SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 77
Descargar para leer sin conexión
คําแนะนําในการเรียน

         บทเรียนนี้เปนบทเรียนโปรแกรม จัดทําขึนเพื่อใหนกเรียนศึกษาดวยตนเอง
                                                  ้     ั
โปรดอานคําแนะนํากอนศึกษาบทเรียน ดังตอไปนี้
         ๑. บทเรียนนี้เปนบทเรียนสําเร็จรูปมีทั้งหมด ๔๔ กรอบ ใชเวลาในการเรียน
๓ ชั่วโมง
         ๒. ศึกษาจุดประสงคการเรียนรู แลวนักเรียน
จะทราบวา เมือเรียนจบแลวนักเรียนจะไดความรูอะไร
               ่
         ๓. ทําแบบทดสอบกอนเรียนตามความเขาใจ
ของนักเรียน ตอบผิดไมเปนอะไร เพราะถาศึกษาเอกสารตอไป
จะตอบไดถูกตองในภายหลัง
         ๔. บทเรียนนี้ไมใชขอทดสอบ ไมตองกังวลใจ
ทําไปชา ๆ ทีละกรอบ นักเรียนจะไดรับความรู
ไดทําแบบฝกหัดและไดทํากิจกรรมตาง ๆ ดวยตัวเอง
         ๕. ขณะศึกษาบทเรียนและปฏิบัติกิจกรรม
ไมดูเฉลย เมื่อตอบผิดใหกลับไปศึกษาเนื้อหา
ในกรอบเดิมแลวลองตอบคําถามใหม
         ๖. เมื่อศึกษาครบทุกกรอบแลว
ใหทาแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความเขาใจอีกครั้งหนึ่ง
     ํ
         ๗. เมื่อเขาใจดีแลวศึกษาบทเรียนไดเลย
๒




                  สาระสําคัญ




                  หนังสืออางอิง
         คือหนังสือทีนาเสนอขอเท็จจริง
                     ่ ํ
  ซึ่งรวบรวมโดยผูทรงคุณวุฒหรือผูเชี่ยวชาญ
                               ิ
ในเนื้อหาหรือหัวขอนัน ๆ มีการเรียบเรียงเนื้อหา
                      ้
        ใหคนควาไดงาย สะดวก รวดเร็ว
                        
       และเปนทียอมรับกันจนใชอางอิงได
                ่
๓




                              แบบทดสอบกอนเรียน
                               เรื่อง หนังสืออางอิง

คําชี้แจง ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร ก ข ค หรือ ง
          ที่ถูกตองทีสุดเพียงขอเดียว
                      ่

   ๑. หนังสืออางอิงมีลกษณะอยางไร
                          ั
      ก. หนังสือที่มไมเกิน ๖๐ หนา
                     ี
      ข. หนังสือที่ใหความบันเทิงเปนหลัก
      ค. หนังสือที่มเี นื้อหาสาระเหมาะสําหรับเด็ก
      ง. หนังสือที่รวมขอเท็จจริงจากแหลงตาง ๆ นํามาเรียบเรียงเขาดวยกัน
           เพือใชประโยชนไดอยางรวดเร็ว
              ่
   ๒. เครื่องมือชวยคนในหนังสืออางอิงคือ
      ก. ดรรชนี
      ข. สารบัญ
      ค. อักษรนําเลม
      ง. บรรณานุกรม
   ๓. หนังสืออางอิงประเภทใดใหความหมายของคํา
      ก. สารานุกรม
      ข. พจนานุกรม
      ค. นามานุกรม
      ง. บรรณานุกรม
๔




๔. หนังสืออางอิงประเภทใดใหความรูในสาขาวิชาตาง ๆ เขียนโดยผูเ ชี่ยวชาญ
   ในสาขาวิชานัน ๆ
                 ้
   ก. สารานุกรม
   ข. พจนานุกรม
   ค. นามานุกรม
   ง. บรรณานุกรม
๕. สมุดรายนามผูใชโทรศัพทเปนหนังสืออางอิงประเภทใด
   ก. สารานุกรม
   ข. พจนานุกรม
   ค. นามานุกรม
   ง. บรรณานุกรม
๖. ประวัติของ พลเอกสุรยุทธ จุลานนท จะคนไดจากหนังสืออางอิงประเภทใด
   ก. สารานุกรม
   ข. นามานุกรม
   ค. พจนานุกรม
   ง. อักขรานุกรมชีวประวัติ
๗. หนังสืออางอิงประเภทใดใหแหลงความรู
   ก. สารานุกรม
   ข. พจนานุกรม
   ค. อักขรานุกรม
   ง. บรรณานุกรม
๕




   ๘. ตองการทราบวา “เขื่อนปาสักชลสิทธิ” ตั้งอยูที่จังหวัดใด ควรหาจากหนังสืออางอิง
                                         ์        
8. หนาใดของหนังสือทีนามาเขียนบรรณานุกรมในการทํารายงาน
                         ่ ํ
      ประเภทใด
       ก. หนาปกใน
        ก. สารานุกรม
       ข. พจนานุกเรื่อง
        ข. หนาชื่อ รม
       ค. หนงสือลิขสิท่ ธิ์
        ค. หนั าป แผนที
       ง. อักขรานุกรมภูมิศาสตร
        ง. หนาภาพพิเศษ
9. หนาประกาศคุณูปการบางสถาบัวาเรียทร”าควรคนหาจากหนังสืออางอิงประเภทใด
   ๙. ตองการทราบความหมายของคํา น “ภั กว หนาอะไร
      ก. สารานุกานํา
       จ. หนาคํ รม
       ข. พจนานุาอุทิศ
       ฉ. หนาคํกรม
       ค. อักขรานุกรม
       ช. หนาปลิขสิทธิ์
       ง. บรรณานุกรม
   ง. กิตงติกรรมประกาศ ่ใหขาวและเหตุการณที่เกิดขึ้นทั้งในและตางประเทศ
   ๑๐.หนั สืออางอิงประเภทใดที
10.บรรณานุกรมคืออะไร
      ในรอบป
   ก. ก.ญชีคํา
       บั พงศาวดาร
   ข. ข. จดหมายเหตุ
       รายชื่อเอกสาร
   ค. ค.วหนัง่อธิบายคําศัพท
       ส นที สือรายป
   ง. ง. รายงานประจําอความ
       แหลงที่มาของข
๖




เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน
   เรื่องหนังสืออางอิง



  ขอ         คําตอบ
   ๑             ง
  ๒              ก
  ๓              ข
  ๔              ก
  ๕              ค
   ๖             ง
  ๗              ง
  ๘              ง
  ๙              ข
  ๑๐             ค
๗




      ผลการเรียนรูที่คาดหวัง




นักเรียนสามารถใชหนังสืออางอิงประกอบการคนควาได




                        จุดประสงคการเรียนรู


   ๑. ใหรูจักประเภทและประโยชนของหนังสืออางอิง

   ๒. ใหรูจักลักษณะพิเศษของหนังสืออางอิงและ
      หลักการใชเบื้องตน
๘




                        หนังสืออางอิง

กรอบที่ ๑

             สวัสดีครับชมพู
         กําลังจะไปไหนหรือครับ



                                                   สวัสดีคะนล
                                            จะไปหาแพงใหทบทวน
                                             เรื่องหนังสืออางอิงคะ



      เราอธิบายใหฟงก็ได
    เราเปนคนถาม เธอตอบ
แตถาตอบไมได เราชวยเสริมให
        ตกลงไหมละครับ


                                       ตกลงคะ โอ! ลืมสนิทเลย
                                    วานลก็ทบทวนได ดีใจมากเลย
                                        เราจะไดไมตองไปไกล
                                  เพราะการบานวิชาอื่นยังไมเสร็จเลย
                                     และเราจะเปนลูกศิษยที่ดีคะ
๙




กรอบที่ ๒
                                      เราเริ่มตั้งแตความหมายเลยนะ
                                   หนังสืออางอิง หมายถึง หนังสือที่รวม
                               ขอเท็จจริงจากแหลงตาง ๆ นํามาเรียบเรียง
                               เขาดวยกัน เพือใชประโยชนไดอยางรวดเร็ว
                                               ่




   เขาใจแลวจะ แลวเราจะรูไดอยางไร
   วาหนังสือเลมนั้นเปนหนังสืออางอิง



                          ชมพูฟงนะลักษณะของหนังสืออางอิงมีดงนี้     ั
                         ๑. ผูแตงจะตองเปนผูทรงคุณวุฒิและเชียวชาญ
                                                                 ่
                              ในสาขาที่เขียน
                         ๒. มีวัตถุประสงคในการเขียนและขอเท็จจริง
                             ทีเ่ ชื่อถือได
                         ๓. มีการเรียบเรียงเนื้อเรื่องอยางเปนระบบ
                         ๔. เนื้อหาทันสมัยเสมอ เพราะปรับปรุงเรืองราว่
                             ใหม ๆ อยูเ สมอ
                         ๕. เปนหนังสือที่แจงขอบเขตเนื้อหาไวอยางชัดเจน
                         ๖. เปนหนังสือที่อานเฉพาะตอนที่ตองการเทานั้น
                         ๗. ใหความรูชัดเจน กะทัดรัด และจบในตัวเอง
                         ๘. เปนหนังสือที่หามยืมออกนอกหองสมุด
                                             
๑๐




กรอบที่ ๓
                      เอาละ มาถึงกรอบที่ ๓ เรื่องสวนชวยการคนควา
                      ของหนังสืออางอิง สวนแรกเปนอักษรนําเลม คือ
                        สวนปรากฏทีสันหนังสือ บอกใหรูวาหนังสือ
                                      ่                     
                        เลมนันใชคนเรื่องตั้งแตอักษรใดถึงอักษรใด
                              ้
                                   มีตัวอยางใหดนะครับ
                                                    ู




                        อักษรนําเลม


            ใช ใช เราเคยเห็น แตไมรูวา
                เรียกวาอักษรนําเลม




                                    เมื่อรูแลว เขาใจแลว ฟงแลว
                                    ลองตอบคําถามดูนะวา
                                     อักษรนําเลม คือ ……
๑๑




                     เฉลยกรอบที่ ๓


                                      อักษรนําเลม คือ สวนปรากฏ
                                   ที่สันหนังสือ เพื่อบอกใหทราบวา
                                หนังสืออางอิงเลมนันใชคนเรื่องตั้งแต
                                                      ้
                               ลําดับอักษรใดถึงอักษรใด ถูกไหมคะนล




 โอโฮ ! แคเริ่มตนก็ไปไดสวยแลว
  แบบนี้ไมรูวาสอนจระเขวายน้ํา
                            
หรือเปลา ไปกรอบตอไปเลยนะครับ
๑๒




กรอบที่ ๔

                               ดรรชนีริมหนากระดาษครับ (ดัด-ชะ-นี)
                            คือ สวนของริมหนากระดาษที่มีลกษณะเวา
                                                            ั
                          เปนรูปครึ่งวงกลมหรือแบบกระดาษที่ยนออกมา
                                                               ื่
                          เปนแถบเล็ก ๆ มีตัวอักษรกํากับ มักมีในหนังสือ
                                ที่มีความหนามาก ดูตัวอยางนะครับ




                       การศึกษาคนควา             ดรรชนีริม
                                                   หนากระดาษ




    ในหองสมุดโรงเรียนเราไมมใหเห็นเลย
                             ี
แตเหมือนจะเคยเห็นในงานสัปดาหหนังสือคะ




                                    ถาอยางนั้นก็ตอบคําถามเราไดเลย
                                    จะไดจําไมลืมยังไงละ
                                    ดรรชนีริมหนากระดาษ คือ…………..
๑๓




                      เฉลยกรอบที่ ๔



                             นี่จะคําตอบ คือ สวนของริมหนากระดาษ
                             ที่มีลักษณะเวาเปนรูปครึงวงกลมหรือแบบ
                            กระดาษที่ยนออกมาเปนแถบกระดาษเล็ก ๆ
                                        ื่
                            มีตัวอักษรกํากับ เห็นไหมเราจําไดไมลืมเลย
                                       เพราะลักษณะแปลกดี




        ใชได ชมพูเกงมากครับ
นี่นะเคาถึงไดบอกวา ความพยายาม
    อยูท่ไหน ความสําเร็จอยูท่นน
          ี                   ี ั่
         ไปสวนอื่นตอนะครับ
๑๔




กรอบที่ ๕

                        ชมพูเรามาดูเรืองสารบัญกันนะ
                                      ่



              เอาสิ เราก็อยากทราบเหมือนกัน
            นลอธิบายไดเลย เราจะตั้งใจฟงนะคะ


                     สารบัญ (สา-ระ-บัน) ใชเปนคูมือ
                    ในการเปดหาเรื่องที่ตองการในเลม
                        แบงเปนบท ตามเนื้อหา
                      และบอกเลขหนา ที่จะพบเรือง่
                             ดูตัวอยางครับ

                        สารบัญ
                                          หนา
            คํานํา
            (1)
            บทนํา                            1
            บทที่ 1 การคนควาวิจัย          3
                     ความหมาย                3
                     ประเภท                  3
                     การวางแผน              16
            บทที่ 2 แหลงและทรัพยากร
                     สารนิเทศ               17
            บรรณานุกรม                    184
            ภาคผนวก ก                     185
            ภาคผนวก ข                     194
๑๕




กรอบที่ ๖

                               ชมพูอยากรูไหมวา
                              “คํานําทาง” คืออะไร




            โถ ถามได นลรูอะไร ก็บอกเรา
        ใหหมดเลย หามปดบังแมแตเรื่องเดียว
             เรากลัวจะทําขอสอบไมไดคะ


                         ตกลงครับ คํานําทาง คือ คําที่อยูดานบน
                        ของหนากระดาษ อาจจะมีทงดานซายและ
                                                     ั้
                               ดานขวา หรืออยูกึ่งกลางหนา
                              แสดงคําเริ่มตนและคําสุดทาย
                         ของหนานั้น ๆ เธอตองเคยเห็นแน ๆ เลย
                        ตัวอยางนะครับ แลวไปกรอบตอไปไหวไหม




                                                คํานําทาง
๑๖




กรอบที่ ๗

              ชมพูรูจักสวนโยงไหมครับ




                                         ไมรูจักคะ คืออะไรหรือคะ




สวนโยง คือ การชี้ใหไปอานเรื่องที่มีกลาวไว
ในเลมนั้น เพือเปนการทบทวน ตอบคําถามนะ
              ่
สวนโยง คือ …………………………………..




