SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
แบบทดสอบ หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 6
คำา ชี้แ จง ให้กา  ทับตัวอักษรหน้าข้อความที่เป็นคำาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ปัจจัยทางการค้าระหว่างประเทศในข้อใดส่งผลต่อราคาของสินค้าโดยตรง
ก. การส่งมอบสินค้า
ข. การติดต่อสื่อสาร
ค. อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตรา
ง.
ก า ร ร ว ม ก ลุ่ ม ท า ง ก า ร ค้ า
ระหว่างประเทศ
2. ข้อใด ไม่ใ ช่สาเหตุที่ต้องมีการค้าระหว่างประเทศ
ก. ทรัพยากรธรรมชาติที่แตกต่างกัน ข. ต้นทุนการผลิตของแต่ละประเทศไม่เท่ากัน
ค. รสนิยมในการบริโภคแตกต่างกันในแต่ละประเทศ
ง. ระบอบการปกครองที่แตกต่างกันของประเทศต่างๆ
3. การแก้ไขปัญหาการกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศที่ประเทศต่างๆ นำามาใช้ คืออะไร
ก. การเจรจาต่อรองทางการค้า
ข. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
ค. การหาตลาดต่างประเทศใหม่ๆ เพิ่มขึ้น
ง.
การปฏิบั ติต ามข้อ ตกลงโดยไม่ มี
ข้อโต้แย้ง
4. ข้อใดเป็นนโยบายการค้าระหว่างประเทศของไทย
ก. นโยบายการค้าแบบเสรี
ข. นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน
ค. ใช้ระบบภาษีศุลกากร
ง. ให้ เ อกชนดำา เนิ น การมาก
ที่สุด
5. รถยนต์ที่นำาเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่นมีราคาสูงมากกว่ารถยนต์ที่ผลิตในประเทศไทย
เป็นผล สืบเนื่องมาจากมาตรการในข้อใด
ก. การให้สิทธิพิเศษ
ข.
การเก็บภาษีศุลกากร
ค. การตั้งกำาแพงภาษี
ง. การกำาหนดโควตาสินค้า
6. ถ้ามูลค่าของสินค้าส่งออกน้อยกว่ามูลค่าของสินค้านำาเข้า แสดงถึงสภาวะในข้อใด
ก. ดุลการค้าเกินดุล
ข.
ดุลการค้าสมดุล
ค. ดุลการค้าขาดดุล
ง.
ดุลการค้าเสียดุล
7. ข้อใดเป็นสาเหตุของปัญหาการขาดดุลการค้า
ก. ค่าของเงินไทยตกตำ่า
ข.
ผลผลิตเกษตรกรมีมูลค่า
น้อย
ค. การขนส่งไม่มีประสิทธิภาพ
ง. การซื้อสินค้านำาเข้ามากกว่าการส่งออกสินค้า
8. ดุลการชำาระเงินประกอบด้วยบัญชีต่างๆ ที่สำาคัญ ยกเว้น บัญชีใด
ก. บัญชีเงินทุน
ข.
บัญชีเดินสะพัด
ค. บัญชีทุนเคลื่อนย้าย
ง.
บั ญ ชี ทุ น สำา ร อ ง
ระหว่างประเทศ
9. เหตุผลสำาคัญที่ทำาให้เกิดอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศคือข้อใด
ก. การกำาหนดนโยบายของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ
ข.มีการค้าระหว่างประเทศ และแต่ละประเทศต่างก็มีหน่วยเงินตราไม่เหมือนกัน
ค. มีการลงทุนระหว่างประเทศ และแต่ละประเทศต่างก็มีหน่วยเงินตราไม่เหมือนกัน
ง. มีการชำาระเงินระหว่างประเทศ และแต่ละประเทศต่างก็มีหน่วยเงินตราไม่เหมือนกัน
10. ในระยะยาวการเคลื่อนย้ายเงินทุนประเภทใดก่อให้เกิดประโยชน์มากที่สุด
ก. การลงทุนทางตรง
ข. การลงทุนทางอ้อม
ค. เงินกู้ต่างประเทศ
ง.
การลงทุนทางการเงิน
11.
ข้อใด ไม่ใ ช่รูปแบบความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
ก. การให้กู้ยืม
ข. การใช้นโยบาย
การค้าแบบคุ้มกัน
ค. การให้ความช่วยเหลือแบบให้เปล่า
ง. ยกเลิกกำาแพงภาษี ส่งเสริม
การค้าเสรี
12.
องค์กรระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจในข้อใด แตกต่างจากข้ออื่นเมื่อพิจารณา
ถึงประเทศสมาชิก
ก. โอเปก (OPEC)
ข. เอเปก (APEC)
ค. อาเซ็ม (ASEM)
ง. อาฟตา (AFTA)
13.
ธนาคารโลกถือกำาเนิดขึ้นจากวัตถุประสงค์ใด
ก. เปิดเสรีทางการค้าระหว่างประเทศสมาชิกขององค์กร
ข.ตัดสินกรณีพิพาททางเศรษฐกิจและการเงินระหว่างประเทศต่างๆ
ค. ช่วยประเทศเล็กๆ ในการเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศใหญ่
ง. ให้ความช่วยเหลือประเทศสมาชิกในการฟื้นฟูประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
14. องค์กรที่มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาเสถียรภาพทางการเงินระหว่างประเทศที่รองรับการ
ขยายตัว ของเศรษฐกิจโลก คือข้อใด
ก. ธนาคารโลก
ข. องค์การการค้าโลก
ค. กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
ง. ธนาคารเพื่ อ การพั ฒ นาแห่ ง
เอเชีย
15.
ข้อใดกล่าว ถูก ต้อ งเกี่ยวกับสหภาพยุโรป
ก. ใช้เงินตราสกุลเดียวกัน คือ ปอนด์
ข. มีสำา นักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่
กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
ค. พัฒนาขึ้นจากองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ง. เป็นความร่วมมือทั้งทางด้าน
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
16. ผลประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับจากการเข้าเป็นสมาชิกกลุ่มเอเปกคืออะไร
ก. มีตลาดการค้ามากขึ้น เป็นผลดีต่อการส่งออก
ข. ไ ด้ รั บ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ท า ง
วิชาการเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ค. ประเทศในสหภาพยุโรปเข้ามาลงทุนอุตสาหกรรมในประเทศมากขึ้น
ง. มีระบบการเงินและการคลังเป็นแบบเดียวกันกับประเทศสมาชิกอื่นๆ
17.
ประเทศสมาชิกผู้ก่อตั้งอาเซียนได้แก่ประเทศใดบ้าง
ก. มาเลเซีย ไทย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ บรูไน
ข.
สหภาพพม่ า เวี ย ดนาม
ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย
ค. อินโดนีเซีย สหภาพพม่า ไทย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์
ง.
อิ น โ ด นี เ ซี ย
มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย
18.
เพราะเหตุ ใ ด ประเทศสมาชิ ก อาเซี ย นจึ ง ต้ อ งมี ก ารตกลงกั น ในการผลิ ต สิ น ค้ า
เฉพาะที่ตนถนัด
ก. เพิ่มการค้าระหว่างประเทศสมาชิกให้มากขึ้น
ข. ลดการผลิตสินค้าที่ซำ้า
ซ้อนกัน ทีต้นทุนการผลิตตำ่าลง
่
ค. ชักจูงประเทศอื่นๆ ให้เข้ามาลงทุนในกลุ่มประเทศอาเซียน
ง. มีอำา นาจในการต่อ
รองกับประเทศหรือกลุ่มประเทศคู่ค้า
19. สินค้าประเภทใดที่ประเทศไทยมีการนำาเข้าจากสหภาพยุโรปมาก
ก. เครื่องจักรกล เครื่องบิน
ค. เครื่องคอมพิวเตอร์ แผงวงจรไฟฟ้า
ผลิตภัณฑ์ยาง

ข.
ง.

เสื้อผ้าสำาเร็จรูป ยารักษาโรค
เ ค รื่ อ ง มื อ ท า ง ก า ร แ พ ท ย์

20. เป้าหมายทางเศรษฐกิจของกลุ่มอาเซียน คือข้อใด
ก. ร่วมมือกันกีดกันสินค้าเข้าจากประเทศนอกกลุ่ม
ข. ร่วมมือกันพัฒนาการอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก
ค. ร่วมมือกันพัฒนาความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก
ง. ส่งเสริมการลงทุนระหว่างประเทศสมาชิกให้มีลักษณะเป็นเขตปลอดภาษี

แบบทดสอบ หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 5
คำา ชี้แ จง

ให้กา  ทับตัวอักษรหน้าข้อความที่เป็นคำาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดแสดงปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
ก. ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ และเงินออมทั้งหมด
ข. ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ และเงินคงคลังของรัฐบาล
ค. ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ และเงินฝากกระแสรายวัน
ง. ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ และเงินที่มีอยู่ในมือรัฐบาล
2. นโยบายทางด้ า นการเงิ น ในข้ อ ใดที่ รั ฐ บาลสามารถนำา มาใช้ ใ นการเพิ่ ม ลด
ปริมาณเงินในระบบ เศรษฐกิจได้
ก. การเพิ่มลดอัตราภาษีในระบบเศรษฐกิจ
ข. การเพิ่มลดปริมาณการซื้อขายพันธบัตรของรัฐบาล
ค. การเพิ่มลดปริมาณการใช้จ่ายเงินในส่วนของรัฐบาล
ง. การเพิ่มลดปริมาณการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศของรัฐบาล
3.

