SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 37
Descargar para leer sin conexión
การวิจัยสถาบัน
วันที่ 27 สิงหาคม 2555 ณ ห้องประชุม ท 410
                อาคารทีปวิชญ์
          ดร.กฤธยากาญจน์ โตพิทักษ์
เป้าหมาย
เช้า                        สาย
.......นาสู่การวิจัยสถาบัน ขอบข่ายการวิจัยสถาบัน
                           มรพส.
บ่าย                        เย็น
กรณีตัวอย่าง..สู่การวิจัย   เค้าโครงการวิจัยสถาบัน
สถาบัน
ผู้ใดที่ใฝ่รู้และได้รบสารสนเทศที่มีคุณค่า
                     ั
                     ทันสมัย อย่างต่อเนื่อง
          ผู้นั้นย่อมได้รับชัยชนะเหนือผู้อื่น
ส่งเสริมให้บุคลากรทางานวิจัยในงานประจา
               (Routine to Research: R2R)



                       วงการการศึกษาคาดหวังว่า
การวิจัยสถาบัน จักเป็นนวัตกรรมเชิงกระบวนการที่
  เอื้อต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานขององค์กรและ
          ยกระดับสู่การพัฒนาวิชาชีพของบุคลากร
                         อันเป็นเป้าหมายสุดท้าย
ผลที่ได้จากการวิจัยสถาบัน
1. นาไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนา
สถาบัน
2. เป็นผลงานทางวิชาการที่สามารถนาไปใช้ในการ
ขอรับการประเมินเพื่อความก้าวหน้าในวิชาชีพ
3. แสวงหาชุดข้อมูลที่มความถูกต้องและเชื่อถือได้
                      ี
เพื่อใช้ในการประกันคุณภาพ
4. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งเน้นการตรวจสอบ
ตนเองและการพัฒนาที่ต่อเนื่อง
การวิจัยสถาบัน (Institutional Research)

  หมายถึง กระบวนการแสวงหาสารสนเทศ
หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาขององค์กรเพื่อ
ประโยชน์ในการจัดหาข้อมูลสาหรับสนับสนุน
  การวางแผน การกาหนดนโยบายและการ
                         ตัดสินใจขององค์กร
  โดยใช้วิธีวิทยาการวิจัยในลักษณะต่าง ๆ ที่
         เหมาะสมกับบริบทหรือองค์กรที่จะ
                                ทาการศึกษา
ความเป็นมาของการวิจัยสถาบัน
                               แพร่หลายในปี ค.ศ. 1820
    โดย Professor W.H. Cowley Stanford university
           ได้นามาเสนอต่อที่ประชุมเพื่อประเมินผลของ
       คณะกรรมการปฏิบัติงานของ Harvard university
ซึ่งเป็นข้อค้นพบของ Yale university เมื่อปี ค.ศ. 1701
              จากนั้นก็มีการวิจยเพือติดตามผลระยะสั้นๆ
                                ั ่
            อย่างแพร่หลายโดยคนในองค์กรหรือสถาบัน
            หรือที่เรียกว่า การศึกษาตนเอง (Self Study)
ความเป็นมาของการวิจัยสถาบันในประเทศไทย
    เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพ.ศ. 2514
 โดยมีหน้าที่ 3 ประการคือ
 1.เพื่อรวบรวมข้อมูลที่จาเป็นสาหรับการวางแผนพัฒนาและการ
 บริหารมหาวิทยาลัย
 2.เพื่อทาการวิจัยตามความต้องการของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 และการทาวิจัยอื่นๆ ที่เป็นไปตามภาระหน้าที่ประจา
 3. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ โดยมีระบบข้อมูลเพื่อการ
 บริหารของจุฬาลงกรณ์ (CU–MIS) เป็นเครื่องมือในการจัดการข้อมูล

  ประกอบไปด้วยข้อมูล 5 ประเภท ได้แก่ ข้อมูลโปรแกรมทาง
การศึกษา ข้อมูลอาจารย์ ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ ข้อมูลนิสิต
ข้อมูลการเงิน ข้อมูลอาคารสถานที่และสิ่งอานวยความ
สมาคมการวิจัยสถาบันและพัฒนาอุดมศึกษา
 Association of Institutional Research and Higher
   Education Development, 12 กรกฎาคม 2543
     ศ.ดร. วิจิตร ศรีสอ้าน เป็นนายกสมาคม

วัตถุประสงค์เพื่อ
1. เป็นศูนย์กลางของนักวิจัยสถาบัน นักวิชาการ และ
ผู้บริหารการศึกษา ได้พบปะแลกเปลี่ยนความคิดใหม่ ๆ อัน
นาไปสู่ประโยชน์ในทางวิชาการและวิชาชีพ
2. ส่งเสริมการจัดทาวิจัยสถาบันและเผยแพร่ผลงาน
3. ให้บริการทางด้านการวิจัยสถาบัน ด้านนโยบายและแผน
และการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
พัฒนาการของการวิจัยสถาบัน
         •ยุคบุกเบิก พ.ศ. 2514-2517 นับตั้งแต่จุฬาฯ ได้จัดตั้งหน่วย
ยุคที่ 1 วิจัยสถาบันขึ้นจนขยายตัวอย่างต่อเนื่อง

         • ยุคขยายเป็นเครือข่ายระดับชาติ พ.ศ.2517-ปัจจุบัน ขยาย
ยุคที่ 2   เครือข่ายการวิจัยสถาบันระดับชาติ นาโดยบวงมหาวิทยาลัย

         •ยุคการใช้ผลเพื่อการปฏิรูปการศึกษาและการประกันคุณภาพ
ยุคที่ 3 การศึกษา พ.ศ.2530-ปัจจุบัน

           • ยุคพัฒนาเป็นวิชาชีพชั้นสูง จนกระทั่งมีการเปิดสอนเป็นส่วน
ยุคที่ 4     หนึ่งหรือเป็นรายวิชาในหลักสูตร มีสมาคม การอบรมฯลฯ
ลักษณะของการวิจัยสถาบัน

1. เป็นการทาวิจัยตามขอบเขต ลักษณะ หน้าที่ หรือ
โครงสร้างของงานที่รับผิดชอบหรือปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละ
องค์กรหรือสถาบันนั้นๆ
2. เป็นการทาวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาหรือกาหนดนโยบายหรือ
พัฒนาองค์กรหรือสถาบันนั้นๆ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
แต่อาจนาไปเป็นแนวทางในการวิจัยสถาบันอื่นๆ ได้
3. คณะผู้วิจัยเป็นนักวิจัย หรือ นักวิชาการ ที่สังกัดอยู่ภายใน
หน่วยงานหรือสถาบันนั้นๆ (เว้นแต่จะมีที่ปรึกษาจากภายนอก
ร่วมด้วยก็ได้)
เป้าหมายของการวิจัยสถาบัน
• วิจัยเพื่อแก้ปัญหา โดยจาเป็นต้องมีการวิจัย สาหรับ
ใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจ ติดตาม และปรับเปลี่ยน
การดาเนินงานของสถาบัน
• วิจัยเพื่อการตัดสินใจ เป็นการวิจัยเพื่อประกอบการ
ตัดสินใจในบางเรื่อง
• วิจัยเพื่อวางแผนอนาคต เพื่อเตรียมความพร้อมใน
การดาเนินงานของสถาบันได้อย่างเหมาะสม
• วิจัยเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา สถาบันจึงต้อง
มีการประเมินคุณภาพภายในของตนเองอยู่เป็นประจา
ขอบข่ายของการวิจัยสถาบัน
1. คุณลักษณะนิสิตนักศึกษา เช่น การวิเคราะห์คุณลักษณะ
นักศึกษาที่เหมาะสม นักศึกษาใหม่ บัณฑิต ความต้องการ/
เป้าหมายในชีวิตของนักศึกษา ความคิดเห็นต่อ
สภาพแวดล้อมของมหาวิทยาลัย
2. คณาจารย์และบุคลากร เช่น การประเมินผลการสอน การ
ประเมินประสิทธิภาพของอาจารย์ สภาพขวัญ กาลังใจ ความ
พึงพอใจ โครงสร้างลักษณะสังคม เศรษฐกิจของอาจารย์/
บุคลากรอื่นๆ การพัฒนาอาจารย์/บุคลากร
3. หลักสูตรและการสอน เช่น การวิเคราะห์ปรัชญา
การศึกษา การกาหนดปรัชญาและเป้าหมายทางการศึกษา
การประเมินหลักสูตร การพิจารณาเกรด
ขอบข่ายของการวิจัยสถาบัน