                                     อยากรูคําตอบใชไหมคะ
                                 ไปฟงคําตอบตรงโนนดีกวา ไปคะ
๑๗




                 เฉลยกรอบที่ ๗



                                      ฟงดี ๆ นะนล
                        สวนโยง คือ การชี้ใหไปอานเรื่องที่มีกลาวไว
                                   ในเลมนั้น ถูกไหมคะ




            ถูกตองนะครับ
แหม ! ชมพู ลูกเลนมากเหลือเกินนะ
 อยากรูเรื่องตอไปก็ตามเราไปเลย
๑๘




กรอบที่ ๘

                              ถึงภาคผนวกกันแลว
                               เธอรูความหมายของคําวา
                              “ภาคผนวก” ไหมครับ




            ไมตองถามหรอก อธิบายไดเลยคะ




                              ภาคผนวก (พาก-ผะ-หฺนวก)
                              คือ สวนที่อธิบายเพิมเติมเนือหา
                                                      ่        ้
                              ใหเขาใจไดดียิ่งขึ้น อยูในสวนทายเลม




 ใชแลว เราเคยเห็นหนังสือบางเลม
 มีใหเห็น แตสวนนอยนะทีจะเห็นนะ
                          ่
๑๙




กรอบที่ ๙

                            ชมพูเธอเคยเห็นดรรชนีไหม




        ไมเคยเลยคะ คืออะไรหรือคะ



                    ดรรชนี (ดัด-ชะ-นี) คือ คําสําคัญหรือ
                    หัวขอสําคัญทีปรากฏในเรื่อง นํามาเรียง
                                  ่
                    ตามลําดับอักษร มีเลขหนากํากับไว
                    บอกใหทราบวาคํานันจะพบที่หนาใดบาง
                                        ้
                    บอกเราไดไหมวาดรรชนีคลายหนาอะไร




   ขอนึกกอนนะคะ
๒๐




                         เฉลยกรอบที่ ๙




                          นึกออกแลวคะ คลายหนาสารบัญคะ
                          และหนาดรรชนีเรียงตามตัวอักษรที่เธอ
                          บอก แตหนาสารบัญเรียงตามเนื้อหาคะ




เธอเกงมากเลยชมพู
 รูจักเปรียบเทียบดวย
๒๑




กรอบที่ ๑๐
                                ทีนถึงเรื่องประโยชนของหนังสืออางอิงละนะ
                                    ี้
                                ถาเธอรูชวยเราตอไดเลย
                                           




เราขึ้นกอนดีกวา และถาเราไมรูเธอก็ตอใหเราดวย
๑. เปนแหลงคนควาหาขอเท็จจริงในทุกสาขาวิชา
๒. เปนแหลงสงเสริมการศึกษาคนควาวิจัยทุกระดับ


                                 ๓. เปนแหลงที่สามารถคนหาคําตอบไดสะดวก
                                     รวดเร็ว เพราะมีการจัดเรียงลําดับ
                                     ตามตัวอักษร
                                 ๔. ทําใหเห็นประโยชนของการศึกษาที่
                                    มุงใหผูเรียนคนควาดวยตนเองเปนวิถทาง
                                                                        ี
                                    การศึกษาที่ถูกตองกวาวิธีอน
                                                               ื่


    นล เราอยากจะรูเรื่องประเภท
    ของหนังสืออางอิงวามีอะไรบาง
    เพราะเรารูจักไมกี่ประเภท
    บอกเราหนอยไดไหมคะ
๒๒




กรอบที่ ๑๑

                          ไดอยูแลว เราเริ่มเลยแลวกันนะ
                          หนังสืออางอิงมี ๒ ประเภท
                          ๑. หนังสืออางอิงที่ใหคําตอบหรือขอเท็จจริงทันที
                          ๒. หนังสืออางอิงที่บอกแหลงขอมูล
                          ชมพูอยากรูประเภทไหนกอนละครับ




เรียงเลยก็แลวกันนล เธอชวยอธิบาย
ใหเราฟง เราก็ขอบคุณเธอแลวละ อธิบาย
ใหละเอียดเลยนะของแตละประเภทเลยนะ




                               เธอนี่ขยันจริง ๆ ไดเลยตามสั่งครับ
                              เราจะอธิบายใหละเอียดตามที่เธอ
                              ตองการเลย ไปกันเลย
๒๓




กรอบที่ ๑๒

  ประเภทแรกนะ หนังสืออางอิงที่ใหคําตอบ
  หรือขอเท็จจริงในทันที แบงเปน ๗ ชนิดดังนี้




                              เดี๋ยว ขอเราตอบกอนเพราะรูจักนิดหนอย
                              ๑. พจนานุกรม
                              ๒. สารานุกรม
                                ตอบไดแคนแหละคะ เธอตอไดเลย
                                           ี้




 ก็ยังดีนะ ที่ยงพอรูจักบาง
               ั
 ๓. หนังสือรายปและสมพัตสร (สม-พัด-สอน)
 ๔. อักขรานุกรมชีวประวัติ (อัก-ขะ-รา-นุ-กฺรม-
      ชี-วะ-ปฺระ-หฺวัด)
 ๕. หนังสืออางอิงทางภูมิศาสตร
 ๖. ทําเนียบนามหรือนามานุกรม
 ๗. สิ่งพิมพรัฐบาล
 เราไปทําความรูจักทีละชนิดในกรอบตอไปนะครับ
๒๔




กรอบที่ ๑๓
                             ชนิดที่ ๑ คือ พจนานุกรม (พด-จะ-นา-นุ-กฺรม)
                             คือ ชมพูจะตอบบอกเองไหมครับ




  ไมละคะ เรารูวาเปนพจนานุกรมเพราะ
                 
  ที่ปกหนังสือเขียนไว แตเราไมรูความหมาย
  เธอบอกไดเลยคะ

                        พจนานุกรม คือ หนังสือที่ใหความรูเกียวกับคํา
                                                             ่
                        ใหรายละเอียดเกี่ยวกับตัวสะกด การออกเสียง
                        ประเภทของคํา ประวัติของคํา การใชคํา และอื่น ๆ
                        เรียงไวตามลําดับอักษร เพื่อความสะดวก
                        ในการคนหา ชมพูรูจักพจนานุกรมแลวนะ
                         ตอบคําถามเราเลย จะไดจําไดนะครับ
                         พจนานุกรม คือ …………………




  เธอชวยดูดวยนะวาเราตอบถูกไหม
๒๕




                       เฉลยกรอบที่ ๑๓



                            พจนานุกรม คือ หนังสือที่ใหความรูเกียวกับคํา
                                                                 ่
                            ใหรายละเอียดเกี่ยวกับตัวสะกด การออกเสียง
                            ประเภทของคํา ประวัติของคํา การใชคําและอื่น ๆ
                            เรียงไวตามลําดับอักษร




เกงมากชมพู เกงอยางนี้ตองใหรางวัล
นี่ครับรางวัลสําหรับคนเกง ไปรูจัก
ประเภทของพจนานุกรมกันเลยนะ
๒๖




กรอบที่ ๑๔

                              พจนานุกรมมี ๒ ประเภท คือ
                              ๑. พจนานุกรมภาษา
                              ๒. พจนานุกรมเฉพาะ
                              เราจะอธิบายใหฟงทีละประเภทนะ
                                              
                              เธอจะไดไมสับสน




       เธอชางดีกับเราจริง ๆ เลย




                                   ไมเปนอะไรหรอก ก็เธอเปนเพื่อนเรา
                                   มีอะไรเราก็ตองชวยเหลือกันจึงจะ
                                   ถูกตอง เราไปดูพจนานุกรมภาษา
                                   กันนะ
๒๗




กรอบที่ ๑๕

  พจนานุกรมภาษายังไดเปน ๓ ชนิด คือ
     ๑. พจนานุกรมภาษาเดียว
     ๒. พจนานุกรมสองภาษา
     ๓. พจนานุกรมหลายภาษา



                              โอโฮ ! ยังมีแบงแยกอีก เราเคยเห็นแต
                              พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน




เราจะอธิบายใหเธอฟงกอนพรอมตัวอยางนะ
พจนานุกรมภาษาเดียว คือ พจนานุกรมทีมี ่
ภาษาเดียว เชน ภาษาไทยเปนภาษาไทย หรือ
ภาษาอังกฤษเปนภาษาอังกฤษ ดังตัวอยาง
๒๘




                             เพราะฉะนันพจนานุกรม
                                      ้
                             ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
                             ก็เปนพจนานุกรมภาษาเดียวนะสิ




ถูกตองแลวครับ ตอไปเลยนะครับ
พจนานุกรมสองภาษา คือพจนานุกรมที่
รวบรวมคําศัพทในภาษาหนึงและอธิบาย
                            ่
คําศัพทนั้นเปนอีกภาษาหนึง ดังตัวอยาง
                          ่




                                    แลวพจนานุกรมหลายภาษาละคะ


พจนานุกรมหลายภาษา คือ พจนานุกรมทีให   ่
คําศัพทในภาษาหนึง แลวใหคําอธิบายเปน
                 ่
ภาษาอืน ๆ ตังแตสองภาษาขึ้นไป ดังตัวอยาง
       ่    ้
๒๙




กรอบที่ ๑๖

                              นล เธอนี่ใหรายละเอียด พรอมตัวอยาง
                              เลยนะ ทําใหเราเขาใจดีย่งขึนเลยละ
                                                       ิ ้




เราเขาใจเธอ เพราะเราก็เปนเชนนันเหมือนกัน
                                 ้
ตอนะ พจนานุกรมเฉพาะวิชา คือ พจนานุกรมที่
รวบรวมคําศัพทเฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึง หรือ
                                        ่
อาจรวมสาขาวิชาที่เกียวของไวดวย ดังตัวอยาง
                    ่




                                         แลวพจนานุกรม ใชกันอยางไรคะ
๓๐




กรอบที่ ๑๗


   ใจรอนจริงชมพู เรากําลังจะบอกอยูพอดีเลย




                          ก็เพราะเปนวัยรุนนี่ แถมยังไฟแรงซะดวย




   วิธีใชพจนานุกรม
๑. ดูคําที่ตองการคนวาเปนคําทั่วไปหรือเปนศัพทเฉพาะ
๒. เลือกประเภทของพจนานุกรมใหสอดคลองกับประเภท
    ของคําคน
๓. อานคําแนะนําวิธีใชพจนานุกรมนัน ๆ ซึ่งจะอยู
                                       ้
    ในสวนตนของเลม
๔. ใชเครื่องมือชวยคนเพื่อหาคําที่ตองการ เชน
    คํากํากับหนา
จบเรื่องพจนานุกรมแลวครับ ชวยบอกวิธการใชพจนานุกรม
                                         ี
      ใหเราฟงหนอยนะ เราจะไดรูวาเธอเขาใจ
๓๑




                       เฉลยกรอบที่ ๑๗

                            วิธีใชพจนานุกรม
                         ๑. ดูคําที่ตองการคนวาเปนคําทั่วไปหรือ
                             เปนศัพทเฉพาะ
                         ๒. เลือกประเภทของพจนานุกรมใหสอดคลอง
                             กับประเภทของคําคน
                         ๓. อานคําแนะนําวิธีใชพจนานุกรมนัน ๆ ซึ่งจะอยู
                                                                ้
                             ในสวนตนของเลม
                         ๔. ใชเครื่องมือชวยคนเพื่อหาคําที่ตองการ เชน
                             คํากํากับหนา
                         ถูกไหมเอย




เกงมากเพื่อนเรา เราไปดูเรื่องตอไปเลยนะ
คือเรื่องสารานุกรมครับ
๓๒




กรอบที่ ๑๘

      สารานุกรม เปนแหลงความรูที่สมบูรณ
โดยรวบรวมความรูทุกสาขาวิชาไวในเลมเดียวกัน
                  
หรือชุดเดียวกัน โดยความรูและเรื่องราวเหลานั้น
                            
  อยูในรูปของบทความหรือสรุปความ มีเนื้อหา
  จบลงในตัวเอง จัดเรียงตามลําดับอักษรของ
                    หัวเรื่อง



                                        สารานุกรมมีหลายประเภท
                                        เหมือนพจนานุกรมไหมคะ




 ถูกตองครับ แตถาเธอตอบคําถามเราได
 เราจะพาเธอไปรูจักกับประเภทของ
 สารานุกรม คําถามมีอยูวา สารานุกรม
                       
 คือ …………………………….



                                  ไดเลยคะนล รับรองเธอจะตองพาเรา
                                  ไปรูจักกับประเภทของสารานุกรมแน ๆ
๓๓




                      เฉลยกรอบที่ ๑๘



                                 คือ แหลงรวบรวมความรูทุกสาขาวิชาไวใน
                                 เลมเดียวกันหรือชุดเดียวกัน โดยความรูและ
                                 เรื่องราวเหลานั้นอยูในรูปของบทความหรือ
                                 สรุปความ มีเนื้อหาจบลงในตัวเอง จัดเรียง
                                 ตามลําดับอักษรของหัวเรื่อง
                                 เปนอยางไรเห็นคําตอบของเราแลวอึ้งเลย




เธอนี่เกงจริง ๆ เลยชมพู เรายอมรับเลย
ตามสัญญาครับ ไปทําความรูจกกับั
ประเภทของสารานุกรมกันเลย
๓๔




กรอบที่ ๑๙
                         สารานุกรมแบงเปนประเภทใหญ ๆ
                         ได ๒ ประเภท ครับ คือ
                              ๑. สารานุกรมทัวไป
                                             ่
                              ๒. สารานุกรมเฉพาะวิชา




ชักสนใจแลวสิ วาแตละประเภท
        เปนอยางไร




                               ถาสนใจก็อยารอชา ตามไปเลยครับ
๓๕




กรอบที่ ๒๐
          ๑. สารานุกรมทั่วไป เปนสารานุกรมที่
  รวบรวมความรูพื้นฐานทุกแขนงวิชาไวในเลม
  เดียวกันหรือชุดเดียวกัน ดังตัวอยาง




                                  แลวสารานุกรมเฉพาะวิชาละ




        ๒. สารานุกรมเฉพาะวิชา จัดทําขึ้นสําหรับ
ผูสนใจเฉพาะสาขาวิชา หรือเฉพาะดานนัน ๆ
                                      ้
อยางละเอียด ลึกซึ้งกวาสารานุกรมทัวไป ดังตัวอยาง
                                   ่
๓๖




กรอบที่ ๒๑
                         สารานุกรมก็มลักษณะเฉพาะเหมือนกัน ดังนี้ครับ
                                      ี
                         ๑. เปนหนังสือที่ใหความรูพื้นฐานทุกสาขาวิชา
                                                   
