SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 27
Descargar para leer sin conexión
การให้เหตุผล

นางกานต์ธีรา วาเพ็ชร
โรงเรียนดงเจนวิทยาคม



         หน้าแรก
การให้เหตุผล



                       การให้เหตุผล
   การให้เหตุผลแบบนิรนัย              การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การตรวจสอบความสมเหตุสมผล       การตรวจสอบความสมเหตุสมผล
         โดยใช้แผนภาพ                   โดยใช้ตาราง
 วิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ
การให้เหตุผล


      การให้เหตุผล

  การให้เหตุผลแบบนิรนัย
                           การให้เหตุผล กระบวนการให้เหตุผลเป็นกระบวนการที่นา
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย
                                 ข้อความหรือประพจน์ที่กาหดให้ ซึ่งเรียกว่า เหตุ
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ                       ( โดยอาจมีมากกว่า 1เหตุ)
                             มาเป็นข้ออ้าง ข้อสนับสนุนหรือแจกแสดงความสัมพันธ์
   วิธีการตรวจสอบความ                          เพื่อให้ได้ข้อความใหม่
    สมเหตุสมผลของการ          ซึ่งเรียกว่า ผลสรุป หรือ ข้อสรุป ซึ่งอาจแสดงได้ดังนี้
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                              หน้าแรก                     ต่อไป
การให้เหตุผล


      การให้เหตุผล

  การให้เหตุผลแบบนิรนัย     เหตุ 1                         เหตุ 1
                            เหตุ 2                         เหตุ 2      ผลสรุป
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย

การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ     โดยทั่วไปกระบวนการให้เหตุผลมี 2 ลักษณะคือ
   วิธีการตรวจสอบความ                1.การให้ผลแบบนิรนัย
    สมเหตุสมผลของการ
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ             2.การให้เหตุผลแบบอุปนัย

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                            หน้าแรก                    ย้อนกลับ
การให้เหตุผลแบบนิรนัย


      การให้เหตุผล

  การให้เหตุผลแบบนิรนัย
                                 การให้เหตุผลแบบนิรนัย เป็นการให้เหตุผลโดยนา
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย           ข้อความที่กาหนดให้ ซึ่งต้องยอมรับว่าเป็นจริงทั้งหมด
                                 มาเป็นข้ออ้างและสนับสนุนเพื่อสรุปเป็นข้อความจริง
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ           ใหม่ข้อความทีเ่ ป็น ข้ออ้างเรียกว่า ผลสรุป หรือ
                                 ข้อสรุป ซึงถ้าพบว่าเหตุที่กาหนดนั้นบังคับให้เกิดผล
                                           ่
   วิธีการตรวจสอบความ            สรุป แสดงว่า การให้เหตุเหตุผลดังกล่าวสมเหตุสมผล
    สมเหตุสมผลของการ
                                 แต่ถ้าพบว่าเหตุที่กาหนดนั้นบังคับให้เกิดผลสรุปไม่ได้
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ
                                 แสดงว่า การให้เหตุผล ดังกล่าวไม่สมเหตุสมผล
การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                                 หน้าแรก                      ต่อไป
การให้เหตุผลแบบนิรนัย


      การให้เหตุผล
                              ตัวอย่างการให้เหตุผลแบบนิรนัย
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย       ตัวอย่างที่ 1 เหตุ 1) จานวนคู่หมายถึงจานวนที่หารด้วย 2
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย                              ลงตัว
                                                 2) 6 หารด้วย 2 ลงตัว
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ
                                           ผล       6 เป็นจานวนคู่
   วิธีการตรวจสอบความ
    สมเหตุสมผลของการ          ตัวอย่างที่ 2 เหตุ 1) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็นสัตว์เลือดอุ่น
                                                 2) สุนัขเลี้ยงลูกด้วยนม
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง                       ผล      สุนัขเป็นสัตว์เลือดอุ่น
       คติเล็กน้อย
                                                    หน้าแรก                         ต่อไป
การให้เหตุผลแบบนิรนัย

