwaahk
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้าประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdf
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
วิทย์1
วิทย์1วิทย์1
วิทย์1
 
ไฟฟ้า 303
ไฟฟ้า 303ไฟฟ้า 303
ไฟฟ้า 303
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Hot
HotHot
Hot
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า

  • 2.
  • 3. เครื ่องใช้ไฟฟ้ า เครื่ องใช้ ไฟฟา เป็ นเครื่ องอานวยความสะดวกสบาย ้ สามารถเปลี่ยนรู ปพลังงานไฟฟารูปอื่นๆ ตามความต้ องการ ้ เช่ น เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานแสง พลังงานความร้ อน ้ ่ พลังงานกล พลังงานเสียง ซึงผู้ใช้ ต้องมีความรู้ จงจะเลือกใช้ ึ ไฟฟาได้ อย่ างมีคุณค่ า ประหยัดและปลอดภัย ้
  • 4. เครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีให้แสงสว่าง ่ อุปกรณ์ ทเปลี่ยนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานแสง ได้ แก่ ่ี ้ หลอดไฟฟา หลอดฟลูออเรสเซนต์ และหลอดไฟโฆษณา โธมัส ้ แอลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison) นักฟิ สิกส์ ชาว อเมริกันได้ ประดิษฐ์ หลอดไฟฟา ขึ้นเป็ นครั้ งแรกเมื่อ พ.ศ. ้ 2422 โดยใช้ คาร์ บอนเส้ นเล็กๆเป็ นไส้ หลอดและต่ อมาได้ มี การพัฒนาขึ้น จนเป็ นหลอดไฟฟาทีใช้ ในปั จจุบัน ้ ่
  • 5. หลอดไฟฟา มีส่วนประกอบดังนี ้ ้ • ไส้หลอด ใช้คาร์ บอนเส้นเล็ก ๆ เป็ นไส้หลอด ซึ่งมีปัญหาคือ ไส้ หลอดขาดง่ายเมือได้รบความร้อน ปั จจุบนไส้หลอดทาด้วยทังสเตน ่ ั ั ซึ่งเป็ นโลหะทีหาง่าย ราคาไม่แพง มี ความต้านทานสูง มี จดหลอด ่ ุ เหลวสูงมาก เมื อได้รบความร้อนจึ งไม่ขาดง่าย ลักษณะของไส้ ่ ั หลอด ขดไว้เหมือนสปริ ง • หลอดแก้ว ทาจากหลอดแก้วใส ทนความร้อนได้ดี ภายในสูบ อากาศออกจนหมด แล้วบรรจุแก๊ สไนโตรเจน และอาร์ กอนเพียง เล็กน้อย • ขัวต่อไฟ เป็ นจุดต่อวงจรไฟฟ้ าภายในหลอด ้
  • 6. หลักการทางานของหลอดไฟฟา ้ การทีหลอด ไฟฟ้ าให้แสงสว่างได้เป็ นไปตามหลักการดังนี ้ ่ เมื อกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านไส้หลอด ซึ่งมีความต้านทานสูง พลังงาน ่ ไฟฟ้ าจะเปลียนเป็ นพลังงานความร้อน ทาให้ไส้หลอดร้อนจัดจน ่ เปล่งแสงออกมาได้ ซึ่งมีการเปลียนรูปพลังงานดังนี ้ ่ พลังงานไฟฟา ----> พลังงานความร้อน ----> พลังงานแสง ้