4. การประเมินโครงการหรือกิจกรรมในสถาบัน เช่น คุณภาพ
การศึกษา การใช้แหล่งสารสนเทศ การประเมินโครงการตาม
แผน การประเมินโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ ที่มหาวิทยาลัย
ดาเนินการ
5. การจัดการลงทะเบียน เช่น ความต้องการในการเรียนวิชา
ต่างๆ สาขาวิชาที่คนต้องการ วิธีการสอบคัดเลือก วิธีการรับ
สมัคร ความต้องการและวิธีการผลิตคนสู่แหล่งงาน
6. การทานายความสาเร็จของการศึกษา เช่น การทานายผล
ความสาเร็จของนักศึกษา การทานายผลการบริหารของ
ผู้บริหารระดับต่างๆ และผลการปฏิบัติงานของบุคลากร
ขอบข่ายของการวิจัยสถาบัน

7. การวางแผน เช่น การพิจารณาวิธีการวางแผน การ
ประเมินแผนในลักษณะต่างๆ และในระดับต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น
ระดับมหาวิทยาลัย คณะหรือหน่วยงานหรือภาควิชา
8. การวิเคราะห์นโยบาย เช่น การวิเคราะห์วิธีการกาหนด
นโยบาย โครงสร้างและรายละเอียดของนโยบาย การ
วิเคราะห์เป้าหมาย
9. ระบบข้อมูล เช่น การพิจารณาจัดทาระบบข้อมูลพื้นฐาน
เพื่อการดาเนินงานและกิจกรรมอื่นๆ ตามขอบข่ายหน้าที่ของ
มหาวิทยาลัย เทคนิคการรายงานเผยแพร่ ของมหาวิทยาลัย
ขอบข่ายของการวิจัยสถาบัน
10. งบประมาณและค่าใช้จ่าย เช่น รูปแบบการจัดสรร
งบประมาณภายในมหาวิทยาลัย การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายใน
ลักษณะต่างๆ แนวทางการจัดหารายได้ของมหาวิทยาลัยการ
ลงทุนการศึกษา
11. อาคารสถานที่ การจัดตารางบริการและการใช้ประโยชน์
เช่น ลักษณะการใช้พื้นที่ในมหาวิทยาลัย การวิเคราะห์ความ
ต้องการใช้พื้นที่ การคาดคะเนการใช้พื้นที่ การใช้อาคาร การ
จัดสาธารณูปโภคต่างๆ ความคุ้มค่าและความเหมาะสม การ
วิเคราะห์ตารางการให้บริการเพื่อสนับสนุนกิจกรรมของ
มหาวิทยาลัย
กิจกรรมที่ 1
ขอบข่ายการวิจัยสถาบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

1. แบ่งกลุ่มตามสะดวกประมาณ 5-6 คน เลือกประธาน เลขา และ
   ผู้นาเสนอ
2. วิเคราะห์ประเด็น (อยากรู้/ต้องรู้) เพื่อนาไปสู่การวิจัยสถาบันใน
   มหาวิทยาลัยพิบูลสงครามของเรา
   กลุ่มที่ 1 ตามพันธกิจของมหาวิทยาลัย
   กลุ่มที่ 2 ตามพันธกิจของหน่วยงานที่สังกัด
               (เลือก 1 หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง)
   กลุ่มที่ 3 ตามภาระงานที่ท่านรับผิดชอบ
   กลุ่มที่ 4 ตามองค์ประกอบของการประกันคุณภาพ
              การศึกษา
   กลุ่มที่ 5 ตามกลุ่มเป้าหมายที่ให้บริการ
3. อภิปรายและสรุปภายใน 40 นาที และจัดผู้นาเสนอ
วิธวทยาการวิจยทีใช้การวิจยสถาบัน
       ี ิ       ั ่         ั

• การวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research)
• การวิจัยเชิงประเมิน (Evaluative Research)
• การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research)
• การวิจัยเชิงพัฒนา (Research and
  Development)
• การวิจัยเชิงอนาคต (Future Research)
การเขียนโครงการวิจัยสถาบัน
1. ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
2. ความสาคัญและที่มาของปัญหาทีทาการวิจัย
                                   ่
3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
4. สมมติฐานของการวิจัย
5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
6. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
7. วิธีการดาเนินงานวิจัย
    7.1 แบบแผนการวิจัย
    7.2 การกาหนดกลุ่มตัวอย่าง
    7.3 การกาหนดเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
    7.4 การกาหนดวิธีการทางสถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
                                 ิ
8. ขอบเขตของการวิจัย
9. ระยะเวลาทาการวิจัย
10.แผนการดาเนินงานตลอดโครงการ (ให้ระบุขั้นตอนโดยละเอียด)
11.งบประมาณของโครงการวิจัย (ระบุโดยละเอียด)
12.เอกสารอ้างอิง
ชื่อโครงการวิจัย
   • ชื่อโครงการวิจัย
          ชื่อโครงการวิจัยควรจะเขียนให้สะท้อนให้เห็นตัวแปร
     ประชากร และวิธีการศึกษา
      ตัวอย่างชื่อโครงการวิจัย 1
      การวิเคราะห์ภาระงานสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล
สงคราม
      ตัวแปร คือ ภาระงานสอน
      ประชากร คือ อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
      วิธีการศึกษา คือ การศึกษาเชิงวิเคราะห์
      ตัวอย่างชื่อโครงการวิจัย 2
      การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการออกกลางคันของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
      ตัวแปรต้น คือ ปัจจัยด้านต่าง ๆ
      ตัวแปรตาม คือ การออกกลางคัน
      ประชากร คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
      วิธีการศึกษา คือ การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสาเหตุ
ตัวอย่างชื่อโครงการวิจัย 1
       การวิเคราะห์ภาระงานสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏ
พิบูลสงคราม
       ตัวแปร คือ ภาระงานสอน
       ประชากร คือ อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
       วิธีการศึกษา คือ การศึกษาเชิงวิเคราะห์
        ตัวอย่างชื่อโครงการวิจัย 2
       การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการออกกลางคันของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
       ตัวแปรต้น คือ ปัจจัยด้านต่าง ๆ
       ตัวแปรตาม คือ การออกกลางคัน
       ประชากร คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
       วิธีการศึกษา คือ การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสาเหตุ
ชื่อโครงการวิจัย