                              ตัวอย่างการให้เหตุผลแบบนิรนัย
      การให้เหตุผล            ตัวอย่างที่ 3 เหตุ 1) นักเรียน ม.4 ทุกคนแต่งกายภู
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย                             ระเบียบ

 การให้เหตุผลแบบอุปนัย
                                                 2) สมชายเป็นนักเรียน ม.4
                                            ผล      สมชายแต่งกายถูกระเบียบ
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ
                                 จากตัวอย่างจะเห็นว่าการยอมรับความรู้พื้นฐานหรือความจริง
   วิธีการตรวจสอบความ         บางอย่างก่อนแล้วหาข้อสรุปจากสิ่งที่ยอมรับแล้วนั้น จะเรียกว่า ผล
    สมเหตุสมผลของการ          การสรุปผลจะถูกต้องก็ต่อเมื่อเป็นการสรุปได้อย่างสมเหตุสมผล (
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ      valid ) เช่น เหตุ 1) เรือทุกลาลอยน้าได้
                                               2) ถังน้าลอยน้าได้
การตรวจสอบโดยใช้ตาราง
                                          ผล ถังน้าเป็นเรือ
       คติเล็กน้อย
                                                     หน้าแรก                           ต่อไป
การให้เหตุผลแบบนิรนัย


      การให้เหตุผล                        การสรุปผลข้างต้นไม่สมเหตุสมผล แม้ว่าข้ออ้าง
                              หรือเหตุทั้งสองจะเป็น แต่การที่เราทราบว่าเรือทุกลาลอยน้าได้
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย       ก็ไม่ได้หมายความว่าสิ่งอื่นๆที่ลอยน้าได้จะเป็นเรือเสมอไป
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย
                              ข้อสรุปข้างต้นเป็นการสรุปที่ไม่สมเหตุสมผล
                                        สรุปว่า การให้เหตุผลแบบนิรนัยนั้น ผลหรือ
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ
                              ข้อสรุปจะถูกต้อง ก็ต่อเมื่อ
   วิธีการตรวจสอบความ                   1) ยอมรับว่าเหตุเป็นจริงทุกข้อ
    สมเหตุสมผลของการ
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ                2) การสรุปผลสมเหตุสมผล

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                                  หน้าแรก                      ต่อไป
การให้เหตุผลแบบนิรนัย

                              ตัวอย่างที่ 4 เหตุ 1) คนทุกคนต้องหายใจ
      การให้เหตุผล
                                              2) นายเด่นเป็นคน
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย
                                          ผลสรุป นายเด่นต้องหายใจ
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย
                                        จะเห็นได้ว่า จากเหตุ 1 และเหตุ 2 บังคับให้
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ        เกิดผลสรุปดังนั้นการให้เหตุผลนี้ สมเหตุสมผล
                              ตัวอย่างที่ 5 เหตุ 1) คนทุกคนต้องหายใจ
   วิธีการตรวจสอบความ
    สมเหตุสมผลของการ                          2) ไมค์หายใจได้
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ
                                          ผลสรุป ไมค์เป็นคน
การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                                  หน้าแรก                      ต่อไป
การให้เหตุผลแบบนิรนัย


      การให้เหตุผล                         จะเห็นได้ว่า จากเหตุ 2 ไมค์หายใจได้ และจาก
                                เหตุ 1 ระบุว่าคนทุกคนต้องหายใจได้ หมายความว่า คนทุก
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย
                                คนเป็นสิงที่หายใจได้ นั่นคือสิ่งที่หายใจได้อาจมีหลายสิ่ง
                                         ่
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย          และการที่ไมค์หายใจได้ ก็ไม่สามารถระบุได้ว่า ไมค์จะต้อง
                                เป็นคนเสมอไปอาจเป็นสิงอื่นที่ไม่ใช่คนแต่หายใจได้ ก็
                                                         ่
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ          อาจเป็นไปได้ ดังนั้นจะเห็นว่า เหตุ 1 และเหตุ 2 บังคับให้
                                เกิดผลสรุปไม่ได้ แสดงว่า การให้เหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล
   วิธีการตรวจสอบความ
    สมเหตุสมผลของการ
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                                 หน้าแรก                     ย้อนกลับ
การให้เหตุผลแบบอุปนัย