มาตรการใดมีส่วนช่วยแก้ปัญหาภาวะเงินฝืดของประเทศได้
ก. ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
ข. ให้ธนาคารกลางขายพันธบัตรมากขึ้น
ค. ลดการขาดดุลทางการคลังให้น้อยลง
ง. ออกระเบียบให้เอกชนลดการกู้เงินจากต่างประเทศ

4.

ผลกระทบของการเกิดภาวะเงินเฟ้อที่ถูกต้องคือข้อใด
ก. ทำาให้ผู้ซื้อได้เปรียบ แต่ผขายเสียเปรียบ
ู้
ข. ทำาให้เจ้าหนี้ได้เปรียบ แต่ลูกหนี้เสียเปรียบ
ค. ทำาให้ลูกหนี้ได้เปรียบ แต่เจ้าหนี้เสียเปรียบ
ง. ทำาให้ธนาคารผู้ให้บริษัทห้างร้านกู้ได้ประโยชน์มาก
5. ข้อใด ไม่ใ ช่หน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทย
ก. ออกธนบัตร
ประชาชน
ค. รักษาทุนสำารองระหว่างประเทศ
สถาบันการเงิน

ข.

รั บ ฝ า ก เ งิ น จ า ก
ง. ควบคุมตรวจสอบ

6. ธนาคารแห่งประเทศไทยคือนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์หมายความว่ า
อย่างไร
ก. ธนาคารแห่งประเทศไทยถือหุ้นใหญ่ในธนาคารพาณิชย์
ข. ธนาคารแห่งประเทศไทยควบคุมกำากับดูแลธนาคารพาณิชย์
ค. เงินของธนาคารพาณิชย์ต้องฝากกับธนาคารแห่งประเทศไทยเท่านั้น
ง. ประธานของธนาคารแห่ ง ประเทศไทยเป็ น ประธานกิ ติ ม ศั ก ดิ์ ข องธนาคาร
พาณิชย์
7. ธนาคารใดต่อไปนี้ ไม่ไ ด้ทำาหน้าที่ธนาคารพาณิชย์
ก. ธนาคารกสิกรไทย
ข. ธนาคารกรุงไทย
ค. ธนาคารกรุงเทพ
ง. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
8.

กิจกรรมทางการคลังรัฐบาลเกี่ยวข้องกับข้อใด
ก. การใช้จ่าย การเก็บภาษีอากร และการกู้ยืม
ข. การกำาหนดอัตราดอกเบี้ย การกู้ยืมเงิน และการใช้จ่าย
ค. การใช้จ่าย การเก็บภาษีอากร และการกำาหนดอัตราดอกเบี้ย
ง. การเก็บภาษีอากร การกำาหนดอัตราดอกเบี้ย และการกู้ยืมเงิน

9.

รายจ่ายของรัฐบาลในด้านใดมีความสำาคัญต่อการพัฒนาประเทศในระยะยาว
ก. การศึกษา
ข.
การชำาระหนี้เงินกู้
ค. การประกันราคา
ง. การป้องกันประเทศ

10. การใช้จ่ายเงินของรัฐบาลก่อให้เกิดผลอย่างไร
ก. จำานวนผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น
ค. ค่าแรงขั้นตำ่าเพิ่มสูงขึ้น
11.

ข.ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น
ง. การจ้างงานเพิ่มขึ้น

รัฐบาลใช้มาตรการทางการคลังในการแก้ปัญหาเงินเฟ้ออย่างไร
ก. ขึ้นค่าเงินบาท
ข.ขึ้นเงินเดือนข้าราชการ
ค. ขึ้นอัตราภาษีเงินได้
ง. ขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก
12. ในช่วงที่เศรษฐกิจตกตำ่ำ รัฐบำลควรมีมำตรกำรทำงกำรคลังอย่ำงไร
ก. ใช้จ่ำยมำกขึ้นเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ
ข. เก็บภำษีเพิ่มขึ้นเพื่อเพิ่มเงินคงคลัง
ค. ใช้จ่ำยให้น้อยที่สุดเพื่อประหยัดงบประมำณรำยจ่ำย
ง. ลดกำรกู้ยืมเงินจำกต่ำงประเทศเพื่อลดภำระจำกกำรก่อหนี้
13.

14.
ได้

ข้อใดกล่ำว ไม่ถ ูก ต้อ งเกี่ยวกับกำรบริหำรเงินคงคลัง
ก. เงินฝำกในบัญชีคงคลังไม่มีดอกเบี้ย
ข. เงินคงคลังมีน้อยจะเกิดปัญหำสภำพคล่อง
ค. เงินคงคลังมีมำกเกินไปจะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์
ง. เงินคงคลังส่วนเกินเมื่อนำำมำใช้จะเพิ่มภำระดอกเบี้ยให้รัฐบำล
เพรำะเหตุใด กำรคลังท้องถิ่นจึงไม่สำมำรถสร้ำงควำมเข้มแข็งทำงกำรคลัง

ก. เพรำะมีรำยได้ในกำรจัดเก็บเท่ำกับรำยจ่ำย
ข. เพรำะมีรำยจ่ำยประจำำมำกกว่ำรำยได้ที่จัดเก็บในท้องถิ่น
ค. เพรำะเงินส่วนใหญ่มำจำกเงินอุดหนุนที่ได้รับจำกรัฐบำล
ง. เพรำะกำรคลั ง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น ขำดควำมรู้ ค วำมเชี่ ย วชำญในกำรบริ ห ำรงบ
ประมำณท้องถิ่น
15.

รัฐบำลสำมำรถใช้เครื่องมือใดในกำรสร้ำงควำมเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจ
ก. นโยบำยกำรเงิน
ข. นโยบำยกำรคลัง
ค. นโยบำยกำรเงิน และกำรคลัง
ง. ควำมแตกต่ำงทำงด้ำนอุปสงค์ - อุปทำน

แบบทดสอบ หน่ว ยกำรเรีย นรู้ท ี่ 4
คำำ ชี้แ จง

ให้กำ  ทับตัวอักษรหน้ำข้อควำมที่เป็นคำำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

1. สหกรณ์เป็นกำรรวมตัวของกลุ่มบุคคลที่มีจุดมุ่งหมำยอย่ำงเดียวกัน โดยมีหลัก
กำรสำำคัญในข้อใด
ก. มีสิทธิเสมอกัน แต่มุ่งช่วยเหลือผู้ที่มีฐำนะยำกจน
ข.
มีกฎระเบียบข้อบังคับตรงตำมกฎหมำย ไม่มีกำรแก้ไข
ค. ยึ ด หลั ก ประชำธิ ป ไตย ไม่ แ สวงหำกำำ ไร มี ก ำรแบ่ ง ปั น ผลประโยชน์ อ ย่ ำ ง
ยุตธรรม
ิ
ง. มี ปั จ จั ย กำรผลิ ต เช่ น เดี ย วกั บ ธุ ร กิ จ ทั่ ว ไป แต่ มี ก ำรบริ ห ำรจั ด กำรภำยใน
ชุมชนเท่ำนั้น
2. บิดำแห่งกำรสหกรณ์ของโลกคือใคร
ก. นำยฟรีตริก วิลเฮล์ม ไรฟ์ไฟเซน
คิง
ค. นำยเฮอร์มัม ซูลซ์

ข.

นำยแพทย์ วิ ล เลี ย ม

ง. โรเบิร์ต โอเวน

3. สหกรณ์แรกที่เกิดขึ้นในโลก ก่อตั้งจำกกลุ่มอำชีพใด
ก. ทอผ้ำ
ข.
เกษตร
ค. ประมง
ง.
ร้ำนค้ำ
4. สหกรณ์แห่งแรกของไทย จัดตั้งขึ้นที่จังหวัดใด
ก. กรุงเทพมหำนคร
ค. เชียงใหม่
ง.

ข.พิษณุโลก
ปทุมธำนี

5. ส ห ก ร ณ์ ใ ด ที่ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ ล ด ค่ ำ ใ ช้ จ่ ำ ย ใ น ค ร อ บ ค รั ว
ก. สหกรณ์กำรเกษตร
ข.สหกรณ์ออมทรัพย์
ค. สหกรณ์ร้ำนค้ำ
ง.
สหกรณ์บริกำร
6. ร้ำนสหกรณ์บ้ำนสินใช้ ซึ่งเป็นร้ำนสหกรณ์แห่งแรกของไทยอยู่ที่จังหวัดใด
ก. เชียงรำย
ข.
พิษณุโลก
ค. กรุงเทพมหำนคร
ง. พระนครศรีอยุธยำ
7. สหกรณ์จะประสบควำมสำำเร็จนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยสำำ คัญหลำยประกำร ยกเว้น
ข้อใด
ก. ผู้มีทุนทรัพย์คอยสนับสนุน
ข. สมำชิกมีควำมรู้ในระบบสหกรณ์
ค. คณะกรรมกำรดำำเนินงำนมีควำมซื่อสัตย์
ง. ผู้จัดกำรและเจ้ำหน้ำที่มีควำมรู้ควำมสำมำรถ
8.