                         ๒. เขียนโดยผูเชี่ยวชาญในแตละสาขาวิชา
                         ๓. มีดรรชนีใหสามารถคนหัวเรื่องยอยไดโดยละเอียด
                         ๔. เสนอความรูที่ทนเหตุการณอยูเสมอ
                                             ั
                         ๕. มีทงชนิดเลมเดียวจบและชนิดเปนชุดหลายเลมจบ
                                ั้




ชมพูเมื่อรูอยางนี้แลว บอกลักษณะเฉพาะ
ของสารานุกรมใหเราฟงใหชื่นใจหนอย
ไดไหมครับ




                                          ไดเลยคะ ลองฟงดูนะ ถาไมถูกตอง
                                          บอกเราดวยจะไดแกไขใหถูกตองคะ
๓๗




                   เฉลยกรอบที่ ๒๑


                        ๑. เปนหนังสือที่ใหความรูพื้นฐานทุกสาขาวิชา
                                                  
                        ๒. เขียนโดยผูเชี่ยวชาญในแตละสาขาวิชา
                        ๓. มีดรรชนีใหสามารถคนหาหัวเรื่องยอยได
                           โดยละเอียด
                        ๔. เสนอความรูที่ทนเหตุการณอยูเสมอ
                                            ั
                        ๕. มีทงชนิดเลมเดียวจบ และชนิดเปนชุด
                               ั้
                           หลายเลมจบถูกไหมนล




เธอเกงมากเลยชมพู เขาใจไดเร็ว
 เราขอชมจากใจจริงครับ
๓๘




กรอบที่ ๒๒

                                     ชมพู เธอใชสารานุกรมเปนไหมครับ




 ไมรูวาถูกไหม เปดดูสารบัญถามี
 เรื่องที่ตองการก็ถือวาใชได ถาวิธนี้
                                      ี
 ไมถูกตอง นลแนะนําเราดวยนะ

                                   วิธีการใชสารานุกรม
                              ๑. ดูวาเรื่องที่ตองการเปนความรูพนฐานหรือความรู
                                                                 ื้
                                 เปนเรื่องเฉพาะวิชา
                             ๒. เลือกใชสารานุกรมใหถกกับเรื่องที่ตองการ เชน
                                                          ู          
                                ๒.๑ ความรูพื้นฐานงาย ๆ สัน ๆ ใชสารานุกรมทัวไป
                                                             ้                  ่
                                     สําหรับเยาวชน
                                ๒.๒ ความรูเฉพาะวิชา ใหใชสารานุกรมเฉพาะวิชา
                              ๓. ดูดรรชนีเพื่อดูเรื่องทีตองการคนหาวาอยูในเลมใด
                                                        ่
                                  หนาเทาไร โดยใหถูกกับลักษณะของสารานุกรม
                                  เชน
                                  ๓.๑ ดูดรรชนีทายเลม (สารานุกรมบางชุดอยู
                                          ดานหนา)
                                  ๓.๒ ดูดรรชนีที่เลมสุดทายของชุด (บางชุด
                                         อยูทายเลม)
                                  ๔. ดูอกษรนําเลมหรือที่สันหนังสือ
                                          ั
๓๙




กรอบที่ ๒๓


          ชมพูหนังสือรายปแลวนะ รูจกไหมเอย
                                   ั




                                ตอบงาย ๆ เลยคะ ไมรูจกคะ
                                                        ั




หนังสือรายป เปนหนังสืออางอิงที่รวบรวมความรู
และขอเท็จจริงตาง ๆ ในรอบป จัดพิมพสม่ําเสมอ
เปนรายป โดยมีจุดมุงหมายเพื่อรวบรวมเรืองราว
                                        ่
เหตุการณความเคลื่อนไหวทีสําคัญของประเทศ
                           ่
และภูมิภาคตาง ๆ ของโลก
อยากใหความรูแนนตองตอบคําถามเรากอนนะครับ
หนังสือรายป คือ ……………………….
๔๐




            เฉลยกรอบที่ ๒๓


                      คือหนังสือที่รวบรวมความรู และ
                      ขอเท็จจริงตาง ๆ ในรอบป จัดพิมพอยาง
                      สม่ําเสมอเปนรายป
                      โดยมีจุดมุงหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราว
                      เหตุการณความเคลื่อนไหวทีสําคัญของ
                                                  ่
                      ประเทศและภูมิภาคตาง ๆ ของโลก




เกงมากครับนองชมพู
ตามไปดูเรื่องประเภทกันเลยนะครับ
๔๑




กรอบที่ ๒๔


                               เมื่อเธอเห็นประเภทของหนังสือรายป
                               เธออาจจะรูจกก็ได มี ๒ ประเภทครับ
                                            ั
                                    ๑. หนังสือรายปทั่วไป
                                    ๒. หนังสือรายงานประจําป
                               นึกออกหรือยังวาเคยรูจัก




   ยังเลยคะ มีตัวอยางไหมคะ




                                ออ ไดเลย ไปดูตัวอยางในกรอบตอไป
                                นะครับ
๔๒




กรอบที่ ๒๕
หนังสือรายปทั่วไป
๑. หนังสือรายปของสารานุกรม จัดทําขึ้นเพื่อ
เพิ่มเติมเนื้อหาของสารานุกรมชุดแม ใหมเี นื้อหา
ทันสมัยอยูเสมอ
๒. หนังสือรายปสรุปขาวปจจุบัน ทําหนาที่เปน
จดหมายเหตุบันทึกเหตุการณสําคัญดานการเมือง
ฯลฯ ตรวจสอบความถูกตองแลวเสนอใน
รูปสรุปความ ดังตัวอยาง


                                          เราเคยเห็นในหองสมุด มีแตของ
                                          เกา ของใหมไมมี เคยเปดอานดู
                                          คลาย ๆ รายการวันนี้ในอดีต


หนังสือรายงานประจําป เปนหนังสือ
ที่หนวยงานตาง ๆ จัดทําขึ้น เพื่อเสนอ
ความกาวหนาของหนวยงาน ดังตัวอยาง




                                          เมื่อเห็นตัวอยาง ก็เขาใจไดทันที
                                          งงอยูนานเลยนะเนี่ย
                                                
๔๓




กรอบที่ ๒๖


        เมื่อรูรายละเอียดของหนังสือรายปแลว
        มารูจักวิธีใชหนังสือรายปกนไหมครับ
                                    ั



                                   ดีจังเลยคะ จะไดใชเปน
                                   เพราะอาจจะจําเปนตองใชขึ้นมา
                                   ในวันใดก็ไดจริงไหมคะ



มาดูการใชหนังสือรายปกนนะั
๑. พิจารณาวาเรื่องที่ตองการนั้นเปน
เหตุการณในรอบปเปนเรื่องทั่วไป หรือ
เรื่องของหนวยงาน
๒. เลือกใชหนังสือรายปใหถูกประเภท
ดังนี้
     ๒.๑ เปนเหตุการณในรอบปที่เปน
สากลใหใชหนังสือของตางประเทศ
     ๒.๒ ถาเปนเหตุการณสาคัญในรอบ
                            ํ
ปหรือสถิติตาง ๆ ในประเทศไทย ใหใช
ของไทย
๓. กอนใชหนังสือรายปแตละชื่อเรื่อง
ใหเปดอานวิธใชเสียกอน
               ี
๔๔




กรอบที่ ๒๗
                                 ชมพูครับมาดูหนังสืออางอิงอีกหนึงประเภท
                                                                 ่
                                 นะครับ คือ อักขรานุกรมชีวประวัติ




 ชื่อยากมากเลยคะนล แตไมรูวาเนื้อหา
 จะยากไหมนะสิ ชวยบอกหนอยวา
 ใหความรูเกี่ยวกับเรื่องอะไร


                             ไดเลยครับ อักขรานุกรมชีวประวัติ เปนหนังสือ
                             ที่รวบรวมชีวประวัติบุคคลสําคัญ โดยใหรายละเอียด
                             เกี่ยวกับชื่อ นามสกุล วันเดือนปเกิด ปตาย
                             (ถาถึงแกกรรม) การศึกษา หนาทีการงาน ผลงาน
                                                                ่
                             และประสบการณ เรียงตามลําดับอักษรชื่อเจาของ
                             ประวัติเมื่อรูแลวชวยบอกเราเพื่อเปนการย้ําหนอยวา
                             เปนหนังสือทีกลาวถึงเรื่องอะไร
                                             ่



     สบายมากนล เราตอบไดอยูแลว
     แนะคุยเลย แตเธอตองชวยดูดวยนะ
     วาตอบถูกหรือไม
๔๕




              เฉลยกรอบที่ ๒๗


                         งายมากเลยนล อักขรานุกรมชีวประวัติ
                         ก็ตองเปนหนังสือที่กลาวถึงชีวประวัติ
                         บุคคลสําคัญนะสิ




ถูกตองครับ เกงใหตลอดนะ ทีนี้เราไปดู
เรื่องประเภทบางดีกวา ตามไปเลย
๔๖




กรอบที่ ๒๘

                            เธอลองเดาสิวา อักขรานุกรม
                                             
                            ชีวประวัติ มีกประเภท อะไรบาง
                                          ี่
                            คนเกงตอบไดไหมครับ




         เราขอเดานะมี ๓ ประเภท
         แตไมรูวามีอะไรบางคะ




                  เดาแมนครับชมพู มี ๓ ประเภทดังนี้
                ๑. อักขรานุกรมชีวประวัติบคคลทั่วไป รวบรวมประวัติ
                                           ุ
                   บุคคลสําคัญไมจํากัดเชื้อชาติ ศาสนา อาชีพ
                   และยุคสมัย
                ๒. อักขรานุกรมชีวประวัติบคคลเชื้อชาติใดเชื้อชาติหนึ่ง
                                             ุ
                ๓. อักขรานุกรมชีวประวัติบคคลในสาขาอาชีพใด
                                               ุ
                   อาชีพหนึง่
                   เขาใจไหมครับชมพู


   เขาใจคะคุณครู แซวซะเลย
   แลวมีวิธีใชไหมคะ
๔๗




กรอบที่ ๒๙

                     มาเลยชมพู วิธีใชตองมาทางนี้
                     ตามมาเลยครับ




             ไหนละ ไมเห็นเลย




            ตามมาเร็ว ๆ สิ เอา ! วิธีใชอักขรานุกรมชีวประวัติ
         ๑. พิจารณาดูวาชีวประวัตที่ตองการเปนบุคคลประเภทใด
                                     ิ
             ดังนี้
            ๑.๑ บุคคลทั่วไป บุคคลเฉพาะกลุม
            ๑.๒ บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู
            ๑.๓ บุคคลที่ลวงลับไปแลว
         ๒. เลือกใชใหถูกตองตรงกับเรื่องที่ตองการคน
         ๓. กอนใชหนังสือควรอานวิธีใชกอน
           อาว ! จบเรื่องนี้แลว ชมพูชวยทบทวนวิธีใชอกขรานุกรม
                                                        ั
         ชีวประวัติใหเราฟงหนอยนะ
๔๘




                เฉลยกรอบที่ ๒๙


                  วิธีใชอักขรานุกรมชีวประวัติ
             ๑. พิจารณาดูวาชีวประวัตที่ตองการเปนบุคคลประเภทใด
                                        ิ
                ดังนี้
                ๑.๑ บุคคลทั่วไป บุคคลเฉพาะกลุม
                ๑.๒ บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู
                ๑.๓ บุคคลที่ลวงลับไปแลว
             ๒. เลือกใชใหถูกตองตรงกับเรื่องที่ตองการคน
             ๓. กอนใชหนังสือควรอานวิธีใชกอน
              เกงไหมจะนล




เกงจะ ไปกรอบที่ ๓๐ เลยนะ
เรื่องหนังสืออางอิงทางภูมศาสตรครับ
                          ิ
๔๙




กรอบที่ ๓๐
                                เรื่อง หนังสืออางอิงทางภูมิศาสตร เปนหนังสือ
                                ที่จัดทําขึ้นเพือใหความรู ขอเท็จจริง และ
                                                ่
                                รายละเอียดเกียวกับชื่อ และสถานที่
                                                  ่
                                ทางภูมิศาสตร เชน ชื่อประเทศ แมน้ํา
                                ทะเล เกาะ มหาสมุทร เปนตน



โอโฮ ! ไมถามเลยนะ ไปเร็วเหมือนจรวดเลย
 แตก็เขาใจนะวา เปนขอมูลเกี่ยวกับภูมิศาสตร
เพราะฉะนันเขาใจคะเพราะชื่อหนังสือก็บอก
            ้
อยูแลววาหนังสืออางอิงทางภูมิศาสตร



                               เกงไมใชเลนนะ ชมพู ไหนลองตอบคําถามเราซิ
                               วาจะตอบไดไหม คําถามมีอยูวา หนังสืออางอิง
                               ทางภูมิศาสตรใหความรูเกียวกับเรื่องอะไร
                                                         ่




 ถามจริง ๆ หรือวาถามเลน ๆ เนี่ย
 เราตอบคําถามเธอเสร็จแลวเธอตองบอก
 ประเภทของหนังสือใหเราฟงดวยนะคะ
๕๐




                        เฉลยกรอบที่ ๓๐


                                หนังสืออางอิงทางภูมิศาสตร เปนหนังสือ
                                ที่จัดทําขึ้นเพือใหความรู ขอเท็จจริง และ
                                                ่
                                รายละเอียดเกียวกับชื่อ และสถานทีทาง
                                                  ่                     ่
                                ภูมิศาสตร ถูกใชไหมละ อยาลืมสัญญานะ
                                เราขอทวงสัญญากอน




เกงมาก มีไหวพริบดี เรื่องสัญญาไมเคยลืม
ไป เราไปรูจักประเภทของหนังสืออางอิงทาง
ภูมิศาสตรกัน
๕๑




กรอบที่ ๓๑

                               หนังสืออางอิงทางภูมิศาสตร แบงเปน ๓
                               ประเภท ถาเราบอกชมพูตองรอง ออ แนเลย




พูดเปนนัยแบบนี้ เริ่มอยากรูแลวละสิ
                            
ยารอชา รีบบอกมาไวไว



                        ๑. มีลกษณะคลายพจนานุกรม เพราะรวบรวมชื่อ
                               ั
                           และสถานที่ตาง ๆ ทางภูมิศาสตร โดยใหขอเท็จจริง
                           สั้น ๆ จัดเรียงตามลําดับอักษร
                        ๒. หนังสือนําเที่ยว ใหขอมูลเกี่ยวกับประเทศ เชน
                           เที่ยวเมืองไทยกับไกดบค มีตัวอยางครับ
                                                    ุ