          สาระสาคัญของความเป็นมาและความสาคัญของ
ปัญหาหรือภูมิหลังเป็นการนาเสนอถึงการมองปัญหาการวิจัย
แนวกว้างแล้วค่อยๆ ลู่ลงสู่เรื่องที่จะทาการวิจัย ในส่วนนี้จะ
เป็นการชักจูงให้ผู้อ่านเข้าใจและเห็นถึงความสาคัญของการ
ทางานวิจัย การเขียนในส่วนนี้ควรมีการอ้างอิงหลักฐานหรือ
  เหตุการณ์จะให้น้าหนักมากกว่าการเขียนด้วยความคิดเห็น
   ของผู้วิจัยเพียงอย่างเดียว การเขียนควรแสดงเนื้อหา 4
ประการ (1) การนาเข้าสู่ปัญหาการวิจัย(2) ที่มาของปัญหา
               การวิจัย (3) ปัญหาการวิจัย และ
                  (4) ความสาคัญของปัญหา
ตัวอย่างการเขียนความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
    ชื่อเรื่องการวิจัย การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการออกกลางคัน
ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
     การเขียนควรกล่าวเกริ่นนาก่อนเข้าสู่ปัญหาที่เกิดในสถาบัน เช่น
กล่าวนาถึงพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาที่มีหน้าที่หลักในการ
ผลิตบัณฑิต (1) จนกระทั่งกล่าวถึงสาเหตุหรือที่มาของการออก
กลางคัน อาจจะเนื่องจากสภาพเศรษฐกิจที่ผันผวนกอปรกับฐานะของ
นักศึกษาที่ยากจน จึงนาสู่ปัญหาของสถาบัน ได้แก่ การออกกลางคัน
ของนักศึกษา (2) ซึ่งมีปัจจัยเกี่ยวเนื่องหลายประการ .... ในขั้นตอนนี้
เป็นการนาสู่ปัญหาวิจัยที่ว่า ปัจจัยอะไรบ้างที่ส่งผลต่อการออก
กลางคันของนักศึกษา (3) นั่นเอง จากนั้นให้สรุปท้ายถึงความสาคัญใน
การศึกษาครั้งนี้ (4) เพื่อชี้ให้เห็นถึงความจาเป็นในการทาวิจัย
วัตถุประสงค์การวิจัย
     การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัยเป็นการกาหนดขอบเขตของ
ปัญหา ควรเขียนให้ครอบคลุมปัญหาวิจัยสอดคล้องกับชื่อเรื่อง และ
ต่อเนื่องกับความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา เขียนให้ชัดเจน ใช้
ภาษาที่เข้าใจง่าย ได้ใจความและควรเขียนเป็นประเป็นประโยคบอกเล่า
มากกว่าที่จะเป็นประโยคคาถาม
     ชื่อเรื่องการวิจัย
     การศึกษาสมรรถภาพการวิจัยของอาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
พิบูลสงคราม
     วัตถุประสงค์การวิจัย
     เพื่อศึกษาสมรรถภาพการวิจัยของอาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
พิบูลสงคราม
     เพื่อเปรียบเทียบสมรรถภาพการวิจัยของอาจารย์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏพิบูล
สมมติฐานการวิจัย

สมมติฐานเป็นคาตอบของปัญหาวิจัยที่ผู้วิจัยมักจะคาดการณ
  คาตอบไว้ล่วงหน้าโดยอาศัยประสบการณ์ จะต้องอาศัย
  ข้อมูลจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องหรือ
  จากการสารวจเบื้องต้นสนับสนุน
สมมติฐานเป็นสิ่งชี้ทิศทางของการวิจัย ระบุถึงตัวแปรอิสระ
  ตัวแปรตาม การเขียนสมมติฐานที่ดีควรจะแสดงให้เห็นถึง
  ความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษา และสมมติฐานการวิจัยที่
  ดีต้องทดสอบความสัมพันธ์ได้
ขอบเขตของการวิจัย
การระบุขอบเขตของการวิจัยจะช่วยให้เข้าใจงานวิจัยได้ชัดเจน
ยิ่งขึ้น โดยทั่วไปจะกาหนดขอบเขตการวิจัยสองส่วนด้วยกัน
ได้แก่ ประชากร และตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
ตัวอย่างการเขียนขอบเขตการวิจัย 1
        ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ อาจารย์สังกัด
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามที่ปฏิบัติการสอนอยู่ในปี
การศึกษา 2555 จานวน 434 คน
ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย
ตัวแปรต้น ได้แก่ วุฒิการศึกษา และประสบการณ์การวิจัย
ตัวแปรตาม ได้แก่ สมรรถภาพการวิจัย
นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย
       การเขียนนิยามศัพท์ควรเขียนเฉพาะคาที่ต้องการสื่อความหมายให้เข้าใจ
ตรงกัน ไม่จาเป็นต้องนิยามทุกคา เช่น เพศ ไม่จาเป็นต้องนิยาม เพราะทราบ
กันโดยทั่วไปว่า หมายถึง ชาย-หญิง และการนิยามศัพท์ที่ดีควรเป็นการนิยามเชิง
ทฤษฎีควบคู่กับการนิยามเชิงปฏิบัติการฃ
ตัวอย่างการเขียนนิยามศัพท์เฉพาะทีใช้ในการวิจัย
                                     ่
สมรรถภาพการวิจัย หมายถึง การแสดงออกถึงความรู้ด้านวิธีวิทยาการวิจัย
ครอบคลุมความรู้ด้านระเบียบวิธีวิจัย แนวคิดในการทาวิจัย การค้นคว้าเอกสาร
และงานวิจยทีเกี่ยวข้อง การสุ่มตัวอย่างในการวิจัย การสร้างเครื่องมือในการ
           ั ่
วิจัย การใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล การใช้คอมพิวเตอร์ในการวิจัย และการ
เขียนรายงานการวิจัย ซึ่งวัดเป็นคะแนนจากแบบสอบถามความต้องการพัฒนา
สมรรถภาพการวิจัยที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
อาจารย์ หมายถึง อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามทั้งทีเป็นข้าราชการ
                                                              ่
และพนักงานอาจารย์ที่กาลังปฏิบัตหน้าทีในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2542
                                   ิ   ่
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
ควรเขียนทั้งประโยชน์ทางวิชาการหรือคุณค่าทางวิชาการที่ได้จาก
การวิจัย และประโยชน์ในทางปฏิบัติ ควรสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของการวิจยและมีความเป็นไปได้ และเรียงลาดับข้อ
                      ั
จากข้อที่เป็นประโยชน์โดยตรงมากที่สุดไปสู่น้อยที่สุดและลักษณะ
ประโยคควรเป็นลักษณะเดียวกัน
ตัวอย่างการเขียนประโยชน์ของการวิจัย
1. ได้ข้อความรู้ทครอบคลุมเกี่ยวกับความต้องการพัฒนา
                  ี่
สมรรถภาพการวิจัยของคณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล
สงครามในภาพรวม
2. ได้ข้อมูลพื้นฐานในการจัดฝึกอบรมพัฒนาสมรรถภาพการวิจัย
ของคณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามเพื่อเสริมสร้าง
ศักยภาพในการทาวิจัยให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
         จะต้องเขียนให้เห็นว่าผู้วิจัยได้มีการศึกษา ค้นคว้า
และประมวลความรู้จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
กับการวิจัย การเลือกสรร ผ่านการวิเคราะห์และ
สังเคราะห์แล้วจะนาเสนออย่างเป็นระบบ
โดยทั่วไปจะนาเสนอเป็น 2 ส่วน คือ
ส่วนแรกประกอบด้วย นิยาม แนวคิด ทฤษฎี
ส่วนที่สองเป็นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการแสดงกรอบ
ความคิดในการวิจัยด้วยแผนภูมิจะแสดงให้เห็นถึงผลที่ได้
จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องได้ชัดเจน
ยิ่งขึ้น
การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ตัวอย่าง
                                  บทที่ 2
                  เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
    การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีตลอดจน
เอกสาร ตารา บทความและรายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดย
นาเสนอเป็น 3 ตอน ดังนีคือ       ้
     ตอนที่ 1 หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสมรรถภาพการวิจัย
      ตอนที่ 2 นโยบายและแนวทางเกี่ยวกับการวิจัยของ
หน่วยงานทางการศึกษา
      ตอนที่ 3 งานวิจัยที่เกี่ยวกับสมรรถภาพการวิจัย
วิธีดาเนินการวิจัย
 วิธีดาเนินการวิจัย
        แบบแผนการวิจัย ผู้วิจัยจะต้องระบุถึงแบบแผนการวิจัยที่
ใช้ในการศึกษา อาทิ การวิจัยเชิงสารวจ การวิจัยเชิงทดลอง
เป็นต้น
        ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ในส่วนของประชากรผู้วิจัย
จะต้องระบุลักษณะของประชากรที่ใช้ในการวิจัยให้ชัดเจนว่าเป็น
ใครหรือสิ่งใด มีคุณลักษณะหรือคุณสมบัติอย่างไร ปริมาณหรือ
ขนาดเท่าไร และในส่วนของกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยต้องระบุจานวน
ตัวอย่าง และการได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างหรือการเลือกกลุ่ม
ตัวอย่างเป็นขั้นตอนอย่างละเอียด
วิธีดาเนินการวิจัย
       เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและการเก็บ
รวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยจะต้องระบุชนิดของเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ
ข้อมูล ลักษณะของเครื่องมือ ตลอดจนขั้นตอนการสร้างและ
พัฒนาคุณภาพของเครื่องมือ รวมทั้งผลการตรวจสอบคุณภาพ
ของเครื่องมือ นอกจากนี้ผู้วิจัยควรระบุถึงวิธีการเก็บรวบรวม
ข้อมูล ผู้ที่ทาการเก็บรวบรวมข้อมูล ตลอดจนแสดงให้เห็นถึงการ
ควบคุมคุณภาพในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความ
เที่ยงและความตรง
วิธีดาเนินการวิจัย
        การวิเคราะห์ข้อมูล ในส่วนนี้ ผู้วิจัยจะต้อง
นาเสนอให้เห็นถึงวิธีการทางสถิติที่ใช้ในการวิจัย ตั้งแต่
วิธีการทางสถิติที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
และวิธีการทางสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งข้อมูลเชิง
คุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณ
        ผู้วิจัยนาเสนอได้ชัดเจนมากเท่าไร ก็จะแสดงให้เห็น
ถึงความรัดกุมของการวางแผนโครงการวิจัยและความ
น่าเชื่อถือของผู้วิจัย ซึ่งเป็นเกณฑ์ในการวัดความเป็นไปได้
ของโครงการวิจัยได้อีกส่วนหนึ่ง
ระยะเวลาทาการวิจัย และแผนการดาเนินงาน