ข้อใดเป็นปัญหำสำำคัญของเศรษฐกิจในชุมชน
ก. ประชำชนจำำนวนมำกอยู่ในวัยเด็กมำกกว่ำผู้ใหญ่
ข. ควำมยำกจน ขำดแคลนบุคลำกรที่มีควำมรู้
ค. เส้นทำงกำรคมนำคมไม่สะดวก
ง. ระบบกำรสื่อสำรล่ำช้ำ
9. แนวทำงกำรแก้ปัญหำเศรษฐกิจในชุมชนโดยกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งในชุมชน
ที่สำำคัญคือข้อใด
ก. ประชำชนร่วมมือกันแก้ปัญหำ และรู้จักใช้ทรัพยำกรในท้องถิ่นอย่ำงคุ้มค่ำ
ข. ตัวแทนองค์กรของรัฐเข้ำไปช่วยแนะนำำแนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ
ค. ร่วมมือกันสร้ำงเส้นทำงกำรคมนำคมและสำธำรณสมบัติ
ง. ประชำชนทุกคนรวมตัวกันจัดตั้งสหกรณ์กำรเกษตร
10. ชุมชนไม้งำมเป็นชุมชนที่สมำชิกทุกคนร่วมมือกันพัฒนำอำชีพและใช้
ทรัพยำกรอย่ำงเหมำะสม จะส่งผลดีตอชุมชนมำกที่สุดในข้อใด
่
ก. สำมำรถอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติให้ยั่งยืน
ข. สมำชิกในชุมชนมีรำยได้ที่มั่นคง
ค. เป็นชุมชนตัวอย่ำงของชุมชนอื่น
ง. พัฒนำชุมชนให้เข้มแข็ง

แบบทดสอบ หน่ว ยกำรเรีย นรู้ท ี่ 2
คำำ ชี้แ จง

ให้กำ  ทับตัวอักษรหน้ำข้อควำมที่เป็นคำำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดจัดเป็นหน่วยเศรษฐกิจ
ก. บริษัท ห้ำงร้ำน ห้ำงหุ้นส่วน
ข.
ครัวเรือน ธุรกิจ องค์กรรัฐบำล
ค. บริษัท ห้ำงสรรพสินค้ำ องค์กำรโทรศัพท์
ง. สหกรณ์ ธนำคำร บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์
2. ข้อควำมใดสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจ
ก. กำรดำำเนินกิจกรรมต่ำงๆ ของรัฐบำลที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ
ข. กำรดำำเนินงำนต่ำงๆ ที่มีควำมเกี่ยวข้องกับผู้ผลิตจำำนวนมำก
ค. กำรนำำปัจจัยกำรผลิตออกสู่ตลำดในรูปแบบต่ำงๆ เพื่อประโยชน์ต่อผู้ผลิต
แต่คำำนึงถึง ควำมเป็นธรรมของผู้บริโภค
ง. ควำมร่วมมือ กันของมนุ ษ ย์ ใ นกำรสร้ ำ งและใช้ ท รั พ ยำกร เพื่ อ สนองควำม
ต้องกำรของสมำชิกใน
สังคมที่มีกำรปฏิบัติคล้ำยคลึงกัน
3. ข้อใดจัดเป็นลักษณะของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
ก. มีกิจกรรมที่แสดงถึงกำรคุ้มครองสวัสดิภำพของแรงงำน
ข. รัฐจะเข้ำไปควบคุมกิจกำรสำธำรณูปโภค และกิจกำรธนำคำร
ค. กำรดำำเนินกิจกรรมทำงด้ำนเศรษฐกิจโดยผ่ำนกลไกรำคำ
ง. เอกชนสำมำรถดำำเนินกิจกำรทำงด้ำนอุตสำหกรรมร่วมกับรัฐบำลได้
4. ในระบบเศรษฐกิจที่มีผู้ผลิตน้อยรำย จะส่งผลสำำคัญในเรื่องใด
ก. ผู้ผลิตมีกำำไรมำก
ข. ทำำให้เกิดกำรผูกขำดกำรผลิต
ค. ผู้บริโภคเลือกซื้อสินค้ำได้น้อยลง
ง. มีกำรทำำลำยทรัพยำกรธรรมชำติลดน้อยลง
5. ข้ อ ใ ด เ ป็ น ข้ อ ดี ข อ ง ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ บ บ ทุ น นิ ย ม
ก. กำรแข่งขันกันขำยสินค้ำทำำให้คุณภำพของสินค้ำดีขึ้น
ข. มีกำรกระจำยรำยได้ของประชำชนสูงขึ้นอย่ำงเท่ำเทียมกัน
ค. เอกชนสำมำรถตัดสินใจผลิตสินค้ำได้อย่ำงเสรีไม่ถูกจำำกัดจำกรัฐบำล
ง. ผู้บริโภคและผู้ผลิตมีสิทธิเสรีภำพเท่ำเทียมกันในเรื่องของกำรตัดสินใจ
ผลิตและบริโภค
6. ลักษณะเด่นของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมเป็นอย่ำงไร
ก. รัฐและเอกชนร่วมมือกันประกอบธุรกิจขนำดใหญ่ เพื่อประโยชน์ของประเทศ
ข. รั ฐ ควบคุ ม กิ จ กำรธนำคำร อุ ต สำหกรรมขั้ น พื้ น ฐำน และกิ จ กำร
สำธำรณูปโภค
ค. ผู้ผลิตต้องแบ่งปันผลประโยชน์ เพื่อเป็นสวัสดิกำรประชำชน
ง. ผู้ประกอบกิจกำรธุรกิจขนำดใหญ่มีเสรีภำพในกำรผลิต
7. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมมีข้อเสียอย่ำงไร
ก. กำรลงทุนในธุรกิจต่ำงมีต้นทุนมำก แต่มีกำำไรน้อย
ข. รัฐบำลเข้ำไปแทรกแซงกลไกรำคำต่อผู้ผลิตทุกประเภท
ค. ประชำชนไม่มีเสรีภำพอย่ำงเต็มที่ในกำรทำำธุรกิจที่ต้องกำร
ง. มี ก ำรผู ก ขำดรำคำสิ น ค้ ำ ที่ เ อกชนเป็ น ผู้ ผ ลิ ต และประชำชนไม่ ไ ด้ รั บ
สวัสดิกำรจำกรัฐบำล
8.

ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมมีข้อดีอย่ำงไร
ก. ประชำชนมีอำำนำจต่อรองรำคำสินค้ำ
ข.
เอกชนมีแรงจูงใจในกำรผลิตหรือคิดค้นสิ่งใหม่ๆ
ค. ธุรกิจขนำดใหญ่มีกำำไรมำก เพรำะมีกำรรวมกลุ่มกัน
ง. ประชำชนได้รับกำรดูแลเกี่ยวกับสวัสดิกำรจำกรัฐค่อนข้ำงดี

9.

ระบบเศรษฐกิจแบบผสมมีลักษณะเด่นอย่ำงไร
ก. รัฐไม่แทรกแซงราคาสินค้าหรือธุรกิจทุกขนาด
ข. รัฐมีหน้าที่อำานวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการขนาดเล็ก
ค. รัฐเข้าไปดำาเนินกิจกรรมอุตสาหกรรมประเภทการบริการและการท่องเที่ยว
ง. รัฐบาลมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเศรษฐกิจหลายด้าน เพื่อให้เกิดความเป็น
ธรรมทางเศรษฐกิจ
10. ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบผสมคืออะไร
ก. รั ฐ บาลสามารถเข้า ไปควบคุ ม หรื อ อกกฎหมายเพื่ อ กำา กั บ ถ้ า เอกชนดำา เนิ น
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
จนสร้างความเดือดร้อนต่อประชาชน
ข. รายได้ของแรงงานมีจำานวนเท่าเทียมกันทุกคน ส่งผลให้ประชาชนมีความ
ตั้งใจในการทำางาน
ในองค์กรธุรกิจอย่างเต็มที่
ค. เอกชนมีกำาลังใจในการผลิตสินค้าตามนโยบายของรัฐบาล
ง. การบริหารงานขององค์กรธุรกิจมีประสิทธิภาพ
ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบผสมคืออะไร
ก. ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ข อ ง รั ฐ ใ น กิ จ ก า ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม บ า ง ป ร ะ เ ภ ท ข า ด
ประสิทธิภาพเมื่อเทียบกับเอกชน
ข. เอกชนมีบทบาทสำาคัญในการแข่งขันกันผลิตสินค้ากับรัฐบาล ทำาให้เกิดการ
เปรียบเทียบ
ค. รายได้จากการผลิตสินค้าต้องถูกนำา มาแบ่งปันให้รัฐในรูปแบบของการเสีย
ภาษี
ง. เอกชนมีพลังอำานาจการต่อรองการผลิตและการบริการกับรัฐบาล
11.