                        ๓. หนังสือแผนที่ ใหรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ต้ง
                                                                        ั
๕๒




 กรอบที่ ๓๒

      คนเกงลองบอกวิธีใชใหเราฟงหนอยสิครับ




                               ถามเราเหรอ นลยังไมไดแนะนําเราเลย
                               แลวเราจะตอบไดอยางไรละ




   ก็ได ตังใจฟงนะ วิธีใชหนังสืออางอิงทางภูมิศาสตร
           ้
๑. ดูวาเรื่องทีตองการคนเปนขอเท็จจริงทางดานใด
                ่
    ๑.๑ ความรูเกี่ยวกับภูมิศาสตรทั่วไป
    ๑.๒ ความรูเกี่ยวกับการนําเที่ยว
    ๑.๓ ความรูทางดานแผนที่
๒. เลือกใชหนังสือใหถูกตองกับเรื่องที่ตองการ
                                          
๓. กอนใชหนังสือแตละชุด ควรอานขอแนะนํา
    จากคํานํา และวิธใชในแตละชุดกอน
                       ี
เราบอกเธอเรียบรอยแลว คราวนี้เธอบอกวิธีใชหนังสือ
อางอิงทางภูมศาสตรใหเราฟงนะ หวังวาคงจะไมเกียงแลว
                  ิ                                ่
   นะจะนองชมพู
๕๓




                  เฉลยกรอบที่ ๓๒


                        วิธีใชหนังสืออางอิงทางภูมิศาสตร
                 ๑. ดูวาเรื่องทีตองการคนเปนขอเท็จจริงทางดานใด
                                 ่
                    ๑.๑ ความรูเกี่ยวกับภูมิศาสตรทั่วไป
                    ๑.๒ ความรูเกี่ยวกับการนําเที่ยว
                    ๑.๓ ความรูทางดานแผนที่
                 ๒. เลือกใชหนังสือใหถูกตองกับเรื่องที่ตองการ
                                                           
                 ๓. กอนใชหนังสือแตละชุด ควรอานขอแนะนํา
                    จากคํานํา และวิธีใชในแตละชุดกอน
                    ถูกตองไหมจะนล




เกงมากนะครับ ตอไปเรื่องนามานุกรมนะ
๕๔




กรอบที่ ๓๓

     เธอนี่สุดยอดจริง ๆ เลยชมพู
     อยากรูเรื่องทําเนียบนามหรือ
     นามานุกรมไหมละ




                         แนนอนอยูแลว เราเปนผูใฝเรียนใฝรูอยูแลว
                         เพราะฉะนันอยารอชา อธิบายใหเราฟงไดเลยนล
                                   ้




   เอา ! เด็กเรียนฟงนะ ทําเนียบนามหรือ
นามานุกรม เปนหนังสือที่รวบรวมรายชื่อบุคคล
สถาบัน องคการ สมาคม ฯลฯ รายชื่อเหลานี้เรียง
ตามลําดับอักษร เชน สมุดรายนามผูใชโทรศัพท
  นามานุกรมที่รวบรวมรายชื่อบุคคลจะให
รายละเอียดเกียวกับการศึกษา ตําแหนง
                   ่
สถานทีทางาน
         ่ ํ
  นามานุกรมสถาบัน ประกอบดวย รายชือสถาบัน่
หัวหนางานที่รบผิดชอบ สถานที่ตง
                 ั                ้ั
หมายเลขโทรศัพท โทรสาร ดูตัวอยางครับ
๕๕




 กรอบที่ ๓๔

                                นล สมุดรายนามผูใชโทรศัพท เรียกวา
                                นามานุกรมหรือ เราเพิงรูนะเนี่ย
                                                      ่
                                และวิธีใชละคะ มีไหม




  มีครับ จะบอกอยูพอดีเลย วิธีใชนามานุกรม
การคนหาชื่อ หรือขอเท็จจริงที่ตองการ
จากทําเนียบนามทําไดงาย ๆ โดยดูจากคํานํา
และสารบัญ เพื่อศึกษาวิธีใช จากนันสามารถ
                                   ้
คนหาไดทันที เพราะรายละเอียดของขอมูล
เรียงตามลําดับอักษรแบบพจนานุกรม
ชมพูบอกวิธีใชหนังสือนามานุกรมนะถือวา
    เปนการทบทวน จะไดเปดไดคลอง ๆ




                                 ไดจะ พอเราตอบเสร็จแลว อธิบายเรื่องตอไป
                                 นะคะ เธอนีเ่ กงจริง ๆ
๕๖




         เฉลยกรอบที่ ๓๔




                วิธีใชนามานุกรม การคนหาชื่อ หรือขอเท็จจริง
           ที่ตองการ จากทําเนียบนามทําไดงาย ๆ
                                              
           ดูจากคํานําและสารบัญ เพือศึกษาวิธีใช จากนั้น
                                      ่
           สามารถคนหาไดทันที เพราะรายละเอียดของขอมูล
            เรียงตามลําดับอักษรแบบพจนานุกรม




เกงมากครับผูรอบรู
             
๕๗




 กรอบที่ ๓๕

 เราเกงก็เพราะเรารักการอาน ชอบอานหนังสือ
 ทําใหเรารูอะไรมากกวาคนอื่นนะสิ



                          เราคงตองรักการอานดวยแลวละ
                          วาแตวาเรื่องตอไปอะไรหรือคะ



    ออ สิ่งพิมพรัฐบาลครับ คือ เอกสารหรือสิ่งพิมพ
ทุกประเภททีหนวยงานของรัฐบาลจัดทําขึน เพื่อเผยแพร
               ่                         ้
ความรูและประชาสัมพันธขาวสาร ความเคลื่อนไหวของ
หนวยงานใหประชาชนทราบ สามารถประกอบการศึกษา
คนควา วิจยเปนอยางดี เชน ราชกิจจานุเบกษา
             ั
มีตัวอยางครับ




                                   เราเคยเห็นในหองสมุดแลวละ เราคิดวา
                                   มีประโยชนหลายดานเลยนะนล
๕๘




    กรอบที่ ๓๖

          ถูกตองครับ มีประโยชนหลายดาน
 ลองฟงดูเหมือนที่เธอคิดไหม
 ๑. ดานบริหาร นําผลมาใชเปนแนวทาง
     ในการปฏิบัติงานของบุคลากรในหนวยงานของตน
 ๒. ดานกฎหมาย ประชาชนมีโอกาสรูกฎหมายที่
     เกียวกับตน
        ่
 ๓. ดานประวัติศาสตร การเมืองและการปกครอง
     สังคมและเศรษฐกิจของชาติ
 ๔. ดานการวิจัยจะเปนแหลงรวบรวมขอมูลเบื้องตน
     ทุกสาขาวิชาและทุกระดับความรู
 ๕. ดานประชาชน จะใหความรูในดานตาง ๆ
 ๖. ดานหองสมุด จะเปนทรัพยากรเสริมความรู
 ใหแกครู อาจารย นักเรียน ไดใชเปนสื่อ
  ในการหาความรู ดูตวอยางครับ
                         ั

                                                   สิ่งพิมพรัฐบาลใหประโยชน
                                                   หลายดานเลยนะ




อาว ! หนังสืออางอิงที่ใหคําตอบหรือขอเท็จจริง
ในทันที จบแลวนะครับ ตอไปจะเปนหนังสืออางอิง
ที่บอกแหลงขอมูลครับ สนใจไหมครับ
๕๙




กรอบที่ ๓๗


                          สนใจคะ อยากรูเหมือนกันวามีอะไรบาง




   มีอยู ๒ ชนิดครับ คือ
       ๑. หนังสือบรรณานุกรม
       ๒. ดรรชนีวารสาร




                          คุนเฉพาะชื่อแรกเทานัน ชื่อที่สองยากไหมคะ
                                                ้
                          แตก็ไมแนใจวาเหมือนที่เขาใจหรือไม
๖๐




   กรอบที่ ๓๘


 ทีละประเภทเลยนะ ลองฟงดูวาเหมือนทีเ่ ขาใจไหม
บรรณานุกรม คือ หนังสือที่รวบรวมรายชื่อหนังสือ
หรือสิ่งพิมพอน ๆ ทั้งในรูปแบบของสิ่งพิมพ และ
              ื่
สื่ออิเล็กทรอนิกสเขาดวยกัน เรียงลําดับตามอักษร
ตัวแรกของชื่อผูแตง เหมือนอยางที่คิดไหมครับ




                            ไมใชหรอก ทีคิดไวเปนบรรณานุกรม
                                         ่
                            ทายรายงาน แตนี่เปนหนังสือที่รวบรวมรายชื่อ
                            ไมเหมือนกันหรอกคะ




  อยากรูถงประโยชนไหมละครับ วามีอะไรบาง
          ึ
  อาจจะเปนประโยชนสําหรับเธอบางนะ
๖๑




   กรอบที่ ๓๙


                                   อยากรูคะ นลบอกไดเลยคะ




   ประโยชนของบรรณานุกรม
๑. ชวยในการหาซื้อหนังสือเลมที่ตองการไดจาก
   สํานักพิมพใด หรือจะยืมไดจากหองสมุดแหงใด
๒. ชวยในการพิสูจน ตรวจสอบวารายละเอียดของ
    หนังสือเลมหนึง ๆ เปนไปตามนันจริง ๆ หรือ
                   ่                 ้
    ทําใหรวา บัดนี้ไดมีการพิมพหนังสือชือนั้น ๆ แลว
           ู                              ่
๓. ชวยในการเลือกหนังสือสําหรับบรรณารักษ
   ชมพูเธอรูวธีใชบรรณานุกรมหรือไม ถาเธอบอก
               ิ
ประโยชนของบรรณานุกรมใหเราฟงแลวถูกตองนะ
   เราจะบอกวิธีใชใหเธอฟง ตามเรามาเลย




                                         เดินชา ๆ หนอยสินล รอเราดวย
๖๒




                   เฉลยกรอบที่ ๓๙



                       ประโยชนของบรรณานุกรม
                    ๑. ชวยในการหาซื้อหนังสือเลมที่ตองการไดจาก
                        สํานักพิมพใด หรือจะยืมไดจากหองสมุดแหงใด
                    ๒. ชวยในการพิสูจน ตรวจสอบวารายละเอียดของ
                        หนังสือเลมหนึง ๆ เปนไปตามนันจริง ๆ หรือ
                                       ่                 ้
                        ทําใหรวา บัดนี้ไดมีการพิมพหนังสือชือนั้น ๆ แลว
                               ู                              ่
                    ๓. ชวยในการเลือกหนังสือสําหรับบรรณารักษ
                       ถูกไหมจะ




ถูกตองจะ ตามไปเรื่องวิธีใชบรรณานุกรม
เลยครับ
๖๓




กรอบที่ ๔๐

 มาถึงเรื่องวิธใชบรรณานุกรมแลวนะครับ มีดังนี้
               ี
๑. พิจารณาดูวาเรื่องที่ตองการเปนบรรณานุกรม
   ทัวไปหรือเฉพาะสาขา
      ่
๒. พิจารณาดูวาขอเท็จจริงที่ตองการ
   เปนบรรณานุกรมลักษณะใด
   ๒.๑ เปนบรรณานุกรมอยางเดียว
   ๒.๒ เปนบรรณานุกรมทีมีบรรณนิทัศนสังเขป
                            ่
   ๒.๓ เปนบรรณานุกรมและมีคาวิจารณประกอบ
                                 ํ
๓. เลือกใชประเภทบรรณานุกรมใหถูกตองตรงกับ
   ขอเท็จจริงที่ตองการ




                               ขอ ๓ นี่คลายกันทุกประเภทเลย มีอะไร
                               จะแนะนําอีกไหม อือม ! หนังสือดรรชนี
                               อยางไรละ อยากรูแลวคะ




   ชากอนถาอยากรูก็ชวยบอกวิธีใช
                       
บรรณานุกรมกอนครับ แลวตามเราไปเลย
๖๔




                     เฉลยกรอบที่ ๔๐


                         วิธีใชบรรณานุกรมแลว มีดังนี้
                        ๑. พิจารณาดูวาเรื่องที่ตองการเปนบรรณานุกรม
                            ทัวไปหรือเฉพาะสาขา
                              ่
                        ๒. พิจารณาดูวาขอเท็จจริงที่ตองการ
                            เปนบรรณานุกรมลักษณะใด
                           ๒.๑ เปนบรรณานุกรมอยางเดียว
                           ๒.๒ เปนบรรณานุกรมทีมีบรรณนิทัศนสังเขป
                                                    ่
                           ๒.๓ เปนบรรณานุกรมและมีคาวิจารณประกอบ
                                                         ํ
                        ๓. เลือกใชประเภทบรรณานุกรมใหถูกตองตรงกับ
                           ขอเท็จจริงที่ตองการ




เกงมากครับชมพู เกง ๆ แบบนี้ตามไปดู
เรื่องดรรชนีกนเลยครับ
             ั
๖๕




กรอบที่ ๔๑

                               หนังสืออางอิงประเภทสุดทายแลวนะครับ
                               คือ หนังสือดรรชนี




 ชื่อเพราะเชียว คุนดวย แตไมรูจักหรอกคะ




                                  หนังสือดรรชนี คือ หนังสือทีรวบรวมรายการ
                                                               ่
                                  หัวขอเรื่องหรือบทความในวารสาร
                                  หนังสือพิมพ หนังสือ และวัสดุสิ่งพิมพตาง ๆ
                                                                         
                                  ที่ไดรับการเรียบเรียงอยางมีระเบียบ




ออ ! เปนการรวบรวมบทความจากวารสาร
หนังสือพิมพ หนังสือ และวัสดุส่งพิมพนี่เอง
                               ิ
และมีหลายประเภทไหมคะนล
๖๖




กรอบที่ ๔๒

                                 ไมกี่ประเภทหรอก แตลองฟงดูกอนนะ




ตกลงคะ ลองเดาดูนะ มี ๓ ประเภทใชไหมละ




                     เอะ ! เดาเกงจริง ๆ มี ๓ ประเภท ดังนี้
                          ๑. หนังสือดรรชนีวารสาร เปนเครื่องมือชวย
                              คนหาบทความในวารสาร
                          ๒. หนังสือดรรชนีหนังสือพิมพ เปนเครื่องมือชวย
                              คนหาบทความในหนังสือพิมพ
                          ๓. หนังสือดรรชนีหนังสือ โดยปกติหนังสือ
                              วิชาการที่ไดมาตรฐานจะมีดรรชนีอยูทายเลม
                                                                  




 เราเคยเห็นคะนล และชวยบอกวิธีใช
 หนังสืออางอิงประเภทนี้ใหเราฟงหนอย
 นะนลคนดี
๖๗




กรอบที่ ๔๓

                       ไดเลยครับ ตั้งใจฟงใหดีนะ วิธีใชหนังสือดรรชนี
                      ๑. พิจารณาดูวาขอเท็จจริงที่ตองการเปนบทความ
                         ในวารสาร หนังสือพิมพหรือหนังสือ เลือกใช
                         ใหตรงกับขอมูลที่ตองการ
                      ๒. ขอมูลที่มอยูเปนขอมูลลักษณะใด ชือผูเขียนหรือ
                                    ี                          ่
                         ชื่อบทความ เลือกใชดรรชนีใหตรงกับขอมูลที่มีอยู
                      ๓. กอนใชดรรชนีแตละชื่อเรื่อง ควรอานคําแนะนํา
                         การใชเปนลําดับแรก
                      ๔. เมื่อไดขอเท็จจริงที่ตองการแลว พิจารณาแตละ
                         ขอความวาหมายถึงอะไร แลวจึงคนหาบทความ
                         ที่ตองการ


 โอโฮ ! เธอใหขอมูลเราละเอียดมากเลยนล
 เราตองทําขอสอบไดแน ๆ เลย เราขอบคุณ
 เธอมากเลยนะ เราไปกอนนะ




                                  เดี๋ยวกอนจะรีบไปไหน
                                  มาบอกวิธีการใชหนังสือดรรชนี
                                  ใหเราฟงกอน
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสารDC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสารajpeerawich
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2Sitthisak Thapsri
 
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔r2d2ek
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01Apida Runvat
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยsomchai2505
 

La actualidad más candente (14)

การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสารDC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
 
วรรณคดี
วรรณคดีวรรณคดี
วรรณคดี
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
T006
T006T006
T006
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
 
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01
 
thai
thaithai
thai
 
แบง
แบงแบง
แบง
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
 

Similar a หนังสืออ้างอิง...

จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาkrujee
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdfkrujee
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdfkrujee
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..phornphan1111
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
การใช้โปรแกรม Pls
การใช้โปรแกรม Plsการใช้โปรแกรม Pls
การใช้โปรแกรม Plskrujee
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาkrujee
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการkrujee
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาkrujee
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการkrujee
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการkrujee
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาkrujee
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 

Similar a หนังสืออ้างอิง... (20)

จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
การใช้โปรแกรม Pls
การใช้โปรแกรม Plsการใช้โปรแกรม Pls
การใช้โปรแกรม Pls
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
 
บัตรรายการ
บัตรรายการบัตรรายการ
บัตรรายการ
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
อธิบายนามศัพท์
อธิบายนามศัพท์อธิบายนามศัพท์
อธิบายนามศัพท์
 
Articles
ArticlesArticles
Articles
 

หนังสืออ้างอิง...

  • 1. คําแนะนําในการเรียน บทเรียนนี้เปนบทเรียนโปรแกรม จัดทําขึนเพื่อใหนกเรียนศึกษาดวยตนเอง ้ ั โปรดอานคําแนะนํากอนศึกษาบทเรียน ดังตอไปนี้ ๑. บทเรียนนี้เปนบทเรียนสําเร็จรูปมีทั้งหมด ๔๔ กรอบ ใชเวลาในการเรียน ๓ ชั่วโมง ๒. ศึกษาจุดประสงคการเรียนรู แลวนักเรียน จะทราบวา เมือเรียนจบแลวนักเรียนจะไดความรูอะไร ่ ๓. ทําแบบทดสอบกอนเรียนตามความเขาใจ ของนักเรียน ตอบผิดไมเปนอะไร เพราะถาศึกษาเอกสารตอไป จะตอบไดถูกตองในภายหลัง ๔. บทเรียนนี้ไมใชขอทดสอบ ไมตองกังวลใจ ทําไปชา ๆ ทีละกรอบ นักเรียนจะไดรับความรู ไดทําแบบฝกหัดและไดทํากิจกรรมตาง ๆ ดวยตัวเอง ๕. ขณะศึกษาบทเรียนและปฏิบัติกิจกรรม ไมดูเฉลย เมื่อตอบผิดใหกลับไปศึกษาเนื้อหา ในกรอบเดิมแลวลองตอบคําถามใหม ๖. เมื่อศึกษาครบทุกกรอบแลว ใหทาแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความเขาใจอีกครั้งหนึ่ง ํ ๗. เมื่อเขาใจดีแลวศึกษาบทเรียนไดเลย
  • 2. สาระสําคัญ หนังสืออางอิง คือหนังสือทีนาเสนอขอเท็จจริง ่ ํ ซึ่งรวบรวมโดยผูทรงคุณวุฒหรือผูเชี่ยวชาญ ิ ในเนื้อหาหรือหัวขอนัน ๆ มีการเรียบเรียงเนื้อหา ้ ใหคนควาไดงาย สะดวก รวดเร็ว  และเปนทียอมรับกันจนใชอางอิงได ่
  • 3. แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง หนังสืออางอิง คําชี้แจง ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร ก ข ค หรือ ง ที่ถูกตองทีสุดเพียงขอเดียว ่ ๑. หนังสืออางอิงมีลกษณะอยางไร ั ก. หนังสือที่มไมเกิน ๖๐ หนา ี ข. หนังสือที่ใหความบันเทิงเปนหลัก ค. หนังสือที่มเี นื้อหาสาระเหมาะสําหรับเด็ก ง. หนังสือที่รวมขอเท็จจริงจากแหลงตาง ๆ นํามาเรียบเรียงเขาดวยกัน เพือใชประโยชนไดอยางรวดเร็ว ่ ๒. เครื่องมือชวยคนในหนังสืออางอิงคือ ก. ดรรชนี ข. สารบัญ ค. อักษรนําเลม ง. บรรณานุกรม ๓. หนังสืออางอิงประเภทใดใหความหมายของคํา ก. สารานุกรม ข. พจนานุกรม ค. นามานุกรม ง. บรรณานุกรม
  • 4. ๔ ๔. หนังสืออางอิงประเภทใดใหความรูในสาขาวิชาตาง ๆ เขียนโดยผูเ ชี่ยวชาญ ในสาขาวิชานัน ๆ ้ ก. สารานุกรม ข. พจนานุกรม ค. นามานุกรม ง. บรรณานุกรม ๕. สมุดรายนามผูใชโทรศัพทเปนหนังสืออางอิงประเภทใด ก. สารานุกรม ข. พจนานุกรม ค. นามานุกรม ง. บรรณานุกรม ๖. ประวัติของ พลเอกสุรยุทธ จุลานนท จะคนไดจากหนังสืออางอิงประเภทใด ก. สารานุกรม ข. นามานุกรม ค. พจนานุกรม ง. อักขรานุกรมชีวประวัติ ๗. หนังสืออางอิงประเภทใดใหแหลงความรู ก. สารานุกรม ข. พจนานุกรม ค. อักขรานุกรม ง. บรรณานุกรม
  • 5. ๘. ตองการทราบวา “เขื่อนปาสักชลสิทธิ” ตั้งอยูที่จังหวัดใด ควรหาจากหนังสืออางอิง ์  8. หนาใดของหนังสือทีนามาเขียนบรรณานุกรมในการทํารายงาน ่ ํ ประเภทใด ก. หนาปกใน ก. สารานุกรม ข. พจนานุกเรื่อง ข. หนาชื่อ รม ค. หนงสือลิขสิท่ ธิ์ ค. หนั าป แผนที ง. อักขรานุกรมภูมิศาสตร ง. หนาภาพพิเศษ 9. หนาประกาศคุณูปการบางสถาบัวาเรียทร”าควรคนหาจากหนังสืออางอิงประเภทใด ๙. ตองการทราบความหมายของคํา น “ภั กว หนาอะไร ก. สารานุกานํา จ. หนาคํ รม ข. พจนานุาอุทิศ ฉ. หนาคํกรม ค. อักขรานุกรม ช. หนาปลิขสิทธิ์ ง. บรรณานุกรม ง. กิตงติกรรมประกาศ ่ใหขาวและเหตุการณที่เกิดขึ้นทั้งในและตางประเทศ ๑๐.หนั สืออางอิงประเภทใดที 10.บรรณานุกรมคืออะไร ในรอบป ก. ก.ญชีคํา บั พงศาวดาร ข. ข. จดหมายเหตุ รายชื่อเอกสาร ค. ค.วหนัง่อธิบายคําศัพท ส นที สือรายป ง. ง. รายงานประจําอความ แหลงที่มาของข
  • 6. ๖ เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน เรื่องหนังสืออางอิง ขอ คําตอบ ๑ ง ๒ ก ๓ ข ๔ ก ๕ ค ๖ ง ๗ ง ๘ ง ๙ ข ๑๐ ค
  • 7. ผลการเรียนรูที่คาดหวัง นักเรียนสามารถใชหนังสืออางอิงประกอบการคนควาได จุดประสงคการเรียนรู ๑. ใหรูจักประเภทและประโยชนของหนังสืออางอิง ๒. ใหรูจักลักษณะพิเศษของหนังสืออางอิงและ หลักการใชเบื้องตน
  • 8. หนังสืออางอิง กรอบที่ ๑ สวัสดีครับชมพู กําลังจะไปไหนหรือครับ สวัสดีคะนล จะไปหาแพงใหทบทวน เรื่องหนังสืออางอิงคะ เราอธิบายใหฟงก็ได เราเปนคนถาม เธอตอบ แตถาตอบไมได เราชวยเสริมให ตกลงไหมละครับ ตกลงคะ โอ! ลืมสนิทเลย วานลก็ทบทวนได ดีใจมากเลย เราจะไดไมตองไปไกล เพราะการบานวิชาอื่นยังไมเสร็จเลย และเราจะเปนลูกศิษยที่ดีคะ
  • 9. ๙ กรอบที่ ๒ เราเริ่มตั้งแตความหมายเลยนะ หนังสืออางอิง หมายถึง หนังสือที่รวม ขอเท็จจริงจากแหลงตาง ๆ นํามาเรียบเรียง เขาดวยกัน เพือใชประโยชนไดอยางรวดเร็ว ่ เขาใจแลวจะ แลวเราจะรูไดอยางไร วาหนังสือเลมนั้นเปนหนังสืออางอิง ชมพูฟงนะลักษณะของหนังสืออางอิงมีดงนี้ ั ๑. ผูแตงจะตองเปนผูทรงคุณวุฒิและเชียวชาญ  ่ ในสาขาที่เขียน ๒. มีวัตถุประสงคในการเขียนและขอเท็จจริง ทีเ่ ชื่อถือได ๓. มีการเรียบเรียงเนื้อเรื่องอยางเปนระบบ ๔. เนื้อหาทันสมัยเสมอ เพราะปรับปรุงเรืองราว่ ใหม ๆ อยูเ สมอ ๕. เปนหนังสือที่แจงขอบเขตเนื้อหาไวอยางชัดเจน ๖. เปนหนังสือที่อานเฉพาะตอนที่ตองการเทานั้น ๗. ใหความรูชัดเจน กะทัดรัด และจบในตัวเอง ๘. เปนหนังสือที่หามยืมออกนอกหองสมุด 
  • 10. ๑๐ กรอบที่ ๓ เอาละ มาถึงกรอบที่ ๓ เรื่องสวนชวยการคนควา ของหนังสืออางอิง สวนแรกเปนอักษรนําเลม คือ สวนปรากฏทีสันหนังสือ บอกใหรูวาหนังสือ ่  เลมนันใชคนเรื่องตั้งแตอักษรใดถึงอักษรใด ้ มีตัวอยางใหดนะครับ ู อักษรนําเลม ใช ใช เราเคยเห็น แตไมรูวา เรียกวาอักษรนําเลม เมื่อรูแลว เขาใจแลว ฟงแลว ลองตอบคําถามดูนะวา อักษรนําเลม คือ ……
  • 11. ๑๑ เฉลยกรอบที่ ๓ อักษรนําเลม คือ สวนปรากฏ ที่สันหนังสือ เพื่อบอกใหทราบวา หนังสืออางอิงเลมนันใชคนเรื่องตั้งแต ้ ลําดับอักษรใดถึงอักษรใด ถูกไหมคะนล โอโฮ ! แคเริ่มตนก็ไปไดสวยแลว แบบนี้ไมรูวาสอนจระเขวายน้ํา  หรือเปลา ไปกรอบตอไปเลยนะครับ
  • 12. ๑๒ กรอบที่ ๔ ดรรชนีริมหนากระดาษครับ (ดัด-ชะ-นี) คือ สวนของริมหนากระดาษที่มีลกษณะเวา ั เปนรูปครึ่งวงกลมหรือแบบกระดาษที่ยนออกมา ื่ เปนแถบเล็ก ๆ มีตัวอักษรกํากับ มักมีในหนังสือ ที่มีความหนามาก ดูตัวอยางนะครับ การศึกษาคนควา ดรรชนีริม หนากระดาษ ในหองสมุดโรงเรียนเราไมมใหเห็นเลย ี แตเหมือนจะเคยเห็นในงานสัปดาหหนังสือคะ ถาอยางนั้นก็ตอบคําถามเราไดเลย จะไดจําไมลืมยังไงละ ดรรชนีริมหนากระดาษ คือ…………..
  • 13. ๑๓ เฉลยกรอบที่ ๔ นี่จะคําตอบ คือ สวนของริมหนากระดาษ ที่มีลักษณะเวาเปนรูปครึงวงกลมหรือแบบ กระดาษที่ยนออกมาเปนแถบกระดาษเล็ก ๆ ื่ มีตัวอักษรกํากับ เห็นไหมเราจําไดไมลืมเลย เพราะลักษณะแปลกดี ใชได ชมพูเกงมากครับ นี่นะเคาถึงไดบอกวา ความพยายาม อยูท่ไหน ความสําเร็จอยูท่นน ี  ี ั่ ไปสวนอื่นตอนะครับ
