SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
     สืบเนื่องจากการประชุมประจำาปีของ NCTM (National
Council of Teachers of Mathematics) เรื่อง มาตรฐาน
หลักสูตรและการ ประเมินผล
     การพัฒนาความสามารถในการคิดในการให้เหตุผล และการ
แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ เป็นเป้าหมายหลักในการเรียน
คณิตศาสตร์ถึงกระนั้นก็ดีมีนักเรียนเป็น จำานวนมากที่ไม่สามารถ
บรรลุเป้าหมายนี้ด้วยเหตุผลนานาประการ นับตั้งแต่ หนังสือเรียน
ไม่เหมาะสมไปจนถึงงานที่ได้รับมอบหมายไม่เกิดประโยชน์
     การคิดและการให้เหตุผลในคณิตศาสตร์คืออะไร ครูจะรู้ได้
อย่างไรว่า นักเรียนได้มีการคิดและให้เหตุผล
     กิจกรรมนั้นโดยตัวเองแล้วไม่จัดว่าเป็นการให้เหตุผลและ
การคิด การให้เหตุเกี่ยวกับสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง เกิด
จากการที่นักเรียนได้กระทำาอะไรระหว่างที่เขาทำากิจกรรมนั้น เมื่อ
ใดก็ตามที่นักเรียนกำาลังตัดสินใจว่าจะเลือกใช้วิธีไหน จะปรับวิธี
การต่างๆอย่างไร หรือจะประสมประสานความรู้ที่มี อยู่แล้วจาก
ประสบการณ์เดิมอย่างไร นั่นหมายความว่าเด็กกำาลัง คิดและให้
เหตุผล แรกเริ่มที่นักเรียนทำากิจกรรมจะเกี่ยวข้อง กับการให้
เหตุผลและการคิด แต่เมื่อได้แก้ปัญหาแบบเดียวกันซำ้าๆ นักเรียน
ก็มักจะใช้แต่วิธีการนำาไปใช้เท่านั้น
     ระดับ "การคิด" ที่สูงขึ้นกว่านี้เป็นอย่างไร การมองดูอาจ
ไม่ใช่ของจริง ท่านจะต้องมองเห็นนักเรียนไม่ใช่มองเห็นครู
กระทำาการสอน การพูดจาก็อาจไม่ใช่ของจริงแต่ท่านจะต้อง
ได้ยินครู ถามคำาถามนักเรียนว่าทำาไม อะไรและอย่างไร ซึงเป็น่
คำาถามที่ต้อง การคำาตอบมากกว่าหนึ่งคำาขึ้นไป ท่านจะต้อง
ได้ยินนักเรียนกำาลัง อธิบาย คาดเดา อธิบายรูปแบบ ให้ความคิด
เห็น หรือสื่อ ความหมายในข้อวิเคราะห์ของเขา
       การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์นี้กำาลังจะบังเกิด
ขึ้น ในชั้นเรียนคณิตศาสตร์ทั่วสหรัฐ อเมริกา เมื่อภาคเรียนที่แล้ว
ผู้เขียนเรื่องนี้ได้ไปเฝ้าดูนักเรียนเกรด 2 คิดเกี่ยวกับจำานวน คุกกี้
ที่ครูจะต้องแจกให้นักเรียน 10 คน คนละ 2 ชิ้นต่อวัน ตั้งแต่ วัน
จันทร์ถึงศุกร์แทนการบอกวิธีให้นักเรียนคิด ครูจะ ให้นักเรียนจับ
คู่แล้วช่วยกันคิดวิธีที่จะแก้โจทย์ปัญหา นี้ นักเรียนบางคู่วาดรูป
นักเรียน 10 คน ในมือแต่ละข้าง ของทุกคนถือคุกกี้ข้างละ 1 ชิ้น
ในแต่ละวัน แล้วเขาก็นับ จำานวนคุกกี้ในภาพ
      นักเรียนอีกคู่หนึ่ง สร้างตารางตั้งแต่วันจันทร์ ถึงศุกร์ ด้าน
ซ้ายเป็นจำานวน 1-10 หาผลลัพธ์ของแต่ ละคอลัมน์ได้ 20 รวม
5 คอลัมน์ได้ 100 บางคูใช้เบี้ย แทนคุกกี้ บางคู่นับทีละ 10
                             ่
สำาหรับคุกกี้จำานวนแรกของ วันแรก อีก 10 ชิ้น ต่อไปเป็นจำานวน
ที่สองของวันแรก และต่อไปเรื่อย ๆ จนถึง 10 ชิ้นสุดท้าย การ
สนทนาของพวกเด็ก ๆ จะเกี่ยวกับวิธีจะทำา อย่างไรกับข้อมูลที่มี
อยู่ และทำาอย่างไรจะให้ได้ ผลลัพธ์ มีเด็กคนหนึ่งเขียนแค่
56+44 = 100 บน กระดาษ ก็ได้รับการร้องขอให้อธิบายว่าคุกกี้
เกี่ยวข้อง อย่างไรกับ 56 และ 44 นักเรียนเหล่านี้กำาลังคิดและให้
