SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 61
Descargar para leer sin conexión
1.เอกนาม
     4.การ
     หารพหุ                   2.พหุนาม
      นาม
                พหุนามและ
5.เศษส่วน     เศษส่วนของพหุ       3.การคูณ
 ของพนุ
                   นาม             พหุนาม
   นาม
•
1.เอกนาม
•
ข้อสังเกต
3. การคูณพหุนาม

พิจารณาการคูณพหุนามกับพหุนามต่อไปนีโ้ ดยใช้สมบัตการแจกแจง
                                                ิ
    1. (4x+5)(3x-4) = (4x+5)[(3x)+(-4)]
           = [(4x+5)(3x)]+[(4x+5)(-4)
     = (4x)(3x)+(5)(3x)+(4x)(-4)+(5)(-4)
                 = 12x2+15x-16x-20
                      = 12x2-x-20
ข้อสังเกต ใช้สมบัตการแจกแจงโดยนา (4x+5) ไปคูณแต่ละพจน์
                  ิ
                     ของ (3x)+(-4)
ข้อสังเกต ใช้สมบัตการแจกแจงโดยนา (3x+4) ไป
                  ิ
       คูณแต่ละพจน์ของ 2x2+6x+(-4)

การคูณพห ุนาม ทาได้โดยคูณแต่ละพจน์ของพห ุนามหนึ่งกับ
ท ุกๆ พจน์ของอีกพห ุนามหนึ่ง แล้วนาผลค ูณเหล่านันมาบวก
                                                ้
                         กัน
เราสามารถหาผลคูณของพหุนาม โดยเขียนการคูณใน
              แนวตัง ดังตัวอย่างต่อไปนี้
                   ้
• ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลคูณของ (2x2+4x-3)(x3+3x-7)
• วิธีทา วิธีทาที่ 1 ใช้สมบัตการแจกแจง
                             ิ
• (2x2+4x-3)(x3+3x-7)
• = (2x2)(x3+3x-7)+(4x)(x3+3x-7)+(-3)(x3+3x-
  7)
• =(2x2)(x3)+(2x2)(3x)+(2x2)(-7)
  +(4x)(x3)+(4x)(3x)+(4x)(-7)+(-3)(x3)+(-
  3)(3x)+ (-3)(-7)
• =2x5+6x3-14x2+4x4+12x2-28x-3x3-9x+21
• =2x5+4x4+3x3-2x2-37x+21
ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลคูณของ (x+y)(x+y)


• วิธีทา(x+y)(x+y) = (x+y)2
               = x2+2xy+y2
ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลคูณของ(x+y+z)
                   (x+y+z)
• วิธีทา(x+y+z) (x+y+z) = [(x+y)+z]
  [(x+y)+z]
                     = [(x+y)+z]2
                     = (x+y)2+2(x+y)z+z2
                     =
            x2+2xy+y2+2xz+2yz+z2
                     =
            x2+y2+z2+2xy+2xz+2yz
ตัวอย่างที่ 5 จงหาผลคูณของ (x+y-z)(x+y-z)

• วิธีทา (x+y-z)(x+y-z) = [(x+y)-z] [(x+y)-z]
•                    = [(x+y)-z]2
•                    = (x+y)2-2(x+y)z+z2
•                    = x2+2xy+y2-2xz-
    2yz+z2
•                     = x2+y2+z2+2xy-2xz-
    2yz
    ตอบ x2+y2+z2+2xy-2xz-2yz
ตัวอย่างที่ 6 ต้องการสร้างกล่องฝาเปิ ดจากแผ่นสังกะสี
    กว้าง 24 นิว ยาว 28 นิว โดยตัดมุม ทังสี่เป็ นรูป
                 ้           ้           ้
 สี่เหลี่ยมจัตรส ซึ่งแต่ละด้านยาว x หน่วย และพับขึน
              ุั                                     ้
ตามรอยประ จงเขียนพหุนามแสดงปริมาตรของกล่อง
                          ฝาเปิ ด
• วิธีทา กล่องฝาเปิ ดกว้าง 24-2x นิว ยาว 28-2x นิว และสูง x
                                   ้                  ้
  นิว
    ้
• ปริมาตร = ความกว้าง × ความยาว × ความสูง
•           = (24-2x)(28-2x)x                    ลูกบาศก์นว   ิ้
•           = (672-48x-56x+4x2)x ลูกบาศก์นว                ิ้
•           = 672x-104x2+4x3                 ลูกบาศก์นว ิ้
 ตอบ 672x-104x2+4x3                  ลูกบาศก์นว
                                              ิ้
4. การหารพห ุนาม
                       พิจารณาการหารต่อไปนี้
                               15 ÷ 3 = 5
                      กรณีน้ ีเรียกว่าการหารลงตัว
                         17 ÷ 3 ได้ 5 เศษ 2
     กรณีน้ ีเรียกว่าการหารไม่ลงตัว ซึ่งเขียนในรูปการค ูณได้เปน
                                                              ็


