SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 29
Descargar para leer sin conexión
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์

                                         หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
                             เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์

เครื่องมือตัด
          เครื่องมือที่ตัดใช้กับงานช่างไม้ ได้แก่ เลื่อย ช่างไม้จะใช้เลื่อยเพื่อตัดไม้ ให้ได้ขนาดและรูปร่างตาม
ที่ต้องการ เลื่อยมีหลายชนิด แต่ละชนิดจะมีลักษณะรูปร่างและวัตถุประสงค์ในการใช้งานแตกต่างกันออกไป
เพื่อให้เหมาะกับงานแต่ละประเภท เลื่อยเหล่านี้ได้แก่ เลื่อยลันดา (Hand saws) เลื่อยอก (Span Web Saw )
เลื่อยรอ (Back Saw) เลื่อยเจาะรูกุญแจ (Key Hole Saw) เลื่อยหางหนู (Cmopass Saw) เลื่อยฉลุ (Coping
Saw) เลื่อยตัดเหล็ก(Hack Saw)
          1. เลื่อยลันดา
          เลื่อยลันดา แบ่งออกเป็นส่วนใหญ่ ๆ ได้ 2 ส่วนด้วยกันคือ ส่วนที่เป็นมือจับซึ่งอาจจะทาด้วยไม้หรือ
พลาสติก กับส่วนที่เป็นใบเลื่อย ซึ่งทาด้วยเหล็ก ที่ปลายของใบเลื่ อยจะเจาะรูไว้สาหรับแขวน ส่วนที่โคนของ
ใบเลื่อยจะมีตัวเลขบอกขนาดความยาว และจานวนของฟันต่อนิ้วของเลื่อย




                                      รูปที่ 3.1 เลื่อยลันดา

            เลื่อยลันดาสามารถจาแนกออกตามลักษณะของฟันเลื่อยได้เป็น                 2 แบบ ด้วยกันคือ เลื่อยฟันตัด
(Crosscut Saw) และเลื่อยฟันโกรก (Rip Saw)
                     - เลื่อยฟันตัด โดยทั่วๆ ไป เหตุที่เรียกว่าเลื่อยฟันตัดก็เนื่องจากมีลักษณะของฟันเลื่อย
ออกแบบมา เพื่อให้เหมาะต่อการตัดขวางกับเสี้ยนไม้ ฟันเลื่อยแบบนี้จะถี่และแหลมเหมือนคมมีด มุมที่ยอดของ
ซี่ฟัน ซึ่งเป็นมุมรวมเท่ากับ 60 องศา โดยมุมที่ลาดไปทางด้านหน้าหรือ ด้านปลายเลื่อยเท่ากับ 15 องศา และ
มุมที่ลาดไปทางด้านโคนหรือด้ามเลื่อยเท่ากับ 45 องศา ขณะทาการเลื่อยฟันดังกล่าวจะเฉือนเข้าไป ในเนื้อไม้
จึงทาให้ ไม้ไม่แตกหรือฉีก เลื่อยฟันตัดขนาด 4 หรือ 5 ฟันต่อนิ้ว เหมาะกับงานหยาบ ๆ ที่ต้องการความ
รวดเร็วในการทางาน แต่ขนาด 10 หรือ 12 หันต่อนิ้ว เหมาะมากกับงานละเอียดที่ต้องการความประณีตแต่ที่
นิยมใช้กันมากที่สุด กับงานทั่ว ๆ ไป ได้แก่ ขนาด 7 หรือ 8 ฟันต่อนิ้ว
                     - เลื่อยฟันโกรก ใช้กับงานโกรกหรือซอยไม้ โดยจะโกรกหรือซอยไปตามเสี้ยนไม้ ลักษณะและ
องศาของฟั นเลื่อยมากถึง 52 องศาและมีมุมลาดไปทาง ด้านปลายเลื่อยเท่ากับ 8 องศา ซึ่งมุมรวมจะเท่ากับ 60
องศา เหมือนกับเลื่อยฟันตัดเช่นกัน เลื่อยแบบนี้จะมีฟันหยาบกว่าเลื่อยฟันตัด เนื่องจากต้องการความรวดเร็วใน
การทางาน ฟันของเลื่อยแบบนี้จะทาหน้าที่คล้าย ๆ สิ่ว               จึงไม่ต้องกลัวว่าเนื้อไม้จะฉีกในขณะทาการเลื่อย
เลื่อยฟันโกรกขนาด 4 ½ ฟันและขนาด 6 ฟันต่อนิ้ว เป็นขนาดที่นิยมใช้กันโด ยทั่วไปมากที่สุดเลื่อยทั้ง 2 แบบ

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                       หน้า 1
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์

มีขนาดยาวตั้งแต่ 18 ถึง 26 นิ้ว แต่ที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่ขนาดยาว 24 และ 26 นิ้ว ลักษณะรู ปร่าง
และการทางานของฟันเลื่อยทั้ง 2 แบบ
         2. เลื่อยอก
         เลื่อยอก บางทีเรียกเลื่อยโครง เป็นที่นิยมใช้กันมากในหมู่ช่างคนไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่างไม้ครุภัณฑ์
เพราะเป็นเลื่อยที่ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่างกล่าวคือ เป็นเลื่อยตัดก็ได้หรือเป็นเลื่อยโกรกก็ได้ ใช้งานได้คล่อง
เนื่องจากใบเลื่อยแคบและบาง ดังนั้นในการตัดหรื อโกรกจึงเสียคลองเลื่อยน้อย เป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย
ทั่วไป




                                              รูปที่ 3.2 เลื่อยอก

          เลื่อยอกประกอบด้วย อกเลื่อยซึ่งเป็นท่อนยาวเหลากลม ปลายทั้งสองข้างเรียวมีความยาวมากกว่า
ใบเลื่อยที่ใช้ประมาณ 5 ถึง 6 นิ้ว ทาหน้าที่ยันมือจับของเลื่อย โดยที่ปลายทั้งสองข้างจะทาหน้าที่เป็นเดือย
สวมเข้ากับรูปที่มือจับ มือจับเป็นไม้ท่อนสี่เหลี่ยม ซึ่งมีการลบมุมตกแต่งเหลี่ยมเพื่อความสวยงามและเพื่อ
ความสะดวกในการจับ มีขนาดโตกว่าอกเลื่อยเล็กน้อย ยาวประมาณ 12 ถึง 14 นิ้ว ปลายเดือยผ่าเป็นเดือย
สาหรับร้อยเชือกรัดเกล้า หรือใส่ไม้ตรึงตรงกลางเจาะเป็นรูสาหรับใส่อกเลื่อย ปลายล่างเจาะรูสาหรับร้อยหู
ที่ยึดใบเลื่อย หูเลื่อยทาด้วยโลหะมี 2 ตัว ตัว ที่อยู่ทางด้านปลายของใบเลื่อยจะมีรูสาหรับร้อยหมุด เพื่อใส่
ใบเลื่อยตอนปลายหูเลื่อยด้านนี้จะมีน็อตหางปลา สาหรับปรับความตึงของใบเลื่อย ตัวที่อยู่ทางด้านโคนของ
ใบเลื่อยจะผ่ากลางและมีรู้สาหรับร้อยหมุด เช่นกัน เพื่อใส่ใบเลื่อยทางด้านโคน หูเลื่อยด้านนี้ เป็นหูตายปรับไม่ ได้
รัดเกล้า ได้แก่ เชือกที่ใช้ขันชะเนาะเพื่อปรับใบเลื่อยให้ตึง ใช้สาหรับเลื่อยอกชนิดที่ หูเลื่อยทั้งสองข้างเป็นหูตาย
ปรับไม่ได้ ส่วนเลื่อยอกชนิดที่หูเลื่อยปรับได้จะใส่ไม้ยึดตรึงแทน โดยที่ปลายทั้งสองข้างของไม้ที่ว่านี้ จะเจาะรู
สาหรับใส่เดือยที่ปลายด้านบนของไม้ที่เป็นมือจับ
          เลื่อยชนิดนี้มีทั้งชนิดฟันหยาบ ฟันปานกลางและฟันละเอียด ชนิดฟันหยาบมีจานวนฟันตั้งแต่ 6 ถึง 9
ฟันต่อนิ้ว ชนิดฟันปานกลางมีจานวนฟันตั้งแต่ 10 ถึง 13 ฟันต่อนิ้ว และชนิดฟันละเอียด มีจานวนฟันตั้งแต่
16 ถึง 18 ฟันต่อนิ้ว ลักษณะของฟันเลื่อยจะเหมือนกับเลื่อย ฟันโกรกใช้ได้ทั้งงานตัดและโกรก ผ่าและบากเดือย
ตลอดจนงานตัดปากไม้ที่ต้องการความประณีต ขนาดของใบเลื่อยจะมีตั้งแต่ 16 ถึง 30 นิ้ว แต่ที่นิยมใช้กัน
โดยทั่วไปได้แก่ขนาด 22 ถึง 24 นิ้ว

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                        หน้า 2
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์

         3. เลื่อยรอ
         เลื่อยรอ บางที่เรียกเลื่อยสันแข็ง ลักษณะคล้ายเลื่อยลันดา แต่ใบเลื่อยจะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสั้นและ
บางกว่า ดังนั้นจึงต้องมีสันเลื่อยซึ่งทาเป็นเหล็กประกับยึดแน่นเป็นเส้นตรงตลอดสันของใบเลื่อย เพื่อเพิ่มความ
แข็งแรงในขณะทาการเลื่อย ด้ามถือทาด้วยไม้แบบต่างๆ ลักษณะของฟันเลื่อยเหมือนกับเลื่อยฟันตัด มีจานวนฟัน
ตั้งแต่ 13 ถึง 15 ฟันต่อนิ้ว




                                              รูปที่ 3.3 เลื่อยรอ

           เลื่อยชนิดนี้วัตถุประสงค์ในการสร้างก็เพื่อที่จะใช้ในการรอปากไม้ เพื่อเข้าปากไม้มุมตู้ เข้ากรอบรูป
เข้ากรอบวงกบประตูหน้าต่าง นอกจากนั้นยังสามารถใช้ในการตัดปากไม้หรือลิ่มไม้ ผ่าเดือย และตัดไม้ชิ้นเล็ก ๆ
ซึ่งเลื่อยบางชนิดไม่สามารถจะตัดไม้หรือใช้ตัดส่วนอื่นๆ ที่ต้องการความละเอียดเรียบร้อยและประณีต
           สาหรับเลื่อยระเล็กจะมีขนาดใบเลื่อยยาวตั้งแต่ 8 ถึง 16 นิ้ว ส่วนเลื่อยรอใหญ่ จะมีขนาดใบเลื่อยยาว
ตั้งแต่ 24 ถึง 28 นิ้ว
           4. เลื่อยเจาะรูกุญแจ
           เลื่อยเจาะรูกุญแจ เป็นเลื่อยที่มีใบเลื่อยขนาดเล็ก ปลายใบเรียวแหลม จึงทาให้สามารถใช้ปลายใบสอด
เข้าไปในรูเพื่อทาการเลื่อยได้ โดยทั่วไปใบเลื่อยชนิดนี้จะยึดติดกับด้ามน็อตหางปลา จึงทาให้สามารถที่จะถ อด
เปลี่ยนใบเลื่อยขนาดต่างๆ ให้เหมาะกับรู้ที่จะทาการเลื่อยได้ เลื่อยชนิดนี้ใช้สาหรับเจาะรูเพื่อใส่กุญแจที่บานประตู
บานลิ้นชัก หรืองานอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ก่อนการใช้เลื่อยชนิดนี้จะต้องใช้สว่านเจาะรูนาไปก่อน แล้วจึง
ใช้ใบเลื่อยสอดเข้าไปรูนา จากนั้นจึงทาการเลื่อยต่อไปตามที่ต้องการ เลื่อยชนิดนี้ลักษณะฟันเลื่อยจะเหมือนกับ
เลื่อยฟันโกรกแต่เป็นชนิดฟันละเอียด




                                        รูปที่ 3.4 เลื่อยเจาะรูกุญแจ

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                       หน้า 3
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์

           5. เลื่อยหางหนู
           เลื่อยหางหนู เป็นเลื่อยที่มีลักษณะคล้าย ๆ กับเลื่อยเจาะรูกุญแจ แต่จะมีขนาดใหญ่และฟันหยาบกว่า
เลื่อยชนิดนี้ใช้ในการตัด เจาะรู หรือใช้เลื่อยส่วนโค้ง ซึ่งเลื่อยชนิด อื่นไม่สามารถจะเลื่อยได้ เช่น งานเจาะรางน้า
ตามชายคาและอื่น ๆ นอกจากนั้นก็ยังสามารถใช้ประโยชน์ในงานช่างไฟฟ้า งานช่างท่อ และงานช่างครุภัณฑ์
ที่เกี่ยวข้องกับไม้ได้อีกด้วย




                                           รูปที่ 3.5 เลื่อยหางหนู

         6. เลื่อยฉลุ
         เลื่อยฉลุ เป็นเลื่อยที่ใช้ในงานตัด เจาะ ฉลุวงกลม หรือส่วนโค้งต่าง ๆ ในการทาลวดลาย นอกจากนั้น
ยังใช้ในงานตัดไม้บัวเพื่อเข้ามุมต่าง ๆ




                                              รูปที่ 3.6 เลื่อยฉลุ

         ใบเลื่อยของเลื่อยชนิดนี้มีหลายขนาด การเลือกใช้จะขึ้นอยู่กับประเภทของงาน ใบเลื่อยขนาดเล็ก ที่ใช้ใน
การตัดมีขนาดกว้าง 1/ 16 ถึง 1/8 นิ้ว โดยจะยึดติดกับโครงทั้งสองด้านด้วยหมุดที่สอดเข้าที่รูระหว่างใบเลื่อย
กับตัวโครง ความลึกของโครงเลื่อยจะเริ่มตั้งแต่ 5 ถึง 12 นิ้ว มีทั้งชนิดฟันหยาบและฟันละเอียด ลักษณะของฟัน
เลื่อยจะเป็นแบบฟันโกรกขนาดตั้งแต่ 10 ถึง 15 ฟันต่อนิ้ว สาหรับงานไม้ ส่วนขนาด 20 ถึง 32 ฟันต่อนิ้ว
จะใช้สาหรับงานโลหะเวลาติดใบเลื่อยเข้ากับโครง จะต้องให้ปลายฟัน ชี้มาทางด้านมือจับเสมอ ทั้ง นี้เนื่องจาก
เลื่อยชนิดนี้ได้ถูกออกแบบมาเพื่อใช้กับงานละเอียดจึงต้องให้ใบเลื่อยตัดในขณะที่ดึงเลื่อยมาทางด้านหลังหรือ
ในขณะดึงเลื่อยลง ทั้งนี้เพื่ อสะดวกต่อการควบคุมการเลื่อย ดังนั้นจึงต้องใส่ใบเลื่อยให้ปลายฟั นเลื่อยชี้มาทาง
ด้านมือจับเสมอ ยกเว้นกรณีที่จับงานด้วยปากกาจับงานก็สามารถใส่ใบเลื่อยให้ปลายฟันชี้ออกไปจากมือจับได้
         7. เลื่อยตัดเหล็ก
         เลื่อยตัดเหล็กเป็นเลื่อยที่ออกแบบมาเพื่อใ ช้สาหรับตัดเหล็กหรือโลหะอื่น ๆ ดังนั้นเมื่อถูกนามาใช้กับ
งานช่างไม้จึง ใช้ในการตัดโลหะยึดตรึง เช่น ต ะปูหรือสลักเกลียว นอกจากนั้นยังใช้ในการตัดโลหะอื่น ๆ เช่น
กรอบหน้าต่างชนิดที่เป็ นเหล็กหรืออลูมิเนียม เป็นต้น เลื่อยชนิดนี้สามารถแ บ่งออกตามลักษณะการสร้างได้เป็น
2 แบบ คือ แบบด้ามปืน (Piston Grip) สามารถปรับแต่งได้ที่ น็ อตหางปลา (Wing Nut) แบบด้ามตรง
(Straight Handle) การปรับแต่งจะกระทาได้ที่ตัวโครง (Frame) ด้วยการเลื่อยโครงเข้าออกได้ตามต้องการ
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                        หน้า 4
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์




                                          รูปที่ 3.7 เลื่อยตัดเหล็ก

         ขนาดความยาวของใบเลื่อยที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปอยู่ระหว่าง 8 ถึง 12 นิ้ว มีทั้งแบบฟันละเอียดและ
ฟันหยาบ จานวนฟันตั้งแต่ 14 ถึง 32 ฟันต่อนิ้ว ชนิดฟันหยาบใช้ในการตัดเหล็กหรือโลหะที่มีขนาดความหนา
มาก ๆ ส่วนชนิดฟันละเอียดใช้ในการตัดเหล็กหรือโลหะที่มีขนาดบางซึ่งต้องการความละเอียดมากกว่า ลักษณะ
ของฟันเลื่อยจะเป็นแบบฟันโกรก
         การใช้เลื่อย
         การใช้เลื่อยได้อย่างถูกต้องกับงาน ที่ทา และสามารถใช้ได้อย่างถูกวิธี ถือว่าเป็นหัวใจของการทางาน
เพราะไม่เพียงแต่จะทาให้ผลงานที่ได้รับเรียบร้อยแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังจะช่วยให้เลื่อยอยู่ในสภาพที่ดี
และไม่ทื่อเร็วจนเกินไป มีอายุการใช้งานยาวนานขึ้นอีกด้วย
         ขั้นตอนในการใช้เลื่อยที่ถูกวิธีดังต่อไปนี้ คือ
                   1. การเตรียมงาน
                   ก่อนที่จะเริ่มทาการเลื่อยไม้ ให้ดาเนินการเพื่อการเตรียมงาน ดังต่อไปนี้ คือ
                            1.1 เลือกชนิดและขนาดของเลื่อยให้เหมาะสมกับลักษณะงานที่จะทา รวมทั้งแบบและ
จานวนฟันต่อนิ้วของฟันเลื่อย
                            1.2 จัดเตรียมชิ้นงานที่จะเลื่อย ได้แก่การร่างแบบหรือการขีดแนวลงบนชิ้นงานตามที่
ต้องการ
                            1.3 จัดเตรียมอุปกรณ์อานวยความสะดวกต่างๆ อาทิเช่น ปากกาหัวโต๊ะ ปากกาไม้
ปากกาตัวซีหรือม้ารองเลื่อย เป็นต้น
                   2. การเลื่อย
                   ลาดับขั้นในการเลื่อยไม้ที่ถูกวิธี มีดั งต่อไปนี้
                            2.1 วางไม้ลงบนม้ารองเลื่อย ให้ปลายไม้ด้านที่ต้องการเลื่อยอยู่ทางด้านขวามือ
(สาหรับผู้ถนัดขวา) แล้วใช้เข่าซ้ายกดไม้เข้ากับม้ารองเลื่อย
                            2.2 จับเลื่อยด้วยมือขวา โดยให้นิ้วชี้วางทาบไปบนใบเลื่อย การจับดังกล่าวจะทาให้
สะดวกต่อการควบคุมเลื่อยในขณะทาการเลื่อย
                            2.3 ใช้มือซ้ายจับที่ขอบไม้ด้านบนแล้วใช้นิ้วหัวแม่มือเป็นตัวควบคุม
                            2.4 จรดฟันเลื่อยด้านโคนชิดเส้นด้านนอกที่ขอบไม้ และประมาณ 60 องศา สาหรับ
การโกรกไม้หรือซอยไม้ ใช้นิ้วหัวแม่มือขวาช่วยควบคุม ใบเลื่อยแล้วค่อย ๆ ดึงเลื่อยเข้าหาตัวเป็นการเริ่มเลื่อย


นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                     หน้า 5
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์

                               2.5 ชักเลื่อยยาวๆ ช้าๆ ด้วยจังหวะที่สม่าเสมอ โดยออกแรงกดเล็กน้อยในขณะที่ดัน
ใบเลื่อยไปข้างหน้า ตามองที่เส้นหรือแนวที่จะตัดเพื่อให้เลื่อยตรงเส้นและปากไม้ที่ตัดได้ฉาก บางกรณีอาจจะต้อง
ใช้ฉ ากลองช่วยคว บคุมการเลื่อย เช่นเมื่อเลื่อยไม้หนากว่า 1 นิ้ว และขณะดึงเลื่อยกลับเข้าหาตัวให้ผ่อนแรงกด
ทั้งนี้เนื่องจาก ฟันเลื่อยได้ถูกออกแบบให้กินเนื้อไม้ในขณะที่ดันไปข้างหน้าเท่านั้น
                               2.6 เมื่อเลื่อยไม้ใกล้จะขาด ให้ใช้มือซ้ายอ้อมไปจับชิ้นงานที่กาลังจ ะขาด จากนั้นให้
ชักเลื่อยถี่ ๆ ด้วยจังหวะที่สม่าเสมอจนกว่าชิ้นงานจะขาดออกจากกัน ก็จะสามารถป้องกันมิให้ไม้ฉีกได้
                               2.7 ตรวจสอบการตัดไม้ด้วยฉาก
            การปรับแต่งฟันเลื่อย
            เลื่อยถ้าใช้อย่างถูกวิ ธีและทาความสะอาดอย่างสม่าเสมอ อายุการใช้งานก็จะยาวนาน สามารถที่จะปรับ
แต่งฟันเลื่อยได้หลายครั้ง สิ่งที่มักจะเกิดขึ้นเสมอเมื่อเลื่อยได้ถูกใช้ไปนานแล้วก็คือ ฟันเลื่อยจะ       ทื่อหรือสึก
(ทั้งขนาดและรูปร่าง) และคลองเลื่อยจะแคบลง อันเป็นผลทาให้เกิดความฝืดและหนักแรงเวลาเลื่อย ดังนั้นจึงมี
ความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการปรับแต่งฟันเลื่อยอย่างสม่าเสมอเป็นประจาด้วย ขั้นตอนดังต่อไปนี้ คือ
การปรับระดับปลายฟันเลื่อย การคัดคลองเลื่อย และการตะไบร่องฟันเลื่อย
            ในการปรับแต่งฟันเลื่อย ไม่ว่าจะเป็นเลื่อยชนิดใดก็ตาม จะต้องปรับให้อยู่ในสภาพเดิมหรือใกล้เคียงกับ
สภาพเดิมเสมอ โดยดูจากฟันเลื่อยส่วนที่สึกหรอน้อยที่สุดเป็นเกณฑ์ ฟันเลื่อยส่วนนี้ได้แก่ ฟันเลื่อยบริเวณปลาย
ของใบเลื่อยนั้นเอง
            ลาดับขั้นในการปรับแต่งฟันเลื่อยที่ถูกวิธีมีดังต่อไปนี้
                      1. การเตรียมงาน
                      ก่อนที่จะทาการปรับแต่งฟันเลื่อย ให้ดาเนินการดังต่อไปนี้ คือ
                               1.1 เลือกชนิดและขนาดของเครื่องมือที่จะใช้ในการปรับแต่งฟันเลื่อย อาทิเช่น
ตะไบแบน ตะไบสามเหลี่ยม คัดชุน และเครื่องมือปรับประดับฟันเลื่อย
                               1.2 จัดเตรียมอุปกรณ์อานวยความสะดวกต่าง ๆ อาทิเช่น ปากกาจับเลื่อย หรือ
ปากกาหัวโต๊ะและไม้ประกบใบเลื่อย เป็นต้น
                      2. การปรับระดับปลายฟันเลื่อย
                      ลาดับขั้นในการปรับระดับปลายฟันเลื่อยที่ถูกวิธี มีดังต่อไปนี้ คือ
                               2.1 ใช้ปากกาจับใบเลื่อยให้แน่น โดยให้ปลายของฟันเลื่อยสูงพ้นขึ้นมาจากปากของ
ปากกา 2 นิ้ว
                               2.2 วางเครื่องมือปรับระดับฟันเลื่อยลงบนปลายฟันเลื่อยด้านโคนเลื่อย แล้วถูไ ปบน
ปลายฟันจากโคนเลื่อยสู่ปลายเลื่อย ขณะถูให้ออกแรงกดเบา ๆ และผ่อนแรงกดในจังหวะที่ดึงกลับ
                               2.3 ถูจนกระทั้งปลายฟันทุกฟันเรียบเสมอกัน โดยสังเกตจากรอยที่เกิดจากการถู
กล่าวคือปลายทุกซีฟัน จะต้องมีรอยตะไบที่เกิดจากการถู
                               2.4 ใช้ตะใบสามเหลี่ยมตะไบร่องฟันให้ได้ขน าดและรูปร่างให้ใกล้เคียงกับสภาพเดิม
มากทีสุด โดยดูจากฟันที่บริเวณส่วนปลายของใบเลื่อยเป็นเกณฑ์ สาหรับการเลือกใช้ตะไบและวิธีการตะไบร่องฟัน
        ่
ศึกษาได้จากหัวข้อการตะไบร่องฟัน
                      3. การคัดคลองเลื่อย
                      ในการคัดคล องเลื่อย ให้กระทาต่อจากการปรับ ระดับปลายฟัน ในขณะที่ใบเลื่อยยังคงอยู่ใน
ปากกาจับเลื่อยหรือปากกาหัวโต๊ะ จากนั้นจึงดาเนินการตามลาดับขั้นในการทางานดังต่อไปนี้
                               3.1 ปรับตั้งคัดชุนให้สามารถคัดคลองเลื่อยได้ประมาณ 2 ใน 3ของความสูงของฟันเลื่อย
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                         หน้า 6
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์

                            3.2 ดาเนินการคัดคลองเลื่อยด้วยการคัดชุนคัดฟันเลื่อยออกทางด้านข้ าง ให้คัดฟัน
เว้นฟันไปโดยตลอดใบเลื่อย
                            3.3 คลายปากกาจับเลื่อยแล้วกลับใบเลื่อยและบีบให้แน่นอีกครั้งหนึ่ง จากนั้นใช้คัดชุน
คัดฟันเลื่อยที่เหลือจนหมด
                   4. การตะไบร่องฟันเลื่อย
                   ก่อนที่จะเริ่มตะไบร่องฟันเลื่อย จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษารูปร่างและมุมของฟั นเลื่อยที่จะ
ตะไบเสียก่อน ทั้งนี้เนื่องจากฟันเลื่อยที่ใช้กันอยู่โดยทั่วไปนั้นมีอยู่ 2 แบบ คือแบบฟันตัดและแบบฟันโกรก
ซึ่งจะมีรูปร่างและมุมของฟันเลื่อยที่ไม่เหมือนกัน
                   วิธีวางตะไบลงในร่องฟันเลื่อยแต่ละแบบมีดังต่อไปนี้
                            4.1 แบบฟันตัด
                            ฟันของเลื่อยแบบนี้จะมีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมเผล้มุมให้เกิดความคมที่ฟันเลื่อย
ด้านนอก ดังนั้นในการวางตะไบนอกจากจะต้องวางให้อยู่ในระดับราบแล้ว ก็ยังจะต้องให้ตะไบทามุมกับใบเลื่อย
อีกประมาณ 45 ถึง 60 องศา จากนั้นให้เอียงตะไบเข้าสู่ปลายฟันด้านที่เป็นคมเลื่ อย (ด้านปลายเลื่อย )
โดยทามุมกับปลายฟันประมาณ 18 องศา




                                          รูปที่ 3.8 การตะไบเลื่อย

                         4.2 แบบฟันโกรก
                         ฟันเลื่อยมีลักษณะเหมือนกับคมสิ่วจึงจะต้องวางตะไบให้อยู่ใ นระดับราบ และทามุมกับ
ใบเลื่อย 90 องศา จากนั้นให้เอียงตะไบเข้าสู่ปลายคมเลื่อยเช่นกัน โดยทามุมกับปลายฟันประมาณ 0 ถึง 8 องศา
จากลักษณะการวางตะไบที่กล่าวมาข้างต้น ก็จะทาให้ใบเลื่อยที่ได้รับการตะไบมีรูปร่างและมุมที่ถูกต้องทุกประการ
                ลาดับขั้นในการตะไบร่องฟันเลื่อยที่ถูกวิธีมีดังต่อไปนี้
                1. ใช้ปากกาจับเลื่อยใบเลื่อยให้แน่น โดยให้ปลายของฟันเลื่อยสูงพ้นขึ้นมาจากปากของปากกา
ประมาณ ½ นิ้ว
                2. วางตะไบลงในร่องฟันซี่แรกทางด้านปลายเลื่อยที่ปลายฟันงอเข้าสู่ตัวเรา จากนั้นจัดระดับ
และมุมของตะไบให้ถูกต้องกับแบบของฟันเลื่อยตามที่กล่าวมาข้างต้นแล้วจึงเริ่ มทาการตะไบโดยจังหวะที่ถูตะไบ
ไปข้างหน้า ให้ออกแรงกดเล็กน้อย และผ่ อนแรงกดในจังหวะที่ดึงตะไบกลับ ตะไบจนถึงครึ่งหนึ่งของรอยตัดที่เกิด
จากการปรับระดับปลายฟัน
                3. ตะไบตามลาดับขั้นที่ 2 ฟันเว้นฟันไปเรื่อยจนถึงโคนเลื่อย

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                      หน้า 7
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์

               4. คลายปากกาเลื่อยแล้วกลับใบเลื่อยและบีบให้แน่นอีกครั้งหนึ่งขณะนี้ด้านโคนหรือปลายเลื่อย
จะอยู่ในทิศทางตรงกันข้ามกับที่จับครั้งแรก
               5. ตะไบร่องฟันที่เหลือด้วยวิธีการเช่นเดียวกับกับลาดับขั้นที่ 2 และ 3 จนกระทั้งรอยตัดที่เหลือ
หมดไป

เครื่องมือไสและตกแต่งไม้
          เครื่องมือไสเป็นเครื่องมือที่ใช้ทาผิวไม้ให้เรียบ ส่วนเครื่องมือตกแต่งไม้เป็นเครื่องมือที่ใช้ขูดไม้หรือแต่ง
ผิวไม้ให้มีขนาดและรูปร่างตามที่ต้องการ เครื่องมือเหล่านี้จาเป็นมากกับงานช่างไม้
          1. เครื่องมือไส
          เครื่องมือที่ใช้ในการไสไม้ ได้แก่ กบ ช่างไม้จะใช้กบไสไม้ให้เรียบ เพื่อให้เกิดความเรียบร้อยและสวยงาม
ก่อนที่จะนาไปใช้งาน เนื่องจากไม้ที่นามาจากโรงงานแปรรูปยังหยาบและมีผิวขรุขระไม่เรียบร้อยจึงต้องนามาไส
เสียก่อน กบมีหลายชนิดแต่ละชนิดมีลักษณะรูปร่างและวัตถุประสงค์ในการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป เพื่อให้
เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท
          กบที่นิยมใช้กับงานช่างไม้ ในปัจจุบันได้แก่ กบไม้ (Wood Planes) และกบเหล็ก (Iron Planes)




                                                 รูปที่ 3.9 กบไม้

                    1.1 กบไม้ มีทั้งกบไทยและกบฝรั่ง นิยมใช้กันทั้งในประเทศและต่างประเทศ สาหรับกบไทย
เป็นกบราง ส่วนประกอบที่สาคัญ ได้แก่ รางกบ ใบกบ เหล็กประกับ ลิ่มและขื่อ รางกบทาด้วยไม้เนื้อแข็ง
เช่น ไม้แดง ไม้ประดู่ ไม้ตะเคียน ไม้ชิงชันและไม้มะเกลือ รางกบจะเจาะรูเ ป็นร่ องสาหรับใส่ใบกบหรือสิ่วกบ
ซึ่งเป็นเหล็กที่ อัดแน่นอยู่บริเวณร่องของรางกบ จะเป็นตัวบังคั บให้ใบกบ เหล็กประกับและลิ่ม อัดแน่นเข้ากับราง
กบที่ด้านท้ายของรางกบจะเจาะรูไว้สาหรับใส่หูกบ ซึ่งใช้เป็นที่จับเวลาไสกบ ขนาดของกบจะเรียกตามความยาว
ของรางกบ กบไม้ของไทยแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ กบล้าง
และกบผิว
                    กบล้าง เป็นกบที่ใช้สาหรับไสล้างหรือเกลาไม้ครั้งแรก เพื่อปรับให้ได้ระดับตามต้องการ ใบกบ
จะทามุมกับรางกบ ประมาณ 45 องศา รางกบจะยาว ส่วนมากจะใช้กับงานหยาบ ๆ
                    กบผิว เป็นกบที่ใช้ไสหลังจากที่ผ่านการเกลาหรือล้างด้วยกบล้างมาแล้ว เพื่อแต่งผิวไม้ให้เรียบ
จริงๆ พร้ อมที่จะทาการขัดด้วยกระดาษทราย กบชนิดนี้จ ะกินผิวไม้บางกว่ากบล้าง เหมาะสาหรับใช้ในการทา
เครื่องเรือน ปรับแต่งบานประตู – หน้าต่าง ให้เข้ากันสนิท

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                           หน้า 8
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์

                 นอกจากกบล้างและกบผิวแล้ว ก็ยังมีกบแบบอื่น ๆ ซึ่งถือว่าเป็นกบพิเศษ เนื่องจากใช้กับงาน
เฉพาะอย่าง ๆ ได้แก่
                 - กบบังใบ เป็นกบที่ดัดแปลงมาจากกบล้าง โดยการบังใบที่ท้องกบด้านข้างออกประมาณ 1 ซม.
ลึกประมาณ 1 ถึง 1 ½ ซม.ใบกบจะทามุมกับรางกบประมาณ 45 องศา ใช้สาหรับบังใบกรอบวงกบประตูหน้าต่าง
หรือพื้น เป็นต้น




                                           รูปที่ 3.10 กบบังใบ

         -           กบร่อง บางทีเรียกกบราง ตัวกบแบ่งออกเป็น           2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นตัวกบกับส่วน
ที่ประกอบ ข้างกบชนิดนี้ใต้ท้องจะมีเหล็กแบนบางฝังอยู่เพื่อใช้เป็นตัวนาร่องระหว่างตัวกับกับตัวประกอบข้าง
ส่วนประกอบทั้งสองสามารถปรับเข้าหากัน หรือปรับออกตามต้องการ ด้วยการเลื่อนเข้าออกไปบนคานไม้
ด้านหัวท้ายมีลิ่มไม้เป็นตัวล๊อค ใช้สาหรับทารางเพื่อใส่ลิ้นหรือใส่กระจก




                        รูปที่ 3.11 กบร่อง                        รูปที่ 3.12 กบกระดี่

                 - กบกระดี่ เป็นกบรางที่บางมาก ตัวรางหนาประมาณ ½ ถึง 1 นิ้ว ใบกบจะทามุมกับรางกบ
ประมาณ 45 องศา กบชนิดนี้จะเจาะร่องสาหรับคายขี้กบออกทางด้านข้าง ใช้สาหรับไสด้านข้างของช่องบังใบ
ซึ่งไม่สามารถใช้กบชนิดอื่นไสแทนได้
                 - กบลอกบัว ใช้สาหรับทาบัวไม้ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ กบลอกบัวคว่า ใช้สาหรับทาบัวคว่า
และลอกบัวหงาย ใช้สาหรับทาบัวหงาย ใบกบทามุมกับรางกบสูงถึง 60 องศา

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                   หน้า 9
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์