  • 7. เครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีให้ความร้อน ่ เครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีให้พลังงานความร้อนเป็ นเครื ่องใช้ไฟฟ้ าที ่ ่ เปลียนพลังงานไฟฟ้ าเป็ น พลังงานความร้อน เช่น หม้อหุงข้าวไฟฟ้ า ่ กระทะไฟฟา เตาไฟฟา เตารี ดไฟฟ้ า หม้อต้มน้าไฟฟ้ าเครื ่องเป่ าผม ้ ้ เครื ่องปิ้ งขนมปั งไฟฟา เป็ นต้น ้
  • 8. ส่ วนประกอบสาคัญของเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ให้ พลังงานความร้ อน ้ • ขดลวดหรื อแผ่นความร้อน ซึ่งเป็ นโลหะผสมระหว่าง นิ เกิ ลกับ โครเมียม มีความต้านทานไฟฟ้ าสูง ลวดนิ โครมมีจดหลอมเหลวสูง ุ ทาให้ขดลวดไม่ขาด เมือเกิ ดความร้อน ทีขดลวด ขดลวดความร้อน ่ ่ ในเครื ่องใช้ไฟฟ้ าจะขดอยู่ในทีรองรับทีเ่ ป็ นฉนวนไฟฟ้ า เพือป้ องกัน ่ ่ ไฟฟารัว ซึ่งสามารถถ่ายเทความร้อนทีขดลวดให้แก่ภาชนะหรื อ ้ ่ ่ วัตถุอืนได้ ่ • เทอร์ โมสตัท (Thermostat) หรื อสวิ ตซ์ ความร้อนอัตโนมัติ ทาหน้าทีควบคุมอุณหภูมิ หรื อระดับความร้อนของเครื ่องใช้ไฟฟ้ า ่ โดย จะตัดวงจรไฟฟ้ าเมือเครื ่องใช้นนร้อนถึงจุดกาหนด ่ ั้
  • 9. หลักการทางานของเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ให้ ความร้ อน ้ เครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีให้ความร้อนมีหลักการคือเมือมีกระแสไฟฟา ่ ่ ้ ไหลผ่านความต้านทานไฟฟ้ าสูง พลังงานไฟฟ้ าจะเปลียนเป็ น ่ พลังงานความร้อน ดังนัน จึงให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านขดลวดนิ โครม ้ หรื อแผ่นความร้อนซึ่งมีความต้านทานไฟฟ้ าสูง พลังงานไฟฟ้ าจะ เปลียนเป็ นพลังงานความร้อนมากแล้วถ่ายเทพลังงานความร้อนไป ่ ยังภาชนะ
  • 10. เครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีให้พลังงานกล ่ เครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีเ่ ปลียนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานกลได้ ่ ้ ต้องใช้มอเตอร์ เป็ นอุปกรณ์ในการเปลียนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงาน ่ กล เช่น เครื ่องซักผ้า เครื ่องสูบน้า พัดลม จักรเย็บผ้า ตเู้ ย็น เครื ่องปรับอากาศ เป็ นต้น