                     • 17 = (5×3)+2
               • ดังตัง = (ผลหาร×ตัวหาร)+เศษ
                      ้
• ในกรณีของพห ุนามหารด้วยพห ุนามก็มีทงการหารลงตัว และการหาร
                                        ั้
                    ไม่ลงตัว เช่นเดียวกัน ดังนี้
  • ถ้า P,Q,A และ R เปนพห ุนาม P หารด้วย Q เขียนแทนด้วย
                         ็
                        P÷Q เมื่อ Q ≠ 0
ถ้า P ÷ Q = A กรณีนเี้ ป็ นการหารลงตัว เรียก
    P,Q และ A ว่าตัวตัง ตัวหาร และผลหาร
                        ้
                   ตามลาดับ
ถ้า P ÷ Q ได้ A เศษ R เมือ R มีดกรีนอยกว่าดี
                          ่       ี ้
 หรีของ Q กรณีนเี้ ป็ นการหารไม่ลงตัว ซึ่งอยูใน
                                            ่
                รูปการคูณได้เป็ น
               P = (Q×A)+R
        ตัวตัง = (ตัวหาร×ผลหาร)+เศษ
             ้
พิจารณาการหารพหุนามด้วยเอกนามต่อไปนี้
            1. (3x2-6)÷3 = 3x2-6
                                   3
                       = 3x2- 6
                           3      3
                     = x2-2
เป็ นตัวหารลงตัว มีพหุนาม 3x2-6 เป็ นตัวตัง 4x เป็ น
                                          ้
           ตัวหาร และมี x2-2 เป็ นผลหาร
ข้อสังเกต การหารเอกนามด้วยเอกนาม ให้นาตัวหารไป
 หารทุกพจน์ของตัวตัง แล้วนาผลลัพธ์ที่ได้มารวมกัน
                   ้
• การหารพหุนามด้วยพหุนามที่ไม่เป็ นศูนย์ ในที่นี้
 กล่าวถึงเฉพาะกรณีที่ทงตัวตังและตัวหารเป็ นพหุนาม
                       ั้   ้
 ที่มตวแปรหนึงตัวและเป็ นตัวแปรเดียวกัน เช่น มี x
      ี ั      ่
 เป็ นตัวแปรเพียงหนึงตัว ในการเขียนพหุนามที่มตว
                    ่                         ี ั
 แปรหนึงตัวนิยมเขียนเรียงพจน์ โดยเรียงพจน์จากเลข
          ่
 ชีกาลังมากไปน้อย
   ้
เช่น พหุนาม 6x2-8x+4x3+12
เมือเขียนเรียงพจน์จากเลขชีกาลังจากมากไปน้อย
   ่                       ้
                     จะได้
             4x  3+6x2-8x+12
การหารพหุนามด้วยพหุนาม มีขนตอนดังนี้
                              ั้
• 1. เรียงพจน์ของพหุนามตัวตังและพหุนามตัวหารจากพจน์ที่มดกรี
                                ้                      ี ี
  มากไปพจน์ที่มดกรีนอย ถ้าดีกรีของพจน์ตวตังใดขาดหายไปนัน
               ี ี ้                   ั ้              ้
  จะต้องมีสมประสิทธิ์เป็ น 0 เช่น
           ั
    3x+5x4-x2+26
    เขียนเรียงลาดับดีกรีจากมากไปน้อยจะได้
   5x4+(0)x3-x2+3x+26
   2. นาตัวแรกของตัวหารไปหารพจน์แรกของตัวตัง จะได้ผลหาร
                                                  ้
   ตัวแรก เขียนผลหารที่ได้ไว้ที่บรรทัดเหนือตัวตัง
                                                ้
3. นาผลหารที่ได้จากข้อ 2 ไปคูณตัวหารทุก
พจน์ เขียนผลคูณที่ได้ไว้ที่บรรทัดใต้ตวตัง
                                     ั ้

4. นาผลหารที่ได้จากข้อ 3 ไปลบออกจากตัว
ตัง ผลลบที่ได้จะเป็ นตัวตังใหม่ในการหารครัง
  ้                       ้               ้
ต่อไป
5. สาหรับตัวตังใหม่ให้พิจารณาที่ดกรีว่าน้อยกว่า
               ้                 ี
ตัวหารหรือไม่ ถ้ายังมากกว่าหรือเท่ากันก็ให้หาร
เช่นเดียวกับข้อ 2,3 ต่อไปจนกว่าจะได้ดกรีของตัวตัง
                                      ี         ้
ใหม่นอยกว่าดีกรีของตัวหาร
      ้