                    รูปที่ 3.13 กบลอกบัว                             รูปที่ 3.14 กบเหล็ก

                   1.2 กบเหล็ก
                   กบเหล็ก เป็นกบฝรั่งส่วนใหญ่ทาจากเหล็กหล่อ เป็นที่นิยมใช้กันมากในต่างประเทศ เนื่องจาก
สะดวกต่อการใช้ กบชนิดนี้มีหลายแบบแต่ละแบบก็มีวัตถุประสงค์ในการใช้งานแตกต่างกันออกไป ได้แก่
                   กบล้าง (Jack Planes) เป็นกบที่ใช้ในการไสล้างผิวไม้ครั้งแรกเพื่อปรับไม้ให้ได้ระดับตามต้องการ
                   กบผิว (Smooth Planes) เป็นกบที่ใช้ในการไสปรับแต่งผิวไม้ให้เรียบ มีขนาดตั้งแต่ 7ถึง 10 นิ้ว
ใบกบกว้าง 1 5/8 ถึง 2 3/8 นิ้ว
         2. เครื่องมือตกแต่งไม้
         เครื่องมือตกแต่งไม้เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับขูดและตกแต่งผิวไม้ให้เรียบก่อนที่จะขัดด้วยกระดาษทราย
เพื่อลงน้ามันหรือทาน้ามันชักเงา เครื่องมือตกแต่งมีหลายชนิด มีรูปร่างแลวัตถุประสงค์ ในการใช้งานแตกต่างกัน
ออกไป เพื่อให้เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท เครื่องมือเหล่านี้ได้แก่
                   2.1 เหล็กขูด (Scrapers)เป็นเหล็กที่ใช้ในการขูดเพื่อตกแต่งไม้ให้มีขนาดและรูปร่างตามต้องการ
แบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้




                                            รูปที่ 3.15 เหล็กขูด

 -                 เหล็กขูดสี่เหลี่ยม เป็นเหล็กขูดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดต่าง ๆใช้ขูดส่วนโค้งหรือส่วนเว้า
 -                 เหล็กขูดด้ามยาว เป็นเหล็กขูดที่ด้ามจับยาวยื่นออกมา ที่หัวจับส่วนใหญ่จะทาเป็นสกรู
สาหรับขันเพื่อบีบใบเหล็กขูด หัวจับโดยทั่วไปทามุมกับด้ามจับประมาณ 75 องศา ใบมีขนาด 2 ¼ นิ้ว
 -                 มีดขูด เป็นเครื่องมือที่จัดอยู่กลุ่มของเหล็กขูด เนื่องจากมีลักษณะการสร้างและการใช้งาน
คล้ายคลึงกัน ขนาดของมีมีดขูดจะกาหนดจากความยาวของส่วนที่เป็นใบมีด
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                     หน้า 10
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์

               2.2 กบขูด (Plane Scraper) เป็นกบที่ออกแบบมาเพื่อขูดตกแต่งผิวไม้ แบ่งเป็น
  -              กบขูดส่วนโค้ง เป็นกบขนาดเล็กใช้สาหรับขูดแต่งส่วนโค้งขนาดเล็กๆที่กบหน้าอ่อนไม่สามารถ
ไสได้ ตัวกบทาเป็นด้ามยื่นออกมา 2 ข้าง กบชนิดนี้สามารถปรับใบกบได้
  -              กบขูดตู้หรือกบขูดลิ้นชัก ลักษณะจะคล้ายกับ กบขูดส่วนโค้ง ใช้สาหรับขูดผิวไม้หลังการไส
ด้วยกบมาตรฐาน




                                                 รูปที่ 3.16 กบขูด
                 2.3 บุ้งถูไม้ (Wood Rasp) ใช้ทาหน้าที่ถูหรือปรับไม้ ทั้งที่เป็นแนวตรงหรือแนวที่เป็นส่วนโค้ง
ให้ได้ขนาดใกล้เคียงกับของจริง จากนั้นจึงใช้ กบหน้าอ่อนหรือกบขูดทาการตกแต่ง อีกทีหนึ่ง บุ้งที่นิยมใช้กันมาก
กับงานช่างไม้ได้แก่ บุ้งแบน บุ้งท้องปลิง และบุ้งกบ




                         รูปที่ 3.17 บุ้งถูไม้                        รูปที่ 3.18 ตะไบแบบต่าง ๆ

                 สาหรับบุ้งแบนและบุ้งท้องปลิงจะมีลักษณะคล้ายตะไบแบนและตะไบท้องปลิง ส่วนบุ้งกบจะมี
ลักษณะเหมือนกบไสไม้ทุกประการ สามารถถอดเปลี่ยนตัวบุ้งได้
                 2.4. ตะไบ (Files) เป็นเครื่องมือที่สาหรับตกแต่งผิวไม้ ตะไบสามารถนาไปใช้ในการลับดอก
สว่านเจาะไม้ และใช้ตะไบฟันเลื่อยได้อีกด้วย ตะไบที่นิยมใช้มีทั้งตะไบแบน ตะไบท้องปลิงและตะไบสามเหลี่ยม
                 ในการใช้บุ้งและตะไบถูไม้ จะต้องให้บุ้งหรือตะไบทามุมกับชิ้นงานประมาณ 45 องศา และเมื่อ
เลิกใช้งานแล้วต้องใช้แปรงปัดทาความสะอาดทุกครั้ง
                 2.5 สิ่ว (Chisels) เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับเจาะไม้ บากไม้ เซาะไม้ ตกแต่งไม้ แกะสลัก
และอื่น ๆ มี 2 ประเภท ได้แก่

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                       หน้า 11
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์




                                       รูปที่ 3.19 สิ่วแบบต่าง ๆ

                - สิ่วโคนแหลม โคนสิ่วจะเป็นรูปแหลมเรียวสาหรับฝังเข้าไปในด้าม ปลายสิ่วจะใช้ตอก
                - สิ่วโคนกระบอก โคนสิ่วทาเป็นรูปทรงกรวยหรือกระบอกสาหรับสวมเข้ากับด้ามไม้
                2.6 สิ่วเล็บมือ (Gouge) เป็นสิ่วที่ใช้สาหรับเจาะหรือเซาะไม้ที่เป็นร่องหรือส่วนโค้งต่าง ๆ
หรือกับงานกลึงไม้ ใบสิ่วและปากสิ่วจะโค้งคล้ายเล็บมือ ขนาดของสิ่วกาหนดความกว้างของใบสิ่วหรือปากสิ่ว
         2.3 การเจียระไนใบกบ
                2.3.1 ถอดใบกบและเหล็กประกับออกจากตัวกบ แยกเหล็กตัวประกับออกจากใบกบ
                2.3.2 ตรวจสภาพทั่วไปของคมใบกบ
                2.3.3 ปรับฉากและขจัดรอยบิ่นของคมกบ โดยวางใบกบราบลงบนแท่นรองของเครื่องหิน
เจียระไน ให้ด้านที่เพล่ มุมอยู่ด้านล่าง จากนั้นค่อย ๆ ดันให้คมกบสัมผัสกับหน้าของหินเจียเบา ๆ
                2.3.4 ใส่เหล็กประกับเข้ากับด้านที่เพล่ จากนั้นขันสกรูยึดระหว่างใบกบกับเหล็กประกับ
                2.3.5 วางใบกบลงบนแท่นรองของเครื่องหินเจียระไน ค่อยๆ ดันใบกบเข้าหาหินเจีย จนกระทั้ง
คมกบสัมผัสกับหน้าของหินเจียที่มุมที่ต้องการ จากนั้นขันสกรูยึดระหว่างใบกบกับเหล็กประกับให้แน่น
                2.3.6 เพล่มุมคมกบด้วยการเลื่อนใบกบจากซ้ายไปขวา จากนั้นนาไปลับด้วยหินลับน้ามัน
         2.4 การเจียระไนสิ่ว
                2.4.1 ตรวจสภาพทั่วไปของสิ่ว
                2.4.2 ปรับฉากและขจัดรอยบิ่นของคมสิ่ว
                2.4.3 วางสิ่วบนบนแท่นรองของเครื่องหินเจียระไน ค่อยๆ ดันสิ่วเข้าหาหินเจียระไน ปรับมุม
ตามต้องการ
                2.4.4 เพล่มุมสิ่ว เลื่อนไปซ้ายหรือขวา เพื่อปรับมุมของสิ่ว จากนั้นนาไปลับด้วยหินน้ามัน
         2.5 ลาดับขั้นในการลับใบกบและใบสิ่วด้วยหินน้ามัน
                2.5.1 จับใบกบหรือใบสิ่วให้แน่น วางบนหินทามุม 30 – 35 องศา ถูไปถูมาตรงๆ สาหรับสิ่ว
ถูเป็นรูปเลข 8 สาหรับใบกบ ให้ลับด้านหยาบก่อนแล้วจึงลับด้วยหินด้านละเอียด
                2.5.2 เมื่อลับแล้ว วางใบกบหรือใบสิ่วราบลงบนหินน้ามัน โดยหงายหน้าที่เพล่หรือบากเป็น
มุมขึ้นทางด้านบน ถูไป – มา
                2.5.3 หลังจากปรับคมกบหรือคมสิ่วได้แล้ว ให้ลบมุมของคมตัดทั้งสองข้างโดยถูกับหินเบาๆ เพื่อ
ป้องกันรอยอันเกิดจากมุมของใบกบหรือใบสิ่วในขณะทางานได้



นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                               หน้า 12
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์




                                 รูปที่ 3.20 การลับคมสิ่วด้วยหินน้ามัน

         2.6 การใช้สิ่วบากร่อง
                 2.6.1 เลือกไม้ขนาดที่ต้องการ ร่างแบบลงบนเนื้อไม้
                 2.6.2 ใช้เลื่อยตัดไปตามเส้นทางด้านกว้างของหน้าไม้จนถึงระดับความลึกที่จะบาก จากนั้นเลื่อย
หลายๆรอย เพื่อสะดวกต่อการใช้สิ่วในภายหลัง
                 2.6.3 ใช้สิ่วบากไม้ไปตามแบบที่ร่างไว้ ด้วยการจรดคมสิ่วลงที่เส้นแสดงระดับความลึก ให้ด้าน
ราบของคมสิ่วอยู่ด้านล่าง แล้วตอกสิ่วเบาๆ เอาเนื้อไม้ออก
                 2.6.4 ใช้สิ่วบากส่วนที่เหลือออก โดยการใช้สิ่วด้วยมือด้วยการออกแรงกดเพียงเล็กน้อยเพื่อ
บากไม้ได้ดี ใกล้กับศูนย์กลางไม้
         2.7 การใช้สิ่วเจาะรูเดือย
                 2.7.1 เลือกไม้ขนาดที่ต้องการ ร่างแบบบนเนื้อไม้
                 2.7.2 เลือกดอกสว่านขนาดเดียวกับความกว้างของรูเดือย แล้วเจาะลงไปที่ปลายทั้งสองของ
รูเดือยในระดับความลึกที่ต้องการ
                 2.7.3 เจาะรูเพิ่มเติมระหว่างรูทางด้านหัว - ท้ายที่เจาะมาแล้ว
                 2.7.4 ใช้สิ่วทาการเจาะไปตามแบบที่ร่างไว้ ให้ใบสิ่วต้องกว่างเท่ากับหรือแคบกว่าความกว้าง
ของรูเดือยเล็กน้อย
                 2.7.5 หลังจากเจาะเรียบร้อยแล้ว ให้ตกแต่งรูเดือยให้เรียบร้อยด้วยสิ่วอีกครั้ง
         2.8 การประกอบและการปรับคมกบ
                 2.8.1 ขันสกรูเช้ากับเหล็กประกับพอหลวมๆ
                 2.8.2 สอดหัวสกรูเข้าไปในรูที่ปลายร่องของใบกบ ให้ปลายด้านที่มีส่วนโค้งของเหล็กประกับอยู่
ทางด้านเดียวกันกับคมกบ
                 2.8.3 เลื่อนเหล็กประกับให้ตรงแนว จึงขันสกรูให้เหล็กประกับยึดแน่นเข้ากับใบกบ
                 2.8.4 วางลิ่มไม้บนส่วนประกอบของใบกบกับเหล็กประกบ ใส่ส่วนประกอบทั้งหมดลงในร่องกบ
                 2.8.5 ใช้ค้อนตอกลิ่มไปให้แน่นพอประมาณ จากนั้นปรับคมกบด้วยการหงายท้องกบขึ้นแล้ว
เล็งดูใบกบ ปรับใบกบขึ้นลงตามความต้องการ จากนั้นใช้ค้อนตอกลิ่มให้แน่น




นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                หน้า 13
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์

        2.9 การไสไม้
        สิ่งแรกที่ต้องพิจารณาคือ ลักษณะของเสี้ยนไม้ของไม้ที่นามาไส และตรวจสภาพของไม้ให้เรียบร้อย
จากนั้นวางไม้ที่ไสลงบนโต๊ะ ตีไม้กันที่หัวไม้เพื่อบังคับไม่ให้ไม้ที่ไสเลื่อน จากนั้นวางหัวกบลงบนหัวไม้ ให้คมกบ
ห่างจากไม้เล็กน้อย ออกแรงกดที่ด้านหัวกบ ออกแรงไสไปข้างหน้าเมื่อด้านท้าย ของกบเลยหัวไม้ขึ้นไปอยู่บน
แผ่นไม้แล้ว ให้ ออกแรงกดทั้งด้านหัวและท้ายกบ เมื่อไสไปจนเกือบจะถึงหัวไม้อีกด้านหนึ่งก็ให้ผ่อนแรงที่กด
ด้านหัวกบ แต่ทางท้ายยังคงอยู่ ไสไปไสมา
        ในการไสตกแต่งไม้ด้านขอบไม้ ช่วงของการไสควรจะอยู่ประมาณช่วงแขน ให้ไสตกแต่งโดยตลอดหน้า
กว้างของไม้ ตรวจสอบความเรียบร้อยของผิวไม้ที่จุดต่างๆ ตามความยาวของไม้ด้วยไม้บรรทัดหรือฉาก
        เมื่อจะไสขอบไม้ให้เรียบตรง ก่อนอื่นให้เล็งไปตามขอบไ ม้ เพื่อกาหนดจุดที่สูง จากนั้นให้ไส ส่วนที่สูง
ออกเสียก่อนที่จะทาการไสให้เรียบทั้งหมด การไสครั้งสุดท้ายให้ไสไปโดยตลอดความยาวของไม้




                                            รูปที่ 3.21 การไสไม้

เครื่องมือเจาะ
         เครื่องมือเจาะและคว้านไม้ เป็นเครื่องมือที่จาเป็นสาหรับงานไม้ ใช้สาหรับเจาะหรือคว้านรูเพื่อใส่
ตะปูเกลียว สลักเกลียวหรือเดือย ในการประกอบเครื่องเรือนต่าง ๆ
         เครืองมือเจาะและคว้านไม้มีหลายชนิด เครื่องมือเหล่านี้ได้แก่ สว่านมือเสือ (Braces) สว่านเฟือง (Drills)
              ่
สว่านกด (Push Drills) ดอกสว่าน (Bits) และบิดหล่า
         1. สว่านข้อเสือ
         สว่านข้อเสือ เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับเจาะเนื้อไม้เพื่อใส่สลักเกลียว เดือย ตัวกุญแจและใช้จับไขควง
เพื่อขันตะปูเกลียว ส่วนประกอบที่สาคัญคือลูกบิด มือจับ และหัวจับ ซึ่งประกอบด้วยปากจับชนิดต่างๆ เพื่อให้
สามารถจับได้ทั้งดอกส่วนชนิดก้านเหลี่ยมและดอกสว่านชนิดก้านกลม




                                                            รูปที่ 3.22 สว่านข้อเสือ

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                     หน้า 14
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์

                     สว่านข้อเสือที่นิยมใช้กับงานไม้ ได้แก่
                     1.1 สว่านข้อเสือแบบธรรมดา (Plain Brace) เป็นสว่านที่ใช้เจาะในที่โล่ง ๆ ไม่มีสิ่งกีดขวาง
ในขณะมือจับ เนื่องจากสว่านแบบนี้หัวจับหมุนฟรีไม่ได้
                     1.2 สว่านข้อเสือแบบกรอกแกรก (Ratchet Brace) นิยมใช้กันมาก เนื่องจากสามารถใช้
เจาะในที่ซึ่งมีสิ่งกีดขวาง หรือในที่ซึ่งไม่สามารถหมุนมือจับได้รอบตัว ที่หัวจับสามารถปรับให้ หมุนฟรี ทางด้านใด
ด้านหนึ่งก็ได้
                     1.3 สว่านแบบข้อเสือแบบเจาะมุม (Angle Brace) เป็นสว่ านที่ใช้ในการเจาะที่อยู่ใกล้ ๆ มุม
สว่านแบบนี้สามารถหมุนมือจับได้รอบตัว
           2. สว่านเฟือง
           สว่านเฟือง ยังจาแนกออกตามลักษณะการสร้างได้เป็น 3 แบบ คือ
                     2.1 สว่านมือ (Hand Drill) เจาะได้ทั้งโลหะแผ่นและไม้ เมื่อไม่สะดวกต่อการใช้สว่านไฟฟ้า
เพื่อเจาะนาตะปูเกลียว ตะปู หรือเจาะกระเบื้องมุงหลังคาก่อนทาการตอกตะปู มือจับทาด้วยไม้ ส่วนกลางเป็น
ฟันเฟืองและมือหมุน ส่วนปลายเป็นหัวจับ ส่วนใหญ่ทาเป็นหลายนูนเพื่อกันลื่นเมื่อหมุน ปากจับ เป็นแบบ 3 ปาก
เพื่อใช้จับก้านสว่านแบบกลมได้
                     2.2 สว่านเท้าหน้าอก (Breast Drill) ส่วนปลายของสว่านทาเป็นส่วนโค้งสาหรับเท้าเข้ากับ
หน้าอก เพื่อกดแทนมือในขณะทาการเจาะ ส่วนอื่นๆ คล้ายกับสว่านมือ ขนาดของตัวสว่านจะกาหนดจาก
ขนาดของ ดอกสว่านที่หัวจับสามารถที่จะจับได้




              รูปที่ 3.23 สว่านเฟือง                                 รูปที่ 3.24 สว่านกด

         3. สว่านกด
         เป็นสว่านที่ใช้สาหรับเจาะไม้บางๆ เช่น เจาะไม้ เพื่อให้เป็นรูนาเลื่อยฉลุ สว่านชนิดนี้จะทางานโดยการกด
ด้วยมือเพียงข้างเดียว จึงทาให้มืออีกข้างหนึ่ง สามารถยึดแผ่นไม้ที่ทาการเจาะได้ สว่านชนิดนี้ส่วนมากที่ด้ามจะทา
เป็นที่สาหรับเก็บดอกสว่านได้ด้วย




นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                   หน้า 15
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์




                                     รูปที่ 3.25 ดอกสว่านแบบต่าง ๆ

         4. ดอกสว่าน
         ดอกสว่านที่นิยมใช้กับสว่านทั่วๆ ไป มีหลายชนิด รูปร่างและลักษณะการใช้งานแตกต่างกันออกไป ดังนี้
                   4.1 ดอกเกลียว (Auger Bits) มีทั้งชนิดที่มีเกสรและไม่มีเกสร ชนิดที่ไม่มีเกสรจะมีลักษณะ
เหมือนกับดอกสว่านเจาะเหล็ก แต่ก้านจะทาเป็นเหลี่ยมเหมือนกับดอกสว่านที่เกสร ส่วนดอกส่วนที่มีเกสรเป็น
ดอกส่วนที่ใช้เจาะไม้ โดยเฉพาะดอกสว่านชนิดนี้แบ่งออกได้ตามลักษณะของเกลียวและเกสรของ ดอกสว่านนั้น ๆ
ถ้าเกสรเป็นเกลียวห่าง ก็จะใช้เจาะงานหยาบ ๆ ถ้าเกสรเป็นเกลียวถี่ ๆ จะใช้กับงานที่ต้องการความละเอียดและ
ประณีต
                   4.2 ดอกขยาย (Expansion Bits) เป็นดอกสว่านที่ใช้เจาะรูได้หลายขนาด ที่ปลายดอกสว่าน
จะมีใบมีดติดอยู่ สามารถเลื่อนเข้า - ออก เพื่อขยายรู้ให้ได้ตามต้องการ
                   4.3 ดอกขูด (Foerstner Bits) ใช้เจาะไม้เมื่อต้องการให้ก้นรูที่เจาะเรียบ ใช้ในกรณีที่ต้องการ
ใส่เดือยไม้ ฝังหัวนอตหรือหัวของสลักเกลียว ซึ่งดอกสว่านชนิดอื่นไม่สามารถเจาะได้ ขนาดของดอกสว่านจะถูก
ประทับไว้ ที่ก้าน
                   4.4 ดอกจาปา (Gimlet Bits) ใช้ในการเจาะนา เพื่อตอกตาปูหรือใส่ตาปูเกลียว เมื่อต้องการ
ความประณีต
                   4.5 ดอกเม็ดมะยม (Countersink Bits) เป็นดอกสว่านที่ใช้สาห รับคว้านทางด้านบนของรู
ให้กว้าง เพื่อฝังหัวตาปูเกลียว ขนาดกาหนดจากเส้นผ่านศูนย์กลางของส่วนที่กว้างที่สุด
                   4.6 ดอกบิด(Twist Drill)จะคล้ายกับดอกสว่านชนิดเจาะโลหะเพียงแต่ที่ก้านจะทาเป็นเหลี่ยม
ใช้เจาะรูในกรณีที่ดอกสว่านอาจจะเจาะไปถูกโลหะ
         5. บิดหล่า
         เป็นเครื่องมืออย่างง่าย ๆ ที่ใช้ในการเจาะไม้ มีรูปร่างเหมือนกับดอกสว่านเจาะไม้แต่มีขนาดใหญ่กว่า
ปลายด้านบนจะทาเป็นห่วงสาหรับใส่มือจับหรืออาจจะทาเป็นปลอก เพื่อใส่ด้ามไม้สาหรับมือจับ นิยมใช้กับงาน
เจาะเสาหรือคานเพื่อยึดตรึงด้วยสลักเกลียว และเนื่องจากที่ราคาถูก จึงนิยมใช้กันมาก



                                                                   รูปที่ 3.26 บิดหล่า
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                    หน้า 16
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์

         การลับดอกสว่านชนิดเกลียว
                 1. ลับเดือย (Spur) ของดอกสว่านด้วยการจับดอกสว่านพาดกับขอบโต๊ะ โดยให้ปลายของ
ดอกสว่านชี้ขึ้น จากนั้นใช้ตะไบที่ใช้สาหรับตะไบดอกสว่านโดยเฉพาะ ตะไบขอบด้านในของเดือยทั้งสองข้างจนคม
ได้ที่ ในการตะไบต้องระมัดระวังมิให้ตะไบไปถูเข้ากับขอบด้านล่างของคมตัด ขอบด้านนอกของเดือยไม่ต้องตะไบ
เว้นแต่ขอบจะชารุด แต่ถ้าจาเป็นก็จะต้องตะไบให้เรียบ และจะต้องแน่ใจว่าไม่ตะไบส่วนปลายของเดือยจน
เล็กกว่าความโตของดอกสว่าน เนื่องจากการกระทาดังกล่าวจะทาให้ดอกสว่านเจาะไม้ไม่เข้า
                 2. ลับคมตัด (Cutting Lips) ด้วยการวางดอกสว่านลงบนโต๊ะ จากนั้นใช้ตะไบถูทางด้านบน
ของคมตัดทั้งสองข้าง ๆ ละเท่า ๆ กันจนได้ที่ ไม่ตะไบที่ด้านล่างของคมตัดและที่แกนของดอกสว่าน
                 3. ตรวจสอบสภาพเกสร (Feed Screw) ของดอกสว่านถ้าไม่ชา รุดก็ไม่ต้องตะไบ แต่ถ้าเกลียว
ชารุดเล็กน้อยก็สามารถปรับ - แต่งได้ ด้วยการใช้ตะไบสามเหลี่ยมตะไบที่ร่องเกลียว
                 4. ตรวจความตรงของดอกสว่านด้วยการกลิ้งไป - มาบนพื้นโต๊ะเรียบ ๆ ถ้าจาเป็นก็ให้ตัดด้วย
การใช้ค้อนไม้ทุบจนตรง
         การเจาะรูเดือยด้วยเครื่องเจาะรูเดือย
                 1. การเตรียมงาน
          -                  เลือกชนิดและขนาดของเครื่องเจาะรูเดือย ให้เหมาะกับลักษณะของงานที่จะทา
          -                  จัดเตรียมชิ้นงานที่จะเจาะ กาหนดตาแหน่งที่จะเจาะลงบนชิ้นงาน
          -                  จัดเตรียมอุปกรณ์อานวยความสะดวกต่าง ๆ เช่น ปากกาจับหัวโต๊ะ ฉาก
                 2. การเจาะ
          -                  เลือกปลอกนาสว่าน ขนาดเดียวกับขนาดของเดือย แล้วประกอบเข้ากับเครื่องบังคับ
การเจาะ รูเดือย ขันให้แน่น
          -                  ยึดเครื่องบังคับการเจาะรูเดือยเข้ากับขอบไม้ ปรับให้จุดศูนย์กลางของปลอกนาสว่าน
ตรงกับรูเดือย
          -                  นาดอกสว่านขนาดที่ต้องการใส่เข้าที่หัวจับดอกสว่าน
                           - ตั้งสว่านให้ตรง ค่อย ๆ สอดดอกสว่านเข้าไปในปลอกนาดอกสว่าน จนเกสรของ
ดอกสว่านสัมผัสเนื้อไม้ แล้วจึงออกแรงกด

เครื่องมือยึดและวัสดุยึดตรึงตรึงไม้
         เครื่องมือยึดตรึงไม้
         เครื่องมือยึดตรึงไม้ เป็นเครื่องมือที่จาเป็นในงานไม้ เนื่องจากงานส่วนใหญ่ต้องยึดตรึงไม้เข้าด้วยกัน
หรือบางโอกาสก็อาจต้องใช้เครื่องมือประเภทนี้เพื่อแบ่งแยกส่วนประกอบต่าง ๆ ออกจากกัน เครื่องมือยึดตรึงไม้
ประกอบด้วย




                รูปที่ 3.27 ค้อนหงอน                                 รูปที่ 3.28 ค้อนปอนด์
นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                  หน้า 17
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์

         1. ค้อน (Hammers)
         ค้อนที่นิยมใช้กันในงานไม้มี 2 ชนิด คือ ค้อนเหล็ก (Hammers) และค้อนไม้ (Mallets)
                   1.1 ค้อนเหล็ก แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
           -                  ค้อนหงอน (Claw Hammer) เป็นค้อนที่ใช้กับงานช่างไม้โดยเฉพาะ การเรียก
ค้อนหงอนจะเรียกตามน้าหนักของหัวค้อน ซึ่งมีขนาดตั้งแต่ 7 ถึง 20 ออนซ์ ค้อนแบ่งเป็นสองส่วน คือ ส่วนที่
เป็นหัวค้อนทาด้วยเหล็กและส่วนที่เป็นด้ามค้อนทาด้วยไม้ ในเมืองไทยนิยมทาด้ามค้อนด้วยไม้เนื้อแข็ง หน้าค้อน
จะโค้งนูนเล็กน้อย ใช้สาหรับตอกตาปู ที่หงอนค้อนทาเป็นแฉกสาหรับใช้ถอนตาปู ปลายด้านห นึ่งของด้ามค้อน
จะสวมเข้าไปในหัวค้อน มีลิ่มเหล็กตอกแทรกเข้าไปในด้ามทางด้านหัวค้อน เพื่อให้หัวค้อนติดแน่นกับด้ามค้อน
เพื่อกันหลุด
                           - ค้อนปอนด์ (Ball - Peen Hammer) ค้อนปอนด์เป็นค้อนหัวกลม นิยมใช้กับ
งานช่างโลหะ แต่ถูกนามาใช้ในงานไม้เช่นกัน โดยเฉพาะกับงานหนักๆ เช่นงานตอกเหล็กหรือไม้ปักผัง หรือใช้ใน
งานหรือถอนต่าง ๆ ขนาดของค้อนกาหนดจากน้าหนักของหัวค้อนเช่นกัน มีขนาดตั้งแต่ ¼ ถึง 4 ปอนด์
                   1.2 ค้อนไม้
                   ทาจากไม้ที่มีน้าหนักและมีความเหนียว มีขนาดต่างๆ กันเพื่อความเหมาะสมในการใช้งาน
ประโยชน์ของค้อ นไม้จะใช้ในการตอกด้ามสิ่ว เมื่อทาการบากหรือเจาะไม้ ใช้ตอกเดือย เป็นต้น เนื่องจากค้อน
ชนิดนี้ทาด้วยไม้ ควรระมัดระวังอย่านาค้อนไปตอกตาปูเหล็กหรือไม้ที่มีความแข็งแรงม ากกว่า เพราะจะทาให้
ค้อนแตกฉีก นอกจากนี้ต้องคอยดูว่าติดแน่นกับหัวค้อนหรือไม่ เพื่อกันหัวค้อนหลุดซึ่งจะทาให้ เกิดอันตรายได้ง่าย




                 รูปที่ 3.29 ค้อนไม้                                  รูปที่ 3.30 ขวาน

         2. ขวาน (Hatchet or Axes)
         ขวานเป็นเครื่องมือช่างไม้ที่ใช้ในการเกลาหรือถากไม้ที่เป็นท่ อนๆ ให้ได้รูปร่างอย่างเคร่า ๆ ก่อนที่จะนา
ไปไสกบหรือใช้สิ่วบากให้ได้ขนาดตามต้องการ ขวานที่นิยมใช้กัน ได้แก่
                 2.1 ขวานถากพื้น (Flooring Hatchet) เป็นที่นิยมใช้กันมากเพราะทาประโยชน์ได้หลายอย่าง
เป็นต้นว่า การถากพื้นไม้ ใช้ถอนตาปู ใช้บากไม้ ฯลฯ หน้าตัดของขวานถากพื้นนี้ ด้านหนึ่งตรงด้านหนึ่งแอ่น
ซึ่งเหมาะสมในการถากไม้และบากไม้เป็นอย่างดี ขวานชนิดนี้มีลักษณะของคมขวานเหมือนคมสิ่วหรือคมกบ
วิธีลับขวานเหมือนกับวิธีลับคมกบหรือคมสิ่ว
                 2.2 ขวานปากกว้าง (Broad Hatchet) มี 2 แบบ คือแบบอังกฤษซึ่งมีหยัก และแบบอเมริกันที่
คมโค้ง ขวานทั้งสองแบบเป็นขวานที่เหมาะกับงานหนักๆ เช่น งานตัด บากไม้ โค่นต้นไม้ ลักษณะคมขวานจะ
เหมือนกับคมมีด คือคมจะเรียวเข้าหากันทั้ง 2 ด้าน การลับขวานชนิดนี้เหมือนการลับมีด

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                     หน้า 18
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์

                2.3 ขวานหงอน (Shingling Hatchet) มีลักษณะเหมือนกับขวานปากกว้ าง แต่หัวขวานซึ่งใช้
สาหรับตีตะปูและหงอนสาหรับถอนตะปู จะเหมือนกับขวานถากพื้น ลักษณะของขวานชนิดนี้นอกจากจะใช้
ตอกตะปูและถอนตะปูแล้ว ยังสามารถใช้ได้เหมือนขวานปากกว้าง การลับขวานเหมือนกับการลับมีด
         3. ไขควง (Screw Driver)
         ไขควงเป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับขันหรือคายตาปูเกลียว เพื่ อการประกอบหรือแยกชิ้นส่วนงาน ไขควงที่
นิยมใช้กับงานไม้ มี 3 ประเภทคือ




                                     รูปที่ 3.31 ไขควงแบบต่าง ๆ

                 3.1 ไขควงปากแบน (Common Screw Driver) ไขควงชนิดนี้จะลักษณะคล้าย ๆ สิ่ว คือ
ที่ตอนปลายของปากจะแบนและลาดเข้าหากันแต่ไม่คม ส่วนของตัวไขควงชนิดนี้มีทั้งแบบแบนและแบบเหลี่ยม
ขนาดความยาวของไขควงชนิดนี้มีตั้งแต่ 1 ½ ถึง 10 นิ้ว ไขควงชนิดนี้ตัวไขควงจะติดแน่นหรือติดตายอยู่กับ
ด้าม ด้ามของไขควงอาจจะทาด้วยไม้หรือพลาสติกแข็งก็ได้ ส่วนตั วของไขควงจะทาด้วยโลหะชุบนิคเกิล ปากที่
ปลายไขควงจะมีขนาดความกว้างแตกต่างกันเพื่อให้เลือกใช้ได้เหมาะกับร่องที่หัวตาปูเกลียว
                 3.2 ไขควงหัวแฉก ( Phillip Screw Driver) ไขควงชนิดนี้ลักษณะทั่วไปจะเหมือนกับไขควง
ปากแบน ผิดกันตร งที่ปลายของไขควงจะทาเป็นรูปแฉก 4 แฉก เพื่อใช้ขันตาปูเกลียวชนิดหัวแฉก ไขควงชนิดนี้
มีอยู่ด้วยกัน 4 ชนิดคือ
                        เบอร์ 1 ใช้สาหรับขันตาปูเกลียว เบอร์ 0 – 4
                        เบอร์ 2 ใช้สาหรับขันตาปูเกลียว เบอร์ 5 – 9
                        เบอร์ 3 ใช้สาหรับขันตาปูเกลียว เบอร์ 10 -16
                        เบอร์ 4 ใช้สาหรับขันตาปูเกลียว เบอร์ 18 ขึ้นไป
                 3.3 ไขควงแบบกดหรือแบบอัตโนมัติ (Spiral Ratchet Screw Driver) ไขควงชนิดนี้นิยมใช้
กันมาก เพราะให้ความสะดวกในการขัน เหมาะอย่างยิ่งสาหรับงานที่จะต้องขันตาปูเกลียวเป็นจานวนมาก ๆ
เนื่องจาก สามารถผ่อนแรงได้ดี ใช้ ขันทั้งแบบธรรมดาและแบบฟรีกลับ สามารถที่จะปรับให้ฟรีไปทางใดก็ได้
ปลายของ ไขควงชนิดนี้สามารถที่จะถอดเปลี่ยนได้เพื่อให้เหมาะสมกับขนาดของหัวตาปูเ กลียวไขควงชนิดนี้
มีขนาดตั้งแต่ 9 ถึง 18 นิ้ว ด้ามทาด้วยไม้ขัดมัน

นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ                                                                หน้า 19
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนNan NaJa
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1juckit009
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...Pitchayakarn Nitisahakul
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 

La actualidad más candente (20)

แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
สำรวจวิชาสอบอร
สำรวจวิชาสอบอรสำรวจวิชาสอบอร
สำรวจวิชาสอบอร
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 

Destacado

องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5อำนาจ ศรีทิม
 
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์Sangchai Piraruk
 
пошагово детальное преподавание информации,ее усвоение, уменьшение искажений ...
пошагово детальное преподавание информации,ее усвоение, уменьшение искажений ...пошагово детальное преподавание информации,ее усвоение, уменьшение искажений ...
пошагово детальное преподавание информации,ее усвоение, уменьшение искажений ...msikanov
 
олимп
олимполимп
олимпmsikanov
 
в ожидании нового года
в ожидании нового годав ожидании нового года
в ожидании нового годаmsikanov
 
зимние игры
зимние игрызимние игры
зимние игрыmsikanov
 
Ipc2014 presentation
Ipc2014 presentationIpc2014 presentation
Ipc2014 presentationWael Badawy
 
посещение школьной библиотеки
посещение школьной библиотекипосещение школьной библиотеки
посещение школьной библиотекиmsikanov
 
Week 18 (2014) Project Development
Week 18 (2014) Project DevelopmentWeek 18 (2014) Project Development
Week 18 (2014) Project DevelopmentVaneza Caycho Ñuflo
 
торжественная линейка2pptx
торжественная линейка2pptxторжественная линейка2pptx
торжественная линейка2pptxmsikanov
 

Destacado (20)

องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
การป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุการป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุ
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 
อุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้า
อุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้าอุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้า
อุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้า
 
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
 
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
 
пошагово детальное преподавание информации,ее усвоение, уменьшение искажений ...
пошагово детальное преподавание информации,ее усвоение, уменьшение искажений ...пошагово детальное преподавание информации,ее усвоение, уменьшение искажений ...
пошагово детальное преподавание информации,ее усвоение, уменьшение искажений ...
 