      การให้เหตุผล                      การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นการให้เหตุผลโดยอาศัย
                            ข้อสังเกตหรือผลการทดลองจากหลายๆตัวอย่าง มาสรุปเป็น
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย     ข้อตกลง หรือข้อคาดเดาทั่วไปหรือคาพยากรณ์ซึ่งจะเห็นว่าการ
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย
                            จะนาเอาข้อสังเกต หรือผลการทดลองจากบางหน่วยมาสนับสนุน
                            ให้ได้ข้อตกลงหรือข้อความทั่วไปซึ่งกินความถึงทุกหน่วย ย่อม
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ      ไม่สมเหตุสมผลเพราะเป็นการอนุมานเกินสิงที่กาหนดให้ซึ่ง
                                                                     ่
                            หมายความว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัยจะต้องมีกฎของความ
   วิธีการตรวจสอบความ       สมเหตุสมผลเฉพาะของตนเองนั่นคือ จะต้องมีข้อสังเกต หรือผล
    สมเหตุสมผลของการ        การทดลอง หรือ มีประสบการณ์ที่มากมายพอที่จะปักใจเชื่อได้
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ    แต่ก็ยังไม่สามารถแน่ใจในผลสรุปได้เต็มที่
การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                                หน้าแรก                    ต่อไป
การให้เหตุผลแบบอุปนัย


                            เหมือนกับการให้เหตุผลแบบนิรนัยดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าการให้
      การให้เหตุผล
                            เหตุผลแบบนิรนัยจะให้ความแน่นอนแต่การให้เหตุผลแบบอุปนัย
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย     จะให้ความน่าจะเป็น
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย                   ตัวอย่างการให้เหตุผลแบบอุปนัย เช่น เราเห็นว่ามีปลา
                            จานวนมากที่ออกลูกเป็นไข่เราจึงอนุมานว่า “ปลาทุกชนิดออกลูก
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ      เป็นไข่” ซึงกรณีนี้ถือว่าไม่สมเหตุสมผล ทั้งนี้เพราะข้อสังเกต
                                       ่
                            หรือ ตัวอย่างที่พบยังไม่มากพอที่จะสรุป เพราะโดยข้อเท็จจริง
   วิธีการตรวจสอบความ       แล้วมีปลาบางชนิดออกลูกเป็นตัว เช่น ปลาหางนกยูงเป็นต้น
    สมเหตุสมผลของการ
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ    โดยทั่วไปการให้เหตุผลแบบอุปนัยนี้ มักนิยมใช้ในการศึกษา
                            ค้นคว้าคุณสมบัติตางๆ ทางด้านวิทยาศาสตร์ เช่น ข้อสรุปที่ว่าการ
                                                ่
การตรวจสอบโดยใช้ตาราง       สกัดจากสะเดาสามารถใช้เป็นยากาจัดศัตรูพืชได้

       คติเล็กน้อย
                                                  หน้าแรก                      ต่อไป
การให้เหตุผลแบบอุปนัย


                              ซึ่งข้อสรุปดังกล่าวมาจากการทดลองซ้าๆ กันหลายๆครั้ง แล้ว
      การให้เหตุผล
                              ได้ผลการทดลองที่ตรงกันหรือในทางคณิตศาสตร์จะใช้การให้
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย       เหตุผลแบบอุปนัยในการสร้างสัจพจน์ เช่น เมื่อเราทดลอง
                              ลากเส้นตรงสองเส้นให้ตัดกัน เราก็พบว่าเส้นตรงสองเส้นจะ
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย        ตัดกันเพียงจุดๆเดียวเท่านัน ไม่ว่าจะทดลองลากกี่ครั้งก็ตาม
                                                        ้
                              เราก็อนุมานว่า “เส้นตรงสองเส้นตัดกันเพียงจุดๆเดียวเท่านั้น”
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ

   วิธีการตรวจสอบความ
    สมเหตุสมผลของการ
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                                  หน้าแรก                    ย้อนกลับ
การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้แผนภาพ