*ขันตอนการหารจะสินสุดลงเมือตัวตังใหม่มดกรีนอย
   ้                  ้      ่  ้     ี ี ้
กว่าตัวหารซึ่งถือว่าเป็ นเศษ
ถ้าหารพหุนามแล้วได้เศษเป็ นศูนย์ เรียกว่า หารลง
ตัว



 ถ้าหารพหุนามแล้วได้เศษไม่เป็ นศูนย์ เรียกว่า หาร
ไม่ลงตัว
ตัวอย่างที่ 2 จงหาร x4-9x2-36 ด้วย x+4
วิธีทา 1.เรียงพจน์ของพหุนามตัวตังและพหุนามตัวหาร
                                     ้
จากพจน์ที่มดกรีมากไปพจน์ที่มดกรีนอย และจะเห็นว่า
               ี ี                ี ี ้
ไม่มพจน์ที่มีเลขชีกาลัง 3 และ 1 จึงใส่ 0 ไว้ (หรืออาจ
     ี               ้
เว้นที่ว่างไว้ก็ได้) แล้วเขียนการตังหาร
                                   ้
2. นาพจน์แรกของตัวหารคือ x ไปหารพจน์แรกของตัว
ตัง คือ x4 จะได้ผลหารเป็ น x3 เขียน x3 ไว้ที่บรรทัด
  ้
เหนือตัวตัง ้
3. นาผลหารที่ได้จากข้อ 2 คือ x3 ไปคูณตัวหารทุกพจน์
ได้ผลคูณเป็ น x4+4x3 เขียนผลคูณที่ได้ไว้ที่บรรทัดเหนือตัว
ตัง
  ้
4. นาผลหารที่ได้จากข้อ 3 คือ x4+4x3 ไปลบออกจากตัว
ตัง ้
ได้เป็ นผลลบเป็ น -4x3-9x2 ซึ่ง -4x3-9x2 จะเป็ นตัวตัง้
ใหม่ใรการหารครังต่อไป
                   ้
5. จากข้อ 4 ได้ตวตังใหม่คือ -4x3-9x2 นาพจน์แรกของ
                  ั ้
ตัวหารคือ x ไปหารพจน์แรกของตัวตังใหม่คอ -4x3 จะได้
                                  ้      ื
ผลหารเป็ น -4x2 นาผลหารนี้ (-4x2) ไปบวกกับผลหารที่
ได้ในข้อ 2 เป็ น x3 -4x2
6. นาผลหารจากข้อ 5 คือ -4x2 ไปคูณตัวหารทุก
พจน์ ได้ผลคูณเป็ น -4x3-16x2 นาผลคูณที่ได้ไปลบ
ออกจากตัวตังใหม่
              ้
 ได้ผลลบเป็ น 7x2 +(0)x ซึ่ง 7x2+0(x) จะเป็ น
ตัวตังใหม่ในการหารครังต่อไป กระทาเช่นนีไปเรื่อยๆ
     ้                 ้               ้
จนกว่าเลขชีกาลังของตัวตังใหม่นอยกว่าเลขชชีกาลัง
            ้            ้      ้         ้
ของตัวหารจึงหยุดการหารเขียนขันตอนการหาร
                                  ้
แบบต่อเนืองกันได้ดงนี้ ดังนัน ผลหารคือ x3-
         ่         ั        ้
4x2+7x-28 เศษ 76
หมายเหต ุ
โดยทัวไป ตัวตัง ตัวหาร ผลหาร และเศษ มี
     ่        ้
           ความสัมพันธ์กนดังนี้
                        ั
    ตัวตัง = (ตัวหาร×ผลหาร)+เศษ
         ้
5. เศษส่วนของพห ุ
      นาม
• ถ้า P และ Q แทนพหุนาม โดยที่ Q ≠ 0 แล้ว จะ
   เรียก P ส่วน Q ว่า เศษส่วนของพหุนาม ที่มี P เป็ น
   ตัวเศษ และ Q เป็ นตัวส่วน
                      หมายเหต ุ
 นิพจน์ 2x5, 4x+3 เป็ นเศษส่วนของพหุนามเช่นกัน
  เพราะ สามารถเขียน 2x5 ได้เป็ น 2x5 ยกกาลัง 1
 และเขียน 4x+3 ได้เป็ น 4x+3 ยกกาลัง 1 ซึ่งอยู่ใน
                รูปเศษส่วนของพหุนาม
เนืองจากตัวแปรในพหุนามแทนจานวนจริง ดังนัน
         ่                                      ้
พหุนามและเศษส่วนของพหุนามจึงเป็ นจานวนจริง เมือ   ่
กล่าวถึงเศษส่วนของพหุนาม พหุนามที่เป็ นตัวส่วนต้อง
ไม่เป็ นศูนย์ และเราจะใช้หลักการบวก ลบ คูณ หาร
จานวนจริง กับเศษส่วนของพหุนามเช่นเดียวกัน จึงจะได้
กล่าวถึงการบวก ลบ คูณ หาร เศาส่วนก่อนที่จะ
กล่าวถึงเศษส่วนของพหุนาม ดังนี้
5.1 การบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน
 กฎเกณฑ์การบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน
     ก่อนที่จะกล่าวถึงการบวกและการลบเศษส่วนของ
พหุนาม จะได้กล่าวถึงการคูณและการหารเศษส่วนของ
พหุนามก่อน เนืองจากจะนาไปใช้ในการหาผลบวกและผล
              ่
ลบเศษส่วนของพหุนามด้วย
5.2 การคูณและการหารเศษส่วนของพหุ
              นาม
      ในการหาผลคูณและผลหารของเศษส่วนของพหุ
นามใช้หลักการเดียวกับการหาผลคูณและผลหารของ
เศษส่วนของจานวนจริง
การคูณเศษส่วนของพหุนาม
      หลักการคูณ           นาตัวเศษคูณตัวเศษ
และนาตัวส่วนคูณตัวส่วน
หลักการคูณ             นาตัวเศษ
คูณตัวเศษ และนาตัวส่วนคูณตัวส่วน
การหารเศษส่วนของพหุ
        นาม
หลักการหาร               เปลี่ยน
เครื่องหมาย ÷ เป็ นเครื่องหมาย × และ
กลับเศษที่เป็ นตัวหารให้ตวเศษเป็ นตัว
                          ั
ส่วนและตัวส่วนเป็ นตัวเศษ แล้ว
ดาเนินการเหมือนการคูณพหุนาม
5.3การบวกและการลบ
 เศษส่วนของพหุนาม
การบวกและการลบเศษส่วน
ของพหุนามใช้หลักการเดียวกับ
การบวกและการลบเศษส่วนซึ่ง
แบ่งเป็ น 2 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 1 ถ้าเศษส่วนของพหุ
นามที่นามาหาผลลัพธ์มตวส่วน
                       ี ั
เท่ากัน ให้นาตัวเศษมาบวกหรือ
ลบกัน โดยตัวส่วนคงเดิม
กรณีที่ 2 ถ้าเศษส่วนของพหุ
นามที่นามาหาผลลัพธ์มตวส่วนไม่
                       ี ั
เท่ากัน ให้ทาเศษส่วนให้มตวส่วน
                         ี ั
เท่ากันก่อนโดยการหา ค.ร.น.
ของตัวส่วน
รายชือ
                                   ่
1.ด.ช.จิรายุ       จิตรวงศ์นนท์  ั     ม.2/1   เลขที่ 2
2.ด.ช.โชคทวี       อภิลา               ม.2/1   เลขที่ 3
3.ด.ช.ณัฐพงษ์      ศรีวิชยั            ม.2/1   เลขที่ 4
4.ด.ช.นรวัฒน์      วรรณทอง             ม.2/1   เลขที่ 6
5.ด.ช.นฤเทพ        หาญอยู่คม  ุ้       ม.2/1   เลขที่ 7
6.ด.ช.นาซานเนียร   วาเรีย              ม.2/1   เลขที่ 8
7.ด.ช.รัชพงศ์      ภูรีสิทธิ์          ม.2/1   เลขที่ 9
8.ด.ช.สิทธิพร      สุขเสถียร           ม.2/1   เลขที่ 10
9.ด.ช.โสฬส         โพธิระ              ม.2/1   เลขที่ 11
10.ด.ช.กฤษฎิ์      อาทร                ม.2/1   เลขที่ 13