  • 11. ส่ วนประกอบและหลักการทางานของมอเตอร์ มอเตอร์ ประกอบด้วยขดลวดตัวนาอยู่ในสนามแม่เหล็ก ทางานได้โดยอาศัยหลักการทีว่า เมือผ่านกระแสไฟฟ้ าเข้าไปใน ่ ่ ขดลวดตัวนาทีพนรอบแกนเหล็กในสนามแม่เหล็กจะเกิ ดอานาจ ่ ั แม่เหล็ก ผลักกับสนามแม่เหล็ก ทาให้ขดลวดหมุนได้ การควบคุมให้มอเตอร์ หมุนช้าหรื อเร็ ว ทาได้โดยการเพิ่มหรื อ ลดความต้านทานไฟฟ้ า ถ้าความต้านทานไฟฟ้ ามาก มอเตอร์ จะ หมุนช้า ถ้าลดความต้านทานไฟฟ้ าลง มอเตอร์ จะหมุนเร็ วขึ้น
  • 12. เครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีให้พลังงานเสียง ่ เครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีให้พลังงานเสียง เป็ นเครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีเ่ ปลียน ่ ่ พลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานเสียง เช่น เครื ่องรับวิ ทยุ เครื ่อง ้ บันทึกเสียง เครื ่องขยายเสียง
  • 13. เครื่ องรั บวิทยุ เป็ นอุปกรณ์ทีเ่ ปลียนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานเสียง โดย ่ เครื ่องรับวิ ทยุอาศัยการรับคลืนวิ ทยุจากสถานีส่ง แล้วใช้อปกรณ์ ่ ุ อิ เล็กทรอนิ กส์ขยายสัญญาณเสียงทีอยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้ าให้ ่ แรงขึ้นจนเพียงพอทีทาให้ลาโพงเสียงสันสะเทือนเป็ นเสียงให้เราได้ ่ ่ ยิ น สถานีวิทยุกระจายเสียงแต่ละสถานีจะส่งคลืนวิ ทยุดวย ่ ้ ความถีทีแตกต่างกัน ซึ่งเราสามารถเลือกสถานีเพือรับฟั งได้โดยหมุน ่ ่ ่ ปุ่ มเลือกสถานี
  • 14. เครื่องบันทึกเสียง เครื ่องบันทึกเสียงเป็ นเครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีเ่ ปลียนพลังงานไฟฟ้ า ่ เป็ นพลังงานเสียง โดยขณะบันทึกใช้การพดผ่านไมโครโฟน ซึ่ งจะ ู เปลียนเสียงเป็ นสัญญาณไฟฟ้ า แล้วบันทึกลงในแถบบันทึกเสียงซึ่ง ่ ฉาบด้วยสารแม่เหล็กในรูปของสัญญาณแม่เหล็ก เมือนาแถบ ่ บันทึกเสียงทีบนทึกไว้มาเล่น สัญญาณแม่เหล็กจะถูกเปลียนกลับไป ่ ั ่ เป็ นสัญญาณไฟฟ้ า และสัญญาณไฟฟ้ าจะถูกขยายให้แรงขึ้นด้วย อุปกรณ์ไฟฟ้ าสัญญาณไฟฟ้ าจะถูกส่งไปถึงลาโพง ทาให้ลาโพง สันสะเทือนกลับเป็ นเสียงขึ้นอีกครังหนึ่ง ่ ้
  • 15. เครื่องขยายเสียง เป็ นเครื ่องใช้ไฟฟ้ าทีเ่ ปลียนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานเสียง ่ โดยการใช้ไมโครโฟนเปลียนเสียงเป็ นสัญญาณไฟฟ้ า แล้วขยาย ่ สัญญาณไฟฟ้ าให้แรงขึ้นด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ จนทาให้ลาโพง สันสะเทือนเป็ นเสียง ่