олимп
олимполимп
олимп
 
в ожидании нового года
в ожидании нового годав ожидании нового года
в ожидании нового года
 
зимние игры
зимние игрызимние игры
зимние игры
 
013.safetymanagement v3
013.safetymanagement v3013.safetymanagement v3
013.safetymanagement v3
 
Ipc2014 presentation
Ipc2014 presentationIpc2014 presentation
Ipc2014 presentation
 
посещение школьной библиотеки
посещение школьной библиотекипосещение школьной библиотеки
посещение школьной библиотеки
 
Google docs[1]
Google docs[1]Google docs[1]
Google docs[1]
 
Week 18 (2014) Project Development
Week 18 (2014) Project DevelopmentWeek 18 (2014) Project Development
Week 18 (2014) Project Development
 
торжественная линейка2pptx
торжественная линейка2pptxторжественная линейка2pptx
торжественная линейка2pptx
 
009.safetymanagement v3
009.safetymanagement v3009.safetymanagement v3
009.safetymanagement v3
 

Similar a เครื่องมือ3

ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่างใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่างDuangsuwun Lasadang
 
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2Natsima Chaisuttipat
 
เครื่องเขียน
เครื่องเขียนเครื่องเขียน
เครื่องเขียนKoNg KoNgpop
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3Arisa Srising
 
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้Wanlop Chimpalee
 
4b - คู่มือการเลือกใช้กะพ้อ
4b - คู่มือการเลือกใช้กะพ้อ4b - คู่มือการเลือกใช้กะพ้อ
4b - คู่มือการเลือกใช้กะพ้อ4B Braime Components
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2554Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2554Postharvest Technology Innovation Center
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11Mint Zy
 

Similar a เครื่องมือ3 (20)

ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
 
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงานการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
 
ใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่างใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่าง
 
104
104104
104
 
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
 
5 stamping and punching force
5  stamping and punching force5  stamping and punching force
5 stamping and punching force
 
403
403403
403
 
ใบความรู้การวัด
ใบความรู้การวัดใบความรู้การวัด
ใบความรู้การวัด
 
4 3
4 34 3
4 3
 
Pencil
PencilPencil
Pencil
 
เครื่องเขียน
เครื่องเขียนเครื่องเขียน
เครื่องเขียน
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
 
4b - คู่มือการเลือกใช้กะพ้อ
4b - คู่มือการเลือกใช้กะพ้อ4b - คู่มือการเลือกใช้กะพ้อ
4b - คู่มือการเลือกใช้กะพ้อ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
01-Bolt and Nut
01-Bolt and Nut01-Bolt and Nut
01-Bolt and Nut
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2554Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2554
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
Kreakjaksan
Kreakjaksan Kreakjaksan
Kreakjaksan
 
Pranitee Present Earrings
Pranitee Present EarringsPranitee Present Earrings
Pranitee Present Earrings
 

Más de อำนาจ ศรีทิม

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบอำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์อำนาจ ศรีทิม
 

Más de อำนาจ ศรีทิม (20)

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
บทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัยบทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัย
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
Picasa[1]
Picasa[1]Picasa[1]
Picasa[1]
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
You tube[1]
You tube[1]You tube[1]
You tube[1]
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
การเชื่อมฟลักซ์
การเชื่อมฟลักซ์การเชื่อมฟลักซ์
การเชื่อมฟลักซ์
 