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือTeraporn Thongsiri
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการแก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการsuwanpinit
 
แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2suwanpinit
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3krookay2012
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการkrusongkran
 
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนวิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนทับทิม เจริญตา
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวeakbordin
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1narong2508
 
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2ทับทิม เจริญตา
 

La actualidad más candente (20)

ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือ
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการแก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
 
แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
 
การแก้อสมการเชิงเส้น4
การแก้อสมการเชิงเส้น4การแก้อสมการเชิงเส้น4
การแก้อสมการเชิงเส้น4
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
Function1
Function1Function1
Function1
 
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนวิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
 
monomial and polynomail
monomial and polynomailmonomial and polynomail
monomial and polynomail
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
 
การแก้อสมการเชิงเส้น1
การแก้อสมการเชิงเส้น1การแก้อสมการเชิงเส้น1
การแก้อสมการเชิงเส้น1
 
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
 

Destacado

การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตkrookay2012
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละkrookay2012
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละนายเค ครูกาย
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์krookay2012
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 krookay2012
 
เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์dadaranee
 
เกมคณิตศาสตร์
เกมคณิตศาสตร์เกมคณิตศาสตร์
เกมคณิตศาสตร์Nannat Noiy
 
ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์guestf4034a
 

Destacado (14)

การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
 
เอกนามและพหุนาม
เอกนามและพหุนาม เอกนามและพหุนาม
เอกนามและพหุนาม
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์
 
คณิตศาสตร์กับเพลง
คณิตศาสตร์กับเพลงคณิตศาสตร์กับเพลง
คณิตศาสตร์กับเพลง
 
เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์
 
เกมคณิตศาสตร์
เกมคณิตศาสตร์เกมคณิตศาสตร์
เกมคณิตศาสตร์
 
ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์
 

Similar a พหหุนาม (20)

112
112112
112
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนาม
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
666
666666
666
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[3]
Prob[3]Prob[3]
Prob[3]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Asamakan1
Asamakan1Asamakan1
Asamakan1
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
 
A samakran
A samakranA samakran
A samakran
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
Original sy eq-solve2
Original sy eq-solve2Original sy eq-solve2
Original sy eq-solve2
 
Real
RealReal
Real
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
สื่อนิเทศ
สื่อนิเทศสื่อนิเทศ
สื่อนิเทศ
 

Más de krookay2012

เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้ายkrookay2012
 
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรเอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรkrookay2012
 
คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31krookay2012
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32krookay2012
 
อสมการ2
อสมการ2อสมการ2
อสมการ2krookay2012
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการkrookay2012
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรkrookay2012
 
ค่ากลาง
ค่ากลางค่ากลาง
ค่ากลางkrookay2012
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
การแจกแจงความถี่
การแจกแจงความถี่การแจกแจงความถี่
การแจกแจงความถี่krookay2012
 
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เค
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เคงานคณิตศาสตร์อาจารย์เค
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เคkrookay2012
 
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์krookay2012
 
งานนำเสนอ12
งานนำเสนอ12งานนำเสนอ12
งานนำเสนอ12krookay2012
 
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์krookay2012
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึมkrookay2012
 

Más de krookay2012 (17)

เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรเอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
 
คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32
 
อสมการ2
อสมการ2อสมการ2
อสมการ2
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตร
 
ค่ากลาง
ค่ากลางค่ากลาง
ค่ากลาง
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
การแจกแจงความถี่
การแจกแจงความถี่การแจกแจงความถี่
การแจกแจงความถี่
 
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เค
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เคงานคณิตศาสตร์อาจารย์เค
งานคณิตศาสตร์อาจารย์เค
 
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
 
งานนำเสนอ12
งานนำเสนอ12งานนำเสนอ12
งานนำเสนอ12
 
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
คณิตศาสตร์ 60 เฟรม กาญจนรัตน์
 