                               ในการพิจารณาความสมเหตุสมผลกับการให้เหตุผล อาจทาได้
      การให้เหตุผล             โดยใช้แผนภาพ ซึ่งใช้ปิด เช่น วงกลมหรือวงรี แทนเทอมต่างๆ
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย
                               ซึ่งทาหน้าทีเ่ ป็นประธานและภาคแสดงในประโยคตรรกวิทยา
                               แล้วเขียนรูปปิดเหล่านั้นตามความสัมพันธ์ของเหตุที่กาหนดให้
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย         จากนั้นจึงพิจารณาความสมเหตุสมผล จากแผนภาพที่ได้
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ                  แผนภาพที่ใช้ในการตรวจสอบความสมเหตุสมผล
                               มีรูปแบบมาตรฐาน 4 รูปแบบดังนี้
                               รูปแบบที่ 1 “ A ทุกตัวเป็น B “
   วิธีการตรวจสอบความ
    สมเหตุสมผลของการ
                                                      B
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง                                 A
       คติเล็กน้อย
                                                     หน้าแรก                   ต่อไป
การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้แผนภาพ

                                   เขียนวงกลม A และ B ซ้อนกัน โดย A อยู่ภายใน B ส่วนที่
      การให้เหตุผล              แรเงาแสดงว่า “ A ทุกตัวเป็น B”
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย         รูปแบบที่ 2 “A บางตัวเป็น B”
                                        A
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย                             B
                                                           เขียนวงกลม A และ B ตัดกันส่วนที่
                                               B        แรเงาแสดงว่า “ A บางตัวเป็น B”
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ

   วิธีการตรวจสอบความ           รูปแบบที่ 3 “ไม่มีA ตัวใดเป็น B”
    สมเหตุสมผลของการ                  A                   B
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ                                    เขียนวงกลม A และ B แยกกันเพื่อ
                                                        B แสดงว่า “ไม่มีA ตัวใดเป็น B”
การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                                       หน้าแรก                   ต่อไป
การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้แผนภาพ


                                รูปแบบที่ 4 “A บางตัวไม่เป็น B”
      การให้เหตุผล
                                     A         B
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย                              เขียนวงกลม A และ B ตัดกันส่วนที่
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย                            แรเงาแสดงว่า “A บางตัวไม่เป็น B ”

การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ

   วิธีการตรวจสอบความ
    สมเหตุสมผลของการ
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                                 หน้าแรก                 ย้อนกลับ
วิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผล
                             ของการใช้เหตุผลโดยใช้แผนภาพ

                                  1.      เปลี่ยนประโยคหรือข้อความทั่วไปให้เป็น
      การให้เหตุผล
                                  ประโยคตรรกวิทยา เพื่อแยกเทอมและตัวเชื่อม
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย           2.        ใช้แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของเทอมต่างๆ
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย            ในเหตุ 1 และเหตุ 2 ตามรูปแบบมาตรฐาน
                                  3.        นาแผนภาพในข้อ 2 มารวมกันหรือซ้อนกันจะ
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ
                                  ได้แผนภาพรวมของเหตุ 1 และ เหตุ 2 ซึ่งแผนภาพรวม
   วิธีการตรวจสอบความ
                                  ดังกล่าวอาจเกิดได้หลายรูปแบบ
    สมเหตุสมผลของการ              4.       นาผลสรุปที่กาหนด มาวิเคราะห์ความ
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ
                                  สมเหตุสมผลโดยพิจารณาความสอดคล้องกัน ระหว่าง
                                  ผลสรุปกับแผนภาพรวม ดังนี้
การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                                   หน้าแรก                   ต่อไป
วิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผล
                             ของการใช้เหตุผลโดยใช้แผนภาพ

      การให้เหตุผล
                                  ก)         ถ้าผลสรุปไม่สอดคล้องกับแผนภาพรวมอย่าง
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย
                                  น้อย 1 รูปแบบ แสดงว่าการให้ เหตุผลแบบนี้ ไม่
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย            สมเหตุสมผล

การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ            ข)       ถ้าผลสรุปสอดคล้องกับแผนภาพรวมทุกรูปแบบ
                                  แสดงว่าการให้เหตุผลนี้ สมเหตุสมผล
   วิธีการตรวจสอบความ
    สมเหตุสมผลของการ
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                                   หน้าแรก                   ต่อไป
วิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผล
                             ของการใช้เหตุผลโดยใช้แผนภาพ

                                 ตัวอย่าง จงตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการให้เหตุผล
      การให้เหตุผล               โดยใช้แผนภาพ
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย                   เหตุ 1 : คนดีทุกคนไว้วางใจได้
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย                    เหตุ 2 : คนที่ไว้วางใจได้ทุกคนเป็นคนซื้อสัตย์
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ                    ผลสรุป : คนดีทุกคนเป็นคนซื้อสัตย์
                                 วิธีทา
   วิธีการตรวจสอบความ
    สมเหตุสมผลของการ                      เหตุ 1 : คนดีทุกคน เป็น คนทีวางไว้ใจได้
                                                                      ่
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ
                                          เหตุ 2 : คนที่ไว้วางใจ ได้ทุกคน เป็น คนซื่อสัตย์
การตรวจสอบโดยใช้ตาราง                     ผลสรุป : คนดีทุกคน เป็น คนซื่อสัตย์
       คติเล็กน้อย
                                                    หน้าแรก                       ต่อไป
วิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผล
                             ของการใช้เหตุผลโดยใช้แผนภาพ

                                 จากเหตุที่ 1
      การให้เหตุผล

  การให้เหตุผลแบบนิรนัย                         คนที่ไว้วางใจได้

                                                      คนดี
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย

การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ
                                 จากเหตุที่ 2
   วิธีการตรวจสอบความ                             คนซื่อสัตย์
    สมเหตุสมผลของการ
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ                         คนที่ไว้วางใจได้

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง                                  คนดี
       คติเล็กน้อย
                                                  หน้าแรก           ต่อไป
วิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผล
                             ของการใช้เหตุผลโดยใช้แผนภาพ

      การให้เหตุผล                         จากแผนภาพจะเห็นว่า วงของ “คนดี” อยู่ในวง
                                 ของ “คนซื่อสัตย์” แสดงว่า “คนดีทุกคนเป็นคนซื่อสัตย์” ซึ่ง
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย
                                 สอดคล้องกับผลสรุปที่กาหนดดังนั้น การให้เหตุผลนี้
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย           สมเหตุสมผล

การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ

   วิธีการตรวจสอบความ
    สมเหตุสมผลของการ
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                                     หน้าแรก                     ย้อนกลับ
การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้ตาราง


                                            ในการให้เหตุผล เราสามารถตรวจสอบความ
      การให้เหตุผล
                                   สมเหตุสมผล หรือ หาผลสรุปที่สมเหตุสมผลได้โดยใช้
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย            แผนภาพ นอกจากนี้ยังอาจใช้ตาราง ช่วยในการวิเคราะห์ความ
                                   สมเหตุสมผลได้อีกกรณีหนึ่ง โดยเขียนเทอมแต่ละเทอมที่
                                   ปรากฏในเหตุที่กาหนด ลงตาราง แล้วหาความสัมพันธ์ที่
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย

การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ             สมเหตุสมผลระหว่างเทอมเหล่านั้น

   วิธีการตรวจสอบความ
    สมเหตุสมผลของการ
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                                       หน้าแรก                   ต่อไป
การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้ตาราง


                                   ตัวอย่าง มีเรือ 3 ลา ลอยอยู่ในทะเล เป็นเรือประมงเรือบรรทุก
      การให้เหตุผล
                                   สินค้า และเรือใบ ซึ่งมีชื่อว่า เจ้าสมุทร หวานเย็น และ พยัคฆ์
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย            คาราม ถ้าทราบข้อมูลว่า
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย                        “ เรือประมงกาลังออกจากฝั่ง ขณะที่เรือหวานเย็น
                                   กาลังมุ่งหน้าสู่ฝั่ง และเรือเจ้าสมุทรกาลังกางใบอยู่ใกล้ชายฝั่ง”
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ
                                              จะสรุปได้หรือไม่ว่า “เรือบรรทุกสินค้าชื่อหวานเย็น”
   วิธีการตรวจสอบความ
    สมเหตุสมผลของการ
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                                          หน้าแรก                        ต่อไป
การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้ตาราง