12. ข้อความเกี่ยวกับตลาด ข้อใดถูกต้อง
ก. ประเทศใดใช้นโยบายการค้าเสรีกับประเทศต่างๆ ตลาดสินค้าจะกว้าง
ขวาง
ข. พ่อค้าคนกลางจะเป็นผู้ที่มีอำานาจในการค้าขายที่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด
ค. ตลาดจะมีอาณาเขตกว้างขวางเพียงใดขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐ
ง. สินค้าขนาดเล็ก เคลื่อนย้ายได้ง่าย จะมีอาณาเขตแคบ
13. ข้อใดเป็นตลาดปัจจัยการผลิต
ก. ตลาดหลักทรัพย์
ข. ตลาดเสื้อผ้า อาหาร
ค. ตลาดซื้อขายเครื่องสูบนำ้า
ง. ตลาดซื้อเงินตราต่างประเทศ
14. ตลาดที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์มีลักษณะสำาคัญ ยกเว้น ข้อใด
ก. ธุรกิจรายใหม่มีน้อย ผู้ขายมีอิทธิพลในการกำาหนดราคา
ข. ผู้ซื้อและผู้ขายจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับสภาวะตลาด
ค. สินค้าที่ซื้อหรือขาย จะต้องมีลักษณะอย่างเดียวกัน
ง. การติดต่อซือขายจะต้องกระทำาโดยสะดวก
้
15. ข้อความใด ไม่ส อดคล้อ งกับกฎของอุปสงค์ (Law of demand)
ก. เมื่อทุเรียนมีราคาถูก คนก็จะซื้อทุเรียนมากขึ้น
ข. เมื่อเงาะมีราคาแพง คนก็จะซื้อเงาะจำานวนน้อยลง
ค. เมื่อโทรศัพท์มือถือราคาลดลง คนก็จะซื้อโทรศัพท์มือถือมากขึ้น
ง. เมื่อยางพารามีราคาแพงขึ้น มีผลให้ตลาดต่างประเทศงดซื้อยางพาราของ
ไทย
16. ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนดอุปสงค์คืออะไร
ก. ราคาสินค้า รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน จำานวนประชากร
ข. ฤดูกาล รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน ประเภทของสินค้า
ค. ราคาสินค้า จำานวนประชากร รัฐบาล ประเภทสินค้า
ง. การเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า จำานวนสินค้า
17. “ถ้าราคาสินค้าลดลง ผู้ผลิตสินค้าออกมาจำาหน่ายลดลง ถ้าราคาสินค้าเพิ่มขึ้น
ผู้ผลิตสินค้าจะผลิตสินค้าออกมาจำาหน่ายเพิ่มขึ้น ” ข้อความดังกล่าวสอดคล้อง
กับข้อใด
ก. อุปสงค์
ข. อุปทาน
ค. กฎของอุปสงค์
ง. กฎของอุปทาน
18. ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนดอุปทานคืออะไร
ก. รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน
ข. จำานวนผู้ผลิตหรือผู้ขาย
ค. ความนิยมของผู้ผลิต
ง.ฤดูกาล
19. ระดับราคาที่จำานวนสินค้าที่ผู้บริโภคต้องการซื้อขณะนั้น จะเท่ากับจำานวน
สินค้าที่ผู้ผลิตจะผลิต
ออกมาจำาหน่ายในขณะเดียวกันพอดี เรียกว่าอะไร
ก. ราคาดุลยภาพ
ข.
ราคายุติธรรม
ค. ราคาของผู้ผลิต
ง. ราคาของผู้บริโภค
20. หลักเกณฑ์ในการกำาหนดราคาสินค้าในเชิงกลยุทธ์ ข้อใดไม่ถ ูก ต้อ ง
ก.
ข.
ค.
ง.

กำาหนดราคาขายแตกต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะของผู้ซื้อ
กำาหนดราคาขายให้แตกต่างกันตามปริมาณสินค้าที่ซื้อ
กำาหนดราคาสินค้าตามวัตถุประสงค์ของผู้ถือหุ้น
กำาหนดราคาสินค้าตามช่วงเวลาที่ต่างกัน

21. การแทรกแซงด้านราคาของรัฐ สามารถทำา ได้หลายรูปแบบ ย กเ ว้น ข้อใด
ก. การควบคุมราคาสินค้าไม่ให้สูงขึ้น
ข. รัฐกำาหนดราคาสินค้าทุกประเภท
ค. การรับจำานำาสินค้าเกษตร
ง. การประกันราคา
22. กลไกสำาคัญที่เป็นตัวกำาหนดค่าจ้างคืออะไร
ก. การกำาหนดราคาของรัฐ
ข. อุปสงค์ต่อผู้บริโภค และอุปทานของผู้ผลิต
ค. อุปสงค์ต่อแรงงาน และอุปทานของแรงงาน
ง. อุปสงค์ต่อแรงงาน และการกำาหนดราคาของผู้ผลิต
23. ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีระบบเศรษฐกิจแบบใด
ก. ทุนนิยม
ข. เสรีนิยม
ค. แบบผสม
ง. สังคมนิยม
24. อัตราค่าจ้างขั้นตำ่าของกรุงเทพมหานคร วันละเท่าใด
ก. 200 บาท
ข. 206 บาท
ค. 260 บาท
ง. 300 บาท
25. พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฉบับปัจจุบันมีความสำา คัญในข้อใดมาก
ที่สด
ุ
ก. กำาหนดราคาค่าจ้างของแรงงานทั่วประเทศ
ข. ควบคุมนายจ้างให้มีสวัสดิการที่ดีต่อแรงงาน
ค. แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งระหว่างลูกจ้างและนายจ้าง
ง. กำาหนดราคาค่าจ้างขั้นตำ่าสำาหรับแรงงานในโรงงาน
แบบทดสอบ หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 1
คำา ชี้แ จง

ให้กา  ทับตัวอักษรหน้าข้อความที่เป็นคำาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดเป็นปัจจัยสำาคัญที่ทำา ให้ประชาชนให้ความร่วมมือต่อนโยบายเศรษฐกิจ
ของรัฐบาล
ก. รัฐบาลมีการประชาสัมพันธ์ดี
ข.
ประชาชนมีฐานะทางเศรษฐกิจดี
ค. ประชาชนมีความรู้ทางเศรษฐศาสตร์
ง. ผู้นำารัฐบาลมีความรู้ทางด้านเศรษฐกิจเป็นอย่างดี
2. เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. รายได้และรายจ่ายประชาชาติ
ข. การจ้างงาน การออม การลงทุน การเงิน การค้า
ค. การศึกษาปัญหาต่างๆ ที่กระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ
ง. การผลิตสินค้าและบริการ การกำาหนดราคาสินค้า การกระจายสินค้าจากผู้
ผลิตไปยังผู้บริโภค
3. เศรษฐศาสตร์มหภาค เป็นการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. อิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อรายได้ประชาชน
ข. การกระจายสินค้าไปยังผู้บริโภคในแต่ละพื้นที่
ค. การจัดสรรทรัพยากรในการผลิตสินค้าและบริการ
ง. การศึ ก ษาในเรื่ อ งราคาสิ น ค้ า การบริ โ ภคสิ น ค้ า ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง
องค์กรผู้ผลิต
4. วิชาเศรษฐศาสตร์มีเป้าหมายสำาคัญในการให้ความรู้ต่อประชาชนในข้อใด
ก. เพื่อให้รู้จักเลือกใช้สินค้าราคาถูกที่สุด เพื่อเป็นการลดภาระค่าใช้จ่าย
ข. เพื่อให้รู้จักเลือกใช้สินค้าให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและครอบครัวมากที่สุด
ค. เพื่อให้รู้จักการวางแผนการใช้จ่ายเงิน และการเลือกใช้สินค้าที่มีอยู่อย่างพอ
เพียง
ง. เพื่อให้รู้จักการตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำา กัดในการบริโภค
และใช้ในทางที่ดีที่สุด
5. ประเทศต่ า งๆ ประสบปั ญ หาพื้ น ฐานทางเศรษฐกิ จ คล้ า ยคลึ ง กั น อย่ า งไร
ก. แรงงาน และต้นทุนการผลิตค่อนข้างสูง ทำาให้มีกำาไรตำ่ามาก
ข. ทรัพยากรของประเทศแต่ละประเทศลดน้อยลงไปจากเดิมมาก
ค. ความไม่พอดีกันระหว่างความต้องการของมนุษย์ และสิ่งที่จะมาตอบสนอง
ความต้องการ
ง. การหาตลาดส่งออกสิ นค้ าที่ ผลิ ตได้น้อยเนื่ องจากมี คู่ แข่ งในการผลิ ต
สินค้าจำานวนมากขึ้นกว่าเดิม
6. ข้อใดจัดเป็นปัจจัยในการผลิต
ก. ผู้ประกอบการ ที่ดิน แรงงาน การบริการ
ข. แรงงาน ทรัพยากรธรรมชาติ ค่าเช่า
ค. ที่ดิน แรงงาน ทุน ผู้ประกอบการ
ง. ทุน เครื่องจักร ทรัพยากร ทีดิน
่
7. การใช้ ป ระโยชน์ จ ากสิ่ ง ของและบริ ก าร เพื่ อ สนองความต้ อ งการของมนุ ษ ย์
สอดคล้องกับข้อใด
ก. ผู้ผลิต
ข.
ผู้บริโภค
ค. ปัจจัยพื้นฐาน
ง.
ผู้ประกอบการ
8.

ผู้บริโภคจะเลือกซื้อสินค้า โดยคำานึงเรื่องใดมากที่สุด
ก. สินค้าราคาถูกแต่มีคุณภาพดี
ข. คุณภาพของสินค้าที่ได้มาตรฐานและราคาตำ่า
ค. รายได้ที่มีอยู่อย่างจำากัด และความเหมาะสมของราคาสินค้า
ง. ความพอใจสูงสุดภายใต้รายได้และทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำากัด

ข้อใดจัดเป็นการกระจายรายได้ตามหน้าที่ในการผลิต
ก. ทีดิน แรงงาน กำาไร ค่าจ้างข. ค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย กำาไร
่
ค. ทุน ค่าเช่า ดอกเบี้ย แรงงาน ง.
ต้ น ทุ น กำา ไ ร ด อ ก เ บี้ ย
แรงงาน
9.