Graph
GraphGraph
Graph
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 

พหหุนาม

  • 1.
  • 2. 1.เอกนาม 4.การ หารพหุ 2.พหุนาม นาม พหุนามและ 5.เศษส่วน เศษส่วนของพหุ 3.การคูณ ของพนุ นาม พหุนาม นาม
  • 3.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29. 3. การคูณพหุนาม พิจารณาการคูณพหุนามกับพหุนามต่อไปนีโ้ ดยใช้สมบัตการแจกแจง ิ 1. (4x+5)(3x-4) = (4x+5)[(3x)+(-4)] = [(4x+5)(3x)]+[(4x+5)(-4) = (4x)(3x)+(5)(3x)+(4x)(-4)+(5)(-4) = 12x2+15x-16x-20 = 12x2-x-20 ข้อสังเกต ใช้สมบัตการแจกแจงโดยนา (4x+5) ไปคูณแต่ละพจน์ ิ ของ (3x)+(-4)
  • 30. ข้อสังเกต ใช้สมบัตการแจกแจงโดยนา (3x+4) ไป ิ คูณแต่ละพจน์ของ 2x2+6x+(-4) การคูณพห ุนาม ทาได้โดยคูณแต่ละพจน์ของพห ุนามหนึ่งกับ ท ุกๆ พจน์ของอีกพห ุนามหนึ่ง แล้วนาผลค ูณเหล่านันมาบวก ้ กัน
  • 31. เราสามารถหาผลคูณของพหุนาม โดยเขียนการคูณใน แนวตัง ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ้ • ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลคูณของ (2x2+4x-3)(x3+3x-7) • วิธีทา วิธีทาที่ 1 ใช้สมบัตการแจกแจง ิ • (2x2+4x-3)(x3+3x-7) • = (2x2)(x3+3x-7)+(4x)(x3+3x-7)+(-3)(x3+3x- 7) • =(2x2)(x3)+(2x2)(3x)+(2x2)(-7) +(4x)(x3)+(4x)(3x)+(4x)(-7)+(-3)(x3)+(- 3)(3x)+ (-3)(-7) • =2x5+6x3-14x2+4x4+12x2-28x-3x3-9x+21 • =2x5+4x4+3x3-2x2-37x+21
  • 32. ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลคูณของ (x+y)(x+y) • วิธีทา(x+y)(x+y) = (x+y)2 = x2+2xy+y2
  • 33. ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลคูณของ(x+y+z) (x+y+z) • วิธีทา(x+y+z) (x+y+z) = [(x+y)+z] [(x+y)+z] = [(x+y)+z]2 = (x+y)2+2(x+y)z+z2 = x2+2xy+y2+2xz+2yz+z2 = x2+y2+z2+2xy+2xz+2yz
  • 34. ตัวอย่างที่ 5 จงหาผลคูณของ (x+y-z)(x+y-z) • วิธีทา (x+y-z)(x+y-z) = [(x+y)-z] [(x+y)-z] • = [(x+y)-z]2 • = (x+y)2-2(x+y)z+z2 • = x2+2xy+y2-2xz- 2yz+z2 • = x2+y2+z2+2xy-2xz- 2yz ตอบ x2+y2+z2+2xy-2xz-2yz
  • 35. ตัวอย่างที่ 6 ต้องการสร้างกล่องฝาเปิ ดจากแผ่นสังกะสี กว้าง 24 นิว ยาว 28 นิว โดยตัดมุม ทังสี่เป็ นรูป ้ ้ ้ สี่เหลี่ยมจัตรส ซึ่งแต่ละด้านยาว x หน่วย และพับขึน ุั ้ ตามรอยประ จงเขียนพหุนามแสดงปริมาตรของกล่อง ฝาเปิ ด • วิธีทา กล่องฝาเปิ ดกว้าง 24-2x นิว ยาว 28-2x นิว และสูง x ้ ้ นิว ้ • ปริมาตร = ความกว้าง × ความยาว × ความสูง • = (24-2x)(28-2x)x ลูกบาศก์นว ิ้ • = (672-48x-56x+4x2)x ลูกบาศก์นว ิ้ • = 672x-104x2+4x3 ลูกบาศก์นว ิ้ ตอบ 672x-104x2+4x3 ลูกบาศก์นว ิ้
  • 36. 4. การหารพห ุนาม พิจารณาการหารต่อไปนี้ 15 ÷ 3 = 5 กรณีน้ ีเรียกว่าการหารลงตัว 17 ÷ 3 ได้ 5 เศษ 2 กรณีน้ ีเรียกว่าการหารไม่ลงตัว ซึ่งเขียนในรูปการค ูณได้เปน ็ • 17 = (5×3)+2 • ดังตัง = (ผลหาร×ตัวหาร)+เศษ ้ • ในกรณีของพห ุนามหารด้วยพห ุนามก็มีทงการหารลงตัว และการหาร ั้ ไม่ลงตัว เช่นเดียวกัน ดังนี้ • ถ้า P,Q,A และ R เปนพห ุนาม P หารด้วย Q เขียนแทนด้วย ็ P÷Q เมื่อ Q ≠ 0