เครื่องมือ3

  • 1. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ เครื่องมือตัด เครื่องมือที่ตัดใช้กับงานช่างไม้ ได้แก่ เลื่อย ช่างไม้จะใช้เลื่อยเพื่อตัดไม้ ให้ได้ขนาดและรูปร่างตาม ที่ต้องการ เลื่อยมีหลายชนิด แต่ละชนิดจะมีลักษณะรูปร่างและวัตถุประสงค์ในการใช้งานแตกต่างกันออกไป เพื่อให้เหมาะกับงานแต่ละประเภท เลื่อยเหล่านี้ได้แก่ เลื่อยลันดา (Hand saws) เลื่อยอก (Span Web Saw ) เลื่อยรอ (Back Saw) เลื่อยเจาะรูกุญแจ (Key Hole Saw) เลื่อยหางหนู (Cmopass Saw) เลื่อยฉลุ (Coping Saw) เลื่อยตัดเหล็ก(Hack Saw) 1. เลื่อยลันดา เลื่อยลันดา แบ่งออกเป็นส่วนใหญ่ ๆ ได้ 2 ส่วนด้วยกันคือ ส่วนที่เป็นมือจับซึ่งอาจจะทาด้วยไม้หรือ พลาสติก กับส่วนที่เป็นใบเลื่อย ซึ่งทาด้วยเหล็ก ที่ปลายของใบเลื่ อยจะเจาะรูไว้สาหรับแขวน ส่วนที่โคนของ ใบเลื่อยจะมีตัวเลขบอกขนาดความยาว และจานวนของฟันต่อนิ้วของเลื่อย รูปที่ 3.1 เลื่อยลันดา เลื่อยลันดาสามารถจาแนกออกตามลักษณะของฟันเลื่อยได้เป็น 2 แบบ ด้วยกันคือ เลื่อยฟันตัด (Crosscut Saw) และเลื่อยฟันโกรก (Rip Saw) - เลื่อยฟันตัด โดยทั่วๆ ไป เหตุที่เรียกว่าเลื่อยฟันตัดก็เนื่องจากมีลักษณะของฟันเลื่อย ออกแบบมา เพื่อให้เหมาะต่อการตัดขวางกับเสี้ยนไม้ ฟันเลื่อยแบบนี้จะถี่และแหลมเหมือนคมมีด มุมที่ยอดของ ซี่ฟัน ซึ่งเป็นมุมรวมเท่ากับ 60 องศา โดยมุมที่ลาดไปทางด้านหน้าหรือ ด้านปลายเลื่อยเท่ากับ 15 องศา และ มุมที่ลาดไปทางด้านโคนหรือด้ามเลื่อยเท่ากับ 45 องศา ขณะทาการเลื่อยฟันดังกล่าวจะเฉือนเข้าไป ในเนื้อไม้ จึงทาให้ ไม้ไม่แตกหรือฉีก เลื่อยฟันตัดขนาด 4 หรือ 5 ฟันต่อนิ้ว เหมาะกับงานหยาบ ๆ ที่ต้องการความ รวดเร็วในการทางาน แต่ขนาด 10 หรือ 12 หันต่อนิ้ว เหมาะมากกับงานละเอียดที่ต้องการความประณีตแต่ที่ นิยมใช้กันมากที่สุด กับงานทั่ว ๆ ไป ได้แก่ ขนาด 7 หรือ 8 ฟันต่อนิ้ว - เลื่อยฟันโกรก ใช้กับงานโกรกหรือซอยไม้ โดยจะโกรกหรือซอยไปตามเสี้ยนไม้ ลักษณะและ องศาของฟั นเลื่อยมากถึง 52 องศาและมีมุมลาดไปทาง ด้านปลายเลื่อยเท่ากับ 8 องศา ซึ่งมุมรวมจะเท่ากับ 60 องศา เหมือนกับเลื่อยฟันตัดเช่นกัน เลื่อยแบบนี้จะมีฟันหยาบกว่าเลื่อยฟันตัด เนื่องจากต้องการความรวดเร็วใน การทางาน ฟันของเลื่อยแบบนี้จะทาหน้าที่คล้าย ๆ สิ่ว จึงไม่ต้องกลัวว่าเนื้อไม้จะฉีกในขณะทาการเลื่อย เลื่อยฟันโกรกขนาด 4 ½ ฟันและขนาด 6 ฟันต่อนิ้ว เป็นขนาดที่นิยมใช้กันโด ยทั่วไปมากที่สุดเลื่อยทั้ง 2 แบบ นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 1
  • 2. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ มีขนาดยาวตั้งแต่ 18 ถึง 26 นิ้ว แต่ที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่ขนาดยาว 24 และ 26 นิ้ว ลักษณะรู ปร่าง และการทางานของฟันเลื่อยทั้ง 2 แบบ 2. เลื่อยอก เลื่อยอก บางทีเรียกเลื่อยโครง เป็นที่นิยมใช้กันมากในหมู่ช่างคนไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่างไม้ครุภัณฑ์ เพราะเป็นเลื่อยที่ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่างกล่าวคือ เป็นเลื่อยตัดก็ได้หรือเป็นเลื่อยโกรกก็ได้ ใช้งานได้คล่อง เนื่องจากใบเลื่อยแคบและบาง ดังนั้นในการตัดหรื อโกรกจึงเสียคลองเลื่อยน้อย เป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ทั่วไป รูปที่ 3.2 เลื่อยอก เลื่อยอกประกอบด้วย อกเลื่อยซึ่งเป็นท่อนยาวเหลากลม ปลายทั้งสองข้างเรียวมีความยาวมากกว่า ใบเลื่อยที่ใช้ประมาณ 5 ถึง 6 นิ้ว ทาหน้าที่ยันมือจับของเลื่อย โดยที่ปลายทั้งสองข้างจะทาหน้าที่เป็นเดือย สวมเข้ากับรูปที่มือจับ มือจับเป็นไม้ท่อนสี่เหลี่ยม ซึ่งมีการลบมุมตกแต่งเหลี่ยมเพื่อความสวยงามและเพื่อ ความสะดวกในการจับ มีขนาดโตกว่าอกเลื่อยเล็กน้อย ยาวประมาณ 12 ถึง 14 นิ้ว ปลายเดือยผ่าเป็นเดือย สาหรับร้อยเชือกรัดเกล้า หรือใส่ไม้ตรึงตรงกลางเจาะเป็นรูสาหรับใส่อกเลื่อย ปลายล่างเจาะรูสาหรับร้อยหู ที่ยึดใบเลื่อย หูเลื่อยทาด้วยโลหะมี 2 ตัว ตัว ที่อยู่ทางด้านปลายของใบเลื่อยจะมีรูสาหรับร้อยหมุด เพื่อใส่ ใบเลื่อยตอนปลายหูเลื่อยด้านนี้จะมีน็อตหางปลา สาหรับปรับความตึงของใบเลื่อย ตัวที่อยู่ทางด้านโคนของ ใบเลื่อยจะผ่ากลางและมีรู้สาหรับร้อยหมุด เช่นกัน เพื่อใส่ใบเลื่อยทางด้านโคน หูเลื่อยด้านนี้ เป็นหูตายปรับไม่ ได้ รัดเกล้า ได้แก่ เชือกที่ใช้ขันชะเนาะเพื่อปรับใบเลื่อยให้ตึง ใช้สาหรับเลื่อยอกชนิดที่ หูเลื่อยทั้งสองข้างเป็นหูตาย ปรับไม่ได้ ส่วนเลื่อยอกชนิดที่หูเลื่อยปรับได้จะใส่ไม้ยึดตรึงแทน โดยที่ปลายทั้งสองข้างของไม้ที่ว่านี้ จะเจาะรู สาหรับใส่เดือยที่ปลายด้านบนของไม้ที่เป็นมือจับ เลื่อยชนิดนี้มีทั้งชนิดฟันหยาบ ฟันปานกลางและฟันละเอียด ชนิดฟันหยาบมีจานวนฟันตั้งแต่ 6 ถึง 9 ฟันต่อนิ้ว ชนิดฟันปานกลางมีจานวนฟันตั้งแต่ 10 ถึง 13 ฟันต่อนิ้ว และชนิดฟันละเอียด มีจานวนฟันตั้งแต่ 16 ถึง 18 ฟันต่อนิ้ว ลักษณะของฟันเลื่อยจะเหมือนกับเลื่อย ฟันโกรกใช้ได้ทั้งงานตัดและโกรก ผ่าและบากเดือย ตลอดจนงานตัดปากไม้ที่ต้องการความประณีต ขนาดของใบเลื่อยจะมีตั้งแต่ 16 ถึง 30 นิ้ว แต่ที่นิยมใช้กัน โดยทั่วไปได้แก่ขนาด 22 ถึง 24 นิ้ว นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 2
  • 3. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ 3. เลื่อยรอ เลื่อยรอ บางที่เรียกเลื่อยสันแข็ง ลักษณะคล้ายเลื่อยลันดา แต่ใบเลื่อยจะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสั้นและ บางกว่า ดังนั้นจึงต้องมีสันเลื่อยซึ่งทาเป็นเหล็กประกับยึดแน่นเป็นเส้นตรงตลอดสันของใบเลื่อย เพื่อเพิ่มความ แข็งแรงในขณะทาการเลื่อย ด้ามถือทาด้วยไม้แบบต่างๆ ลักษณะของฟันเลื่อยเหมือนกับเลื่อยฟันตัด มีจานวนฟัน ตั้งแต่ 13 ถึง 15 ฟันต่อนิ้ว รูปที่ 3.3 เลื่อยรอ เลื่อยชนิดนี้วัตถุประสงค์ในการสร้างก็เพื่อที่จะใช้ในการรอปากไม้ เพื่อเข้าปากไม้มุมตู้ เข้ากรอบรูป เข้ากรอบวงกบประตูหน้าต่าง นอกจากนั้นยังสามารถใช้ในการตัดปากไม้หรือลิ่มไม้ ผ่าเดือย และตัดไม้ชิ้นเล็ก ๆ ซึ่งเลื่อยบางชนิดไม่สามารถจะตัดไม้หรือใช้ตัดส่วนอื่นๆ ที่ต้องการความละเอียดเรียบร้อยและประณีต สาหรับเลื่อยระเล็กจะมีขนาดใบเลื่อยยาวตั้งแต่ 8 ถึง 16 นิ้ว ส่วนเลื่อยรอใหญ่ จะมีขนาดใบเลื่อยยาว ตั้งแต่ 24 ถึง 28 นิ้ว 4. เลื่อยเจาะรูกุญแจ เลื่อยเจาะรูกุญแจ เป็นเลื่อยที่มีใบเลื่อยขนาดเล็ก ปลายใบเรียวแหลม จึงทาให้สามารถใช้ปลายใบสอด เข้าไปในรูเพื่อทาการเลื่อยได้ โดยทั่วไปใบเลื่อยชนิดนี้จะยึดติดกับด้ามน็อตหางปลา จึงทาให้สามารถที่จะถ อด เปลี่ยนใบเลื่อยขนาดต่างๆ ให้เหมาะกับรู้ที่จะทาการเลื่อยได้ เลื่อยชนิดนี้ใช้สาหรับเจาะรูเพื่อใส่กุญแจที่บานประตู บานลิ้นชัก หรืองานอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ก่อนการใช้เลื่อยชนิดนี้จะต้องใช้สว่านเจาะรูนาไปก่อน แล้วจึง ใช้ใบเลื่อยสอดเข้าไปรูนา จากนั้นจึงทาการเลื่อยต่อไปตามที่ต้องการ เลื่อยชนิดนี้ลักษณะฟันเลื่อยจะเหมือนกับ เลื่อยฟันโกรกแต่เป็นชนิดฟันละเอียด รูปที่ 3.4 เลื่อยเจาะรูกุญแจ นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 3
  • 4. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ 5. เลื่อยหางหนู เลื่อยหางหนู เป็นเลื่อยที่มีลักษณะคล้าย ๆ กับเลื่อยเจาะรูกุญแจ แต่จะมีขนาดใหญ่และฟันหยาบกว่า เลื่อยชนิดนี้ใช้ในการตัด เจาะรู หรือใช้เลื่อยส่วนโค้ง ซึ่งเลื่อยชนิด อื่นไม่สามารถจะเลื่อยได้ เช่น งานเจาะรางน้า ตามชายคาและอื่น ๆ นอกจากนั้นก็ยังสามารถใช้ประโยชน์ในงานช่างไฟฟ้า งานช่างท่อ และงานช่างครุภัณฑ์ ที่เกี่ยวข้องกับไม้ได้อีกด้วย รูปที่ 3.5 เลื่อยหางหนู 6. เลื่อยฉลุ เลื่อยฉลุ เป็นเลื่อยที่ใช้ในงานตัด เจาะ ฉลุวงกลม หรือส่วนโค้งต่าง ๆ ในการทาลวดลาย นอกจากนั้น ยังใช้ในงานตัดไม้บัวเพื่อเข้ามุมต่าง ๆ รูปที่ 3.6 เลื่อยฉลุ ใบเลื่อยของเลื่อยชนิดนี้มีหลายขนาด การเลือกใช้จะขึ้นอยู่กับประเภทของงาน ใบเลื่อยขนาดเล็ก ที่ใช้ใน การตัดมีขนาดกว้าง 1/ 16 ถึง 1/8 นิ้ว โดยจะยึดติดกับโครงทั้งสองด้านด้วยหมุดที่สอดเข้าที่รูระหว่างใบเลื่อย กับตัวโครง ความลึกของโครงเลื่อยจะเริ่มตั้งแต่ 5 ถึง 12 นิ้ว มีทั้งชนิดฟันหยาบและฟันละเอียด ลักษณะของฟัน เลื่อยจะเป็นแบบฟันโกรกขนาดตั้งแต่ 10 ถึง 15 ฟันต่อนิ้ว สาหรับงานไม้ ส่วนขนาด 20 ถึง 32 ฟันต่อนิ้ว จะใช้สาหรับงานโลหะเวลาติดใบเลื่อยเข้ากับโครง จะต้องให้ปลายฟัน ชี้มาทางด้านมือจับเสมอ ทั้ง นี้เนื่องจาก เลื่อยชนิดนี้ได้ถูกออกแบบมาเพื่อใช้กับงานละเอียดจึงต้องให้ใบเลื่อยตัดในขณะที่ดึงเลื่อยมาทางด้านหลังหรือ ในขณะดึงเลื่อยลง ทั้งนี้เพื่ อสะดวกต่อการควบคุมการเลื่อย ดังนั้นจึงต้องใส่ใบเลื่อยให้ปลายฟั นเลื่อยชี้มาทาง ด้านมือจับเสมอ ยกเว้นกรณีที่จับงานด้วยปากกาจับงานก็สามารถใส่ใบเลื่อยให้ปลายฟันชี้ออกไปจากมือจับได้ 7. เลื่อยตัดเหล็ก เลื่อยตัดเหล็กเป็นเลื่อยที่ออกแบบมาเพื่อใ ช้สาหรับตัดเหล็กหรือโลหะอื่น ๆ ดังนั้นเมื่อถูกนามาใช้กับ งานช่างไม้จึง ใช้ในการตัดโลหะยึดตรึง เช่น ต ะปูหรือสลักเกลียว นอกจากนั้นยังใช้ในการตัดโลหะอื่น ๆ เช่น กรอบหน้าต่างชนิดที่เป็ นเหล็กหรืออลูมิเนียม เป็นต้น เลื่อยชนิดนี้สามารถแ บ่งออกตามลักษณะการสร้างได้เป็น 2 แบบ คือ แบบด้ามปืน (Piston Grip) สามารถปรับแต่งได้ที่ น็ อตหางปลา (Wing Nut) แบบด้ามตรง (Straight Handle) การปรับแต่งจะกระทาได้ที่ตัวโครง (Frame) ด้วยการเลื่อยโครงเข้าออกได้ตามต้องการ นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 4
  • 5. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ รูปที่ 3.7 เลื่อยตัดเหล็ก ขนาดความยาวของใบเลื่อยที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปอยู่ระหว่าง 8 ถึง 12 นิ้ว มีทั้งแบบฟันละเอียดและ ฟันหยาบ จานวนฟันตั้งแต่ 14 ถึง 32 ฟันต่อนิ้ว ชนิดฟันหยาบใช้ในการตัดเหล็กหรือโลหะที่มีขนาดความหนา มาก ๆ ส่วนชนิดฟันละเอียดใช้ในการตัดเหล็กหรือโลหะที่มีขนาดบางซึ่งต้องการความละเอียดมากกว่า ลักษณะ ของฟันเลื่อยจะเป็นแบบฟันโกรก การใช้เลื่อย การใช้เลื่อยได้อย่างถูกต้องกับงาน ที่ทา และสามารถใช้ได้อย่างถูกวิธี ถือว่าเป็นหัวใจของการทางาน เพราะไม่เพียงแต่จะทาให้ผลงานที่ได้รับเรียบร้อยแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังจะช่วยให้เลื่อยอยู่ในสภาพที่ดี และไม่ทื่อเร็วจนเกินไป มีอายุการใช้งานยาวนานขึ้นอีกด้วย ขั้นตอนในการใช้เลื่อยที่ถูกวิธีดังต่อไปนี้ คือ 1. การเตรียมงาน ก่อนที่จะเริ่มทาการเลื่อยไม้ ให้ดาเนินการเพื่อการเตรียมงาน ดังต่อไปนี้ คือ 1.1 เลือกชนิดและขนาดของเลื่อยให้เหมาะสมกับลักษณะงานที่จะทา รวมทั้งแบบและ จานวนฟันต่อนิ้วของฟันเลื่อย 1.2 จัดเตรียมชิ้นงานที่จะเลื่อย ได้แก่การร่างแบบหรือการขีดแนวลงบนชิ้นงานตามที่ ต้องการ 1.3 จัดเตรียมอุปกรณ์อานวยความสะดวกต่างๆ อาทิเช่น ปากกาหัวโต๊ะ ปากกาไม้ ปากกาตัวซีหรือม้ารองเลื่อย เป็นต้น 2. การเลื่อย ลาดับขั้นในการเลื่อยไม้ที่ถูกวิธี มีดั งต่อไปนี้ 2.1 วางไม้ลงบนม้ารองเลื่อย ให้ปลายไม้ด้านที่ต้องการเลื่อยอยู่ทางด้านขวามือ (สาหรับผู้ถนัดขวา) แล้วใช้เข่าซ้ายกดไม้เข้ากับม้ารองเลื่อย 2.2 จับเลื่อยด้วยมือขวา โดยให้นิ้วชี้วางทาบไปบนใบเลื่อย การจับดังกล่าวจะทาให้ สะดวกต่อการควบคุมเลื่อยในขณะทาการเลื่อย 2.3 ใช้มือซ้ายจับที่ขอบไม้ด้านบนแล้วใช้นิ้วหัวแม่มือเป็นตัวควบคุม 2.4 จรดฟันเลื่อยด้านโคนชิดเส้นด้านนอกที่ขอบไม้ และประมาณ 60 องศา สาหรับ การโกรกไม้หรือซอยไม้ ใช้นิ้วหัวแม่มือขวาช่วยควบคุม ใบเลื่อยแล้วค่อย ๆ ดึงเลื่อยเข้าหาตัวเป็นการเริ่มเลื่อย นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 5
  • 6. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ 2.5 ชักเลื่อยยาวๆ ช้าๆ ด้วยจังหวะที่สม่าเสมอ โดยออกแรงกดเล็กน้อยในขณะที่ดัน ใบเลื่อยไปข้างหน้า ตามองที่เส้นหรือแนวที่จะตัดเพื่อให้เลื่อยตรงเส้นและปากไม้ที่ตัดได้ฉาก บางกรณีอาจจะต้อง ใช้ฉ ากลองช่วยคว บคุมการเลื่อย เช่นเมื่อเลื่อยไม้หนากว่า 1 นิ้ว และขณะดึงเลื่อยกลับเข้าหาตัวให้ผ่อนแรงกด ทั้งนี้เนื่องจาก ฟันเลื่อยได้ถูกออกแบบให้กินเนื้อไม้ในขณะที่ดันไปข้างหน้าเท่านั้น 2.6 เมื่อเลื่อยไม้ใกล้จะขาด ให้ใช้มือซ้ายอ้อมไปจับชิ้นงานที่กาลังจ ะขาด จากนั้นให้ ชักเลื่อยถี่ ๆ ด้วยจังหวะที่สม่าเสมอจนกว่าชิ้นงานจะขาดออกจากกัน ก็จะสามารถป้องกันมิให้ไม้ฉีกได้ 2.7 ตรวจสอบการตัดไม้ด้วยฉาก การปรับแต่งฟันเลื่อย เลื่อยถ้าใช้อย่างถูกวิ ธีและทาความสะอาดอย่างสม่าเสมอ อายุการใช้งานก็จะยาวนาน สามารถที่จะปรับ แต่งฟันเลื่อยได้หลายครั้ง สิ่งที่มักจะเกิดขึ้นเสมอเมื่อเลื่อยได้ถูกใช้ไปนานแล้วก็คือ ฟันเลื่อยจะ ทื่อหรือสึก (ทั้งขนาดและรูปร่าง) และคลองเลื่อยจะแคบลง อันเป็นผลทาให้เกิดความฝืดและหนักแรงเวลาเลื่อย ดังนั้นจึงมี ความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการปรับแต่งฟันเลื่อยอย่างสม่าเสมอเป็นประจาด้วย ขั้นตอนดังต่อไปนี้ คือ การปรับระดับปลายฟันเลื่อย การคัดคลองเลื่อย และการตะไบร่องฟันเลื่อย ในการปรับแต่งฟันเลื่อย ไม่ว่าจะเป็นเลื่อยชนิดใดก็ตาม จะต้องปรับให้อยู่ในสภาพเดิมหรือใกล้เคียงกับ สภาพเดิมเสมอ โดยดูจากฟันเลื่อยส่วนที่สึกหรอน้อยที่สุดเป็นเกณฑ์ ฟันเลื่อยส่วนนี้ได้แก่ ฟันเลื่อยบริเวณปลาย ของใบเลื่อยนั้นเอง ลาดับขั้นในการปรับแต่งฟันเลื่อยที่ถูกวิธีมีดังต่อไปนี้ 1. การเตรียมงาน ก่อนที่จะทาการปรับแต่งฟันเลื่อย ให้ดาเนินการดังต่อไปนี้ คือ 1.1 เลือกชนิดและขนาดของเครื่องมือที่จะใช้ในการปรับแต่งฟันเลื่อย อาทิเช่น ตะไบแบน ตะไบสามเหลี่ยม คัดชุน และเครื่องมือปรับประดับฟันเลื่อย 1.2 จัดเตรียมอุปกรณ์อานวยความสะดวกต่าง ๆ อาทิเช่น ปากกาจับเลื่อย หรือ ปากกาหัวโต๊ะและไม้ประกบใบเลื่อย เป็นต้น 2. การปรับระดับปลายฟันเลื่อย ลาดับขั้นในการปรับระดับปลายฟันเลื่อยที่ถูกวิธี มีดังต่อไปนี้ คือ 2.1 ใช้ปากกาจับใบเลื่อยให้แน่น โดยให้ปลายของฟันเลื่อยสูงพ้นขึ้นมาจากปากของ ปากกา 2 นิ้ว 2.2 วางเครื่องมือปรับระดับฟันเลื่อยลงบนปลายฟันเลื่อยด้านโคนเลื่อย แล้วถูไ ปบน ปลายฟันจากโคนเลื่อยสู่ปลายเลื่อย ขณะถูให้ออกแรงกดเบา ๆ และผ่อนแรงกดในจังหวะที่ดึงกลับ 2.3 ถูจนกระทั้งปลายฟันทุกฟันเรียบเสมอกัน โดยสังเกตจากรอยที่เกิดจากการถู กล่าวคือปลายทุกซีฟัน จะต้องมีรอยตะไบที่เกิดจากการถู 2.4 ใช้ตะใบสามเหลี่ยมตะไบร่องฟันให้ได้ขน าดและรูปร่างให้ใกล้เคียงกับสภาพเดิม มากทีสุด โดยดูจากฟันที่บริเวณส่วนปลายของใบเลื่อยเป็นเกณฑ์ สาหรับการเลือกใช้ตะไบและวิธีการตะไบร่องฟัน ่ ศึกษาได้จากหัวข้อการตะไบร่องฟัน 3. การคัดคลองเลื่อย ในการคัดคล องเลื่อย ให้กระทาต่อจากการปรับ ระดับปลายฟัน ในขณะที่ใบเลื่อยยังคงอยู่ใน ปากกาจับเลื่อยหรือปากกาหัวโต๊ะ จากนั้นจึงดาเนินการตามลาดับขั้นในการทางานดังต่อไปนี้ 3.1 ปรับตั้งคัดชุนให้สามารถคัดคลองเลื่อยได้ประมาณ 2 ใน 3ของความสูงของฟันเลื่อย นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 6