  • 16. เครื่องขยายเสียงมีส่วนประกอบดังนี ้ • ไมโครโฟน เปลียนพลังงานเสียงให้เป็ นสัญญาณไฟฟ้ า ่ • เครื ่องขยายสัญญาณไฟฟ้ า ขยายสัญญาณไฟฟ้ าให้แรง ขึ้น • ลาโพง เปลียนสัญญาณไฟฟ้ าให้เป็ นพลังงานเสียง ่ เครื ่องใช้ไฟฟาหลายชนิ ด สามารถเปลียนพลังงานไฟฟ้ าเป็ น ้ ่ พลังงานอืนๆ หลายรูปได้พร้อมกัน เช่น โทรทัศน์สามารถเปลียน ่ ่ พลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานแสง และพลังงานเสียงในเวลาเดียวกัน ้
  • 17. วิธีใช้ เครื่องใช้ ไฟฟาอย่ างปลอดภัยและ ้ ประหยัดพลังงานไฟฟา ้ เครื ่องรับโทรทัศน์ เครื ่องรับวิ ทยุ โคมไฟ • ปิ ดเครื ่องทุกครังเมือไม่มีคนดู ้ ่ • ควรเลือกใช้โคมไฟแบบสะท้อน • ควรถอดเต้าเสียบให้ แสง เพราะจะทาให้ความสว่าง เรี ยบร้อยเมือเลิ กใช้งาน ไม่ควรปิ ด ่ มากขึ้น ด้วยรี โมทคอนโทรล เพราะการปิ ด • ควรใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ เครื ่อง ด้วยรี โมทนัน กระแสไฟฟา ้ ้ ประหยัดพลังงาน (หลอดผอม) ยังคงไหลผ่านอยู่ตลอดเวลา หรื อหลอดคอมแพคฟลูออเรส เซนต์ แทนหลอดไฟฟ้ า
  • 18. พัดลม เครื่องดูดฝุ่ น • เปิ ดระดับความเร็ วของพัด • เครื ่องดูดฝุ่ นไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็ น ลมพอสมควร เวลานานหลายชัวโมง เพราะเครื ่อง ่ • ขณะเปิ ดพัดลม ควรเปิ ด จะร้อนอาจเกิ ดกระแสไฟฟาลัดวงจร ้ หน้าต่างเพือให้อากาศถ่ายเทได้ดี ่ และเกิ ดการลุกไหม้ขึ้นได้ • ควรเทฝุ่ นในถุงกรองทิ้ งทุกครั้งทีใช้งานเสร็ จ เพราะ ่ จะช่วยให้เครื ่องทางานมีประสิ ทธิ ภาพ มากยิ่ งขึ้นและ ไม่เปลืองพลังงานไฟฟา ้
  • 19. เตารี ดไฟฟา ้ เครื่ องทาน้าอุ่น • ตังปุ่ มปรับความร้อนให้เหมาะสมกับ ้ • ควรปรับระดับความร้อนของน้า ชนิ ดของผ้า ให้เหมาะสมกับร่ างกาย • อย่าพรมน้าจนเปี ยกแฉะ • หากมี รอยรั่วควรรี บทาการแก้ไข • ดึงเต้าเสียบออกก่อนจะรี ดเสร็ จ ทันที ประมาณ 2 – 3 นาที แล้วรี ดต่อไปจนเสร็ จ • ควรต่อสายลงดิ นในจุดที จดไว้ให้ ่ั • ควรรี ดผ้าคราวละมาก ๆ ติ ดต่อกันจน ของเครื ่องทาน้าอุ่น เพือป้ องกัน ่ เสร็ จ กระแสไฟฟ้ ารัว ่ • ควรเริ่ มรี ดผ้าบาง ๆ ก่อน • ปิ ดสวิ ตซ์ ไฟฟ้ าของเครื ่องทา • ถอดเต้าเสียบ ออกทุกครั้งเมื อเลิ กใช้ ่ น้าอุ่น เมื อไม่ใช้ ่ งาน