  • 37. ถ้า P ÷ Q = A กรณีนเี้ ป็ นการหารลงตัว เรียก P,Q และ A ว่าตัวตัง ตัวหาร และผลหาร ้ ตามลาดับ ถ้า P ÷ Q ได้ A เศษ R เมือ R มีดกรีนอยกว่าดี ่ ี ้ หรีของ Q กรณีนเี้ ป็ นการหารไม่ลงตัว ซึ่งอยูใน ่ รูปการคูณได้เป็ น P = (Q×A)+R ตัวตัง = (ตัวหาร×ผลหาร)+เศษ ้
  • 38. พิจารณาการหารพหุนามด้วยเอกนามต่อไปนี้ 1. (3x2-6)÷3 = 3x2-6 3 = 3x2- 6 3 3 = x2-2 เป็ นตัวหารลงตัว มีพหุนาม 3x2-6 เป็ นตัวตัง 4x เป็ น ้ ตัวหาร และมี x2-2 เป็ นผลหาร
  • 39. ข้อสังเกต การหารเอกนามด้วยเอกนาม ให้นาตัวหารไป หารทุกพจน์ของตัวตัง แล้วนาผลลัพธ์ที่ได้มารวมกัน ้ • การหารพหุนามด้วยพหุนามที่ไม่เป็ นศูนย์ ในที่นี้ กล่าวถึงเฉพาะกรณีที่ทงตัวตังและตัวหารเป็ นพหุนาม ั้ ้ ที่มตวแปรหนึงตัวและเป็ นตัวแปรเดียวกัน เช่น มี x ี ั ่ เป็ นตัวแปรเพียงหนึงตัว ในการเขียนพหุนามที่มตว ่ ี ั แปรหนึงตัวนิยมเขียนเรียงพจน์ โดยเรียงพจน์จากเลข ่ ชีกาลังมากไปน้อย ้
  • 41. การหารพหุนามด้วยพหุนาม มีขนตอนดังนี้ ั้ • 1. เรียงพจน์ของพหุนามตัวตังและพหุนามตัวหารจากพจน์ที่มดกรี ้ ี ี มากไปพจน์ที่มดกรีนอย ถ้าดีกรีของพจน์ตวตังใดขาดหายไปนัน ี ี ้ ั ้ ้ จะต้องมีสมประสิทธิ์เป็ น 0 เช่น ั 3x+5x4-x2+26 เขียนเรียงลาดับดีกรีจากมากไปน้อยจะได้ 5x4+(0)x3-x2+3x+26 2. นาตัวแรกของตัวหารไปหารพจน์แรกของตัวตัง จะได้ผลหาร ้ ตัวแรก เขียนผลหารที่ได้ไว้ที่บรรทัดเหนือตัวตัง ้
  • 42. 3. นาผลหารที่ได้จากข้อ 2 ไปคูณตัวหารทุก พจน์ เขียนผลคูณที่ได้ไว้ที่บรรทัดใต้ตวตัง ั ้ 4. นาผลหารที่ได้จากข้อ 3 ไปลบออกจากตัว ตัง ผลลบที่ได้จะเป็ นตัวตังใหม่ในการหารครัง ้ ้ ้ ต่อไป
  • 43. 5. สาหรับตัวตังใหม่ให้พิจารณาที่ดกรีว่าน้อยกว่า ้ ี ตัวหารหรือไม่ ถ้ายังมากกว่าหรือเท่ากันก็ให้หาร เช่นเดียวกับข้อ 2,3 ต่อไปจนกว่าจะได้ดกรีของตัวตัง ี ้ ใหม่นอยกว่าดีกรีของตัวหาร ้ *ขันตอนการหารจะสินสุดลงเมือตัวตังใหม่มดกรีนอย ้ ้ ่ ้ ี ี ้ กว่าตัวหารซึ่งถือว่าเป็ นเศษ
  • 44. ถ้าหารพหุนามแล้วได้เศษเป็ นศูนย์ เรียกว่า หารลง ตัว ถ้าหารพหุนามแล้วได้เศษไม่เป็ นศูนย์ เรียกว่า หาร ไม่ลงตัว
  • 45. ตัวอย่างที่ 2 จงหาร x4-9x2-36 ด้วย x+4 วิธีทา 1.เรียงพจน์ของพหุนามตัวตังและพหุนามตัวหาร ้ จากพจน์ที่มดกรีมากไปพจน์ที่มดกรีนอย และจะเห็นว่า ี ี ี ี ้ ไม่มพจน์ที่มีเลขชีกาลัง 3 และ 1 จึงใส่ 0 ไว้ (หรืออาจ ี ้ เว้นที่ว่างไว้ก็ได้) แล้วเขียนการตังหาร ้ 2. นาพจน์แรกของตัวหารคือ x ไปหารพจน์แรกของตัว ตัง คือ x4 จะได้ผลหารเป็ น x3 เขียน x3 ไว้ที่บรรทัด ้ เหนือตัวตัง ้
  • 46. 3. นาผลหารที่ได้จากข้อ 2 คือ x3 ไปคูณตัวหารทุกพจน์ ได้ผลคูณเป็ น x4+4x3 เขียนผลคูณที่ได้ไว้ที่บรรทัดเหนือตัว ตัง ้ 4. นาผลหารที่ได้จากข้อ 3 คือ x4+4x3 ไปลบออกจากตัว ตัง ้ ได้เป็ นผลลบเป็ น -4x3-9x2 ซึ่ง -4x3-9x2 จะเป็ นตัวตัง้ ใหม่ใรการหารครังต่อไป ้ 5. จากข้อ 4 ได้ตวตังใหม่คือ -4x3-9x2 นาพจน์แรกของ ั ้ ตัวหารคือ x ไปหารพจน์แรกของตัวตังใหม่คอ -4x3 จะได้ ้ ื ผลหารเป็ น -4x2 นาผลหารนี้ (-4x2) ไปบวกกับผลหารที่ ได้ในข้อ 2 เป็ น x3 -4x2