เหตุผลอย่างแน่นอน นักเรียนที่มีวิธีการที่แตกต่างก็รับ ผิดชอบ
ในการอธิบายวิธีคิดของเขาแก่เพื่อนร่วมชั้น เป็นการสังเกตการณ์
สอนที่มีคุณค่ามากในความเห็นของผู้เขียน
      อีกชั้นเรียนหนึ่งที่ผู้เขียนได้ไปเฝ้าสังเกตคือเกรด 6
นักเรียนกำาลังหาอัตราส่วนของเส้นรอบวงของวงกลมวงหนึ่งกับ
เส้น ผ่านศูนย์กลาง กระบวนการนี้เด็กชายคู่หนึ่งได้ใช้กฎการหา
พื้นที่วงกลม         และได้รับการขอร้องให้อธิบาย คนแรกตอบไม่
ถูกเขาตอบว่าถ้าท่านสร้าง สี่เหลี่ยมรูปหนึ่งในวงกลม พื้นที่ของ
สี่เหลี่ยมรูปนั้นจะ เท่ากับ อีกคนไม่เห็นด้วยเขา สร้างวงกลม
บนกระดานจากรัศมีเขาสร้างรูปสี่เหลี่ยมบน สี่เหลี่ยม ของ
วงกลม แล้วชีให้เห็นว่าพื้นที่ของสี่เหลี่ยม คือ "ถ้าพื้นที่ของ
                 ้
วงกลมทังสิ้นคือ 4 r2 พื้นที่ก็จะมาก เกินไป จำานวนที่ถูกต้องน่า
          ้
จะเพียงแค่ 3 เท่าของ รูปสี่เหลี่ยม หรือคือ ซึ่งผู้เขียนคิดว่า
เป็น การอธิบายสูตรที่แยบยล
      อีกตัวอย่างหนึ่งเป็นนักเรียนมัธยมปลายหลัง จากผ่าน
Advanced Placement Calculus Test เมื่อภาคเรียนก่อน ครูจะ
ตรวจสอบเรื่อง ภาคตัดกรวยที่ยากขึ้นกับเด็กที่เธอสอน ก่อนจะ
ลงมือดำาเนินการครูได้ให้ดูภาพยนต์แสดงถึงแต่ละภาคตัดกรวย
จะมีส่วนร่วมของระนาบและรูปกรวย นักเรียนคนหนึ่งก็ถามขึ้นว่า
ระเบียบวิธีของส่วนร่วมเกี่ยวข้องกับนิยามของภาคตัดกรวยที่ใช้
ระยะทางอย่างไร ครูก็ส่งคำาถามให้นักเรียนในชั้นให้       ช่วยกัน
คิด เพื่อหาข้อความคาดการณ์
ผู้เขียนรู้สึกทึ่งมากได้ให้ข้อเสนอแนะไปข้อสองข้อ เมื่อสัญญาณ
หมดเวลาดังขึ้น โดยยังหาข้อยุติไม่ได้ นักเรียนก็ต้องออกจาก
ห้องไปโดยถกเถียงกันไประหว่างทางว่ากลวิธีใดจึงจะบังเกิดผล
ครูก็ยอมรับว่าตัวเธอเองก็ไม่รู้คำาตอบเหมือนกันแต่จะไปค้นคว้า
ต่อที่บ้าน (ผู้เขียนเองก็ไม่ทราบเหมือนกันก็ต้องไปตรวจสอบกับ
แหล่งทีเชื่อถือได้ต่อไป!) เห็นได้ชัดว่านักเรียนเหล่านั้นคุ้นเคย
         ่
กับการเสี่ยง คุ้นเคยกับการให้ผลเฉลย และการอธิบายคำาตอบ
และคุ้นเคยกับการคิดเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ กิจกรรมเหล่านี้ดู
เหมือนและรู้สึกว่าเป็นตัวอย่างอันดีสำาหรับการคิด และการให้
เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
พื้นฐานของมาตรฐานคณิตศาสตร์ไม่ใช่แค่การมองดู หรือความ
รู้สึกที่เห็นหรือสังเกตได้ในชั้นเรียน หากแต่ต้องเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น
จริง เด็ก ๆ ที่ยก ตัวอย่างข้างต้นนั้นได้นำาเครื่องมือและ
กระบวนการ ที่ได้เรียนแล้วมาใช้ประโยชน์อย่างมีนัยสำาคัญใน
คณิตศาสตร์ เป็นการสะท้อนผลการสอนของครู ฉะนั้นขณะที่
ท่านวางแผนสำาหรับบทเรียนในอนาคต ก็ควรที่จะพยายามหา
ทางหลายๆทางที่ให้นักเรียนได้มีส่วนเกี่ยวข้อง และไปให้เหนือ
กว่าขั้นการใช้ทักษะและกระบวนการ พยายามส่งเสริมให้นักเรียน
บรรลุถึงเป้าหมายของคำาว่า มาตรฐาน คือการคิดและการให้
เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
       Let's Talk about Mathematical Thinking and
Reasoning
ของ Gail Burrill ในเอกสาร NCTM News Bulletin ฉบับเดือน
January 1998 หน้า 3