  • 7. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ 3.2 ดาเนินการคัดคลองเลื่อยด้วยการคัดชุนคัดฟันเลื่อยออกทางด้านข้ าง ให้คัดฟัน เว้นฟันไปโดยตลอดใบเลื่อย 3.3 คลายปากกาจับเลื่อยแล้วกลับใบเลื่อยและบีบให้แน่นอีกครั้งหนึ่ง จากนั้นใช้คัดชุน คัดฟันเลื่อยที่เหลือจนหมด 4. การตะไบร่องฟันเลื่อย ก่อนที่จะเริ่มตะไบร่องฟันเลื่อย จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษารูปร่างและมุมของฟั นเลื่อยที่จะ ตะไบเสียก่อน ทั้งนี้เนื่องจากฟันเลื่อยที่ใช้กันอยู่โดยทั่วไปนั้นมีอยู่ 2 แบบ คือแบบฟันตัดและแบบฟันโกรก ซึ่งจะมีรูปร่างและมุมของฟันเลื่อยที่ไม่เหมือนกัน วิธีวางตะไบลงในร่องฟันเลื่อยแต่ละแบบมีดังต่อไปนี้ 4.1 แบบฟันตัด ฟันของเลื่อยแบบนี้จะมีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมเผล้มุมให้เกิดความคมที่ฟันเลื่อย ด้านนอก ดังนั้นในการวางตะไบนอกจากจะต้องวางให้อยู่ในระดับราบแล้ว ก็ยังจะต้องให้ตะไบทามุมกับใบเลื่อย อีกประมาณ 45 ถึง 60 องศา จากนั้นให้เอียงตะไบเข้าสู่ปลายฟันด้านที่เป็นคมเลื่ อย (ด้านปลายเลื่อย ) โดยทามุมกับปลายฟันประมาณ 18 องศา รูปที่ 3.8 การตะไบเลื่อย 4.2 แบบฟันโกรก ฟันเลื่อยมีลักษณะเหมือนกับคมสิ่วจึงจะต้องวางตะไบให้อยู่ใ นระดับราบ และทามุมกับ ใบเลื่อย 90 องศา จากนั้นให้เอียงตะไบเข้าสู่ปลายคมเลื่อยเช่นกัน โดยทามุมกับปลายฟันประมาณ 0 ถึง 8 องศา จากลักษณะการวางตะไบที่กล่าวมาข้างต้น ก็จะทาให้ใบเลื่อยที่ได้รับการตะไบมีรูปร่างและมุมที่ถูกต้องทุกประการ ลาดับขั้นในการตะไบร่องฟันเลื่อยที่ถูกวิธีมีดังต่อไปนี้ 1. ใช้ปากกาจับเลื่อยใบเลื่อยให้แน่น โดยให้ปลายของฟันเลื่อยสูงพ้นขึ้นมาจากปากของปากกา ประมาณ ½ นิ้ว 2. วางตะไบลงในร่องฟันซี่แรกทางด้านปลายเลื่อยที่ปลายฟันงอเข้าสู่ตัวเรา จากนั้นจัดระดับ และมุมของตะไบให้ถูกต้องกับแบบของฟันเลื่อยตามที่กล่าวมาข้างต้นแล้วจึงเริ่ มทาการตะไบโดยจังหวะที่ถูตะไบ ไปข้างหน้า ให้ออกแรงกดเล็กน้อย และผ่ อนแรงกดในจังหวะที่ดึงตะไบกลับ ตะไบจนถึงครึ่งหนึ่งของรอยตัดที่เกิด จากการปรับระดับปลายฟัน 3. ตะไบตามลาดับขั้นที่ 2 ฟันเว้นฟันไปเรื่อยจนถึงโคนเลื่อย นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 7
  • 8. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ 4. คลายปากกาเลื่อยแล้วกลับใบเลื่อยและบีบให้แน่นอีกครั้งหนึ่งขณะนี้ด้านโคนหรือปลายเลื่อย จะอยู่ในทิศทางตรงกันข้ามกับที่จับครั้งแรก 5. ตะไบร่องฟันที่เหลือด้วยวิธีการเช่นเดียวกับกับลาดับขั้นที่ 2 และ 3 จนกระทั้งรอยตัดที่เหลือ หมดไป เครื่องมือไสและตกแต่งไม้ เครื่องมือไสเป็นเครื่องมือที่ใช้ทาผิวไม้ให้เรียบ ส่วนเครื่องมือตกแต่งไม้เป็นเครื่องมือที่ใช้ขูดไม้หรือแต่ง ผิวไม้ให้มีขนาดและรูปร่างตามที่ต้องการ เครื่องมือเหล่านี้จาเป็นมากกับงานช่างไม้ 1. เครื่องมือไส เครื่องมือที่ใช้ในการไสไม้ ได้แก่ กบ ช่างไม้จะใช้กบไสไม้ให้เรียบ เพื่อให้เกิดความเรียบร้อยและสวยงาม ก่อนที่จะนาไปใช้งาน เนื่องจากไม้ที่นามาจากโรงงานแปรรูปยังหยาบและมีผิวขรุขระไม่เรียบร้อยจึงต้องนามาไส เสียก่อน กบมีหลายชนิดแต่ละชนิดมีลักษณะรูปร่างและวัตถุประสงค์ในการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป เพื่อให้ เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท กบที่นิยมใช้กับงานช่างไม้ ในปัจจุบันได้แก่ กบไม้ (Wood Planes) และกบเหล็ก (Iron Planes) รูปที่ 3.9 กบไม้ 1.1 กบไม้ มีทั้งกบไทยและกบฝรั่ง นิยมใช้กันทั้งในประเทศและต่างประเทศ สาหรับกบไทย เป็นกบราง ส่วนประกอบที่สาคัญ ได้แก่ รางกบ ใบกบ เหล็กประกับ ลิ่มและขื่อ รางกบทาด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้แดง ไม้ประดู่ ไม้ตะเคียน ไม้ชิงชันและไม้มะเกลือ รางกบจะเจาะรูเ ป็นร่ องสาหรับใส่ใบกบหรือสิ่วกบ ซึ่งเป็นเหล็กที่ อัดแน่นอยู่บริเวณร่องของรางกบ จะเป็นตัวบังคั บให้ใบกบ เหล็กประกับและลิ่ม อัดแน่นเข้ากับราง กบที่ด้านท้ายของรางกบจะเจาะรูไว้สาหรับใส่หูกบ ซึ่งใช้เป็นที่จับเวลาไสกบ ขนาดของกบจะเรียกตามความยาว ของรางกบ กบไม้ของไทยแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ กบล้าง และกบผิว กบล้าง เป็นกบที่ใช้สาหรับไสล้างหรือเกลาไม้ครั้งแรก เพื่อปรับให้ได้ระดับตามต้องการ ใบกบ จะทามุมกับรางกบ ประมาณ 45 องศา รางกบจะยาว ส่วนมากจะใช้กับงานหยาบ ๆ กบผิว เป็นกบที่ใช้ไสหลังจากที่ผ่านการเกลาหรือล้างด้วยกบล้างมาแล้ว เพื่อแต่งผิวไม้ให้เรียบ จริงๆ พร้ อมที่จะทาการขัดด้วยกระดาษทราย กบชนิดนี้จ ะกินผิวไม้บางกว่ากบล้าง เหมาะสาหรับใช้ในการทา เครื่องเรือน ปรับแต่งบานประตู – หน้าต่าง ให้เข้ากันสนิท นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 8
  • 9. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ นอกจากกบล้างและกบผิวแล้ว ก็ยังมีกบแบบอื่น ๆ ซึ่งถือว่าเป็นกบพิเศษ เนื่องจากใช้กับงาน เฉพาะอย่าง ๆ ได้แก่ - กบบังใบ เป็นกบที่ดัดแปลงมาจากกบล้าง โดยการบังใบที่ท้องกบด้านข้างออกประมาณ 1 ซม. ลึกประมาณ 1 ถึง 1 ½ ซม.ใบกบจะทามุมกับรางกบประมาณ 45 องศา ใช้สาหรับบังใบกรอบวงกบประตูหน้าต่าง หรือพื้น เป็นต้น รูปที่ 3.10 กบบังใบ - กบร่อง บางทีเรียกกบราง ตัวกบแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นตัวกบกับส่วน ที่ประกอบ ข้างกบชนิดนี้ใต้ท้องจะมีเหล็กแบนบางฝังอยู่เพื่อใช้เป็นตัวนาร่องระหว่างตัวกับกับตัวประกอบข้าง ส่วนประกอบทั้งสองสามารถปรับเข้าหากัน หรือปรับออกตามต้องการ ด้วยการเลื่อนเข้าออกไปบนคานไม้ ด้านหัวท้ายมีลิ่มไม้เป็นตัวล๊อค ใช้สาหรับทารางเพื่อใส่ลิ้นหรือใส่กระจก รูปที่ 3.11 กบร่อง รูปที่ 3.12 กบกระดี่ - กบกระดี่ เป็นกบรางที่บางมาก ตัวรางหนาประมาณ ½ ถึง 1 นิ้ว ใบกบจะทามุมกับรางกบ ประมาณ 45 องศา กบชนิดนี้จะเจาะร่องสาหรับคายขี้กบออกทางด้านข้าง ใช้สาหรับไสด้านข้างของช่องบังใบ ซึ่งไม่สามารถใช้กบชนิดอื่นไสแทนได้ - กบลอกบัว ใช้สาหรับทาบัวไม้ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ กบลอกบัวคว่า ใช้สาหรับทาบัวคว่า และลอกบัวหงาย ใช้สาหรับทาบัวหงาย ใบกบทามุมกับรางกบสูงถึง 60 องศา นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 9
  • 10. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ รูปที่ 3.13 กบลอกบัว รูปที่ 3.14 กบเหล็ก 1.2 กบเหล็ก กบเหล็ก เป็นกบฝรั่งส่วนใหญ่ทาจากเหล็กหล่อ เป็นที่นิยมใช้กันมากในต่างประเทศ เนื่องจาก สะดวกต่อการใช้ กบชนิดนี้มีหลายแบบแต่ละแบบก็มีวัตถุประสงค์ในการใช้งานแตกต่างกันออกไป ได้แก่ กบล้าง (Jack Planes) เป็นกบที่ใช้ในการไสล้างผิวไม้ครั้งแรกเพื่อปรับไม้ให้ได้ระดับตามต้องการ กบผิว (Smooth Planes) เป็นกบที่ใช้ในการไสปรับแต่งผิวไม้ให้เรียบ มีขนาดตั้งแต่ 7ถึง 10 นิ้ว ใบกบกว้าง 1 5/8 ถึง 2 3/8 นิ้ว 2. เครื่องมือตกแต่งไม้ เครื่องมือตกแต่งไม้เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับขูดและตกแต่งผิวไม้ให้เรียบก่อนที่จะขัดด้วยกระดาษทราย เพื่อลงน้ามันหรือทาน้ามันชักเงา เครื่องมือตกแต่งมีหลายชนิด มีรูปร่างแลวัตถุประสงค์ ในการใช้งานแตกต่างกัน ออกไป เพื่อให้เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท เครื่องมือเหล่านี้ได้แก่ 2.1 เหล็กขูด (Scrapers)เป็นเหล็กที่ใช้ในการขูดเพื่อตกแต่งไม้ให้มีขนาดและรูปร่างตามต้องการ แบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้ รูปที่ 3.15 เหล็กขูด - เหล็กขูดสี่เหลี่ยม เป็นเหล็กขูดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดต่าง ๆใช้ขูดส่วนโค้งหรือส่วนเว้า - เหล็กขูดด้ามยาว เป็นเหล็กขูดที่ด้ามจับยาวยื่นออกมา ที่หัวจับส่วนใหญ่จะทาเป็นสกรู สาหรับขันเพื่อบีบใบเหล็กขูด หัวจับโดยทั่วไปทามุมกับด้ามจับประมาณ 75 องศา ใบมีขนาด 2 ¼ นิ้ว - มีดขูด เป็นเครื่องมือที่จัดอยู่กลุ่มของเหล็กขูด เนื่องจากมีลักษณะการสร้างและการใช้งาน คล้ายคลึงกัน ขนาดของมีมีดขูดจะกาหนดจากความยาวของส่วนที่เป็นใบมีด นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 10
  • 11. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ 2.2 กบขูด (Plane Scraper) เป็นกบที่ออกแบบมาเพื่อขูดตกแต่งผิวไม้ แบ่งเป็น - กบขูดส่วนโค้ง เป็นกบขนาดเล็กใช้สาหรับขูดแต่งส่วนโค้งขนาดเล็กๆที่กบหน้าอ่อนไม่สามารถ ไสได้ ตัวกบทาเป็นด้ามยื่นออกมา 2 ข้าง กบชนิดนี้สามารถปรับใบกบได้ - กบขูดตู้หรือกบขูดลิ้นชัก ลักษณะจะคล้ายกับ กบขูดส่วนโค้ง ใช้สาหรับขูดผิวไม้หลังการไส ด้วยกบมาตรฐาน รูปที่ 3.16 กบขูด 2.3 บุ้งถูไม้ (Wood Rasp) ใช้ทาหน้าที่ถูหรือปรับไม้ ทั้งที่เป็นแนวตรงหรือแนวที่เป็นส่วนโค้ง ให้ได้ขนาดใกล้เคียงกับของจริง จากนั้นจึงใช้ กบหน้าอ่อนหรือกบขูดทาการตกแต่ง อีกทีหนึ่ง บุ้งที่นิยมใช้กันมาก กับงานช่างไม้ได้แก่ บุ้งแบน บุ้งท้องปลิง และบุ้งกบ รูปที่ 3.17 บุ้งถูไม้ รูปที่ 3.18 ตะไบแบบต่าง ๆ สาหรับบุ้งแบนและบุ้งท้องปลิงจะมีลักษณะคล้ายตะไบแบนและตะไบท้องปลิง ส่วนบุ้งกบจะมี ลักษณะเหมือนกบไสไม้ทุกประการ สามารถถอดเปลี่ยนตัวบุ้งได้ 2.4. ตะไบ (Files) เป็นเครื่องมือที่สาหรับตกแต่งผิวไม้ ตะไบสามารถนาไปใช้ในการลับดอก สว่านเจาะไม้ และใช้ตะไบฟันเลื่อยได้อีกด้วย ตะไบที่นิยมใช้มีทั้งตะไบแบน ตะไบท้องปลิงและตะไบสามเหลี่ยม ในการใช้บุ้งและตะไบถูไม้ จะต้องให้บุ้งหรือตะไบทามุมกับชิ้นงานประมาณ 45 องศา และเมื่อ เลิกใช้งานแล้วต้องใช้แปรงปัดทาความสะอาดทุกครั้ง 2.5 สิ่ว (Chisels) เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับเจาะไม้ บากไม้ เซาะไม้ ตกแต่งไม้ แกะสลัก และอื่น ๆ มี 2 ประเภท ได้แก่ นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 11
  • 12. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ รูปที่ 3.19 สิ่วแบบต่าง ๆ - สิ่วโคนแหลม โคนสิ่วจะเป็นรูปแหลมเรียวสาหรับฝังเข้าไปในด้าม ปลายสิ่วจะใช้ตอก - สิ่วโคนกระบอก โคนสิ่วทาเป็นรูปทรงกรวยหรือกระบอกสาหรับสวมเข้ากับด้ามไม้ 2.6 สิ่วเล็บมือ (Gouge) เป็นสิ่วที่ใช้สาหรับเจาะหรือเซาะไม้ที่เป็นร่องหรือส่วนโค้งต่าง ๆ หรือกับงานกลึงไม้ ใบสิ่วและปากสิ่วจะโค้งคล้ายเล็บมือ ขนาดของสิ่วกาหนดความกว้างของใบสิ่วหรือปากสิ่ว 2.3 การเจียระไนใบกบ 2.3.1 ถอดใบกบและเหล็กประกับออกจากตัวกบ แยกเหล็กตัวประกับออกจากใบกบ 2.3.2 ตรวจสภาพทั่วไปของคมใบกบ 2.3.3 ปรับฉากและขจัดรอยบิ่นของคมกบ โดยวางใบกบราบลงบนแท่นรองของเครื่องหิน เจียระไน ให้ด้านที่เพล่ มุมอยู่ด้านล่าง จากนั้นค่อย ๆ ดันให้คมกบสัมผัสกับหน้าของหินเจียเบา ๆ 2.3.4 ใส่เหล็กประกับเข้ากับด้านที่เพล่ จากนั้นขันสกรูยึดระหว่างใบกบกับเหล็กประกับ 2.3.5 วางใบกบลงบนแท่นรองของเครื่องหินเจียระไน ค่อยๆ ดันใบกบเข้าหาหินเจีย จนกระทั้ง คมกบสัมผัสกับหน้าของหินเจียที่มุมที่ต้องการ จากนั้นขันสกรูยึดระหว่างใบกบกับเหล็กประกับให้แน่น 2.3.6 เพล่มุมคมกบด้วยการเลื่อนใบกบจากซ้ายไปขวา จากนั้นนาไปลับด้วยหินลับน้ามัน 2.4 การเจียระไนสิ่ว 2.4.1 ตรวจสภาพทั่วไปของสิ่ว 2.4.2 ปรับฉากและขจัดรอยบิ่นของคมสิ่ว 2.4.3 วางสิ่วบนบนแท่นรองของเครื่องหินเจียระไน ค่อยๆ ดันสิ่วเข้าหาหินเจียระไน ปรับมุม ตามต้องการ 2.4.4 เพล่มุมสิ่ว เลื่อนไปซ้ายหรือขวา เพื่อปรับมุมของสิ่ว จากนั้นนาไปลับด้วยหินน้ามัน 2.5 ลาดับขั้นในการลับใบกบและใบสิ่วด้วยหินน้ามัน 2.5.1 จับใบกบหรือใบสิ่วให้แน่น วางบนหินทามุม 30 – 35 องศา ถูไปถูมาตรงๆ สาหรับสิ่ว ถูเป็นรูปเลข 8 สาหรับใบกบ ให้ลับด้านหยาบก่อนแล้วจึงลับด้วยหินด้านละเอียด 2.5.2 เมื่อลับแล้ว วางใบกบหรือใบสิ่วราบลงบนหินน้ามัน โดยหงายหน้าที่เพล่หรือบากเป็น มุมขึ้นทางด้านบน ถูไป – มา 2.5.3 หลังจากปรับคมกบหรือคมสิ่วได้แล้ว ให้ลบมุมของคมตัดทั้งสองข้างโดยถูกับหินเบาๆ เพื่อ ป้องกันรอยอันเกิดจากมุมของใบกบหรือใบสิ่วในขณะทางานได้ นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 12
  • 13. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ รูปที่ 3.20 การลับคมสิ่วด้วยหินน้ามัน 2.6 การใช้สิ่วบากร่อง 2.6.1 เลือกไม้ขนาดที่ต้องการ ร่างแบบลงบนเนื้อไม้ 2.6.2 ใช้เลื่อยตัดไปตามเส้นทางด้านกว้างของหน้าไม้จนถึงระดับความลึกที่จะบาก จากนั้นเลื่อย หลายๆรอย เพื่อสะดวกต่อการใช้สิ่วในภายหลัง 2.6.3 ใช้สิ่วบากไม้ไปตามแบบที่ร่างไว้ ด้วยการจรดคมสิ่วลงที่เส้นแสดงระดับความลึก ให้ด้าน ราบของคมสิ่วอยู่ด้านล่าง แล้วตอกสิ่วเบาๆ เอาเนื้อไม้ออก 2.6.4 ใช้สิ่วบากส่วนที่เหลือออก โดยการใช้สิ่วด้วยมือด้วยการออกแรงกดเพียงเล็กน้อยเพื่อ บากไม้ได้ดี ใกล้กับศูนย์กลางไม้ 2.7 การใช้สิ่วเจาะรูเดือย 2.7.1 เลือกไม้ขนาดที่ต้องการ ร่างแบบบนเนื้อไม้ 2.7.2 เลือกดอกสว่านขนาดเดียวกับความกว้างของรูเดือย แล้วเจาะลงไปที่ปลายทั้งสองของ รูเดือยในระดับความลึกที่ต้องการ 2.7.3 เจาะรูเพิ่มเติมระหว่างรูทางด้านหัว - ท้ายที่เจาะมาแล้ว 2.7.4 ใช้สิ่วทาการเจาะไปตามแบบที่ร่างไว้ ให้ใบสิ่วต้องกว่างเท่ากับหรือแคบกว่าความกว้าง ของรูเดือยเล็กน้อย 2.7.5 หลังจากเจาะเรียบร้อยแล้ว ให้ตกแต่งรูเดือยให้เรียบร้อยด้วยสิ่วอีกครั้ง 2.8 การประกอบและการปรับคมกบ 2.8.1 ขันสกรูเช้ากับเหล็กประกับพอหลวมๆ 2.8.2 สอดหัวสกรูเข้าไปในรูที่ปลายร่องของใบกบ ให้ปลายด้านที่มีส่วนโค้งของเหล็กประกับอยู่ ทางด้านเดียวกันกับคมกบ 2.8.3 เลื่อนเหล็กประกับให้ตรงแนว จึงขันสกรูให้เหล็กประกับยึดแน่นเข้ากับใบกบ 2.8.4 วางลิ่มไม้บนส่วนประกอบของใบกบกับเหล็กประกบ ใส่ส่วนประกอบทั้งหมดลงในร่องกบ 2.8.5 ใช้ค้อนตอกลิ่มไปให้แน่นพอประมาณ จากนั้นปรับคมกบด้วยการหงายท้องกบขึ้นแล้ว เล็งดูใบกบ ปรับใบกบขึ้นลงตามความต้องการ จากนั้นใช้ค้อนตอกลิ่มให้แน่น นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 13