       ผู้วิจัยจะต้องระบุเวลาที่ใช้ในการวิจัยตั้งแต่เริ่มต้นจน
สิ้นสุดโครงการ รวมทั้งควรมีการกาหนดเวลาของการ
ดาเนินการในขั้นตอนต่าง ๆ ว่าจะใช้เวลาเท่าไร ควรทา
ตารางเวลาหรือแผนภูมิประกอบเพื่อความชัดเจน
งบประมาณที่ใช้ในการวิจัยน

       โครงการวิจัยที่เสนอของบประมาณหรือขอทุน
สนับสนุนการวิจัยจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีรายละเอียด
เกี่ยวกับงบประมาณที่ใช้ในการวิจัย เพื่อประกอบในการ
พิจารณาอนุมติงบประมาณหรือเงินทุน การเขียน
             ั
งบประมาณควรเขียนตามหมวดเงิน ดังนี้ หมวด
ค่าตอบแทน หมวดค่าใช้สอย หมวดค่าวัสดุ หมวดค่า
ครุภัณฑ์ หมวดค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ฯลฯ
ผู้วิจัย/คณะผู้ดาเนินการวิจัย
       ผู้วิจัย/คณะผู้ดาเนินการวิจัย
       ผู้วิจัยหรือคณะผู้วิจัยควรที่จะระบุคุณวุฒิ อาชีพ
หน่วยงานที่สังกัด หมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร พร้อมทั้ง
ระบุหมายเลขทะเบียนนักวิจัยแห่งชาติ (ถ้ามี)
ประสบการณ์ในการทาวิจัย ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์และ
เผยแพร่ และรายงานวิจัยที่กาลังดาเนินการอยู่ในปัจจุบัน
เพื่อเป็นการสร้างความเชื่อมั่นในระดับหนึ่งแก่ผู้พิจารณา
ทุนสนับสนุนการวิจัย และในกรณีที่มีที่ปรึกษา
โครงการวิจัย ผู้วิจัยควรจะระบุให้ชัดเจนด้วยเช่นกัน
หนังสืออ้างอิงหรือบรรณานุกรม

     ให้ระบุแหล่งที่มาของเอกสาร ชื่อเอกสาร สิ่งพิมพ์
และหลักฐานทุกประเภทที่ผู้วิจัยนามาใช้ประกอบ
การศึกษาค้นคว้าในการเขียนรายงานการวิจัย การเขียน
บรรณานุกรมควรใช้รูปแบบที่เป็นมาตรฐาน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชdnavaroj
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
งานและกำลัง
งานและกำลังงานและกำลัง
งานและกำลังJiraporn
 
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
โครงงาน เรื่อง กระถางย่อยได้
โครงงาน เรื่อง กระถางย่อยได้โครงงาน เรื่อง กระถางย่อยได้
โครงงาน เรื่อง กระถางย่อยได้Kittiphan Pongsakoonthai
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก Suparat2804
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5Worrachet Boonyong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์Net Thanagon
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะการสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะNU
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 

La actualidad más candente (20)

ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
งานและกำลัง
งานและกำลังงานและกำลัง
งานและกำลัง
 
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
โครงงาน เรื่อง กระถางย่อยได้
โครงงาน เรื่อง กระถางย่อยได้โครงงาน เรื่อง กระถางย่อยได้
โครงงาน เรื่อง กระถางย่อยได้
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
 
Lessonplan 5animalgrowth2
Lessonplan 5animalgrowth2Lessonplan 5animalgrowth2
Lessonplan 5animalgrowth2
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะการสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะ
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด cเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
 

Destacado

แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียนแบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียนNU
 
ตัวแปร
ตัวแปร ตัวแปร
ตัวแปร Por Oraya
 
รายชื่อ E mail
รายชื่อ E mailรายชื่อ E mail
รายชื่อ E mailpat1988
 
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R) workshop2
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R) workshop2การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R) workshop2
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R) workshop2Prachyanun Nilsook
 