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตkrunum11
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)Aon Narinchoti
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนppisoot07
 
งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์
งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์
งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์keeree samerpark
 
แผนภูมิการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้เพื่อจัดทำหน่วยการเรียนรู้
แผนภูมิการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้เพื่อจัดทำหน่วยการเรียนรู้แผนภูมิการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้เพื่อจัดทำหน่วยการเรียนรู้
แผนภูมิการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้เพื่อจัดทำหน่วยการเรียนรู้คุณครูพี่อั๋น
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาการวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาRatchaphak Wongphanatsak
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2Jutarat Bussadee
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวJirathorn Buenglee
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์Jirathorn Buenglee
 

La actualidad más candente (20)

งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
 
คณิตป.5
คณิตป.5 คณิตป.5
คณิตป.5
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์
งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์
งานโครงการเรื่องหลักการสอนวิชาคณิตศาสตร์
 
แผนภูมิการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้เพื่อจัดทำหน่วยการเรียนรู้
แผนภูมิการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้เพื่อจัดทำหน่วยการเรียนรู้แผนภูมิการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้เพื่อจัดทำหน่วยการเรียนรู้
แผนภูมิการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้เพื่อจัดทำหน่วยการเรียนรู้
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
Ar
ArAr
Ar
 
ข้อสอบวิช..
ข้อสอบวิช..ข้อสอบวิช..
ข้อสอบวิช..
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
 
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาการวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหา
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
 

Destacado

แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลAon Narinchoti
 
Mathematical Thinking for entrepreneurial success presentation
Mathematical Thinking for entrepreneurial success presentationMathematical Thinking for entrepreneurial success presentation
Mathematical Thinking for entrepreneurial success presentationEdzai Conilias Zvobwo
 
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์Jintana Kujapan
 
ชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น สา...
ชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น สา...ชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น สา...
ชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น สา...wirarat
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆJintana Kujapan
 
นำเสนอการให้เหตุผลแบบอุปนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลแบบอุปนัย(ภาษาไทย)นำเสนอการให้เหตุผลแบบอุปนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลแบบอุปนัย(ภาษาไทย)lovelyya2553
 
แบบฝึกทักษะการให้เหตุผล
แบบฝึกทักษะการให้เหตุผลแบบฝึกทักษะการให้เหตุผล
แบบฝึกทักษะการให้เหตุผลNittaya Noinan
 
การคิดกับการใช้เหตุผล Thinking and Reasoning
การคิดกับการใช้เหตุผล Thinking and Reasoningการคิดกับการใช้เหตุผล Thinking and Reasoning
การคิดกับการใช้เหตุผล Thinking and ReasoningPadvee Academy
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผลkrukanteera
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตaoynattaya
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยLaongphan Phan
 