                                   แนวคิด สร้างตารางดังนี้
      การให้เหตุผล
                                              ประเภท
                                                                     เรือบรรทุก
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย                                เรือประมง                  เรือใบ
                                   ชื่อเรือ                             สินค้า
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย
                                      จ้าวสมุทร
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ
                                      หวานเย็น
   วิธีการตรวจสอบความ
    สมเหตุสมผลของการ
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ            พยัคฆ์คาราม

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                                           หน้าแรก                ต่อไป
การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้ตาราง

                                   เขียนเครื่องหมาย / ในช่องที่ชื่อเรือตรงกับประเภทของเรือ X ใน      ช่องที่ชื่อ
      การให้เหตุผล                              เรือไม่ตรงกับประเภทของเรือ
                                   เนื่องจาก 1. “เรือจ้าวสมุทรกาลังกางใบอยู่ใกล้ชายฝั่ง”แสดงว่า      จ้าว
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย                           สมุทรเป็นชื่อเรือใบ
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย                         ประเภท
                                                                         เรือบรรทุก
                                                               เรือประมง                          เรือใบ
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ                                                      สินค้า
                                    ชื่อเรือ
   วิธีการตรวจสอบความ                     จ้าวสมุทร                 X                X               /
    สมเหตุสมผลของการ
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ                  หวานเย็น                                                   X

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง
                                        พยัคฆ์คาราม                                                  X

       คติเล็กน้อย
                                                              หน้าแรก                             ต่อไป
การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้ตาราง


      การให้เหตุผล                  เนื่องจาก 2. “เรือประมงกาลังออกจากฝั่ง ขณะทีเ่ รือหวานเย็น
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย
                                    กาลังมุ่งหน้าเข้าฝั่ง
                                              แสดงว่า เรือประมงกับเรือหวานเย็นเป็นคนละลา
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย
                                    กันและเรือประมงจะต้อง
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ
                                              ไม่ใช่เรือหวานเย็น ดังนั้นเรือประมง จะต้องชื่อ
                                    พยัคฆ์คาราม และเรือบรรทุก
   วิธีการตรวจสอบความ
    สมเหตุสมผลของการ
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                                        หน้าแรก                      ต่อไป
การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้ตาราง

                                              ประเภท
      การให้เหตุผล                                                   เรือบรรทุก
                                                           เรือประมง                    เรือใบ
                                                                        สินค้า
  การให้เหตุผลแบบนิรนัย            ชื่อเรือ
 การให้เหตุผลแบบอุปนัย                   จ้าวสมุทร             X             X             /
การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ                   หวานเย็น              X             /            X
                                       พยัคฆ์คาราม             /             X            X
   วิธีการตรวจสอบความ
    สมเหตุสมผลของการ                         ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า “เรือบรรทุกสินค้าชื่อหวานเย็น”
                                   เพราะเป็นข้อสรุปสมเหตุสมผล
 ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ

การตรวจสอบโดยใช้ตาราง

       คติเล็กน้อย
                                                         หน้าแรก                     ย้อนกลับ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netพัน พัน
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandfirstnarak
 
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยการเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยPrachyanun Nilsook
 
Alcoholcvaldehyde ketone
Alcoholcvaldehyde ketoneAlcoholcvaldehyde ketone
Alcoholcvaldehyde ketonekruaoijaipcccr
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกRatarporn Ritmaha
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กGed Gis
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1tery10
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างkrupeak
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึมkrookay2012
 

La actualidad más candente (20)

แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemand
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยการเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
 
Alcoholcvaldehyde ketone
Alcoholcvaldehyde ketoneAlcoholcvaldehyde ketone
Alcoholcvaldehyde ketone
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
แผนภาพต้นไม้11
แผนภาพต้นไม้11แผนภาพต้นไม้11
แผนภาพต้นไม้11
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 