  • 47. 6. นาผลหารจากข้อ 5 คือ -4x2 ไปคูณตัวหารทุก พจน์ ได้ผลคูณเป็ น -4x3-16x2 นาผลคูณที่ได้ไปลบ ออกจากตัวตังใหม่ ้ ได้ผลลบเป็ น 7x2 +(0)x ซึ่ง 7x2+0(x) จะเป็ น ตัวตังใหม่ในการหารครังต่อไป กระทาเช่นนีไปเรื่อยๆ ้ ้ ้ จนกว่าเลขชีกาลังของตัวตังใหม่นอยกว่าเลขชชีกาลัง ้ ้ ้ ้ ของตัวหารจึงหยุดการหารเขียนขันตอนการหาร ้ แบบต่อเนืองกันได้ดงนี้ ดังนัน ผลหารคือ x3- ่ ั ้ 4x2+7x-28 เศษ 76
  • 48. หมายเหต ุ โดยทัวไป ตัวตัง ตัวหาร ผลหาร และเศษ มี ่ ้ ความสัมพันธ์กนดังนี้ ั ตัวตัง = (ตัวหาร×ผลหาร)+เศษ ้
  • 50. • ถ้า P และ Q แทนพหุนาม โดยที่ Q ≠ 0 แล้ว จะ เรียก P ส่วน Q ว่า เศษส่วนของพหุนาม ที่มี P เป็ น ตัวเศษ และ Q เป็ นตัวส่วน หมายเหต ุ นิพจน์ 2x5, 4x+3 เป็ นเศษส่วนของพหุนามเช่นกัน เพราะ สามารถเขียน 2x5 ได้เป็ น 2x5 ยกกาลัง 1 และเขียน 4x+3 ได้เป็ น 4x+3 ยกกาลัง 1 ซึ่งอยู่ใน รูปเศษส่วนของพหุนาม
  • 51. เนืองจากตัวแปรในพหุนามแทนจานวนจริง ดังนัน ่ ้ พหุนามและเศษส่วนของพหุนามจึงเป็ นจานวนจริง เมือ ่ กล่าวถึงเศษส่วนของพหุนาม พหุนามที่เป็ นตัวส่วนต้อง ไม่เป็ นศูนย์ และเราจะใช้หลักการบวก ลบ คูณ หาร จานวนจริง กับเศษส่วนของพหุนามเช่นเดียวกัน จึงจะได้ กล่าวถึงการบวก ลบ คูณ หาร เศาส่วนก่อนที่จะ กล่าวถึงเศษส่วนของพหุนาม ดังนี้
  • 52. 5.1 การบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน กฎเกณฑ์การบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน ก่อนที่จะกล่าวถึงการบวกและการลบเศษส่วนของ พหุนาม จะได้กล่าวถึงการคูณและการหารเศษส่วนของ พหุนามก่อน เนืองจากจะนาไปใช้ในการหาผลบวกและผล ่ ลบเศษส่วนของพหุนามด้วย
  • 53. 5.2 การคูณและการหารเศษส่วนของพหุ นาม ในการหาผลคูณและผลหารของเศษส่วนของพหุ นามใช้หลักการเดียวกับการหาผลคูณและผลหารของ เศษส่วนของจานวนจริง การคูณเศษส่วนของพหุนาม หลักการคูณ นาตัวเศษคูณตัวเศษ และนาตัวส่วนคูณตัวส่วน
  • 54. หลักการคูณ นาตัวเศษ คูณตัวเศษ และนาตัวส่วนคูณตัวส่วน
  • 56. หลักการหาร เปลี่ยน เครื่องหมาย ÷ เป็ นเครื่องหมาย × และ กลับเศษที่เป็ นตัวหารให้ตวเศษเป็ นตัว ั ส่วนและตัวส่วนเป็ นตัวเศษ แล้ว ดาเนินการเหมือนการคูณพหุนาม
  • 59. กรณีที่ 1 ถ้าเศษส่วนของพหุ นามที่นามาหาผลลัพธ์มตวส่วน ี ั เท่ากัน ให้นาตัวเศษมาบวกหรือ ลบกัน โดยตัวส่วนคงเดิม
  • 60. กรณีที่ 2 ถ้าเศษส่วนของพหุ นามที่นามาหาผลลัพธ์มตวส่วนไม่ ี ั เท่ากัน ให้ทาเศษส่วนให้มตวส่วน ี ั เท่ากันก่อนโดยการหา ค.ร.น. ของตัวส่วน
  • 61. รายชือ ่ 1.ด.ช.จิรายุ จิตรวงศ์นนท์ ั ม.2/1 เลขที่ 2 2.ด.ช.โชคทวี อภิลา ม.2/1 เลขที่ 3 3.ด.ช.ณัฐพงษ์ ศรีวิชยั ม.2/1 เลขที่ 4 4.ด.ช.นรวัฒน์ วรรณทอง ม.2/1 เลขที่ 6 5.ด.ช.นฤเทพ หาญอยู่คม ุ้ ม.2/1 เลขที่ 7 6.ด.ช.นาซานเนียร วาเรีย ม.2/1 เลขที่ 8 7.ด.ช.รัชพงศ์ ภูรีสิทธิ์ ม.2/1 เลขที่ 9 8.ด.ช.สิทธิพร สุขเสถียร ม.2/1 เลขที่ 10 9.ด.ช.โสฬส โพธิระ ม.2/1 เลขที่ 11 10.ด.ช.กฤษฎิ์ อาทร ม.2/1 เลขที่ 13