สมมุติฐานการวิจัย
สมมุติฐานการวิจัยสมมุติฐานการวิจัย
สมมุติฐานการวิจัยguesteecd7
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 

Destacado (9)

แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียนแบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
 
2
22
2
 
ตัวแปร
ตัวแปร ตัวแปร
ตัวแปร
 
รายชื่อ E mail
รายชื่อ E mailรายชื่อ E mail
รายชื่อ E mail
 
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R) workshop2
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R) workshop2การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R) workshop2
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R) workshop2
 
สมมุติฐานการวิจัย
สมมุติฐานการวิจัยสมมุติฐานการวิจัย
สมมุติฐานการวิจัย
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 

Similar a การวิจัยสถาบัน

07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final examKruBeeKa
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อJeeraJaree Srithai
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีguest65361fd
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนNampeung Kero
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)sirinyabh
 

Similar a การวิจัยสถาบัน (20)

07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
maisooree
maisooreemaisooree
maisooree
 
classroom research submit
classroom research submitclassroom research submit
classroom research submit
 
023 qualitative research
023 qualitative research023 qualitative research
023 qualitative research
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)
 

Más de NU

การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์NU
 
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนแบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนNU
 
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัยNU
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติNU
 
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญาการสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญาNU
 
ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาNU
 
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษาNU
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยNU
 
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียนNU
 
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียนการวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียนNU
 
มโนทัศน์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
มโนทัศน์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้มโนทัศน์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
มโนทัศน์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้NU
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยNU
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรมNU
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลNU
 
มาตการวัดตัวแปร
มาตการวัดตัวแปรมาตการวัดตัวแปร
มาตการวัดตัวแปรNU
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติNU
 

Más de NU (20)

การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
 
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนแบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
 
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
 
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญาการสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
 
ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
 
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา
๒การจำแนกจุดมุ่งหมายการศึกษา
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเก็บข้อมูลวิจัยในชั้นเรียน
 
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียนการวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวิจัยในชั้นเรียน
 
มโนทัศน์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
มโนทัศน์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้มโนทัศน์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
มโนทัศน์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
 
มาตการวัดตัวแปร
มาตการวัดตัวแปรมาตการวัดตัวแปร
มาตการวัดตัวแปร
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 