Destacado

การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยLaongphan Phan
 
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)lovelyya2553
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์IamPloy JunSeop
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะsasithorn woralee
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์kingkarn somchit
 
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลAon Narinchoti
 

Destacado (11)

การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัย
 
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะ
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 

Similar a การให้เหตุผล

การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผลKruGift Girlz
 
นำเสนอการให้เหตุผลแบบอุปนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลแบบอุปนัย(ภาษาไทย)นำเสนอการให้เหตุผลแบบอุปนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลแบบอุปนัย(ภาษาไทย)lovelyya2553
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยRamkhamhaeng University
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552wongsrida
 
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)Rank Saharath
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงคุณครูพี่อั๋น
 

Similar a การให้เหตุผล (17)

Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
Reasoning55
Reasoning55Reasoning55
Reasoning55
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
Research Format
Research FormatResearch Format
Research Format
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
นำเสนอการให้เหตุผลแบบอุปนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลแบบอุปนัย(ภาษาไทย)นำเสนอการให้เหตุผลแบบอุปนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลแบบอุปนัย(ภาษาไทย)
 
ppt
pptppt
ppt
 
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัย
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
แนวคิด
แนวคิดแนวคิด
แนวคิด
 
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
 

การให้เหตุผล

  • 2. การให้เหตุผล การให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผลแบบอุปนัย การตรวจสอบความสมเหตุสมผล การตรวจสอบความสมเหตุสมผล โดยใช้แผนภาพ โดยใช้ตาราง วิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ
  • 3. การให้เหตุผล การให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผล กระบวนการให้เหตุผลเป็นกระบวนการที่นา การให้เหตุผลแบบอุปนัย ข้อความหรือประพจน์ที่กาหดให้ ซึ่งเรียกว่า เหตุ การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ ( โดยอาจมีมากกว่า 1เหตุ) มาเป็นข้ออ้าง ข้อสนับสนุนหรือแจกแสดงความสัมพันธ์ วิธีการตรวจสอบความ เพื่อให้ได้ข้อความใหม่ สมเหตุสมผลของการ ซึ่งเรียกว่า ผลสรุป หรือ ข้อสรุป ซึ่งอาจแสดงได้ดังนี้ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 4. การให้เหตุผล การให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบนิรนัย เหตุ 1 เหตุ 1 เหตุ 2 เหตุ 2 ผลสรุป การให้เหตุผลแบบอุปนัย การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ โดยทั่วไปกระบวนการให้เหตุผลมี 2 ลักษณะคือ วิธีการตรวจสอบความ 1.การให้ผลแบบนิรนัย สมเหตุสมผลของการ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ 2.การให้เหตุผลแบบอุปนัย การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ย้อนกลับ