305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิดniralai
 
Pro dan Kontra Ujian Nasional, PISA, dan TIMSS
Pro dan Kontra Ujian Nasional, PISA, dan TIMSSPro dan Kontra Ujian Nasional, PISA, dan TIMSS
Pro dan Kontra Ujian Nasional, PISA, dan TIMSSNi wulie
 

Destacado (20)

07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
 
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
 
Mathematical Thinking for entrepreneurial success presentation
Mathematical Thinking for entrepreneurial success presentationMathematical Thinking for entrepreneurial success presentation
Mathematical Thinking for entrepreneurial success presentation
 
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
 
ชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น สา...
ชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น สา...ชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น สา...
ชุดกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสืบเสาะหาความรู้ วิชา วรรณกรรมท้องถิ่น สา...
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
 
นำเสนอการให้เหตุผลแบบอุปนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลแบบอุปนัย(ภาษาไทย)นำเสนอการให้เหตุผลแบบอุปนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลแบบอุปนัย(ภาษาไทย)
 
แบบฝึกทักษะการให้เหตุผล
แบบฝึกทักษะการให้เหตุผลแบบฝึกทักษะการให้เหตุผล
แบบฝึกทักษะการให้เหตุผล
 
การคิดกับการใช้เหตุผล Thinking and Reasoning
การคิดกับการใช้เหตุผล Thinking and Reasoningการคิดกับการใช้เหตุผล Thinking and Reasoning
การคิดกับการใช้เหตุผล Thinking and Reasoning
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัย
 
305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด305เกมส์ฝึกคิด
305เกมส์ฝึกคิด
 
Pro dan Kontra Ujian Nasional, PISA, dan TIMSS
Pro dan Kontra Ujian Nasional, PISA, dan TIMSSPro dan Kontra Ujian Nasional, PISA, dan TIMSS
Pro dan Kontra Ujian Nasional, PISA, dan TIMSS
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
Logic Ppt
Logic PptLogic Ppt
Logic Ppt
 
O-NET ม.6- การให้เหตุผล
O-NET ม.6- การให้เหตุผลO-NET ม.6- การให้เหตุผล
O-NET ม.6- การให้เหตุผล
 
58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 

Similar a การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์

1414339429 chakeaw chapter9 (1)
1414339429 chakeaw chapter9 (1)1414339429 chakeaw chapter9 (1)
1414339429 chakeaw chapter9 (1)Siri Siripirom
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการRsmay Saengkaew
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111varangkruepila
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111varangkruepila
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...apiwat97
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act pptapiwat97
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...apiwat97
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 
Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving Rujroad Kaewurai
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนUraiwan Bunnuang
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่Jiraporn
 

Similar a การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์ (20)

บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
1414339429 chakeaw chapter9 (1)
1414339429 chakeaw chapter9 (1)1414339429 chakeaw chapter9 (1)
1414339429 chakeaw chapter9 (1)
 
Chapter9mii
Chapter9miiChapter9mii
Chapter9mii
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการ
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act ppt
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Instdev
InstdevInstdev
Instdev
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
2222
22222222
2222
 

การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์

  • 1. การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์ สืบเนื่องจากการประชุมประจำาปีของ NCTM (National Council of Teachers of Mathematics) เรื่อง มาตรฐาน หลักสูตรและการ ประเมินผล การพัฒนาความสามารถในการคิดในการให้เหตุผล และการ แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ เป็นเป้าหมายหลักในการเรียน คณิตศาสตร์ถึงกระนั้นก็ดีมีนักเรียนเป็น จำานวนมากที่ไม่สามารถ บรรลุเป้าหมายนี้ด้วยเหตุผลนานาประการ นับตั้งแต่ หนังสือเรียน ไม่เหมาะสมไปจนถึงงานที่ได้รับมอบหมายไม่เกิดประโยชน์ การคิดและการให้เหตุผลในคณิตศาสตร์คืออะไร ครูจะรู้ได้ อย่างไรว่า นักเรียนได้มีการคิดและให้เหตุผล กิจกรรมนั้นโดยตัวเองแล้วไม่จัดว่าเป็นการให้เหตุผลและ การคิด การให้เหตุเกี่ยวกับสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง เกิด จากการที่นักเรียนได้กระทำาอะไรระหว่างที่เขาทำากิจกรรมนั้น เมื่อ ใดก็ตามที่นักเรียนกำาลังตัดสินใจว่าจะเลือกใช้วิธีไหน จะปรับวิธี การต่างๆอย่างไร หรือจะประสมประสานความรู้ที่มี อยู่แล้วจาก ประสบการณ์เดิมอย่างไร นั่นหมายความว่าเด็กกำาลัง คิดและให้ เหตุผล แรกเริ่มที่นักเรียนทำากิจกรรมจะเกี่ยวข้อง กับการให้ เหตุผลและการคิด แต่เมื่อได้แก้ปัญหาแบบเดียวกันซำ้าๆ นักเรียน ก็มักจะใช้แต่วิธีการนำาไปใช้เท่านั้น ระดับ "การคิด" ที่สูงขึ้นกว่านี้เป็นอย่างไร การมองดูอาจ ไม่ใช่ของจริง ท่านจะต้องมองเห็นนักเรียนไม่ใช่มองเห็นครู กระทำาการสอน การพูดจาก็อาจไม่ใช่ของจริงแต่ท่านจะต้อง ได้ยินครู ถามคำาถามนักเรียนว่าทำาไม อะไรและอย่างไร ซึงเป็น่ คำาถามที่ต้อง การคำาตอบมากกว่าหนึ่งคำาขึ้นไป ท่านจะต้อง ได้ยินนักเรียนกำาลัง อธิบาย คาดเดา อธิบายรูปแบบ ให้ความคิด เห็น หรือสื่อ ความหมายในข้อวิเคราะห์ของเขา การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์นี้กำาลังจะบังเกิด ขึ้น ในชั้นเรียนคณิตศาสตร์ทั่วสหรัฐ อเมริกา เมื่อภาคเรียนที่แล้ว ผู้เขียนเรื่องนี้ได้ไปเฝ้าดูนักเรียนเกรด 2 คิดเกี่ยวกับจำานวน คุกกี้
  • 2. ที่ครูจะต้องแจกให้นักเรียน 10 คน คนละ 2 ชิ้นต่อวัน ตั้งแต่ วัน จันทร์ถึงศุกร์แทนการบอกวิธีให้นักเรียนคิด ครูจะ ให้นักเรียนจับ คู่แล้วช่วยกันคิดวิธีที่จะแก้โจทย์ปัญหา นี้ นักเรียนบางคู่วาดรูป นักเรียน 10 คน ในมือแต่ละข้าง ของทุกคนถือคุกกี้ข้างละ 1 ชิ้น ในแต่ละวัน แล้วเขาก็นับ จำานวนคุกกี้ในภาพ นักเรียนอีกคู่หนึ่ง สร้างตารางตั้งแต่วันจันทร์ ถึงศุกร์ ด้าน ซ้ายเป็นจำานวน 1-10 หาผลลัพธ์ของแต่ ละคอลัมน์ได้ 20 รวม 5 คอลัมน์ได้ 100 บางคูใช้เบี้ย แทนคุกกี้ บางคู่นับทีละ 10 ่ สำาหรับคุกกี้จำานวนแรกของ วันแรก อีก 10 ชิ้น ต่อไปเป็นจำานวน ที่สองของวันแรก และต่อไปเรื่อย ๆ จนถึง 10 ชิ้นสุดท้าย การ สนทนาของพวกเด็ก ๆ จะเกี่ยวกับวิธีจะทำา อย่างไรกับข้อมูลที่มี อยู่ และทำาอย่างไรจะให้ได้ ผลลัพธ์ มีเด็กคนหนึ่งเขียนแค่ 56+44 = 100 บน กระดาษ ก็ได้รับการร้องขอให้อธิบายว่าคุกกี้ เกี่ยวข้อง อย่างไรกับ 56 และ 44 