  • 14. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ 2.9 การไสไม้ สิ่งแรกที่ต้องพิจารณาคือ ลักษณะของเสี้ยนไม้ของไม้ที่นามาไส และตรวจสภาพของไม้ให้เรียบร้อย จากนั้นวางไม้ที่ไสลงบนโต๊ะ ตีไม้กันที่หัวไม้เพื่อบังคับไม่ให้ไม้ที่ไสเลื่อน จากนั้นวางหัวกบลงบนหัวไม้ ให้คมกบ ห่างจากไม้เล็กน้อย ออกแรงกดที่ด้านหัวกบ ออกแรงไสไปข้างหน้าเมื่อด้านท้าย ของกบเลยหัวไม้ขึ้นไปอยู่บน แผ่นไม้แล้ว ให้ ออกแรงกดทั้งด้านหัวและท้ายกบ เมื่อไสไปจนเกือบจะถึงหัวไม้อีกด้านหนึ่งก็ให้ผ่อนแรงที่กด ด้านหัวกบ แต่ทางท้ายยังคงอยู่ ไสไปไสมา ในการไสตกแต่งไม้ด้านขอบไม้ ช่วงของการไสควรจะอยู่ประมาณช่วงแขน ให้ไสตกแต่งโดยตลอดหน้า กว้างของไม้ ตรวจสอบความเรียบร้อยของผิวไม้ที่จุดต่างๆ ตามความยาวของไม้ด้วยไม้บรรทัดหรือฉาก เมื่อจะไสขอบไม้ให้เรียบตรง ก่อนอื่นให้เล็งไปตามขอบไ ม้ เพื่อกาหนดจุดที่สูง จากนั้นให้ไส ส่วนที่สูง ออกเสียก่อนที่จะทาการไสให้เรียบทั้งหมด การไสครั้งสุดท้ายให้ไสไปโดยตลอดความยาวของไม้ รูปที่ 3.21 การไสไม้ เครื่องมือเจาะ เครื่องมือเจาะและคว้านไม้ เป็นเครื่องมือที่จาเป็นสาหรับงานไม้ ใช้สาหรับเจาะหรือคว้านรูเพื่อใส่ ตะปูเกลียว สลักเกลียวหรือเดือย ในการประกอบเครื่องเรือนต่าง ๆ เครืองมือเจาะและคว้านไม้มีหลายชนิด เครื่องมือเหล่านี้ได้แก่ สว่านมือเสือ (Braces) สว่านเฟือง (Drills) ่ สว่านกด (Push Drills) ดอกสว่าน (Bits) และบิดหล่า 1. สว่านข้อเสือ สว่านข้อเสือ เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับเจาะเนื้อไม้เพื่อใส่สลักเกลียว เดือย ตัวกุญแจและใช้จับไขควง เพื่อขันตะปูเกลียว ส่วนประกอบที่สาคัญคือลูกบิด มือจับ และหัวจับ ซึ่งประกอบด้วยปากจับชนิดต่างๆ เพื่อให้ สามารถจับได้ทั้งดอกส่วนชนิดก้านเหลี่ยมและดอกสว่านชนิดก้านกลม รูปที่ 3.22 สว่านข้อเสือ นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 14
  • 15. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ สว่านข้อเสือที่นิยมใช้กับงานไม้ ได้แก่ 1.1 สว่านข้อเสือแบบธรรมดา (Plain Brace) เป็นสว่านที่ใช้เจาะในที่โล่ง ๆ ไม่มีสิ่งกีดขวาง ในขณะมือจับ เนื่องจากสว่านแบบนี้หัวจับหมุนฟรีไม่ได้ 1.2 สว่านข้อเสือแบบกรอกแกรก (Ratchet Brace) นิยมใช้กันมาก เนื่องจากสามารถใช้ เจาะในที่ซึ่งมีสิ่งกีดขวาง หรือในที่ซึ่งไม่สามารถหมุนมือจับได้รอบตัว ที่หัวจับสามารถปรับให้ หมุนฟรี ทางด้านใด ด้านหนึ่งก็ได้ 1.3 สว่านแบบข้อเสือแบบเจาะมุม (Angle Brace) เป็นสว่ านที่ใช้ในการเจาะที่อยู่ใกล้ ๆ มุม สว่านแบบนี้สามารถหมุนมือจับได้รอบตัว 2. สว่านเฟือง สว่านเฟือง ยังจาแนกออกตามลักษณะการสร้างได้เป็น 3 แบบ คือ 2.1 สว่านมือ (Hand Drill) เจาะได้ทั้งโลหะแผ่นและไม้ เมื่อไม่สะดวกต่อการใช้สว่านไฟฟ้า เพื่อเจาะนาตะปูเกลียว ตะปู หรือเจาะกระเบื้องมุงหลังคาก่อนทาการตอกตะปู มือจับทาด้วยไม้ ส่วนกลางเป็น ฟันเฟืองและมือหมุน ส่วนปลายเป็นหัวจับ ส่วนใหญ่ทาเป็นหลายนูนเพื่อกันลื่นเมื่อหมุน ปากจับ เป็นแบบ 3 ปาก เพื่อใช้จับก้านสว่านแบบกลมได้ 2.2 สว่านเท้าหน้าอก (Breast Drill) ส่วนปลายของสว่านทาเป็นส่วนโค้งสาหรับเท้าเข้ากับ หน้าอก เพื่อกดแทนมือในขณะทาการเจาะ ส่วนอื่นๆ คล้ายกับสว่านมือ ขนาดของตัวสว่านจะกาหนดจาก ขนาดของ ดอกสว่านที่หัวจับสามารถที่จะจับได้ รูปที่ 3.23 สว่านเฟือง รูปที่ 3.24 สว่านกด 3. สว่านกด เป็นสว่านที่ใช้สาหรับเจาะไม้บางๆ เช่น เจาะไม้ เพื่อให้เป็นรูนาเลื่อยฉลุ สว่านชนิดนี้จะทางานโดยการกด ด้วยมือเพียงข้างเดียว จึงทาให้มืออีกข้างหนึ่ง สามารถยึดแผ่นไม้ที่ทาการเจาะได้ สว่านชนิดนี้ส่วนมากที่ด้ามจะทา เป็นที่สาหรับเก็บดอกสว่านได้ด้วย นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 15
  • 16. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ รูปที่ 3.25 ดอกสว่านแบบต่าง ๆ 4. ดอกสว่าน ดอกสว่านที่นิยมใช้กับสว่านทั่วๆ ไป มีหลายชนิด รูปร่างและลักษณะการใช้งานแตกต่างกันออกไป ดังนี้ 4.1 ดอกเกลียว (Auger Bits) มีทั้งชนิดที่มีเกสรและไม่มีเกสร ชนิดที่ไม่มีเกสรจะมีลักษณะ เหมือนกับดอกสว่านเจาะเหล็ก แต่ก้านจะทาเป็นเหลี่ยมเหมือนกับดอกสว่านที่เกสร ส่วนดอกส่วนที่มีเกสรเป็น ดอกส่วนที่ใช้เจาะไม้ โดยเฉพาะดอกสว่านชนิดนี้แบ่งออกได้ตามลักษณะของเกลียวและเกสรของ ดอกสว่านนั้น ๆ ถ้าเกสรเป็นเกลียวห่าง ก็จะใช้เจาะงานหยาบ ๆ ถ้าเกสรเป็นเกลียวถี่ ๆ จะใช้กับงานที่ต้องการความละเอียดและ ประณีต 4.2 ดอกขยาย (Expansion Bits) เป็นดอกสว่านที่ใช้เจาะรูได้หลายขนาด ที่ปลายดอกสว่าน จะมีใบมีดติดอยู่ สามารถเลื่อนเข้า - ออก เพื่อขยายรู้ให้ได้ตามต้องการ 4.3 ดอกขูด (Foerstner Bits) ใช้เจาะไม้เมื่อต้องการให้ก้นรูที่เจาะเรียบ ใช้ในกรณีที่ต้องการ ใส่เดือยไม้ ฝังหัวนอตหรือหัวของสลักเกลียว ซึ่งดอกสว่านชนิดอื่นไม่สามารถเจาะได้ ขนาดของดอกสว่านจะถูก ประทับไว้ ที่ก้าน 4.4 ดอกจาปา (Gimlet Bits) ใช้ในการเจาะนา เพื่อตอกตาปูหรือใส่ตาปูเกลียว เมื่อต้องการ ความประณีต 4.5 ดอกเม็ดมะยม (Countersink Bits) เป็นดอกสว่านที่ใช้สาห รับคว้านทางด้านบนของรู ให้กว้าง เพื่อฝังหัวตาปูเกลียว ขนาดกาหนดจากเส้นผ่านศูนย์กลางของส่วนที่กว้างที่สุด 4.6 ดอกบิด(Twist Drill)จะคล้ายกับดอกสว่านชนิดเจาะโลหะเพียงแต่ที่ก้านจะทาเป็นเหลี่ยม ใช้เจาะรูในกรณีที่ดอกสว่านอาจจะเจาะไปถูกโลหะ 5. บิดหล่า เป็นเครื่องมืออย่างง่าย ๆ ที่ใช้ในการเจาะไม้ มีรูปร่างเหมือนกับดอกสว่านเจาะไม้แต่มีขนาดใหญ่กว่า ปลายด้านบนจะทาเป็นห่วงสาหรับใส่มือจับหรืออาจจะทาเป็นปลอก เพื่อใส่ด้ามไม้สาหรับมือจับ นิยมใช้กับงาน เจาะเสาหรือคานเพื่อยึดตรึงด้วยสลักเกลียว และเนื่องจากที่ราคาถูก จึงนิยมใช้กันมาก รูปที่ 3.26 บิดหล่า นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 16
  • 17. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ การลับดอกสว่านชนิดเกลียว 1. ลับเดือย (Spur) ของดอกสว่านด้วยการจับดอกสว่านพาดกับขอบโต๊ะ โดยให้ปลายของ ดอกสว่านชี้ขึ้น จากนั้นใช้ตะไบที่ใช้สาหรับตะไบดอกสว่านโดยเฉพาะ ตะไบขอบด้านในของเดือยทั้งสองข้างจนคม ได้ที่ ในการตะไบต้องระมัดระวังมิให้ตะไบไปถูเข้ากับขอบด้านล่างของคมตัด ขอบด้านนอกของเดือยไม่ต้องตะไบ เว้นแต่ขอบจะชารุด แต่ถ้าจาเป็นก็จะต้องตะไบให้เรียบ และจะต้องแน่ใจว่าไม่ตะไบส่วนปลายของเดือยจน เล็กกว่าความโตของดอกสว่าน เนื่องจากการกระทาดังกล่าวจะทาให้ดอกสว่านเจาะไม้ไม่เข้า 2. ลับคมตัด (Cutting Lips) ด้วยการวางดอกสว่านลงบนโต๊ะ จากนั้นใช้ตะไบถูทางด้านบน ของคมตัดทั้งสองข้าง ๆ ละเท่า ๆ กันจนได้ที่ ไม่ตะไบที่ด้านล่างของคมตัดและที่แกนของดอกสว่าน 3. ตรวจสอบสภาพเกสร (Feed Screw) ของดอกสว่านถ้าไม่ชา รุดก็ไม่ต้องตะไบ แต่ถ้าเกลียว ชารุดเล็กน้อยก็สามารถปรับ - แต่งได้ ด้วยการใช้ตะไบสามเหลี่ยมตะไบที่ร่องเกลียว 4. ตรวจความตรงของดอกสว่านด้วยการกลิ้งไป - มาบนพื้นโต๊ะเรียบ ๆ ถ้าจาเป็นก็ให้ตัดด้วย การใช้ค้อนไม้ทุบจนตรง การเจาะรูเดือยด้วยเครื่องเจาะรูเดือย 1. การเตรียมงาน - เลือกชนิดและขนาดของเครื่องเจาะรูเดือย ให้เหมาะกับลักษณะของงานที่จะทา - จัดเตรียมชิ้นงานที่จะเจาะ กาหนดตาแหน่งที่จะเจาะลงบนชิ้นงาน - จัดเตรียมอุปกรณ์อานวยความสะดวกต่าง ๆ เช่น ปากกาจับหัวโต๊ะ ฉาก 2. การเจาะ - เลือกปลอกนาสว่าน ขนาดเดียวกับขนาดของเดือย แล้วประกอบเข้ากับเครื่องบังคับ การเจาะ รูเดือย ขันให้แน่น - ยึดเครื่องบังคับการเจาะรูเดือยเข้ากับขอบไม้ ปรับให้จุดศูนย์กลางของปลอกนาสว่าน ตรงกับรูเดือย - นาดอกสว่านขนาดที่ต้องการใส่เข้าที่หัวจับดอกสว่าน - ตั้งสว่านให้ตรง ค่อย ๆ สอดดอกสว่านเข้าไปในปลอกนาดอกสว่าน จนเกสรของ ดอกสว่านสัมผัสเนื้อไม้ แล้วจึงออกแรงกด เครื่องมือยึดและวัสดุยึดตรึงตรึงไม้ เครื่องมือยึดตรึงไม้ เครื่องมือยึดตรึงไม้ เป็นเครื่องมือที่จาเป็นในงานไม้ เนื่องจากงานส่วนใหญ่ต้องยึดตรึงไม้เข้าด้วยกัน หรือบางโอกาสก็อาจต้องใช้เครื่องมือประเภทนี้เพื่อแบ่งแยกส่วนประกอบต่าง ๆ ออกจากกัน เครื่องมือยึดตรึงไม้ ประกอบด้วย รูปที่ 3.27 ค้อนหงอน รูปที่ 3.28 ค้อนปอนด์ นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 17
  • 18. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ 1. ค้อน (Hammers) ค้อนที่นิยมใช้กันในงานไม้มี 2 ชนิด คือ ค้อนเหล็ก (Hammers) และค้อนไม้ (Mallets) 1.1 ค้อนเหล็ก แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ - ค้อนหงอน (Claw Hammer) เป็นค้อนที่ใช้กับงานช่างไม้โดยเฉพาะ การเรียก ค้อนหงอนจะเรียกตามน้าหนักของหัวค้อน ซึ่งมีขนาดตั้งแต่ 7 ถึง 20 ออนซ์ ค้อนแบ่งเป็นสองส่วน คือ ส่วนที่ เป็นหัวค้อนทาด้วยเหล็กและส่วนที่เป็นด้ามค้อนทาด้วยไม้ ในเมืองไทยนิยมทาด้ามค้อนด้วยไม้เนื้อแข็ง หน้าค้อน จะโค้งนูนเล็กน้อย ใช้สาหรับตอกตาปู ที่หงอนค้อนทาเป็นแฉกสาหรับใช้ถอนตาปู ปลายด้านห นึ่งของด้ามค้อน จะสวมเข้าไปในหัวค้อน มีลิ่มเหล็กตอกแทรกเข้าไปในด้ามทางด้านหัวค้อน เพื่อให้หัวค้อนติดแน่นกับด้ามค้อน เพื่อกันหลุด - ค้อนปอนด์ (Ball - Peen Hammer) ค้อนปอนด์เป็นค้อนหัวกลม นิยมใช้กับ งานช่างโลหะ แต่ถูกนามาใช้ในงานไม้เช่นกัน โดยเฉพาะกับงานหนักๆ เช่นงานตอกเหล็กหรือไม้ปักผัง หรือใช้ใน งานหรือถอนต่าง ๆ ขนาดของค้อนกาหนดจากน้าหนักของหัวค้อนเช่นกัน มีขนาดตั้งแต่ ¼ ถึง 4 ปอนด์ 1.2 ค้อนไม้ ทาจากไม้ที่มีน้าหนักและมีความเหนียว มีขนาดต่างๆ กันเพื่อความเหมาะสมในการใช้งาน ประโยชน์ของค้อ นไม้จะใช้ในการตอกด้ามสิ่ว เมื่อทาการบากหรือเจาะไม้ ใช้ตอกเดือย เป็นต้น เนื่องจากค้อน ชนิดนี้ทาด้วยไม้ ควรระมัดระวังอย่านาค้อนไปตอกตาปูเหล็กหรือไม้ที่มีความแข็งแรงม ากกว่า เพราะจะทาให้ ค้อนแตกฉีก นอกจากนี้ต้องคอยดูว่าติดแน่นกับหัวค้อนหรือไม่ เพื่อกันหัวค้อนหลุดซึ่งจะทาให้ เกิดอันตรายได้ง่าย รูปที่ 3.29 ค้อนไม้ รูปที่ 3.30 ขวาน 2. ขวาน (Hatchet or Axes) ขวานเป็นเครื่องมือช่างไม้ที่ใช้ในการเกลาหรือถากไม้ที่เป็นท่ อนๆ ให้ได้รูปร่างอย่างเคร่า ๆ ก่อนที่จะนา ไปไสกบหรือใช้สิ่วบากให้ได้ขนาดตามต้องการ ขวานที่นิยมใช้กัน ได้แก่ 2.1 ขวานถากพื้น (Flooring Hatchet) เป็นที่นิยมใช้กันมากเพราะทาประโยชน์ได้หลายอย่าง เป็นต้นว่า การถากพื้นไม้ ใช้ถอนตาปู ใช้บากไม้ ฯลฯ หน้าตัดของขวานถากพื้นนี้ ด้านหนึ่งตรงด้านหนึ่งแอ่น ซึ่งเหมาะสมในการถากไม้และบากไม้เป็นอย่างดี ขวานชนิดนี้มีลักษณะของคมขวานเหมือนคมสิ่วหรือคมกบ วิธีลับขวานเหมือนกับวิธีลับคมกบหรือคมสิ่ว 2.2 ขวานปากกว้าง (Broad Hatchet) มี 2 แบบ คือแบบอังกฤษซึ่งมีหยัก และแบบอเมริกันที่ คมโค้ง ขวานทั้งสองแบบเป็นขวานที่เหมาะกับงานหนักๆ เช่น งานตัด บากไม้ โค่นต้นไม้ ลักษณะคมขวานจะ เหมือนกับคมมีด คือคมจะเรียวเข้าหากันทั้ง 2 ด้าน การลับขวานชนิดนี้เหมือนการลับมีด นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 18
  • 19. เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ของช่างไม้ครุภัณฑ์ 2.3 ขวานหงอน (Shingling Hatchet) มีลักษณะเหมือนกับขวานปากกว้ าง แต่หัวขวานซึ่งใช้ สาหรับตีตะปูและหงอนสาหรับถอนตะปู จะเหมือนกับขวานถากพื้น ลักษณะของขวานชนิดนี้นอกจากจะใช้ ตอกตะปูและถอนตะปูแล้ว ยังสามารถใช้ได้เหมือนขวานปากกว้าง การลับขวานเหมือนกับการลับมีด 3. ไขควง (Screw Driver) ไขควงเป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับขันหรือคายตาปูเกลียว เพื่ อการประกอบหรือแยกชิ้นส่วนงาน ไขควงที่ นิยมใช้กับงานไม้ มี 3 ประเภทคือ รูปที่ 3.31 ไขควงแบบต่าง ๆ 3.1 ไขควงปากแบน (Common Screw Driver) ไขควงชนิดนี้จะลักษณะคล้าย ๆ สิ่ว คือ ที่ตอนปลายของปากจะแบนและลาดเข้าหากันแต่ไม่คม ส่วนของตัวไขควงชนิดนี้มีทั้งแบบแบนและแบบเหลี่ยม ขนาดความยาวของไขควงชนิดนี้มีตั้งแต่ 1 ½ ถึง 10 นิ้ว ไขควงชนิดนี้ตัวไขควงจะติดแน่นหรือติดตายอยู่กับ ด้าม ด้ามของไขควงอาจจะทาด้วยไม้หรือพลาสติกแข็งก็ได้ ส่วนตั วของไขควงจะทาด้วยโลหะชุบนิคเกิล ปากที่ ปลายไขควงจะมีขนาดความกว้างแตกต่างกันเพื่อให้เลือกใช้ได้เหมาะกับร่องที่หัวตาปูเกลียว 3.2 ไขควงหัวแฉก ( Phillip Screw Driver) ไขควงชนิดนี้ลักษณะทั่วไปจะเหมือนกับไขควง ปากแบน ผิดกันตร งที่ปลายของไขควงจะทาเป็นรูปแฉก 4 แฉก เพื่อใช้ขันตาปูเกลียวชนิดหัวแฉก ไขควงชนิดนี้ มีอยู่ด้วยกัน 4 ชนิดคือ เบอร์ 1 ใช้สาหรับขันตาปูเกลียว เบอร์ 0 – 4 เบอร์ 2 ใช้สาหรับขันตาปูเกลียว เบอร์ 5 – 9 เบอร์ 3 ใช้สาหรับขันตาปูเกลียว เบอร์ 10 -16 เบอร์ 4 ใช้สาหรับขันตาปูเกลียว เบอร์ 18 ขึ้นไป 3.3 ไขควงแบบกดหรือแบบอัตโนมัติ (Spiral Ratchet Screw Driver) ไขควงชนิดนี้นิยมใช้ กันมาก เพราะให้ความสะดวกในการขัน เหมาะอย่างยิ่งสาหรับงานที่จะต้องขันตาปูเกลียวเป็นจานวนมาก ๆ เนื่องจาก สามารถผ่อนแรงได้ดี ใช้ ขันทั้งแบบธรรมดาและแบบฟรีกลับ สามารถที่จะปรับให้ฟรีไปทางใดก็ได้ ปลายของ ไขควงชนิดนี้สามารถที่จะถอดเปลี่ยนได้เพื่อให้เหมาะสมกับขนาดของหัวตาปูเ กลียวไขควงชนิดนี้ มีขนาดตั้งแต่ 9 ถึง 18 นิ้ว ด้ามทาด้วยไม้ขัดมัน นายอานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครูชานาญการ หน้า 19