10. ผู้ผลิตสินค้าจะมีกำาไรสูงขึ้นด้วยวิธีการหลายอย่าง ยกเว้น ข้อใด
ก. มีการประชาสัมพันธ์สินค้าและบริการได้มากกว่าผู้ผลิตรายอื่น
ข. ผลิตสินค้าตรงตามความต้องการและรสนิยมของผู้บริโภค
ค. มีการกระจายสินค้าสู่ผู้บริโภคได้มากที่สุด
ง. องค์กรของรัฐสนับสนุนสินค้าและบริการ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 

La actualidad más candente (20)

ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 

Similar a แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖

ติวเศรษฐศาสตร์55 copy
ติวเศรษฐศาสตร์55   copyติวเศรษฐศาสตร์55   copy
ติวเศรษฐศาสตร์55 copyKwandjit Boonmak
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศthnaporn999
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯthnaporn999
 
กลางภาค ส42101 ม.5 docx
กลางภาค ส42101  ม.5 docxกลางภาค ส42101  ม.5 docx
กลางภาค ส42101 ม.5 docxthnaporn999
 
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศการพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Similar a แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖ (6)

ติวเศรษฐศาสตร์55 copy
ติวเศรษฐศาสตร์55   copyติวเศรษฐศาสตร์55   copy
ติวเศรษฐศาสตร์55 copy
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
ส 32101 ม.5
ส 32101 ม.5ส 32101 ม.5
ส 32101 ม.5
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
 
กลางภาค ส42101 ม.5 docx
กลางภาค ส42101  ม.5 docxกลางภาค ส42101  ม.5 docx
กลางภาค ส42101 ม.5 docx
 
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศการพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 

แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖

  • 1. แบบทดสอบ หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 6 คำา ชี้แ จง ให้กา  ทับตัวอักษรหน้าข้อความที่เป็นคำาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ปัจจัยทางการค้าระหว่างประเทศในข้อใดส่งผลต่อราคาของสินค้าโดยตรง ก. การส่งมอบสินค้า ข. การติดต่อสื่อสาร ค. อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตรา ง. ก า ร ร ว ม ก ลุ่ ม ท า ง ก า ร ค้ า ระหว่างประเทศ 2. ข้อใด ไม่ใ ช่สาเหตุที่ต้องมีการค้าระหว่างประเทศ ก. ทรัพยากรธรรมชาติที่แตกต่างกัน ข. ต้นทุนการผลิตของแต่ละประเทศไม่เท่ากัน ค. รสนิยมในการบริโภคแตกต่างกันในแต่ละประเทศ ง. ระบอบการปกครองที่แตกต่างกันของประเทศต่างๆ 3. การแก้ไขปัญหาการกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศที่ประเทศต่างๆ นำามาใช้ คืออะไร ก. การเจรจาต่อรองทางการค้า ข. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ค. การหาตลาดต่างประเทศใหม่ๆ เพิ่มขึ้น ง. การปฏิบั ติต ามข้อ ตกลงโดยไม่ มี ข้อโต้แย้ง 4. ข้อใดเป็นนโยบายการค้าระหว่างประเทศของไทย ก. นโยบายการค้าแบบเสรี ข. นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน ค. ใช้ระบบภาษีศุลกากร ง. ให้ เ อกชนดำา เนิ น การมาก ที่สุด 5. รถยนต์ที่นำาเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่นมีราคาสูงมากกว่ารถยนต์ที่ผลิตในประเทศไทย เป็นผล สืบเนื่องมาจากมาตรการในข้อใด ก. การให้สิทธิพิเศษ ข. การเก็บภาษีศุลกากร ค. การตั้งกำาแพงภาษี ง. การกำาหนดโควตาสินค้า 6. ถ้ามูลค่าของสินค้าส่งออกน้อยกว่ามูลค่าของสินค้านำาเข้า แสดงถึงสภาวะในข้อใด ก. ดุลการค้าเกินดุล ข. ดุลการค้าสมดุล ค. ดุลการค้าขาดดุล ง. ดุลการค้าเสียดุล 7. ข้อใดเป็นสาเหตุของปัญหาการขาดดุลการค้า ก. ค่าของเงินไทยตกตำ่า ข. ผลผลิตเกษตรกรมีมูลค่า น้อย ค. การขนส่งไม่มีประสิทธิภาพ ง. การซื้อสินค้านำาเข้ามากกว่าการส่งออกสินค้า 8. ดุลการชำาระเงินประกอบด้วยบัญชีต่างๆ ที่สำาคัญ ยกเว้น บัญชีใด ก. บัญชีเงินทุน ข. บัญชีเดินสะพัด ค. บัญชีทุนเคลื่อนย้าย ง. บั ญ ชี ทุ น สำา ร อ ง ระหว่างประเทศ 9. เหตุผลสำาคัญที่ทำาให้เกิดอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศคือข้อใด ก. การกำาหนดนโยบายของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ข.มีการค้าระหว่างประเทศ และแต่ละประเทศต่างก็มีหน่วยเงินตราไม่เหมือนกัน ค. มีการลงทุนระหว่างประเทศ และแต่ละประเทศต่างก็มีหน่วยเงินตราไม่เหมือนกัน ง. มีการชำาระเงินระหว่างประเทศ และแต่ละประเทศต่างก็มีหน่วยเงินตราไม่เหมือนกัน 10. ในระยะยาวการเคลื่อนย้ายเงินทุนประเภทใดก่อให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ก. การลงทุนทางตรง ข. การลงทุนทางอ้อม
  • 2. ค. เงินกู้ต่างประเทศ ง. การลงทุนทางการเงิน 11. ข้อใด ไม่ใ ช่รูปแบบความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ก. การให้กู้ยืม ข. การใช้นโยบาย การค้าแบบคุ้มกัน ค. การให้ความช่วยเหลือแบบให้เปล่า ง. ยกเลิกกำาแพงภาษี ส่งเสริม การค้าเสรี 12. องค์กรระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจในข้อใด แตกต่างจากข้ออื่นเมื่อพิจารณา ถึงประเทศสมาชิก ก. โอเปก (OPEC) ข. เอเปก (APEC) ค. อาเซ็ม (ASEM) ง. อาฟตา (AFTA) 13. ธนาคารโลกถือกำาเนิดขึ้นจากวัตถุประสงค์ใด ก. เปิดเสรีทางการค้าระหว่างประเทศสมาชิกขององค์กร ข.ตัดสินกรณีพิพาททางเศรษฐกิจและการเงินระหว่างประเทศต่างๆ ค. ช่วยประเทศเล็กๆ ในการเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศใหญ่ ง. ให้ความช่วยเหลือประเทศสมาชิกในการฟื้นฟูประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 14. องค์กรที่มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาเสถียรภาพทางการเงินระหว่างประเทศที่รองรับการ ขยายตัว ของเศรษฐกิจโลก คือข้อใด ก. ธนาคารโลก ข. องค์การการค้าโลก ค. กองทุนการเงินระหว่างประเทศ ง. ธนาคารเพื่ อ การพั ฒ นาแห่ ง เอเชีย 15. ข้อใดกล่าว ถูก ต้อ งเกี่ยวกับสหภาพยุโรป ก. ใช้เงินตราสกุลเดียวกัน คือ ปอนด์ ข. มีสำา นักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ค. พัฒนาขึ้นจากองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ง. เป็นความร่วมมือทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม 16. ผลประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับจากการเข้าเป็นสมาชิกกลุ่มเอเปกคืออะไร ก. มีตลาดการค้ามากขึ้น เป็นผลดีต่อการส่งออก ข. ไ ด้ รั บ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ท า ง วิชาการเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ ค. ประเทศในสหภาพยุโรปเข้ามาลงทุนอุตสาหกรรมในประเทศมากขึ้น ง. มีระบบการเงินและการคลังเป็นแบบเดียวกันกับประเทศสมาชิกอื่นๆ 17. ประเทศสมาชิกผู้ก่อตั้งอาเซียนได้แก่ประเทศใดบ้าง ก. มาเลเซีย ไทย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ บรูไน ข. สหภาพพม่ า เวี ย ดนาม ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ค. อินโดนีเซีย สหภาพพม่า ไทย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ง. อิ น โ ด นี เ ซี ย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย 18. เพราะเหตุ ใ ด ประเทศสมาชิ ก อาเซี ย นจึ ง ต้ อ งมี ก ารตกลงกั น ในการผลิ ต สิ น ค้ า เฉพาะที่ตนถนัด ก. เพิ่มการค้าระหว่างประเทศสมาชิกให้มากขึ้น ข. ลดการผลิตสินค้าที่ซำ้า ซ้อนกัน ทีต้นทุนการผลิตตำ่าลง ่ ค. ชักจูงประเทศอื่นๆ ให้เข้ามาลงทุนในกลุ่มประเทศอาเซียน ง. มีอำา นาจในการต่อ รองกับประเทศหรือกลุ่มประเทศคู่ค้า 19. สินค้าประเภทใดที่ประเทศไทยมีการนำาเข้าจากสหภาพยุโรปมาก
  • 3. ก. เครื่องจักรกล เครื่องบิน ค. เครื่องคอมพิวเตอร์ แผงวงจรไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์ยาง ข. ง. เสื้อผ้าสำาเร็จรูป ยารักษาโรค เ ค รื่ อ ง มื อ ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ 20. เป้าหมายทางเศรษฐกิจของกลุ่มอาเซียน คือข้อใด ก. ร่วมมือกันกีดกันสินค้าเข้าจากประเทศนอกกลุ่ม ข. ร่วมมือกันพัฒนาการอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก ค. ร่วมมือกันพัฒนาความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก ง. ส่งเสริมการลงทุนระหว่างประเทศสมาชิกให้มีลักษณะเป็นเขตปลอดภาษี แบบทดสอบ หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 5 คำา ชี้แ จง ให้กา  ทับตัวอักษรหน้าข้อความที่เป็นคำาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดแสดงปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ ก. ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ และเงินออมทั้งหมด ข. ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ และเงินคงคลังของรัฐบาล ค. ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ และเงินฝากกระแสรายวัน ง. ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ และเงินที่มีอยู่ในมือรัฐบาล 2. นโยบายทางด้ า นการเงิ น ในข้ อ ใดที่ รั ฐ บาลสามารถนำา มาใช้ ใ นการเพิ่ ม ลด ปริมาณเงินในระบบ เศรษฐกิจได้ ก. การเพิ่มลดอัตราภาษีในระบบเศรษฐกิจ ข. การเพิ่มลดปริมาณการซื้อขายพันธบัตรของรัฐบาล ค. การเพิ่มลดปริมาณการใช้จ่ายเงินในส่วนของรัฐบาล ง. การเพิ่มลดปริมาณการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศของรัฐบาล 3. มาตรการใดมีส่วนช่วยแก้ปัญหาภาวะเงินฝืดของประเทศได้ ก. ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ข. ให้ธนาคารกลางขายพันธบัตรมากขึ้น ค. ลดการขาดดุลทางการคลังให้น้อยลง ง. ออกระเบียบให้เอกชนลดการกู้เงินจากต่างประเทศ 4. ผลกระทบของการเกิดภาวะเงินเฟ้อที่ถูกต้องคือข้อใด ก. ทำาให้ผู้ซื้อได้เปรียบ แต่ผขายเสียเปรียบ ู้ ข. ทำาให้เจ้าหนี้ได้เปรียบ แต่ลูกหนี้เสียเปรียบ ค. ทำาให้ลูกหนี้ได้เปรียบ แต่เจ้าหนี้เสียเปรียบ ง. ทำาให้ธนาคารผู้ให้บริษัทห้างร้านกู้ได้ประโยชน์มาก