  • 14. ๑๔ กรอบที่ ๕ ชมพูเรามาดูเรืองสารบัญกันนะ ่ เอาสิ เราก็อยากทราบเหมือนกัน นลอธิบายไดเลย เราจะตั้งใจฟงนะคะ สารบัญ (สา-ระ-บัน) ใชเปนคูมือ ในการเปดหาเรื่องที่ตองการในเลม แบงเปนบท ตามเนื้อหา และบอกเลขหนา ที่จะพบเรือง่ ดูตัวอยางครับ สารบัญ หนา คํานํา (1) บทนํา 1 บทที่ 1 การคนควาวิจัย 3 ความหมาย 3 ประเภท 3 การวางแผน 16 บทที่ 2 แหลงและทรัพยากร สารนิเทศ 17 บรรณานุกรม 184 ภาคผนวก ก 185 ภาคผนวก ข 194
  • 15. ๑๕ กรอบที่ ๖ ชมพูอยากรูไหมวา “คํานําทาง” คืออะไร โถ ถามได นลรูอะไร ก็บอกเรา ใหหมดเลย หามปดบังแมแตเรื่องเดียว เรากลัวจะทําขอสอบไมไดคะ ตกลงครับ คํานําทาง คือ คําที่อยูดานบน ของหนากระดาษ อาจจะมีทงดานซายและ ั้ ดานขวา หรืออยูกึ่งกลางหนา แสดงคําเริ่มตนและคําสุดทาย ของหนานั้น ๆ เธอตองเคยเห็นแน ๆ เลย ตัวอยางนะครับ แลวไปกรอบตอไปไหวไหม คํานําทาง
  • 16. ๑๖ กรอบที่ ๗ ชมพูรูจักสวนโยงไหมครับ ไมรูจักคะ คืออะไรหรือคะ สวนโยง คือ การชี้ใหไปอานเรื่องที่มีกลาวไว ในเลมนั้น เพือเปนการทบทวน ตอบคําถามนะ ่ สวนโยง คือ ………………………………….. อยากรูคําตอบใชไหมคะ ไปฟงคําตอบตรงโนนดีกวา ไปคะ
  • 17. ๑๗ เฉลยกรอบที่ ๗ ฟงดี ๆ นะนล สวนโยง คือ การชี้ใหไปอานเรื่องที่มีกลาวไว ในเลมนั้น ถูกไหมคะ ถูกตองนะครับ แหม ! ชมพู ลูกเลนมากเหลือเกินนะ อยากรูเรื่องตอไปก็ตามเราไปเลย
  • 18. ๑๘ กรอบที่ ๘ ถึงภาคผนวกกันแลว เธอรูความหมายของคําวา “ภาคผนวก” ไหมครับ ไมตองถามหรอก อธิบายไดเลยคะ ภาคผนวก (พาก-ผะ-หฺนวก) คือ สวนที่อธิบายเพิมเติมเนือหา ่ ้ ใหเขาใจไดดียิ่งขึ้น อยูในสวนทายเลม ใชแลว เราเคยเห็นหนังสือบางเลม มีใหเห็น แตสวนนอยนะทีจะเห็นนะ ่
  • 19. ๑๙ กรอบที่ ๙ ชมพูเธอเคยเห็นดรรชนีไหม ไมเคยเลยคะ คืออะไรหรือคะ ดรรชนี (ดัด-ชะ-นี) คือ คําสําคัญหรือ หัวขอสําคัญทีปรากฏในเรื่อง นํามาเรียง ่ ตามลําดับอักษร มีเลขหนากํากับไว บอกใหทราบวาคํานันจะพบที่หนาใดบาง ้ บอกเราไดไหมวาดรรชนีคลายหนาอะไร ขอนึกกอนนะคะ
  • 20. ๒๐ เฉลยกรอบที่ ๙ นึกออกแลวคะ คลายหนาสารบัญคะ และหนาดรรชนีเรียงตามตัวอักษรที่เธอ บอก แตหนาสารบัญเรียงตามเนื้อหาคะ เธอเกงมากเลยชมพู รูจักเปรียบเทียบดวย
  • 21. ๒๑ กรอบที่ ๑๐ ทีนถึงเรื่องประโยชนของหนังสืออางอิงละนะ ี้ ถาเธอรูชวยเราตอไดเลย  เราขึ้นกอนดีกวา และถาเราไมรูเธอก็ตอใหเราดวย ๑. เปนแหลงคนควาหาขอเท็จจริงในทุกสาขาวิชา ๒. เปนแหลงสงเสริมการศึกษาคนควาวิจัยทุกระดับ ๓. เปนแหลงที่สามารถคนหาคําตอบไดสะดวก รวดเร็ว เพราะมีการจัดเรียงลําดับ ตามตัวอักษร ๔. ทําใหเห็นประโยชนของการศึกษาที่ มุงใหผูเรียนคนควาดวยตนเองเปนวิถทาง  ี การศึกษาที่ถูกตองกวาวิธีอน ื่ นล เราอยากจะรูเรื่องประเภท ของหนังสืออางอิงวามีอะไรบาง เพราะเรารูจักไมกี่ประเภท บอกเราหนอยไดไหมคะ
  • 22. ๒๒ กรอบที่ ๑๑ ไดอยูแลว เราเริ่มเลยแลวกันนะ หนังสืออางอิงมี ๒ ประเภท ๑. หนังสืออางอิงที่ใหคําตอบหรือขอเท็จจริงทันที ๒. หนังสืออางอิงที่บอกแหลงขอมูล ชมพูอยากรูประเภทไหนกอนละครับ เรียงเลยก็แลวกันนล เธอชวยอธิบาย ใหเราฟง เราก็ขอบคุณเธอแลวละ อธิบาย ใหละเอียดเลยนะของแตละประเภทเลยนะ เธอนี่ขยันจริง ๆ ไดเลยตามสั่งครับ เราจะอธิบายใหละเอียดตามที่เธอ ตองการเลย ไปกันเลย
  • 23. ๒๓ กรอบที่ ๑๒ ประเภทแรกนะ หนังสืออางอิงที่ใหคําตอบ หรือขอเท็จจริงในทันที แบงเปน ๗ ชนิดดังนี้ เดี๋ยว ขอเราตอบกอนเพราะรูจักนิดหนอย ๑. พจนานุกรม ๒. สารานุกรม ตอบไดแคนแหละคะ เธอตอไดเลย ี้ ก็ยังดีนะ ที่ยงพอรูจักบาง ั ๓. หนังสือรายปและสมพัตสร (สม-พัด-สอน) ๔. อักขรานุกรมชีวประวัติ (อัก-ขะ-รา-นุ-กฺรม- ชี-วะ-ปฺระ-หฺวัด) ๕. หนังสืออางอิงทางภูมิศาสตร ๖. ทําเนียบนามหรือนามานุกรม ๗. สิ่งพิมพรัฐบาล เราไปทําความรูจักทีละชนิดในกรอบตอไปนะครับ
  • 24. ๒๔ กรอบที่ ๑๓ ชนิดที่ ๑ คือ พจนานุกรม (พด-จะ-นา-นุ-กฺรม) คือ ชมพูจะตอบบอกเองไหมครับ ไมละคะ เรารูวาเปนพจนานุกรมเพราะ  ที่ปกหนังสือเขียนไว แตเราไมรูความหมาย เธอบอกไดเลยคะ พจนานุกรม คือ หนังสือที่ใหความรูเกียวกับคํา ่ ใหรายละเอียดเกี่ยวกับตัวสะกด การออกเสียง ประเภทของคํา ประวัติของคํา การใชคํา และอื่น ๆ เรียงไวตามลําดับอักษร เพื่อความสะดวก ในการคนหา ชมพูรูจักพจนานุกรมแลวนะ ตอบคําถามเราเลย จะไดจําไดนะครับ พจนานุกรม คือ ………………… เธอชวยดูดวยนะวาเราตอบถูกไหม
  • 25. ๒๕ เฉลยกรอบที่ ๑๓ พจนานุกรม คือ หนังสือที่ใหความรูเกียวกับคํา ่ ใหรายละเอียดเกี่ยวกับตัวสะกด การออกเสียง ประเภทของคํา ประวัติของคํา การใชคําและอื่น ๆ เรียงไวตามลําดับอักษร เกงมากชมพู เกงอยางนี้ตองใหรางวัล นี่ครับรางวัลสําหรับคนเกง ไปรูจัก ประเภทของพจนานุกรมกันเลยนะ
  • 26. ๒๖ กรอบที่ ๑๔ พจนานุกรมมี ๒ ประเภท คือ ๑. พจนานุกรมภาษา ๒. พจนานุกรมเฉพาะ เราจะอธิบายใหฟงทีละประเภทนะ  เธอจะไดไมสับสน เธอชางดีกับเราจริง ๆ เลย ไมเปนอะไรหรอก ก็เธอเปนเพื่อนเรา มีอะไรเราก็ตองชวยเหลือกันจึงจะ ถูกตอง เราไปดูพจนานุกรมภาษา กันนะ
  • 27. ๒๗ กรอบที่ ๑๕ พจนานุกรมภาษายังไดเปน ๓ ชนิด คือ ๑. พจนานุกรมภาษาเดียว ๒. พจนานุกรมสองภาษา ๓. พจนานุกรมหลายภาษา โอโฮ ! ยังมีแบงแยกอีก เราเคยเห็นแต พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน เราจะอธิบายใหเธอฟงกอนพรอมตัวอยางนะ พจนานุกรมภาษาเดียว คือ พจนานุกรมทีมี ่ ภาษาเดียว เชน ภาษาไทยเปนภาษาไทย หรือ ภาษาอังกฤษเปนภาษาอังกฤษ ดังตัวอยาง
  • 28. ๒๘ เพราะฉะนันพจนานุกรม ้ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ก็เปนพจนานุกรมภาษาเดียวนะสิ ถูกตองแลวครับ ตอไปเลยนะครับ พจนานุกรมสองภาษา คือพจนานุกรมที่ รวบรวมคําศัพทในภาษาหนึงและอธิบาย ่ คําศัพทนั้นเปนอีกภาษาหนึง ดังตัวอยาง ่ แลวพจนานุกรมหลายภาษาละคะ พจนานุกรมหลายภาษา คือ พจนานุกรมทีให ่ คําศัพทในภาษาหนึง แลวใหคําอธิบายเปน ่ ภาษาอืน ๆ ตังแตสองภาษาขึ้นไป ดังตัวอยาง ่ ้
  • 29. ๒๙ กรอบที่ ๑๖ นล เธอนี่ใหรายละเอียด พรอมตัวอยาง เลยนะ ทําใหเราเขาใจดีย่งขึนเลยละ ิ ้ เราเขาใจเธอ เพราะเราก็เปนเชนนันเหมือนกัน ้ ตอนะ พจนานุกรมเฉพาะวิชา คือ พจนานุกรมที่ รวบรวมคําศัพทเฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึง หรือ ่ อาจรวมสาขาวิชาที่เกียวของไวดวย ดังตัวอยาง ่ แลวพจนานุกรม ใชกันอยางไรคะ
  • 30. ๓๐ กรอบที่ ๑๗ ใจรอนจริงชมพู เรากําลังจะบอกอยูพอดีเลย ก็เพราะเปนวัยรุนนี่ แถมยังไฟแรงซะดวย วิธีใชพจนานุกรม ๑. ดูคําที่ตองการคนวาเปนคําทั่วไปหรือเปนศัพทเฉพาะ ๒. เลือกประเภทของพจนานุกรมใหสอดคลองกับประเภท ของคําคน ๓. อานคําแนะนําวิธีใชพจนานุกรมนัน ๆ ซึ่งจะอยู ้ ในสวนตนของเลม ๔. ใชเครื่องมือชวยคนเพื่อหาคําที่ตองการ เชน คํากํากับหนา จบเรื่องพจนานุกรมแลวครับ ชวยบอกวิธการใชพจนานุกรม ี ใหเราฟงหนอยนะ เราจะไดรูวาเธอเขาใจ
  • 31. ๓๑ เฉลยกรอบที่ ๑๗ วิธีใชพจนานุกรม ๑. ดูคําที่ตองการคนวาเปนคําทั่วไปหรือ เปนศัพทเฉพาะ ๒. เลือกประเภทของพจนานุกรมใหสอดคลอง กับประเภทของคําคน ๓. อานคําแนะนําวิธีใชพจนานุกรมนัน ๆ ซึ่งจะอยู ้ ในสวนตนของเลม ๔. ใชเครื่องมือชวยคนเพื่อหาคําที่ตองการ เชน คํากํากับหนา ถูกไหมเอย เกงมากเพื่อนเรา เราไปดูเรื่องตอไปเลยนะ คือเรื่องสารานุกรมครับ
  • 32. ๓๒ กรอบที่ ๑๘ สารานุกรม เปนแหลงความรูที่สมบูรณ โดยรวบรวมความรูทุกสาขาวิชาไวในเลมเดียวกัน  หรือชุดเดียวกัน โดยความรูและเรื่องราวเหลานั้น  อยูในรูปของบทความหรือสรุปความ มีเนื้อหา จบลงในตัวเอง จัดเรียงตามลําดับอักษรของ หัวเรื่อง สารานุกรมมีหลายประเภท เหมือนพจนานุกรมไหมคะ ถูกตองครับ แตถาเธอตอบคําถามเราได เราจะพาเธอไปรูจักกับประเภทของ สารานุกรม คําถามมีอยูวา สารานุกรม  คือ ……………………………. ไดเลยคะนล รับรองเธอจะตองพาเรา ไปรูจักกับประเภทของสารานุกรมแน ๆ
  • 33. ๓๓ เฉลยกรอบที่ ๑๘ คือ แหลงรวบรวมความรูทุกสาขาวิชาไวใน เลมเดียวกันหรือชุดเดียวกัน โดยความรูและ เรื่องราวเหลานั้นอยูในรูปของบทความหรือ สรุปความ มีเนื้อหาจบลงในตัวเอง จัดเรียง ตามลําดับอักษรของหัวเรื่อง เปนอยางไรเห็นคําตอบของเราแลวอึ้งเลย เธอนี่เกงจริง ๆ เลยชมพู เรายอมรับเลย ตามสัญญาครับ ไปทําความรูจกกับั ประเภทของสารานุกรมกันเลย
  • 34. ๓๔ กรอบที่ ๑๙ สารานุกรมแบงเปนประเภทใหญ ๆ ได ๒ ประเภท ครับ คือ ๑. สารานุกรมทัวไป ่ ๒. สารานุกรมเฉพาะวิชา ชักสนใจแลวสิ วาแตละประเภท เปนอยางไร ถาสนใจก็อยารอชา ตามไปเลยครับ