การวิจัยสถาบัน

  • 1. การวิจัยสถาบัน วันที่ 27 สิงหาคม 2555 ณ ห้องประชุม ท 410 อาคารทีปวิชญ์ ดร.กฤธยากาญจน์ โตพิทักษ์
  • 2. เป้าหมาย เช้า สาย .......นาสู่การวิจัยสถาบัน ขอบข่ายการวิจัยสถาบัน มรพส. บ่าย เย็น กรณีตัวอย่าง..สู่การวิจัย เค้าโครงการวิจัยสถาบัน สถาบัน
  • 3. ผู้ใดที่ใฝ่รู้และได้รบสารสนเทศที่มีคุณค่า ั ทันสมัย อย่างต่อเนื่อง ผู้นั้นย่อมได้รับชัยชนะเหนือผู้อื่น
  • 4. ส่งเสริมให้บุคลากรทางานวิจัยในงานประจา (Routine to Research: R2R) วงการการศึกษาคาดหวังว่า การวิจัยสถาบัน จักเป็นนวัตกรรมเชิงกระบวนการที่ เอื้อต่อการพัฒนาการปฏิบัติงานขององค์กรและ ยกระดับสู่การพัฒนาวิชาชีพของบุคลากร อันเป็นเป้าหมายสุดท้าย
  • 5. ผลที่ได้จากการวิจัยสถาบัน 1. นาไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนา สถาบัน 2. เป็นผลงานทางวิชาการที่สามารถนาไปใช้ในการ ขอรับการประเมินเพื่อความก้าวหน้าในวิชาชีพ 3. แสวงหาชุดข้อมูลที่มความถูกต้องและเชื่อถือได้ ี เพื่อใช้ในการประกันคุณภาพ 4. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งเน้นการตรวจสอบ ตนเองและการพัฒนาที่ต่อเนื่อง
  • 6. การวิจัยสถาบัน (Institutional Research) หมายถึง กระบวนการแสวงหาสารสนเทศ หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาขององค์กรเพื่อ ประโยชน์ในการจัดหาข้อมูลสาหรับสนับสนุน การวางแผน การกาหนดนโยบายและการ ตัดสินใจขององค์กร โดยใช้วิธีวิทยาการวิจัยในลักษณะต่าง ๆ ที่ เหมาะสมกับบริบทหรือองค์กรที่จะ ทาการศึกษา
  • 7. ความเป็นมาของการวิจัยสถาบัน แพร่หลายในปี ค.ศ. 1820 โดย Professor W.H. Cowley Stanford university ได้นามาเสนอต่อที่ประชุมเพื่อประเมินผลของ คณะกรรมการปฏิบัติงานของ Harvard university ซึ่งเป็นข้อค้นพบของ Yale university เมื่อปี ค.ศ. 1701 จากนั้นก็มีการวิจยเพือติดตามผลระยะสั้นๆ ั ่ อย่างแพร่หลายโดยคนในองค์กรหรือสถาบัน หรือที่เรียกว่า การศึกษาตนเอง (Self Study)
  • 8. ความเป็นมาของการวิจัยสถาบันในประเทศไทย เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพ.ศ. 2514 โดยมีหน้าที่ 3 ประการคือ 1.เพื่อรวบรวมข้อมูลที่จาเป็นสาหรับการวางแผนพัฒนาและการ บริหารมหาวิทยาลัย 2.เพื่อทาการวิจัยตามความต้องการของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการทาวิจัยอื่นๆ ที่เป็นไปตามภาระหน้าที่ประจา 3. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลในรูปแบบต่างๆ โดยมีระบบข้อมูลเพื่อการ บริหารของจุฬาลงกรณ์ (CU–MIS) เป็นเครื่องมือในการจัดการข้อมูล ประกอบไปด้วยข้อมูล 5 ประเภท ได้แก่ ข้อมูลโปรแกรมทาง การศึกษา ข้อมูลอาจารย์ ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ ข้อมูลนิสิต ข้อมูลการเงิน ข้อมูลอาคารสถานที่และสิ่งอานวยความ
  • 9. สมาคมการวิจัยสถาบันและพัฒนาอุดมศึกษา Association of Institutional Research and Higher Education Development, 12 กรกฎาคม 2543 ศ.ดร. วิจิตร ศรีสอ้าน เป็นนายกสมาคม วัตถุประสงค์เพื่อ 1. เป็นศูนย์กลางของนักวิจัยสถาบัน นักวิชาการ และ ผู้บริหารการศึกษา ได้พบปะแลกเปลี่ยนความคิดใหม่ ๆ อัน นาไปสู่ประโยชน์ในทางวิชาการและวิชาชีพ 2. ส่งเสริมการจัดทาวิจัยสถาบันและเผยแพร่ผลงาน 3. ให้บริการทางด้านการวิจัยสถาบัน ด้านนโยบายและแผน และการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
  • 10. พัฒนาการของการวิจัยสถาบัน •ยุคบุกเบิก พ.ศ. 2514-2517 นับตั้งแต่จุฬาฯ ได้จัดตั้งหน่วย ยุคที่ 1 วิจัยสถาบันขึ้นจนขยายตัวอย่างต่อเนื่อง • ยุคขยายเป็นเครือข่ายระดับชาติ พ.ศ.2517-ปัจจุบัน ขยาย ยุคที่ 2 เครือข่ายการวิจัยสถาบันระดับชาติ นาโดยบวงมหาวิทยาลัย •ยุคการใช้ผลเพื่อการปฏิรูปการศึกษาและการประกันคุณภาพ ยุคที่ 3 การศึกษา พ.ศ.2530-ปัจจุบัน • ยุคพัฒนาเป็นวิชาชีพชั้นสูง จนกระทั่งมีการเปิดสอนเป็นส่วน ยุคที่ 4 หนึ่งหรือเป็นรายวิชาในหลักสูตร มีสมาคม การอบรมฯลฯ
  • 11. ลักษณะของการวิจัยสถาบัน 1. เป็นการทาวิจัยตามขอบเขต ลักษณะ หน้าที่ หรือ โครงสร้างของงานที่รับผิดชอบหรือปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละ องค์กรหรือสถาบันนั้นๆ 2. เป็นการทาวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาหรือกาหนดนโยบายหรือ พัฒนาองค์กรหรือสถาบันนั้นๆ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว แต่อาจนาไปเป็นแนวทางในการวิจัยสถาบันอื่นๆ ได้ 3. คณะผู้วิจัยเป็นนักวิจัย หรือ นักวิชาการ ที่สังกัดอยู่ภายใน หน่วยงานหรือสถาบันนั้นๆ (เว้นแต่จะมีที่ปรึกษาจากภายนอก ร่วมด้วยก็ได้)
  • 12. เป้าหมายของการวิจัยสถาบัน • วิจัยเพื่อแก้ปัญหา โดยจาเป็นต้องมีการวิจัย สาหรับ ใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจ ติดตาม และปรับเปลี่ยน การดาเนินงานของสถาบัน • วิจัยเพื่อการตัดสินใจ เป็นการวิจัยเพื่อประกอบการ ตัดสินใจในบางเรื่อง • วิจัยเพื่อวางแผนอนาคต เพื่อเตรียมความพร้อมใน การดาเนินงานของสถาบันได้อย่างเหมาะสม • วิจัยเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา สถาบันจึงต้อง มีการประเมินคุณภาพภายในของตนเองอยู่เป็นประจา
  • 13. ขอบข่ายของการวิจัยสถาบัน 1. คุณลักษณะนิสิตนักศึกษา เช่น การวิเคราะห์คุณลักษณะ นักศึกษาที่เหมาะสม นักศึกษาใหม่ บัณฑิต ความต้องการ/ เป้าหมายในชีวิตของนักศึกษา ความคิดเห็นต่อ สภาพแวดล้อมของมหาวิทยาลัย 2. คณาจารย์และบุคลากร เช่น การประเมินผลการสอน การ ประเมินประสิทธิภาพของอาจารย์ สภาพขวัญ กาลังใจ ความ พึงพอใจ โครงสร้างลักษณะสังคม เศรษฐกิจของอาจารย์/ บุคลากรอื่นๆ การพัฒนาอาจารย์/บุคลากร 3. หลักสูตรและการสอน เช่น การวิเคราะห์ปรัชญา การศึกษา การกาหนดปรัชญาและเป้าหมายทางการศึกษา การประเมินหลักสูตร การพิจารณาเกรด
  • 14. ขอบข่ายของการวิจัยสถาบัน 4. การประเมินโครงการหรือกิจกรรมในสถาบัน เช่น คุณภาพ การศึกษา การใช้แหล่งสารสนเทศ การประเมินโครงการตาม แผน การประเมินโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ ที่มหาวิทยาลัย ดาเนินการ 5. การจัดการลงทะเบียน เช่น ความต้องการในการเรียนวิชา ต่างๆ สาขาวิชาที่คนต้องการ วิธีการสอบคัดเลือก วิธีการรับ สมัคร ความต้องการและวิธีการผลิตคนสู่แหล่งงาน 6. การทานายความสาเร็จของการศึกษา เช่น การทานายผล ความสาเร็จของนักศึกษา การทานายผลการบริหารของ ผู้บริหารระดับต่างๆ และผลการปฏิบัติงานของบุคลากร
  • 15. ขอบข่ายของการวิจัยสถาบัน 7. การวางแผน เช่น การพิจารณาวิธีการวางแผน การ ประเมินแผนในลักษณะต่างๆ และในระดับต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ระดับมหาวิทยาลัย คณะหรือหน่วยงานหรือภาควิชา 8. การวิเคราะห์นโยบาย เช่น การวิเคราะห์วิธีการกาหนด นโยบาย โครงสร้างและรายละเอียดของนโยบาย การ วิเคราะห์เป้าหมาย 9. ระบบข้อมูล เช่น การพิจารณาจัดทาระบบข้อมูลพื้นฐาน เพื่อการดาเนินงานและกิจกรรมอื่นๆ ตามขอบข่ายหน้าที่ของ มหาวิทยาลัย เทคนิคการรายงานเผยแพร่ ของมหาวิทยาลัย