  • 4. 5. ข้อใด ไม่ใ ช่หน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทย ก. ออกธนบัตร ประชาชน ค. รักษาทุนสำารองระหว่างประเทศ สถาบันการเงิน ข. รั บ ฝ า ก เ งิ น จ า ก ง. ควบคุมตรวจสอบ 6. ธนาคารแห่งประเทศไทยคือนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์หมายความว่ า อย่างไร ก. ธนาคารแห่งประเทศไทยถือหุ้นใหญ่ในธนาคารพาณิชย์ ข. ธนาคารแห่งประเทศไทยควบคุมกำากับดูแลธนาคารพาณิชย์ ค. เงินของธนาคารพาณิชย์ต้องฝากกับธนาคารแห่งประเทศไทยเท่านั้น ง. ประธานของธนาคารแห่ ง ประเทศไทยเป็ น ประธานกิ ติ ม ศั ก ดิ์ ข องธนาคาร พาณิชย์ 7. ธนาคารใดต่อไปนี้ ไม่ไ ด้ทำาหน้าที่ธนาคารพาณิชย์ ก. ธนาคารกสิกรไทย ข. ธนาคารกรุงไทย ค. ธนาคารกรุงเทพ ง. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 8. กิจกรรมทางการคลังรัฐบาลเกี่ยวข้องกับข้อใด ก. การใช้จ่าย การเก็บภาษีอากร และการกู้ยืม ข. การกำาหนดอัตราดอกเบี้ย การกู้ยืมเงิน และการใช้จ่าย ค. การใช้จ่าย การเก็บภาษีอากร และการกำาหนดอัตราดอกเบี้ย ง. การเก็บภาษีอากร การกำาหนดอัตราดอกเบี้ย และการกู้ยืมเงิน 9. รายจ่ายของรัฐบาลในด้านใดมีความสำาคัญต่อการพัฒนาประเทศในระยะยาว ก. การศึกษา ข. การชำาระหนี้เงินกู้ ค. การประกันราคา ง. การป้องกันประเทศ 10. การใช้จ่ายเงินของรัฐบาลก่อให้เกิดผลอย่างไร ก. จำานวนผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น ค. ค่าแรงขั้นตำ่าเพิ่มสูงขึ้น 11. ข.ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น ง. การจ้างงานเพิ่มขึ้น รัฐบาลใช้มาตรการทางการคลังในการแก้ปัญหาเงินเฟ้ออย่างไร ก. ขึ้นค่าเงินบาท ข.ขึ้นเงินเดือนข้าราชการ ค. ขึ้นอัตราภาษีเงินได้ ง. ขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก
  • 5. 12. ในช่วงที่เศรษฐกิจตกตำ่ำ รัฐบำลควรมีมำตรกำรทำงกำรคลังอย่ำงไร ก. ใช้จ่ำยมำกขึ้นเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ข. เก็บภำษีเพิ่มขึ้นเพื่อเพิ่มเงินคงคลัง ค. ใช้จ่ำยให้น้อยที่สุดเพื่อประหยัดงบประมำณรำยจ่ำย ง. ลดกำรกู้ยืมเงินจำกต่ำงประเทศเพื่อลดภำระจำกกำรก่อหนี้ 13. 14. ได้ ข้อใดกล่ำว ไม่ถ ูก ต้อ งเกี่ยวกับกำรบริหำรเงินคงคลัง ก. เงินฝำกในบัญชีคงคลังไม่มีดอกเบี้ย ข. เงินคงคลังมีน้อยจะเกิดปัญหำสภำพคล่อง ค. เงินคงคลังมีมำกเกินไปจะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ ง. เงินคงคลังส่วนเกินเมื่อนำำมำใช้จะเพิ่มภำระดอกเบี้ยให้รัฐบำล เพรำะเหตุใด กำรคลังท้องถิ่นจึงไม่สำมำรถสร้ำงควำมเข้มแข็งทำงกำรคลัง ก. เพรำะมีรำยได้ในกำรจัดเก็บเท่ำกับรำยจ่ำย ข. เพรำะมีรำยจ่ำยประจำำมำกกว่ำรำยได้ที่จัดเก็บในท้องถิ่น ค. เพรำะเงินส่วนใหญ่มำจำกเงินอุดหนุนที่ได้รับจำกรัฐบำล ง. เพรำะกำรคลั ง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น ขำดควำมรู้ ค วำมเชี่ ย วชำญในกำรบริ ห ำรงบ ประมำณท้องถิ่น 15. รัฐบำลสำมำรถใช้เครื่องมือใดในกำรสร้ำงควำมเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจ ก. นโยบำยกำรเงิน ข. นโยบำยกำรคลัง ค. นโยบำยกำรเงิน และกำรคลัง ง. ควำมแตกต่ำงทำงด้ำนอุปสงค์ - อุปทำน แบบทดสอบ หน่ว ยกำรเรีย นรู้ท ี่ 4 คำำ ชี้แ จง ให้กำ  ทับตัวอักษรหน้ำข้อควำมที่เป็นคำำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. สหกรณ์เป็นกำรรวมตัวของกลุ่มบุคคลที่มีจุดมุ่งหมำยอย่ำงเดียวกัน โดยมีหลัก กำรสำำคัญในข้อใด ก. มีสิทธิเสมอกัน แต่มุ่งช่วยเหลือผู้ที่มีฐำนะยำกจน ข. มีกฎระเบียบข้อบังคับตรงตำมกฎหมำย ไม่มีกำรแก้ไข
  • 6. ค. ยึ ด หลั ก ประชำธิ ป ไตย ไม่ แ สวงหำกำำ ไร มี ก ำรแบ่ ง ปั น ผลประโยชน์ อ ย่ ำ ง ยุตธรรม ิ ง. มี ปั จ จั ย กำรผลิ ต เช่ น เดี ย วกั บ ธุ ร กิ จ ทั่ ว ไป แต่ มี ก ำรบริ ห ำรจั ด กำรภำยใน ชุมชนเท่ำนั้น 2. บิดำแห่งกำรสหกรณ์ของโลกคือใคร ก. นำยฟรีตริก วิลเฮล์ม ไรฟ์ไฟเซน คิง ค. นำยเฮอร์มัม ซูลซ์ ข. นำยแพทย์ วิ ล เลี ย ม ง. โรเบิร์ต โอเวน 3. สหกรณ์แรกที่เกิดขึ้นในโลก ก่อตั้งจำกกลุ่มอำชีพใด ก. ทอผ้ำ ข. เกษตร ค. ประมง ง. ร้ำนค้ำ 4. สหกรณ์แห่งแรกของไทย จัดตั้งขึ้นที่จังหวัดใด ก. กรุงเทพมหำนคร ค. เชียงใหม่ ง. ข.พิษณุโลก ปทุมธำนี 5. ส ห ก ร ณ์ ใ ด ที่ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ ล ด ค่ ำ ใ ช้ จ่ ำ ย ใ น ค ร อ บ ค รั ว ก. สหกรณ์กำรเกษตร ข.สหกรณ์ออมทรัพย์ ค. สหกรณ์ร้ำนค้ำ ง. สหกรณ์บริกำร 6. ร้ำนสหกรณ์บ้ำนสินใช้ ซึ่งเป็นร้ำนสหกรณ์แห่งแรกของไทยอยู่ที่จังหวัดใด ก. เชียงรำย ข. พิษณุโลก ค. กรุงเทพมหำนคร ง. พระนครศรีอยุธยำ 7. สหกรณ์จะประสบควำมสำำเร็จนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยสำำ คัญหลำยประกำร ยกเว้น ข้อใด ก. ผู้มีทุนทรัพย์คอยสนับสนุน ข. สมำชิกมีควำมรู้ในระบบสหกรณ์ ค. คณะกรรมกำรดำำเนินงำนมีควำมซื่อสัตย์ ง. ผู้จัดกำรและเจ้ำหน้ำที่มีควำมรู้ควำมสำมำรถ 8. ข้อใดเป็นปัญหำสำำคัญของเศรษฐกิจในชุมชน ก. ประชำชนจำำนวนมำกอยู่ในวัยเด็กมำกกว่ำผู้ใหญ่ ข. ควำมยำกจน ขำดแคลนบุคลำกรที่มีควำมรู้ ค. เส้นทำงกำรคมนำคมไม่สะดวก ง. ระบบกำรสื่อสำรล่ำช้ำ
  • 7. 9. แนวทำงกำรแก้ปัญหำเศรษฐกิจในชุมชนโดยกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งในชุมชน ที่สำำคัญคือข้อใด ก. ประชำชนร่วมมือกันแก้ปัญหำ และรู้จักใช้ทรัพยำกรในท้องถิ่นอย่ำงคุ้มค่ำ ข. ตัวแทนองค์กรของรัฐเข้ำไปช่วยแนะนำำแนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ ค. ร่วมมือกันสร้ำงเส้นทำงกำรคมนำคมและสำธำรณสมบัติ ง. ประชำชนทุกคนรวมตัวกันจัดตั้งสหกรณ์กำรเกษตร 10. ชุมชนไม้งำมเป็นชุมชนที่สมำชิกทุกคนร่วมมือกันพัฒนำอำชีพและใช้ ทรัพยำกรอย่ำงเหมำะสม จะส่งผลดีตอชุมชนมำกที่สุดในข้อใด ่ ก. สำมำรถอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติให้ยั่งยืน ข. สมำชิกในชุมชนมีรำยได้ที่มั่นคง ค. เป็นชุมชนตัวอย่ำงของชุมชนอื่น ง. พัฒนำชุมชนให้เข้มแข็ง แบบทดสอบ หน่ว ยกำรเรีย นรู้ท ี่ 2 คำำ ชี้แ จง ให้กำ  ทับตัวอักษรหน้ำข้อควำมที่เป็นคำำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดจัดเป็นหน่วยเศรษฐกิจ ก. บริษัท ห้ำงร้ำน ห้ำงหุ้นส่วน ข. ครัวเรือน ธุรกิจ องค์กรรัฐบำล ค. บริษัท ห้ำงสรรพสินค้ำ องค์กำรโทรศัพท์ ง. สหกรณ์ ธนำคำร บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ 2. ข้อควำมใดสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจ ก. กำรดำำเนินกิจกรรมต่ำงๆ ของรัฐบำลที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ข. กำรดำำเนินงำนต่ำงๆ ที่มีควำมเกี่ยวข้องกับผู้ผลิตจำำนวนมำก ค. กำรนำำปัจจัยกำรผลิตออกสู่ตลำดในรูปแบบต่ำงๆ เพื่อประโยชน์ต่อผู้ผลิต แต่คำำนึงถึง ควำมเป็นธรรมของผู้บริโภค ง. ควำมร่วมมือ กันของมนุ ษ ย์ ใ นกำรสร้ ำ งและใช้ ท รั พ ยำกร เพื่ อ สนองควำม ต้องกำรของสมำชิกใน สังคมที่มีกำรปฏิบัติคล้ำยคลึงกัน 3. ข้อใดจัดเป็นลักษณะของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ก. มีกิจกรรมที่แสดงถึงกำรคุ้มครองสวัสดิภำพของแรงงำน ข. รัฐจะเข้ำไปควบคุมกิจกำรสำธำรณูปโภค และกิจกำรธนำคำร ค. กำรดำำเนินกิจกรรมทำงด้ำนเศรษฐกิจโดยผ่ำนกลไกรำคำ
  • 8. ง. เอกชนสำมำรถดำำเนินกิจกำรทำงด้ำนอุตสำหกรรมร่วมกับรัฐบำลได้ 4. ในระบบเศรษฐกิจที่มีผู้ผลิตน้อยรำย จะส่งผลสำำคัญในเรื่องใด ก. ผู้ผลิตมีกำำไรมำก ข. ทำำให้เกิดกำรผูกขำดกำรผลิต ค. ผู้บริโภคเลือกซื้อสินค้ำได้น้อยลง ง. มีกำรทำำลำยทรัพยำกรธรรมชำติลดน้อยลง 5. ข้ อ ใ ด เ ป็ น ข้ อ ดี ข อ ง ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ บ บ ทุ น นิ ย ม ก. กำรแข่งขันกันขำยสินค้ำทำำให้คุณภำพของสินค้ำดีขึ้น ข. มีกำรกระจำยรำยได้ของประชำชนสูงขึ้นอย่ำงเท่ำเทียมกัน ค. เอกชนสำมำรถตัดสินใจผลิตสินค้ำได้อย่ำงเสรีไม่ถูกจำำกัดจำกรัฐบำล ง. ผู้บริโภคและผู้ผลิตมีสิทธิเสรีภำพเท่ำเทียมกันในเรื่องของกำรตัดสินใจ ผลิตและบริโภค 6. ลักษณะเด่นของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมเป็นอย่ำงไร ก. รัฐและเอกชนร่วมมือกันประกอบธุรกิจขนำดใหญ่ เพื่อประโยชน์ของประเทศ ข. รั ฐ ควบคุ ม กิ จ กำรธนำคำร อุ ต สำหกรรมขั้ น พื้ น ฐำน และกิ จ กำร สำธำรณูปโภค ค. ผู้ผลิตต้องแบ่งปันผลประโยชน์ เพื่อเป็นสวัสดิกำรประชำชน ง. ผู้ประกอบกิจกำรธุรกิจขนำดใหญ่มีเสรีภำพในกำรผลิต 7. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมมีข้อเสียอย่ำงไร ก. กำรลงทุนในธุรกิจต่ำงมีต้นทุนมำก แต่มีกำำไรน้อย ข. รัฐบำลเข้ำไปแทรกแซงกลไกรำคำต่อผู้ผลิตทุกประเภท ค. ประชำชนไม่มีเสรีภำพอย่ำงเต็มที่ในกำรทำำธุรกิจที่ต้องกำร ง. มี ก ำรผู ก ขำดรำคำสิ น ค้ ำ ที่ เ อกชนเป็ น ผู้ ผ ลิ ต และประชำชนไม่ ไ ด้ รั บ สวัสดิกำรจำกรัฐบำล 8. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมมีข้อดีอย่ำงไร ก. ประชำชนมีอำำนำจต่อรองรำคำสินค้ำ ข. เอกชนมีแรงจูงใจในกำรผลิตหรือคิดค้นสิ่งใหม่ๆ ค. ธุรกิจขนำดใหญ่มีกำำไรมำก เพรำะมีกำรรวมกลุ่มกัน ง. ประชำชนได้รับกำรดูแลเกี่ยวกับสวัสดิกำรจำกรัฐค่อนข้ำงดี 9. ระบบเศรษฐกิจแบบผสมมีลักษณะเด่นอย่ำงไร