  • 35. ๓๕ กรอบที่ ๒๐ ๑. สารานุกรมทั่วไป เปนสารานุกรมที่ รวบรวมความรูพื้นฐานทุกแขนงวิชาไวในเลม เดียวกันหรือชุดเดียวกัน ดังตัวอยาง แลวสารานุกรมเฉพาะวิชาละ ๒. สารานุกรมเฉพาะวิชา จัดทําขึ้นสําหรับ ผูสนใจเฉพาะสาขาวิชา หรือเฉพาะดานนัน ๆ ้ อยางละเอียด ลึกซึ้งกวาสารานุกรมทัวไป ดังตัวอยาง ่
  • 36. ๓๖ กรอบที่ ๒๑ สารานุกรมก็มลักษณะเฉพาะเหมือนกัน ดังนี้ครับ ี ๑. เปนหนังสือที่ใหความรูพื้นฐานทุกสาขาวิชา  ๒. เขียนโดยผูเชี่ยวชาญในแตละสาขาวิชา ๓. มีดรรชนีใหสามารถคนหัวเรื่องยอยไดโดยละเอียด ๔. เสนอความรูที่ทนเหตุการณอยูเสมอ ั ๕. มีทงชนิดเลมเดียวจบและชนิดเปนชุดหลายเลมจบ ั้ ชมพูเมื่อรูอยางนี้แลว บอกลักษณะเฉพาะ ของสารานุกรมใหเราฟงใหชื่นใจหนอย ไดไหมครับ ไดเลยคะ ลองฟงดูนะ ถาไมถูกตอง บอกเราดวยจะไดแกไขใหถูกตองคะ
  • 37. ๓๗ เฉลยกรอบที่ ๒๑ ๑. เปนหนังสือที่ใหความรูพื้นฐานทุกสาขาวิชา  ๒. เขียนโดยผูเชี่ยวชาญในแตละสาขาวิชา ๓. มีดรรชนีใหสามารถคนหาหัวเรื่องยอยได โดยละเอียด ๔. เสนอความรูที่ทนเหตุการณอยูเสมอ ั ๕. มีทงชนิดเลมเดียวจบ และชนิดเปนชุด ั้ หลายเลมจบถูกไหมนล เธอเกงมากเลยชมพู เขาใจไดเร็ว เราขอชมจากใจจริงครับ
  • 38. ๓๘ กรอบที่ ๒๒ ชมพู เธอใชสารานุกรมเปนไหมครับ ไมรูวาถูกไหม เปดดูสารบัญถามี เรื่องที่ตองการก็ถือวาใชได ถาวิธนี้ ี ไมถูกตอง นลแนะนําเราดวยนะ วิธีการใชสารานุกรม ๑. ดูวาเรื่องที่ตองการเปนความรูพนฐานหรือความรู  ื้ เปนเรื่องเฉพาะวิชา ๒. เลือกใชสารานุกรมใหถกกับเรื่องที่ตองการ เชน ู  ๒.๑ ความรูพื้นฐานงาย ๆ สัน ๆ ใชสารานุกรมทัวไป ้ ่ สําหรับเยาวชน ๒.๒ ความรูเฉพาะวิชา ใหใชสารานุกรมเฉพาะวิชา ๓. ดูดรรชนีเพื่อดูเรื่องทีตองการคนหาวาอยูในเลมใด ่ หนาเทาไร โดยใหถูกกับลักษณะของสารานุกรม เชน ๓.๑ ดูดรรชนีทายเลม (สารานุกรมบางชุดอยู ดานหนา) ๓.๒ ดูดรรชนีที่เลมสุดทายของชุด (บางชุด อยูทายเลม) ๔. ดูอกษรนําเลมหรือที่สันหนังสือ ั
  • 39. ๓๙ กรอบที่ ๒๓ ชมพูหนังสือรายปแลวนะ รูจกไหมเอย ั ตอบงาย ๆ เลยคะ ไมรูจกคะ ั หนังสือรายป เปนหนังสืออางอิงที่รวบรวมความรู และขอเท็จจริงตาง ๆ ในรอบป จัดพิมพสม่ําเสมอ เปนรายป โดยมีจุดมุงหมายเพื่อรวบรวมเรืองราว ่ เหตุการณความเคลื่อนไหวทีสําคัญของประเทศ ่ และภูมิภาคตาง ๆ ของโลก อยากใหความรูแนนตองตอบคําถามเรากอนนะครับ หนังสือรายป คือ ……………………….
  • 40. ๔๐ เฉลยกรอบที่ ๒๓ คือหนังสือที่รวบรวมความรู และ ขอเท็จจริงตาง ๆ ในรอบป จัดพิมพอยาง สม่ําเสมอเปนรายป โดยมีจุดมุงหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราว เหตุการณความเคลื่อนไหวทีสําคัญของ ่ ประเทศและภูมิภาคตาง ๆ ของโลก เกงมากครับนองชมพู ตามไปดูเรื่องประเภทกันเลยนะครับ
  • 41. ๔๑ กรอบที่ ๒๔ เมื่อเธอเห็นประเภทของหนังสือรายป เธออาจจะรูจกก็ได มี ๒ ประเภทครับ ั ๑. หนังสือรายปทั่วไป ๒. หนังสือรายงานประจําป นึกออกหรือยังวาเคยรูจัก ยังเลยคะ มีตัวอยางไหมคะ ออ ไดเลย ไปดูตัวอยางในกรอบตอไป นะครับ
  • 42. ๔๒ กรอบที่ ๒๕ หนังสือรายปทั่วไป ๑. หนังสือรายปของสารานุกรม จัดทําขึ้นเพื่อ เพิ่มเติมเนื้อหาของสารานุกรมชุดแม ใหมเี นื้อหา ทันสมัยอยูเสมอ ๒. หนังสือรายปสรุปขาวปจจุบัน ทําหนาที่เปน จดหมายเหตุบันทึกเหตุการณสําคัญดานการเมือง ฯลฯ ตรวจสอบความถูกตองแลวเสนอใน รูปสรุปความ ดังตัวอยาง เราเคยเห็นในหองสมุด มีแตของ เกา ของใหมไมมี เคยเปดอานดู คลาย ๆ รายการวันนี้ในอดีต หนังสือรายงานประจําป เปนหนังสือ ที่หนวยงานตาง ๆ จัดทําขึ้น เพื่อเสนอ ความกาวหนาของหนวยงาน ดังตัวอยาง เมื่อเห็นตัวอยาง ก็เขาใจไดทันที งงอยูนานเลยนะเนี่ย 
  • 43. ๔๓ กรอบที่ ๒๖ เมื่อรูรายละเอียดของหนังสือรายปแลว มารูจักวิธีใชหนังสือรายปกนไหมครับ ั ดีจังเลยคะ จะไดใชเปน เพราะอาจจะจําเปนตองใชขึ้นมา ในวันใดก็ไดจริงไหมคะ มาดูการใชหนังสือรายปกนนะั ๑. พิจารณาวาเรื่องที่ตองการนั้นเปน เหตุการณในรอบปเปนเรื่องทั่วไป หรือ เรื่องของหนวยงาน ๒. เลือกใชหนังสือรายปใหถูกประเภท ดังนี้ ๒.๑ เปนเหตุการณในรอบปที่เปน สากลใหใชหนังสือของตางประเทศ ๒.๒ ถาเปนเหตุการณสาคัญในรอบ ํ ปหรือสถิติตาง ๆ ในประเทศไทย ใหใช ของไทย ๓. กอนใชหนังสือรายปแตละชื่อเรื่อง ใหเปดอานวิธใชเสียกอน ี
  • 44. ๔๔ กรอบที่ ๒๗ ชมพูครับมาดูหนังสืออางอิงอีกหนึงประเภท ่ นะครับ คือ อักขรานุกรมชีวประวัติ ชื่อยากมากเลยคะนล แตไมรูวาเนื้อหา จะยากไหมนะสิ ชวยบอกหนอยวา ใหความรูเกี่ยวกับเรื่องอะไร ไดเลยครับ อักขรานุกรมชีวประวัติ เปนหนังสือ ที่รวบรวมชีวประวัติบุคคลสําคัญ โดยใหรายละเอียด เกี่ยวกับชื่อ นามสกุล วันเดือนปเกิด ปตาย (ถาถึงแกกรรม) การศึกษา หนาทีการงาน ผลงาน ่ และประสบการณ เรียงตามลําดับอักษรชื่อเจาของ ประวัติเมื่อรูแลวชวยบอกเราเพื่อเปนการย้ําหนอยวา เปนหนังสือทีกลาวถึงเรื่องอะไร ่ สบายมากนล เราตอบไดอยูแลว แนะคุยเลย แตเธอตองชวยดูดวยนะ วาตอบถูกหรือไม
  • 45. ๔๕ เฉลยกรอบที่ ๒๗ งายมากเลยนล อักขรานุกรมชีวประวัติ ก็ตองเปนหนังสือที่กลาวถึงชีวประวัติ บุคคลสําคัญนะสิ ถูกตองครับ เกงใหตลอดนะ ทีนี้เราไปดู เรื่องประเภทบางดีกวา ตามไปเลย
  • 46. ๔๖ กรอบที่ ๒๘ เธอลองเดาสิวา อักขรานุกรม  ชีวประวัติ มีกประเภท อะไรบาง ี่ คนเกงตอบไดไหมครับ เราขอเดานะมี ๓ ประเภท แตไมรูวามีอะไรบางคะ เดาแมนครับชมพู มี ๓ ประเภทดังนี้ ๑. อักขรานุกรมชีวประวัติบคคลทั่วไป รวบรวมประวัติ ุ บุคคลสําคัญไมจํากัดเชื้อชาติ ศาสนา อาชีพ และยุคสมัย ๒. อักขรานุกรมชีวประวัติบคคลเชื้อชาติใดเชื้อชาติหนึ่ง ุ ๓. อักขรานุกรมชีวประวัติบคคลในสาขาอาชีพใด ุ อาชีพหนึง่ เขาใจไหมครับชมพู เขาใจคะคุณครู แซวซะเลย แลวมีวิธีใชไหมคะ
  • 47. ๔๗ กรอบที่ ๒๙ มาเลยชมพู วิธีใชตองมาทางนี้ ตามมาเลยครับ ไหนละ ไมเห็นเลย ตามมาเร็ว ๆ สิ เอา ! วิธีใชอักขรานุกรมชีวประวัติ ๑. พิจารณาดูวาชีวประวัตที่ตองการเปนบุคคลประเภทใด ิ ดังนี้ ๑.๑ บุคคลทั่วไป บุคคลเฉพาะกลุม ๑.๒ บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู ๑.๓ บุคคลที่ลวงลับไปแลว ๒. เลือกใชใหถูกตองตรงกับเรื่องที่ตองการคน ๓. กอนใชหนังสือควรอานวิธีใชกอน อาว ! จบเรื่องนี้แลว ชมพูชวยทบทวนวิธีใชอกขรานุกรม ั ชีวประวัติใหเราฟงหนอยนะ
  • 48. ๔๘ เฉลยกรอบที่ ๒๙ วิธีใชอักขรานุกรมชีวประวัติ ๑. พิจารณาดูวาชีวประวัตที่ตองการเปนบุคคลประเภทใด ิ ดังนี้ ๑.๑ บุคคลทั่วไป บุคคลเฉพาะกลุม ๑.๒ บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู ๑.๓ บุคคลที่ลวงลับไปแลว ๒. เลือกใชใหถูกตองตรงกับเรื่องที่ตองการคน ๓. กอนใชหนังสือควรอานวิธีใชกอน เกงไหมจะนล เกงจะ ไปกรอบที่ ๓๐ เลยนะ เรื่องหนังสืออางอิงทางภูมศาสตรครับ ิ
  • 49. ๔๙ กรอบที่ ๓๐ เรื่อง หนังสืออางอิงทางภูมิศาสตร เปนหนังสือ ที่จัดทําขึ้นเพือใหความรู ขอเท็จจริง และ ่ รายละเอียดเกียวกับชื่อ และสถานที่ ่ ทางภูมิศาสตร เชน ชื่อประเทศ แมน้ํา ทะเล เกาะ มหาสมุทร เปนตน โอโฮ ! ไมถามเลยนะ ไปเร็วเหมือนจรวดเลย แตก็เขาใจนะวา เปนขอมูลเกี่ยวกับภูมิศาสตร เพราะฉะนันเขาใจคะเพราะชื่อหนังสือก็บอก ้ อยูแลววาหนังสืออางอิงทางภูมิศาสตร เกงไมใชเลนนะ ชมพู ไหนลองตอบคําถามเราซิ วาจะตอบไดไหม คําถามมีอยูวา หนังสืออางอิง ทางภูมิศาสตรใหความรูเกียวกับเรื่องอะไร ่ ถามจริง ๆ หรือวาถามเลน ๆ เนี่ย เราตอบคําถามเธอเสร็จแลวเธอตองบอก ประเภทของหนังสือใหเราฟงดวยนะคะ
  • 50. ๕๐ เฉลยกรอบที่ ๓๐ หนังสืออางอิงทางภูมิศาสตร เปนหนังสือ ที่จัดทําขึ้นเพือใหความรู ขอเท็จจริง และ ่ รายละเอียดเกียวกับชื่อ และสถานทีทาง ่ ่ ภูมิศาสตร ถูกใชไหมละ อยาลืมสัญญานะ เราขอทวงสัญญากอน เกงมาก มีไหวพริบดี เรื่องสัญญาไมเคยลืม ไป เราไปรูจักประเภทของหนังสืออางอิงทาง ภูมิศาสตรกัน
  • 51. ๕๑ กรอบที่ ๓๑ หนังสืออางอิงทางภูมิศาสตร แบงเปน ๓ ประเภท ถาเราบอกชมพูตองรอง ออ แนเลย พูดเปนนัยแบบนี้ เริ่มอยากรูแลวละสิ  ยารอชา รีบบอกมาไวไว ๑. มีลกษณะคลายพจนานุกรม เพราะรวบรวมชื่อ ั และสถานที่ตาง ๆ ทางภูมิศาสตร โดยใหขอเท็จจริง สั้น ๆ จัดเรียงตามลําดับอักษร ๒. หนังสือนําเที่ยว ใหขอมูลเกี่ยวกับประเทศ เชน เที่ยวเมืองไทยกับไกดบค มีตัวอยางครับ ุ ๓. หนังสือแผนที่ ใหรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ต้ง ั