  • 16. ขอบข่ายของการวิจัยสถาบัน 10. งบประมาณและค่าใช้จ่าย เช่น รูปแบบการจัดสรร งบประมาณภายในมหาวิทยาลัย การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายใน ลักษณะต่างๆ แนวทางการจัดหารายได้ของมหาวิทยาลัยการ ลงทุนการศึกษา 11. อาคารสถานที่ การจัดตารางบริการและการใช้ประโยชน์ เช่น ลักษณะการใช้พื้นที่ในมหาวิทยาลัย การวิเคราะห์ความ ต้องการใช้พื้นที่ การคาดคะเนการใช้พื้นที่ การใช้อาคาร การ จัดสาธารณูปโภคต่างๆ ความคุ้มค่าและความเหมาะสม การ วิเคราะห์ตารางการให้บริการเพื่อสนับสนุนกิจกรรมของ มหาวิทยาลัย
  • 17. กิจกรรมที่ 1 ขอบข่ายการวิจัยสถาบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 1. แบ่งกลุ่มตามสะดวกประมาณ 5-6 คน เลือกประธาน เลขา และ ผู้นาเสนอ 2. วิเคราะห์ประเด็น (อยากรู้/ต้องรู้) เพื่อนาไปสู่การวิจัยสถาบันใน มหาวิทยาลัยพิบูลสงครามของเรา กลุ่มที่ 1 ตามพันธกิจของมหาวิทยาลัย กลุ่มที่ 2 ตามพันธกิจของหน่วยงานที่สังกัด (เลือก 1 หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง) กลุ่มที่ 3 ตามภาระงานที่ท่านรับผิดชอบ กลุ่มที่ 4 ตามองค์ประกอบของการประกันคุณภาพ การศึกษา กลุ่มที่ 5 ตามกลุ่มเป้าหมายที่ให้บริการ 3. อภิปรายและสรุปภายใน 40 นาที และจัดผู้นาเสนอ
  • 18. วิธวทยาการวิจยทีใช้การวิจยสถาบัน ี ิ ั ่ ั • การวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) • การวิจัยเชิงประเมิน (Evaluative Research) • การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) • การวิจัยเชิงพัฒนา (Research and Development) • การวิจัยเชิงอนาคต (Future Research)
  • 19. การเขียนโครงการวิจัยสถาบัน 1. ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 2. ความสาคัญและที่มาของปัญหาทีทาการวิจัย ่ 3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 4. สมมติฐานของการวิจัย 5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 6. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 7. วิธีการดาเนินงานวิจัย 7.1 แบบแผนการวิจัย 7.2 การกาหนดกลุ่มตัวอย่าง 7.3 การกาหนดเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 7.4 การกาหนดวิธีการทางสถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ิ 8. ขอบเขตของการวิจัย 9. ระยะเวลาทาการวิจัย 10.แผนการดาเนินงานตลอดโครงการ (ให้ระบุขั้นตอนโดยละเอียด) 11.งบประมาณของโครงการวิจัย (ระบุโดยละเอียด) 12.เอกสารอ้างอิง
  • 20. ชื่อโครงการวิจัย • ชื่อโครงการวิจัย ชื่อโครงการวิจัยควรจะเขียนให้สะท้อนให้เห็นตัวแปร ประชากร และวิธีการศึกษา ตัวอย่างชื่อโครงการวิจัย 1 การวิเคราะห์ภาระงานสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล สงคราม ตัวแปร คือ ภาระงานสอน ประชากร คือ อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วิธีการศึกษา คือ การศึกษาเชิงวิเคราะห์ ตัวอย่างชื่อโครงการวิจัย 2 การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการออกกลางคันของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตัวแปรต้น คือ ปัจจัยด้านต่าง ๆ ตัวแปรตาม คือ การออกกลางคัน ประชากร คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วิธีการศึกษา คือ การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสาเหตุ
  • 21. ตัวอย่างชื่อโครงการวิจัย 1 การวิเคราะห์ภาระงานสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงคราม ตัวแปร คือ ภาระงานสอน ประชากร คือ อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วิธีการศึกษา คือ การศึกษาเชิงวิเคราะห์ ตัวอย่างชื่อโครงการวิจัย 2 การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการออกกลางคันของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตัวแปรต้น คือ ปัจจัยด้านต่าง ๆ ตัวแปรตาม คือ การออกกลางคัน ประชากร คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วิธีการศึกษา คือ การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสาเหตุ
  • 22. ชื่อโครงการวิจัย สาระสาคัญของความเป็นมาและความสาคัญของ ปัญหาหรือภูมิหลังเป็นการนาเสนอถึงการมองปัญหาการวิจัย แนวกว้างแล้วค่อยๆ ลู่ลงสู่เรื่องที่จะทาการวิจัย ในส่วนนี้จะ เป็นการชักจูงให้ผู้อ่านเข้าใจและเห็นถึงความสาคัญของการ ทางานวิจัย การเขียนในส่วนนี้ควรมีการอ้างอิงหลักฐานหรือ เหตุการณ์จะให้น้าหนักมากกว่าการเขียนด้วยความคิดเห็น ของผู้วิจัยเพียงอย่างเดียว การเขียนควรแสดงเนื้อหา 4 ประการ (1) การนาเข้าสู่ปัญหาการวิจัย(2) ที่มาของปัญหา การวิจัย (3) ปัญหาการวิจัย และ (4) ความสาคัญของปัญหา
  • 23. ตัวอย่างการเขียนความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ชื่อเรื่องการวิจัย การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการออกกลางคัน ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม การเขียนควรกล่าวเกริ่นนาก่อนเข้าสู่ปัญหาที่เกิดในสถาบัน เช่น กล่าวนาถึงพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาที่มีหน้าที่หลักในการ ผลิตบัณฑิต (1) จนกระทั่งกล่าวถึงสาเหตุหรือที่มาของการออก กลางคัน อาจจะเนื่องจากสภาพเศรษฐกิจที่ผันผวนกอปรกับฐานะของ นักศึกษาที่ยากจน จึงนาสู่ปัญหาของสถาบัน ได้แก่ การออกกลางคัน ของนักศึกษา (2) ซึ่งมีปัจจัยเกี่ยวเนื่องหลายประการ .... ในขั้นตอนนี้ เป็นการนาสู่ปัญหาวิจัยที่ว่า ปัจจัยอะไรบ้างที่ส่งผลต่อการออก กลางคันของนักศึกษา (3) นั่นเอง จากนั้นให้สรุปท้ายถึงความสาคัญใน การศึกษาครั้งนี้ (4) เพื่อชี้ให้เห็นถึงความจาเป็นในการทาวิจัย
  • 24. วัตถุประสงค์การวิจัย การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัยเป็นการกาหนดขอบเขตของ ปัญหา ควรเขียนให้ครอบคลุมปัญหาวิจัยสอดคล้องกับชื่อเรื่อง และ ต่อเนื่องกับความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา เขียนให้ชัดเจน ใช้ ภาษาที่เข้าใจง่าย ได้ใจความและควรเขียนเป็นประเป็นประโยคบอกเล่า มากกว่าที่จะเป็นประโยคคาถาม ชื่อเรื่องการวิจัย การศึกษาสมรรถภาพการวิจัยของอาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงคราม วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาสมรรถภาพการวิจัยของอาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงคราม เพื่อเปรียบเทียบสมรรถภาพการวิจัยของอาจารย์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏพิบูล
  • 25. สมมติฐานการวิจัย สมมติฐานเป็นคาตอบของปัญหาวิจัยที่ผู้วิจัยมักจะคาดการณ คาตอบไว้ล่วงหน้าโดยอาศัยประสบการณ์ จะต้องอาศัย ข้อมูลจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องหรือ จากการสารวจเบื้องต้นสนับสนุน สมมติฐานเป็นสิ่งชี้ทิศทางของการวิจัย ระบุถึงตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม การเขียนสมมติฐานที่ดีควรจะแสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษา และสมมติฐานการวิจัยที่ ดีต้องทดสอบความสัมพันธ์ได้
  • 26. ขอบเขตของการวิจัย การระบุขอบเขตของการวิจัยจะช่วยให้เข้าใจงานวิจัยได้ชัดเจน ยิ่งขึ้น โดยทั่วไปจะกาหนดขอบเขตการวิจัยสองส่วนด้วยกัน ได้แก่ ประชากร และตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ตัวอย่างการเขียนขอบเขตการวิจัย 1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ อาจารย์สังกัด มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามที่ปฏิบัติการสอนอยู่ในปี การศึกษา 2555 จานวน 434 คน ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย ตัวแปรต้น ได้แก่ วุฒิการศึกษา และประสบการณ์การวิจัย ตัวแปรตาม ได้แก่ สมรรถภาพการวิจัย