  • 9. ก. รัฐไม่แทรกแซงราคาสินค้าหรือธุรกิจทุกขนาด ข. รัฐมีหน้าที่อำานวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการขนาดเล็ก ค. รัฐเข้าไปดำาเนินกิจกรรมอุตสาหกรรมประเภทการบริการและการท่องเที่ยว ง. รัฐบาลมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเศรษฐกิจหลายด้าน เพื่อให้เกิดความเป็น ธรรมทางเศรษฐกิจ 10. ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบผสมคืออะไร ก. รั ฐ บาลสามารถเข้า ไปควบคุ ม หรื อ อกกฎหมายเพื่ อ กำา กั บ ถ้ า เอกชนดำา เนิ น กิจกรรมทางเศรษฐกิจ จนสร้างความเดือดร้อนต่อประชาชน ข. รายได้ของแรงงานมีจำานวนเท่าเทียมกันทุกคน ส่งผลให้ประชาชนมีความ ตั้งใจในการทำางาน ในองค์กรธุรกิจอย่างเต็มที่ ค. เอกชนมีกำาลังใจในการผลิตสินค้าตามนโยบายของรัฐบาล ง. การบริหารงานขององค์กรธุรกิจมีประสิทธิภาพ ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบผสมคืออะไร ก. ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ข อ ง รั ฐ ใ น กิ จ ก า ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม บ า ง ป ร ะ เ ภ ท ข า ด ประสิทธิภาพเมื่อเทียบกับเอกชน ข. เอกชนมีบทบาทสำาคัญในการแข่งขันกันผลิตสินค้ากับรัฐบาล ทำาให้เกิดการ เปรียบเทียบ ค. รายได้จากการผลิตสินค้าต้องถูกนำา มาแบ่งปันให้รัฐในรูปแบบของการเสีย ภาษี ง. เอกชนมีพลังอำานาจการต่อรองการผลิตและการบริการกับรัฐบาล 11. 12. ข้อความเกี่ยวกับตลาด ข้อใดถูกต้อง ก. ประเทศใดใช้นโยบายการค้าเสรีกับประเทศต่างๆ ตลาดสินค้าจะกว้าง ขวาง ข. พ่อค้าคนกลางจะเป็นผู้ที่มีอำานาจในการค้าขายที่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด ค. ตลาดจะมีอาณาเขตกว้างขวางเพียงใดขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐ ง. สินค้าขนาดเล็ก เคลื่อนย้ายได้ง่าย จะมีอาณาเขตแคบ 13. ข้อใดเป็นตลาดปัจจัยการผลิต ก. ตลาดหลักทรัพย์ ข. ตลาดเสื้อผ้า อาหาร ค. ตลาดซื้อขายเครื่องสูบนำ้า ง. ตลาดซื้อเงินตราต่างประเทศ
  • 10. 14. ตลาดที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์มีลักษณะสำาคัญ ยกเว้น ข้อใด ก. ธุรกิจรายใหม่มีน้อย ผู้ขายมีอิทธิพลในการกำาหนดราคา ข. ผู้ซื้อและผู้ขายจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับสภาวะตลาด ค. สินค้าที่ซื้อหรือขาย จะต้องมีลักษณะอย่างเดียวกัน ง. การติดต่อซือขายจะต้องกระทำาโดยสะดวก ้ 15. ข้อความใด ไม่ส อดคล้อ งกับกฎของอุปสงค์ (Law of demand) ก. เมื่อทุเรียนมีราคาถูก คนก็จะซื้อทุเรียนมากขึ้น ข. เมื่อเงาะมีราคาแพง คนก็จะซื้อเงาะจำานวนน้อยลง ค. เมื่อโทรศัพท์มือถือราคาลดลง คนก็จะซื้อโทรศัพท์มือถือมากขึ้น ง. เมื่อยางพารามีราคาแพงขึ้น มีผลให้ตลาดต่างประเทศงดซื้อยางพาราของ ไทย 16. ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนดอุปสงค์คืออะไร ก. ราคาสินค้า รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน จำานวนประชากร ข. ฤดูกาล รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน ประเภทของสินค้า ค. ราคาสินค้า จำานวนประชากร รัฐบาล ประเภทสินค้า ง. การเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า จำานวนสินค้า 17. “ถ้าราคาสินค้าลดลง ผู้ผลิตสินค้าออกมาจำาหน่ายลดลง ถ้าราคาสินค้าเพิ่มขึ้น ผู้ผลิตสินค้าจะผลิตสินค้าออกมาจำาหน่ายเพิ่มขึ้น ” ข้อความดังกล่าวสอดคล้อง กับข้อใด ก. อุปสงค์ ข. อุปทาน ค. กฎของอุปสงค์ ง. กฎของอุปทาน 18. ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนดอุปทานคืออะไร ก. รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน ข. จำานวนผู้ผลิตหรือผู้ขาย ค. ความนิยมของผู้ผลิต ง.ฤดูกาล 19. ระดับราคาที่จำานวนสินค้าที่ผู้บริโภคต้องการซื้อขณะนั้น จะเท่ากับจำานวน สินค้าที่ผู้ผลิตจะผลิต ออกมาจำาหน่ายในขณะเดียวกันพอดี เรียกว่าอะไร ก. ราคาดุลยภาพ ข. ราคายุติธรรม ค. ราคาของผู้ผลิต ง. ราคาของผู้บริโภค 20. หลักเกณฑ์ในการกำาหนดราคาสินค้าในเชิงกลยุทธ์ ข้อใดไม่ถ ูก ต้อ ง
  • 11. ก. ข. ค. ง. กำาหนดราคาขายแตกต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะของผู้ซื้อ กำาหนดราคาขายให้แตกต่างกันตามปริมาณสินค้าที่ซื้อ กำาหนดราคาสินค้าตามวัตถุประสงค์ของผู้ถือหุ้น กำาหนดราคาสินค้าตามช่วงเวลาที่ต่างกัน 21. การแทรกแซงด้านราคาของรัฐ สามารถทำา ได้หลายรูปแบบ ย กเ ว้น ข้อใด ก. การควบคุมราคาสินค้าไม่ให้สูงขึ้น ข. รัฐกำาหนดราคาสินค้าทุกประเภท ค. การรับจำานำาสินค้าเกษตร ง. การประกันราคา 22. กลไกสำาคัญที่เป็นตัวกำาหนดค่าจ้างคืออะไร ก. การกำาหนดราคาของรัฐ ข. อุปสงค์ต่อผู้บริโภค และอุปทานของผู้ผลิต ค. อุปสงค์ต่อแรงงาน และอุปทานของแรงงาน ง. อุปสงค์ต่อแรงงาน และการกำาหนดราคาของผู้ผลิต 23. ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีระบบเศรษฐกิจแบบใด ก. ทุนนิยม ข. เสรีนิยม ค. แบบผสม ง. สังคมนิยม 24. อัตราค่าจ้างขั้นตำ่าของกรุงเทพมหานคร วันละเท่าใด ก. 200 บาท ข. 206 บาท ค. 260 บาท ง. 300 บาท 25. พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฉบับปัจจุบันมีความสำา คัญในข้อใดมาก ที่สด ุ ก. กำาหนดราคาค่าจ้างของแรงงานทั่วประเทศ ข. ควบคุมนายจ้างให้มีสวัสดิการที่ดีต่อแรงงาน ค. แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งระหว่างลูกจ้างและนายจ้าง ง. กำาหนดราคาค่าจ้างขั้นตำ่าสำาหรับแรงงานในโรงงาน
  • 12. แบบทดสอบ หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 1 คำา ชี้แ จง ให้กา  ทับตัวอักษรหน้าข้อความที่เป็นคำาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดเป็นปัจจัยสำาคัญที่ทำา ให้ประชาชนให้ความร่วมมือต่อนโยบายเศรษฐกิจ ของรัฐบาล ก. รัฐบาลมีการประชาสัมพันธ์ดี ข. ประชาชนมีฐานะทางเศรษฐกิจดี ค. ประชาชนมีความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ ง. ผู้นำารัฐบาลมีความรู้ทางด้านเศรษฐกิจเป็นอย่างดี 2. เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องใด ก. รายได้และรายจ่ายประชาชาติ ข. การจ้างงาน การออม การลงทุน การเงิน การค้า ค. การศึกษาปัญหาต่างๆ ที่กระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ ง. การผลิตสินค้าและบริการ การกำาหนดราคาสินค้า การกระจายสินค้าจากผู้ ผลิตไปยังผู้บริโภค 3. เศรษฐศาสตร์มหภาค เป็นการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องใด ก. อิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อรายได้ประชาชน ข. การกระจายสินค้าไปยังผู้บริโภคในแต่ละพื้นที่ ค. การจัดสรรทรัพยากรในการผลิตสินค้าและบริการ ง. การศึ ก ษาในเรื่ อ งราคาสิ น ค้ า การบริ โ ภคสิ น ค้ า ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง องค์กรผู้ผลิต 4. วิชาเศรษฐศาสตร์มีเป้าหมายสำาคัญในการให้ความรู้ต่อประชาชนในข้อใด ก. เพื่อให้รู้จักเลือกใช้สินค้าราคาถูกที่สุด เพื่อเป็นการลดภาระค่าใช้จ่าย ข. เพื่อให้รู้จักเลือกใช้สินค้าให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและครอบครัวมากที่สุด ค. เพื่อให้รู้จักการวางแผนการใช้จ่ายเงิน และการเลือกใช้สินค้าที่มีอยู่อย่างพอ เพียง ง. เพื่อให้รู้จักการตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำา กัดในการบริโภค และใช้ในทางที่ดีที่สุด 5. ประเทศต่ า งๆ ประสบปั ญ หาพื้ น ฐานทางเศรษฐกิ จ คล้ า ยคลึ ง กั น อย่ า งไร ก. แรงงาน และต้นทุนการผลิตค่อนข้างสูง ทำาให้มีกำาไรตำ่ามาก
  • 13. ข. ทรัพยากรของประเทศแต่ละประเทศลดน้อยลงไปจากเดิมมาก ค. ความไม่พอดีกันระหว่างความต้องการของมนุษย์ และสิ่งที่จะมาตอบสนอง ความต้องการ ง. การหาตลาดส่งออกสิ นค้ าที่ ผลิ ตได้น้อยเนื่ องจากมี คู่ แข่ งในการผลิ ต สินค้าจำานวนมากขึ้นกว่าเดิม 6. ข้อใดจัดเป็นปัจจัยในการผลิต ก. ผู้ประกอบการ ที่ดิน แรงงาน การบริการ ข. แรงงาน ทรัพยากรธรรมชาติ ค่าเช่า ค. ที่ดิน แรงงาน ทุน ผู้ประกอบการ ง. ทุน เครื่องจักร ทรัพยากร ทีดิน ่ 7. การใช้ ป ระโยชน์ จ ากสิ่ ง ของและบริ ก าร เพื่ อ สนองความต้ อ งการของมนุ ษ ย์ สอดคล้องกับข้อใด ก. ผู้ผลิต ข. ผู้บริโภค ค. ปัจจัยพื้นฐาน ง. ผู้ประกอบการ 8. ผู้บริโภคจะเลือกซื้อสินค้า โดยคำานึงเรื่องใดมากที่สุด ก. สินค้าราคาถูกแต่มีคุณภาพดี ข. คุณภาพของสินค้าที่ได้มาตรฐานและราคาตำ่า ค. รายได้ที่มีอยู่อย่างจำากัด และความเหมาะสมของราคาสินค้า ง. ความพอใจสูงสุดภายใต้รายได้และทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำากัด ข้อใดจัดเป็นการกระจายรายได้ตามหน้าที่ในการผลิต ก. ทีดิน แรงงาน กำาไร ค่าจ้างข. ค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย กำาไร ่ ค. ทุน ค่าเช่า ดอกเบี้ย แรงงาน ง. ต้ น ทุ น กำา ไ ร ด อ ก เ บี้ ย แรงงาน 9. 10. ผู้ผลิตสินค้าจะมีกำาไรสูงขึ้นด้วยวิธีการหลายอย่าง ยกเว้น ข้อใด ก. มีการประชาสัมพันธ์สินค้าและบริการได้มากกว่าผู้ผลิตรายอื่น ข. ผลิตสินค้าตรงตามความต้องการและรสนิยมของผู้บริโภค ค. มีการกระจายสินค้าสู่ผู้บริโภคได้มากที่สุด ง. องค์กรของรัฐสนับสนุนสินค้าและบริการ