  • 52. ๕๒ กรอบที่ ๓๒ คนเกงลองบอกวิธีใชใหเราฟงหนอยสิครับ ถามเราเหรอ นลยังไมไดแนะนําเราเลย แลวเราจะตอบไดอยางไรละ ก็ได ตังใจฟงนะ วิธีใชหนังสืออางอิงทางภูมิศาสตร ้ ๑. ดูวาเรื่องทีตองการคนเปนขอเท็จจริงทางดานใด ่ ๑.๑ ความรูเกี่ยวกับภูมิศาสตรทั่วไป ๑.๒ ความรูเกี่ยวกับการนําเที่ยว ๑.๓ ความรูทางดานแผนที่ ๒. เลือกใชหนังสือใหถูกตองกับเรื่องที่ตองการ  ๓. กอนใชหนังสือแตละชุด ควรอานขอแนะนํา จากคํานํา และวิธใชในแตละชุดกอน ี เราบอกเธอเรียบรอยแลว คราวนี้เธอบอกวิธีใชหนังสือ อางอิงทางภูมศาสตรใหเราฟงนะ หวังวาคงจะไมเกียงแลว ิ ่ นะจะนองชมพู
  • 53. ๕๓ เฉลยกรอบที่ ๓๒ วิธีใชหนังสืออางอิงทางภูมิศาสตร ๑. ดูวาเรื่องทีตองการคนเปนขอเท็จจริงทางดานใด ่ ๑.๑ ความรูเกี่ยวกับภูมิศาสตรทั่วไป ๑.๒ ความรูเกี่ยวกับการนําเที่ยว ๑.๓ ความรูทางดานแผนที่ ๒. เลือกใชหนังสือใหถูกตองกับเรื่องที่ตองการ  ๓. กอนใชหนังสือแตละชุด ควรอานขอแนะนํา จากคํานํา และวิธีใชในแตละชุดกอน ถูกตองไหมจะนล เกงมากนะครับ ตอไปเรื่องนามานุกรมนะ
  • 54. ๕๔ กรอบที่ ๓๓ เธอนี่สุดยอดจริง ๆ เลยชมพู อยากรูเรื่องทําเนียบนามหรือ นามานุกรมไหมละ แนนอนอยูแลว เราเปนผูใฝเรียนใฝรูอยูแลว เพราะฉะนันอยารอชา อธิบายใหเราฟงไดเลยนล ้ เอา ! เด็กเรียนฟงนะ ทําเนียบนามหรือ นามานุกรม เปนหนังสือที่รวบรวมรายชื่อบุคคล สถาบัน องคการ สมาคม ฯลฯ รายชื่อเหลานี้เรียง ตามลําดับอักษร เชน สมุดรายนามผูใชโทรศัพท นามานุกรมที่รวบรวมรายชื่อบุคคลจะให รายละเอียดเกียวกับการศึกษา ตําแหนง ่ สถานทีทางาน ่ ํ นามานุกรมสถาบัน ประกอบดวย รายชือสถาบัน่ หัวหนางานที่รบผิดชอบ สถานที่ตง ั ้ั หมายเลขโทรศัพท โทรสาร ดูตัวอยางครับ
  • 55. ๕๕ กรอบที่ ๓๔ นล สมุดรายนามผูใชโทรศัพท เรียกวา นามานุกรมหรือ เราเพิงรูนะเนี่ย ่ และวิธีใชละคะ มีไหม มีครับ จะบอกอยูพอดีเลย วิธีใชนามานุกรม การคนหาชื่อ หรือขอเท็จจริงที่ตองการ จากทําเนียบนามทําไดงาย ๆ โดยดูจากคํานํา และสารบัญ เพื่อศึกษาวิธีใช จากนันสามารถ ้ คนหาไดทันที เพราะรายละเอียดของขอมูล เรียงตามลําดับอักษรแบบพจนานุกรม ชมพูบอกวิธีใชหนังสือนามานุกรมนะถือวา เปนการทบทวน จะไดเปดไดคลอง ๆ ไดจะ พอเราตอบเสร็จแลว อธิบายเรื่องตอไป นะคะ เธอนีเ่ กงจริง ๆ
  • 56. ๕๖ เฉลยกรอบที่ ๓๔ วิธีใชนามานุกรม การคนหาชื่อ หรือขอเท็จจริง ที่ตองการ จากทําเนียบนามทําไดงาย ๆ  ดูจากคํานําและสารบัญ เพือศึกษาวิธีใช จากนั้น ่ สามารถคนหาไดทันที เพราะรายละเอียดของขอมูล เรียงตามลําดับอักษรแบบพจนานุกรม เกงมากครับผูรอบรู 
  • 57. ๕๗ กรอบที่ ๓๕ เราเกงก็เพราะเรารักการอาน ชอบอานหนังสือ ทําใหเรารูอะไรมากกวาคนอื่นนะสิ เราคงตองรักการอานดวยแลวละ วาแตวาเรื่องตอไปอะไรหรือคะ ออ สิ่งพิมพรัฐบาลครับ คือ เอกสารหรือสิ่งพิมพ ทุกประเภททีหนวยงานของรัฐบาลจัดทําขึน เพื่อเผยแพร ่ ้ ความรูและประชาสัมพันธขาวสาร ความเคลื่อนไหวของ หนวยงานใหประชาชนทราบ สามารถประกอบการศึกษา คนควา วิจยเปนอยางดี เชน ราชกิจจานุเบกษา ั มีตัวอยางครับ เราเคยเห็นในหองสมุดแลวละ เราคิดวา มีประโยชนหลายดานเลยนะนล
  • 58. ๕๘ กรอบที่ ๓๖ ถูกตองครับ มีประโยชนหลายดาน ลองฟงดูเหมือนที่เธอคิดไหม ๑. ดานบริหาร นําผลมาใชเปนแนวทาง ในการปฏิบัติงานของบุคลากรในหนวยงานของตน ๒. ดานกฎหมาย ประชาชนมีโอกาสรูกฎหมายที่ เกียวกับตน ่ ๓. ดานประวัติศาสตร การเมืองและการปกครอง สังคมและเศรษฐกิจของชาติ ๔. ดานการวิจัยจะเปนแหลงรวบรวมขอมูลเบื้องตน ทุกสาขาวิชาและทุกระดับความรู ๕. ดานประชาชน จะใหความรูในดานตาง ๆ ๖. ดานหองสมุด จะเปนทรัพยากรเสริมความรู ใหแกครู อาจารย นักเรียน ไดใชเปนสื่อ ในการหาความรู ดูตวอยางครับ ั สิ่งพิมพรัฐบาลใหประโยชน หลายดานเลยนะ อาว ! หนังสืออางอิงที่ใหคําตอบหรือขอเท็จจริง ในทันที จบแลวนะครับ ตอไปจะเปนหนังสืออางอิง ที่บอกแหลงขอมูลครับ สนใจไหมครับ
  • 59. ๕๙ กรอบที่ ๓๗ สนใจคะ อยากรูเหมือนกันวามีอะไรบาง มีอยู ๒ ชนิดครับ คือ ๑. หนังสือบรรณานุกรม ๒. ดรรชนีวารสาร คุนเฉพาะชื่อแรกเทานัน ชื่อที่สองยากไหมคะ ้ แตก็ไมแนใจวาเหมือนที่เขาใจหรือไม
  • 60. ๖๐ กรอบที่ ๓๘ ทีละประเภทเลยนะ ลองฟงดูวาเหมือนทีเ่ ขาใจไหม บรรณานุกรม คือ หนังสือที่รวบรวมรายชื่อหนังสือ หรือสิ่งพิมพอน ๆ ทั้งในรูปแบบของสิ่งพิมพ และ ื่ สื่ออิเล็กทรอนิกสเขาดวยกัน เรียงลําดับตามอักษร ตัวแรกของชื่อผูแตง เหมือนอยางที่คิดไหมครับ ไมใชหรอก ทีคิดไวเปนบรรณานุกรม ่ ทายรายงาน แตนี่เปนหนังสือที่รวบรวมรายชื่อ ไมเหมือนกันหรอกคะ อยากรูถงประโยชนไหมละครับ วามีอะไรบาง ึ อาจจะเปนประโยชนสําหรับเธอบางนะ
  • 61. ๖๑ กรอบที่ ๓๙ อยากรูคะ นลบอกไดเลยคะ ประโยชนของบรรณานุกรม ๑. ชวยในการหาซื้อหนังสือเลมที่ตองการไดจาก สํานักพิมพใด หรือจะยืมไดจากหองสมุดแหงใด ๒. ชวยในการพิสูจน ตรวจสอบวารายละเอียดของ หนังสือเลมหนึง ๆ เปนไปตามนันจริง ๆ หรือ ่ ้ ทําใหรวา บัดนี้ไดมีการพิมพหนังสือชือนั้น ๆ แลว ู ่ ๓. ชวยในการเลือกหนังสือสําหรับบรรณารักษ ชมพูเธอรูวธีใชบรรณานุกรมหรือไม ถาเธอบอก ิ ประโยชนของบรรณานุกรมใหเราฟงแลวถูกตองนะ เราจะบอกวิธีใชใหเธอฟง ตามเรามาเลย เดินชา ๆ หนอยสินล รอเราดวย
  • 62. ๖๒ เฉลยกรอบที่ ๓๙ ประโยชนของบรรณานุกรม ๑. ชวยในการหาซื้อหนังสือเลมที่ตองการไดจาก สํานักพิมพใด หรือจะยืมไดจากหองสมุดแหงใด ๒. ชวยในการพิสูจน ตรวจสอบวารายละเอียดของ หนังสือเลมหนึง ๆ เปนไปตามนันจริง ๆ หรือ ่ ้ ทําใหรวา บัดนี้ไดมีการพิมพหนังสือชือนั้น ๆ แลว ู ่ ๓. ชวยในการเลือกหนังสือสําหรับบรรณารักษ ถูกไหมจะ ถูกตองจะ ตามไปเรื่องวิธีใชบรรณานุกรม เลยครับ
  • 63. ๖๓ กรอบที่ ๔๐ มาถึงเรื่องวิธใชบรรณานุกรมแลวนะครับ มีดังนี้ ี ๑. พิจารณาดูวาเรื่องที่ตองการเปนบรรณานุกรม ทัวไปหรือเฉพาะสาขา ่ ๒. พิจารณาดูวาขอเท็จจริงที่ตองการ เปนบรรณานุกรมลักษณะใด ๒.๑ เปนบรรณานุกรมอยางเดียว ๒.๒ เปนบรรณานุกรมทีมีบรรณนิทัศนสังเขป ่ ๒.๓ เปนบรรณานุกรมและมีคาวิจารณประกอบ ํ ๓. เลือกใชประเภทบรรณานุกรมใหถูกตองตรงกับ ขอเท็จจริงที่ตองการ ขอ ๓ นี่คลายกันทุกประเภทเลย มีอะไร จะแนะนําอีกไหม อือม ! หนังสือดรรชนี อยางไรละ อยากรูแลวคะ ชากอนถาอยากรูก็ชวยบอกวิธีใช  บรรณานุกรมกอนครับ แลวตามเราไปเลย
  • 64. ๖๔ เฉลยกรอบที่ ๔๐ วิธีใชบรรณานุกรมแลว มีดังนี้ ๑. พิจารณาดูวาเรื่องที่ตองการเปนบรรณานุกรม ทัวไปหรือเฉพาะสาขา ่ ๒. พิจารณาดูวาขอเท็จจริงที่ตองการ เปนบรรณานุกรมลักษณะใด ๒.๑ เปนบรรณานุกรมอยางเดียว ๒.๒ เปนบรรณานุกรมทีมีบรรณนิทัศนสังเขป ่ ๒.๓ เปนบรรณานุกรมและมีคาวิจารณประกอบ ํ ๓. เลือกใชประเภทบรรณานุกรมใหถูกตองตรงกับ ขอเท็จจริงที่ตองการ เกงมากครับชมพู เกง ๆ แบบนี้ตามไปดู เรื่องดรรชนีกนเลยครับ ั
  • 65. ๖๕ กรอบที่ ๔๑ หนังสืออางอิงประเภทสุดทายแลวนะครับ คือ หนังสือดรรชนี ชื่อเพราะเชียว คุนดวย แตไมรูจักหรอกคะ หนังสือดรรชนี คือ หนังสือทีรวบรวมรายการ ่ หัวขอเรื่องหรือบทความในวารสาร หนังสือพิมพ หนังสือ และวัสดุสิ่งพิมพตาง ๆ  ที่ไดรับการเรียบเรียงอยางมีระเบียบ ออ ! เปนการรวบรวมบทความจากวารสาร หนังสือพิมพ หนังสือ และวัสดุส่งพิมพนี่เอง ิ และมีหลายประเภทไหมคะนล
  • 66. ๖๖ กรอบที่ ๔๒ ไมกี่ประเภทหรอก แตลองฟงดูกอนนะ ตกลงคะ ลองเดาดูนะ มี ๓ ประเภทใชไหมละ เอะ ! เดาเกงจริง ๆ มี ๓ ประเภท ดังนี้ ๑. หนังสือดรรชนีวารสาร เปนเครื่องมือชวย คนหาบทความในวารสาร ๒. หนังสือดรรชนีหนังสือพิมพ เปนเครื่องมือชวย คนหาบทความในหนังสือพิมพ ๓. หนังสือดรรชนีหนังสือ โดยปกติหนังสือ วิชาการที่ไดมาตรฐานจะมีดรรชนีอยูทายเลม  เราเคยเห็นคะนล และชวยบอกวิธีใช หนังสืออางอิงประเภทนี้ใหเราฟงหนอย นะนลคนดี
  • 67. ๖๗ กรอบที่ ๔๓ ไดเลยครับ ตั้งใจฟงใหดีนะ วิธีใชหนังสือดรรชนี ๑. พิจารณาดูวาขอเท็จจริงที่ตองการเปนบทความ ในวารสาร หนังสือพิมพหรือหนังสือ เลือกใช ใหตรงกับขอมูลที่ตองการ ๒. ขอมูลที่มอยูเปนขอมูลลักษณะใด ชือผูเขียนหรือ ี ่ ชื่อบทความ เลือกใชดรรชนีใหตรงกับขอมูลที่มีอยู ๓. กอนใชดรรชนีแตละชื่อเรื่อง ควรอานคําแนะนํา การใชเปนลําดับแรก ๔. เมื่อไดขอเท็จจริงที่ตองการแลว พิจารณาแตละ ขอความวาหมายถึงอะไร แลวจึงคนหาบทความ ที่ตองการ โอโฮ ! เธอใหขอมูลเราละเอียดมากเลยนล เราตองทําขอสอบไดแน ๆ เลย เราขอบคุณ เธอมากเลยนะ เราไปกอนนะ เดี๋ยวกอนจะรีบไปไหน มาบอกวิธีการใชหนังสือดรรชนี ใหเราฟงกอน