  • 20. ตู้เย็น ตู้แช่ หม้อหุงข้าวไฟฟ้ า • เลือกขนาดให้พอเหมาะกับความ • ควรหุงข้าวให้พอดีกบจานวนผู้ ั ต้องการของครอบครัว รับประทาน • ควรวางตูเ้ ย็นในบริ เวณที อากาศ ่ • ควรดึงเต้าเสียบออกเมื อข้าวสุก ่ ถ่ายเทได้ดี และไม่เกิ ดความร้อน แล้ว • ตังสวิ ตซ์ ควบคุมอุณหภูมิให้ ้ • อย่าทาให้กนหม้อตัวในเกิ ดรอยบุบ ้ เหมาะกับจานวนสิ่ งของทีบรรจุ ่ จะทาให้ข้าวสุกช้า • อย่าเปิ ดตูเ้ ย็นทิ้ งไว้นาน ๆ และไม่ • หมันตรวจบริ เวณแท่นความร้อนใน ่ ควรนาอาหารร้อนมาแช่ หม้ออย่าให้เม็ดข้าวเกาะติ ด จะทาให้ข้าว • หมันละลายน้าแข็งเมื อเห็นว่า ่ ่ สุกช้าและเปลืองพลังงานไฟฟ้ า น้าแข็งเกาะหนามาก • ใช้ขนาดทีเ่ หมาะสมกับจานวน สมาชิ กในครอบครัว
  • 21. เครื่องปรั บอากาศ เครื่องซักผ้ า • ปิ ดเครื ่องทุกครั้งเมื อไม่ได้ใช้งาน ่ • จำนวนผ้ ำที่จะใส่ใน • ปิ ดประตูหน้าต่างให้สนิ ท และติ ดตังผ้าม่านเพือกัน ้ ่ เครื่ องควรใส่แต่พอเหมำะไม่ ความร้อนจากภายนอก น้ อยเกินไปและไม่มำกจน • อุณหภูมิทีเ่ หมาะสม และไม่สิ้นเปลื องพลังงานไฟฟา ้ เกินกำลังของเครื่ อง ควรอยู่ทีประมาณ 25 ° C ่ • โดยปกติแล้ วควรใช้ น ้ำ • ควรเลือกขนาดของเครื ่องปรับอากาศให้เหมาะสมกับ เย็นในกำรซักผ้ ำ ส่วนน ้ำ ขนาดของห้องทีจะติ ดตัง ่ ้ ร้ อนให้ ใช้ เฉพำะกรณีที่ • ควรติ ดตังเครื ่องให้อยู่ในระดับที สูงพอเหมาะ และให้ ้ ่ เสื ้อผ้ ำมีรอยเปื อน ไขมัน ้ อากาศร้อนระบายออกด้านหลังเครื ่องได้สะดวก มำก ควรตังโปรแกรมซัก ้ • ควรบารุงรักษาเครื ่องให้มีสภาพดีตลอดเวลา ตำมชนิดของผ้ ำ และตำม • ควรหมันทาความสะอาดแผ่นกรองอากาศ และแผง ่ คำแนะนำของแต่ละเครื่ อง ระบายความร้อน
  • 22. 1. ใช้ อปกรณ์ไฟฟำอย่ำงถูกวิธี ุ ้ ข้ อควรปฏิบัตในการิ 2. อุปกรณ์ไฟฟำชำรุดให้ รีบแก้ ไขโดยช่ำงที่มีควำมรู้ ้ ใช้ พลังงานไฟฟา ้ 3. ไม่ควรใช้ เครื่องใช้ ไฟฟำหลำยเครื่ องจำกเต้ ำรับอันเดียว ้ 4. ไม่ควรติดตังอุปกรณ์ไฟฟำต่ำเกินไป ้ ้ 5. ไม่ควรซ่อมแซมอุปกรณ์ไฟฟำโดยไม่มีควำมรู้ ้ 6. สำยไฟเปื่ อยหรื อชำรุด ให้ รีบแก้ ไขโดยช่ำงที่มีควำมรู้ 7. กำรใช้ เครื่ องใช้ ไฟฟำประเภทให้ ควำมร้ อน ต้ องใช้ ด้วยควำมระมัดระวังอย่ำงมำก ้ 8. สำยไฟขำดอย่ำเข้ ำใกล้ 9. อย่ำก่อสร้ ำงใกล้ แนวสำยไฟแรงสูง ถ้ ำจำเป็ นต้ องสร้ ำงใกล้ แนวสำยไฟแรงสูง ต้ อง เอำฉนวนครอบสำยไฟแรงสูงไว้ ก่อนชัวครำว ่ 10. กิ่งไม้ ใกล้ แนวสำยไฟเป็ นอันตรำย ไม่ควรตัดเองควรแจ้ งให้ กำรไฟฟำทรำบ ้ 11. ควรหลีกเลี่ยงกำรติดตังเสำเครื่ องรับวิทยุและเครื่ องรับโทรทัศน์ใกล้ แนวสำย ้ ไฟฟำแรงสูง ้