นักเรียนเหล่านี้กำาลังคิดและให้ เหตุผลอย่างแน่นอน นักเรียนที่มีวิธีการที่แตกต่างก็รับ ผิดชอบ ในการอธิบายวิธีคิดของเขาแก่เพื่อนร่วมชั้น เป็นการสังเกตการณ์ สอนที่มีคุณค่ามากในความเห็นของผู้เขียน อีกชั้นเรียนหนึ่งที่ผู้เขียนได้ไปเฝ้าสังเกตคือเกรด 6 นักเรียนกำาลังหาอัตราส่วนของเส้นรอบวงของวงกลมวงหนึ่งกับ เส้น ผ่านศูนย์กลาง กระบวนการนี้เด็กชายคู่หนึ่งได้ใช้กฎการหา พื้นที่วงกลม และได้รับการขอร้องให้อธิบาย คนแรกตอบไม่ ถูกเขาตอบว่าถ้าท่านสร้าง สี่เหลี่ยมรูปหนึ่งในวงกลม พื้นที่ของ สี่เหลี่ยมรูปนั้นจะ เท่ากับ อีกคนไม่เห็นด้วยเขา สร้างวงกลม บนกระดานจากรัศมีเขาสร้างรูปสี่เหลี่ยมบน สี่เหลี่ยม ของ วงกลม แล้วชีให้เห็นว่าพื้นที่ของสี่เหลี่ยม คือ "ถ้าพื้นที่ของ ้ วงกลมทังสิ้นคือ 4 r2 พื้นที่ก็จะมาก เกินไป จำานวนที่ถูกต้องน่า ้ จะเพียงแค่ 3 เท่าของ รูปสี่เหลี่ยม หรือคือ ซึ่งผู้เขียนคิดว่า เป็น การอธิบายสูตรที่แยบยล อีกตัวอย่างหนึ่งเป็นนักเรียนมัธยมปลายหลัง จากผ่าน Advanced Placement Calculus Test เมื่อภาคเรียนก่อน ครูจะ ตรวจสอบเรื่อง ภาคตัดกรวยที่ยากขึ้นกับเด็กที่เธอสอน ก่อนจะ ลงมือดำาเนินการครูได้ให้ดูภาพยนต์แสดงถึงแต่ละภาคตัดกรวย
  • 3. จะมีส่วนร่วมของระนาบและรูปกรวย นักเรียนคนหนึ่งก็ถามขึ้นว่า ระเบียบวิธีของส่วนร่วมเกี่ยวข้องกับนิยามของภาคตัดกรวยที่ใช้ ระยะทางอย่างไร ครูก็ส่งคำาถามให้นักเรียนในชั้นให้ ช่วยกัน คิด เพื่อหาข้อความคาดการณ์ ผู้เขียนรู้สึกทึ่งมากได้ให้ข้อเสนอแนะไปข้อสองข้อ เมื่อสัญญาณ หมดเวลาดังขึ้น โดยยังหาข้อยุติไม่ได้ นักเรียนก็ต้องออกจาก ห้องไปโดยถกเถียงกันไประหว่างทางว่ากลวิธีใดจึงจะบังเกิดผล ครูก็ยอมรับว่าตัวเธอเองก็ไม่รู้คำาตอบเหมือนกันแต่จะไปค้นคว้า ต่อที่บ้าน (ผู้เขียนเองก็ไม่ทราบเหมือนกันก็ต้องไปตรวจสอบกับ แหล่งทีเชื่อถือได้ต่อไป!) เห็นได้ชัดว่านักเรียนเหล่านั้นคุ้นเคย ่ กับการเสี่ยง คุ้นเคยกับการให้ผลเฉลย และการอธิบายคำาตอบ และคุ้นเคยกับการคิดเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ กิจกรรมเหล่านี้ดู เหมือนและรู้สึกว่าเป็นตัวอย่างอันดีสำาหรับการคิด และการให้ เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์ พื้นฐานของมาตรฐานคณิตศาสตร์ไม่ใช่แค่การมองดู หรือความ รู้สึกที่เห็นหรือสังเกตได้ในชั้นเรียน หากแต่ต้องเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น จริง เด็ก ๆ ที่ยก ตัวอย่างข้างต้นนั้นได้นำาเครื่องมือและ กระบวนการ ที่ได้เรียนแล้วมาใช้ประโยชน์อย่างมีนัยสำาคัญใน คณิตศาสตร์ เป็นการสะท้อนผลการสอนของครู ฉะนั้นขณะที่ ท่านวางแผนสำาหรับบทเรียนในอนาคต ก็ควรที่จะพยายามหา ทางหลายๆทางที่ให้นักเรียนได้มีส่วนเกี่ยวข้อง และไปให้เหนือ กว่าขั้นการใช้ทักษะและกระบวนการ พยายามส่งเสริมให้นักเรียน บรรลุถึงเป้าหมายของคำาว่า มาตรฐาน คือการคิดและการให้ เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์ Let's Talk about Mathematical Thinking and Reasoning ของ Gail Burrill ในเอกสาร NCTM News Bulletin ฉบับเดือน January 1998 หน้า 3