  • 27. นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย การเขียนนิยามศัพท์ควรเขียนเฉพาะคาที่ต้องการสื่อความหมายให้เข้าใจ ตรงกัน ไม่จาเป็นต้องนิยามทุกคา เช่น เพศ ไม่จาเป็นต้องนิยาม เพราะทราบ กันโดยทั่วไปว่า หมายถึง ชาย-หญิง และการนิยามศัพท์ที่ดีควรเป็นการนิยามเชิง ทฤษฎีควบคู่กับการนิยามเชิงปฏิบัติการฃ ตัวอย่างการเขียนนิยามศัพท์เฉพาะทีใช้ในการวิจัย ่ สมรรถภาพการวิจัย หมายถึง การแสดงออกถึงความรู้ด้านวิธีวิทยาการวิจัย ครอบคลุมความรู้ด้านระเบียบวิธีวิจัย แนวคิดในการทาวิจัย การค้นคว้าเอกสาร และงานวิจยทีเกี่ยวข้อง การสุ่มตัวอย่างในการวิจัย การสร้างเครื่องมือในการ ั ่ วิจัย การใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล การใช้คอมพิวเตอร์ในการวิจัย และการ เขียนรายงานการวิจัย ซึ่งวัดเป็นคะแนนจากแบบสอบถามความต้องการพัฒนา สมรรถภาพการวิจัยที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น อาจารย์ หมายถึง อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามทั้งทีเป็นข้าราชการ ่ และพนักงานอาจารย์ที่กาลังปฏิบัตหน้าทีในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2542 ิ ่
  • 28. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย ควรเขียนทั้งประโยชน์ทางวิชาการหรือคุณค่าทางวิชาการที่ได้จาก การวิจัย และประโยชน์ในทางปฏิบัติ ควรสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของการวิจยและมีความเป็นไปได้ และเรียงลาดับข้อ ั จากข้อที่เป็นประโยชน์โดยตรงมากที่สุดไปสู่น้อยที่สุดและลักษณะ ประโยคควรเป็นลักษณะเดียวกัน ตัวอย่างการเขียนประโยชน์ของการวิจัย 1. ได้ข้อความรู้ทครอบคลุมเกี่ยวกับความต้องการพัฒนา ี่ สมรรถภาพการวิจัยของคณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล สงครามในภาพรวม 2. ได้ข้อมูลพื้นฐานในการจัดฝึกอบรมพัฒนาสมรรถภาพการวิจัย ของคณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามเพื่อเสริมสร้าง ศักยภาพในการทาวิจัยให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
  • 29. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จะต้องเขียนให้เห็นว่าผู้วิจัยได้มีการศึกษา ค้นคว้า และประมวลความรู้จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กับการวิจัย การเลือกสรร ผ่านการวิเคราะห์และ สังเคราะห์แล้วจะนาเสนออย่างเป็นระบบ โดยทั่วไปจะนาเสนอเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนแรกประกอบด้วย นิยาม แนวคิด ทฤษฎี ส่วนที่สองเป็นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการแสดงกรอบ ความคิดในการวิจัยด้วยแผนภูมิจะแสดงให้เห็นถึงผลที่ได้ จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องได้ชัดเจน ยิ่งขึ้น
  • 30. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่าง บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีตลอดจน เอกสาร ตารา บทความและรายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดย นาเสนอเป็น 3 ตอน ดังนีคือ ้ ตอนที่ 1 หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสมรรถภาพการวิจัย ตอนที่ 2 นโยบายและแนวทางเกี่ยวกับการวิจัยของ หน่วยงานทางการศึกษา ตอนที่ 3 งานวิจัยที่เกี่ยวกับสมรรถภาพการวิจัย
  • 31. วิธีดาเนินการวิจัย วิธีดาเนินการวิจัย แบบแผนการวิจัย ผู้วิจัยจะต้องระบุถึงแบบแผนการวิจัยที่ ใช้ในการศึกษา อาทิ การวิจัยเชิงสารวจ การวิจัยเชิงทดลอง เป็นต้น ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ในส่วนของประชากรผู้วิจัย จะต้องระบุลักษณะของประชากรที่ใช้ในการวิจัยให้ชัดเจนว่าเป็น ใครหรือสิ่งใด มีคุณลักษณะหรือคุณสมบัติอย่างไร ปริมาณหรือ ขนาดเท่าไร และในส่วนของกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยต้องระบุจานวน ตัวอย่าง และการได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างหรือการเลือกกลุ่ม ตัวอย่างเป็นขั้นตอนอย่างละเอียด
  • 32. วิธีดาเนินการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและการเก็บ รวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยจะต้องระบุชนิดของเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ ข้อมูล ลักษณะของเครื่องมือ ตลอดจนขั้นตอนการสร้างและ พัฒนาคุณภาพของเครื่องมือ รวมทั้งผลการตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือ นอกจากนี้ผู้วิจัยควรระบุถึงวิธีการเก็บรวบรวม ข้อมูล ผู้ที่ทาการเก็บรวบรวมข้อมูล ตลอดจนแสดงให้เห็นถึงการ ควบคุมคุณภาพในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความ เที่ยงและความตรง
  • 33. วิธีดาเนินการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล ในส่วนนี้ ผู้วิจัยจะต้อง นาเสนอให้เห็นถึงวิธีการทางสถิติที่ใช้ในการวิจัย ตั้งแต่ วิธีการทางสถิติที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ และวิธีการทางสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งข้อมูลเชิง คุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณ ผู้วิจัยนาเสนอได้ชัดเจนมากเท่าไร ก็จะแสดงให้เห็น ถึงความรัดกุมของการวางแผนโครงการวิจัยและความ น่าเชื่อถือของผู้วิจัย ซึ่งเป็นเกณฑ์ในการวัดความเป็นไปได้ ของโครงการวิจัยได้อีกส่วนหนึ่ง
  • 34. ระยะเวลาทาการวิจัย และแผนการดาเนินงาน ผู้วิจัยจะต้องระบุเวลาที่ใช้ในการวิจัยตั้งแต่เริ่มต้นจน สิ้นสุดโครงการ รวมทั้งควรมีการกาหนดเวลาของการ ดาเนินการในขั้นตอนต่าง ๆ ว่าจะใช้เวลาเท่าไร ควรทา ตารางเวลาหรือแผนภูมิประกอบเพื่อความชัดเจน
  • 35. งบประมาณที่ใช้ในการวิจัยน โครงการวิจัยที่เสนอของบประมาณหรือขอทุน สนับสนุนการวิจัยจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีรายละเอียด เกี่ยวกับงบประมาณที่ใช้ในการวิจัย เพื่อประกอบในการ พิจารณาอนุมติงบประมาณหรือเงินทุน การเขียน ั งบประมาณควรเขียนตามหมวดเงิน ดังนี้ หมวด ค่าตอบแทน หมวดค่าใช้สอย หมวดค่าวัสดุ หมวดค่า ครุภัณฑ์ หมวดค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ฯลฯ
  • 36. ผู้วิจัย/คณะผู้ดาเนินการวิจัย ผู้วิจัย/คณะผู้ดาเนินการวิจัย ผู้วิจัยหรือคณะผู้วิจัยควรที่จะระบุคุณวุฒิ อาชีพ หน่วยงานที่สังกัด หมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร พร้อมทั้ง ระบุหมายเลขทะเบียนนักวิจัยแห่งชาติ (ถ้ามี) ประสบการณ์ในการทาวิจัย ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์และ เผยแพร่ และรายงานวิจัยที่กาลังดาเนินการอยู่ในปัจจุบัน เพื่อเป็นการสร้างความเชื่อมั่นในระดับหนึ่งแก่ผู้พิจารณา ทุนสนับสนุนการวิจัย และในกรณีที่มีที่ปรึกษา โครงการวิจัย ผู้วิจัยควรจะระบุให้ชัดเจนด้วยเช่นกัน
  • 37. หนังสืออ้างอิงหรือบรรณานุกรม ให้ระบุแหล่งที่มาของเอกสาร ชื่อเอกสาร สิ่งพิมพ์ และหลักฐานทุกประเภทที่ผู้วิจัยนามาใช้ประกอบ การศึกษาค้นคว้าในการเขียนรายงานการวิจัย การเขียน บรรณานุกรมควรใช้รูปแบบที่เป็นมาตรฐาน