  • 5. การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผลแบบนิรนัย เป็นการให้เหตุผลโดยนา การให้เหตุผลแบบอุปนัย ข้อความที่กาหนดให้ ซึ่งต้องยอมรับว่าเป็นจริงทั้งหมด มาเป็นข้ออ้างและสนับสนุนเพื่อสรุปเป็นข้อความจริง การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ ใหม่ข้อความทีเ่ ป็น ข้ออ้างเรียกว่า ผลสรุป หรือ ข้อสรุป ซึงถ้าพบว่าเหตุที่กาหนดนั้นบังคับให้เกิดผล ่ วิธีการตรวจสอบความ สรุป แสดงว่า การให้เหตุเหตุผลดังกล่าวสมเหตุสมผล สมเหตุสมผลของการ แต่ถ้าพบว่าเหตุที่กาหนดนั้นบังคับให้เกิดผลสรุปไม่ได้ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ แสดงว่า การให้เหตุผล ดังกล่าวไม่สมเหตุสมผล การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 6. การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผล ตัวอย่างการให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผลแบบนิรนัย ตัวอย่างที่ 1 เหตุ 1) จานวนคู่หมายถึงจานวนที่หารด้วย 2 การให้เหตุผลแบบอุปนัย ลงตัว 2) 6 หารด้วย 2 ลงตัว การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ ผล 6 เป็นจานวนคู่ วิธีการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของการ ตัวอย่างที่ 2 เหตุ 1) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็นสัตว์เลือดอุ่น 2) สุนัขเลี้ยงลูกด้วยนม ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง ผล สุนัขเป็นสัตว์เลือดอุ่น คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 7. การให้เหตุผลแบบนิรนัย ตัวอย่างการให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผล ตัวอย่างที่ 3 เหตุ 1) นักเรียน ม.4 ทุกคนแต่งกายภู การให้เหตุผลแบบนิรนัย ระเบียบ การให้เหตุผลแบบอุปนัย 2) สมชายเป็นนักเรียน ม.4 ผล สมชายแต่งกายถูกระเบียบ การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ จากตัวอย่างจะเห็นว่าการยอมรับความรู้พื้นฐานหรือความจริง วิธีการตรวจสอบความ บางอย่างก่อนแล้วหาข้อสรุปจากสิ่งที่ยอมรับแล้วนั้น จะเรียกว่า ผล สมเหตุสมผลของการ การสรุปผลจะถูกต้องก็ต่อเมื่อเป็นการสรุปได้อย่างสมเหตุสมผล ( ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ valid ) เช่น เหตุ 1) เรือทุกลาลอยน้าได้ 2) ถังน้าลอยน้าได้ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง ผล ถังน้าเป็นเรือ คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 8. การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผล การสรุปผลข้างต้นไม่สมเหตุสมผล แม้ว่าข้ออ้าง หรือเหตุทั้งสองจะเป็น แต่การที่เราทราบว่าเรือทุกลาลอยน้าได้ การให้เหตุผลแบบนิรนัย ก็ไม่ได้หมายความว่าสิ่งอื่นๆที่ลอยน้าได้จะเป็นเรือเสมอไป การให้เหตุผลแบบอุปนัย ข้อสรุปข้างต้นเป็นการสรุปที่ไม่สมเหตุสมผล สรุปว่า การให้เหตุผลแบบนิรนัยนั้น ผลหรือ การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ ข้อสรุปจะถูกต้อง ก็ต่อเมื่อ วิธีการตรวจสอบความ 1) ยอมรับว่าเหตุเป็นจริงทุกข้อ สมเหตุสมผลของการ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ 2) การสรุปผลสมเหตุสมผล การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 9. การให้เหตุผลแบบนิรนัย ตัวอย่างที่ 4 เหตุ 1) คนทุกคนต้องหายใจ การให้เหตุผล 2) นายเด่นเป็นคน การให้เหตุผลแบบนิรนัย ผลสรุป นายเด่นต้องหายใจ การให้เหตุผลแบบอุปนัย จะเห็นได้ว่า จากเหตุ 1 และเหตุ 2 บังคับให้ การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ เกิดผลสรุปดังนั้นการให้เหตุผลนี้ สมเหตุสมผล ตัวอย่างที่ 5 เหตุ 1) คนทุกคนต้องหายใจ วิธีการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของการ 2) ไมค์หายใจได้ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ ผลสรุป ไมค์เป็นคน การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 10. การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผล จะเห็นได้ว่า จากเหตุ 2 ไมค์หายใจได้ และจาก เหตุ 1 ระบุว่าคนทุกคนต้องหายใจได้ หมายความว่า คนทุก การให้เหตุผลแบบนิรนัย คนเป็นสิงที่หายใจได้ นั่นคือสิ่งที่หายใจได้อาจมีหลายสิ่ง ่ การให้เหตุผลแบบอุปนัย และการที่ไมค์หายใจได้ ก็ไม่สามารถระบุได้ว่า ไมค์จะต้อง เป็นคนเสมอไปอาจเป็นสิงอื่นที่ไม่ใช่คนแต่หายใจได้ ก็ ่ การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ อาจเป็นไปได้ ดังนั้นจะเห็นว่า เหตุ 1 และเหตุ 2 บังคับให้ เกิดผลสรุปไม่ได้ แสดงว่า การให้เหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล วิธีการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของการ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ย้อนกลับ
  • 11. การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นการให้เหตุผลโดยอาศัย ข้อสังเกตหรือผลการทดลองจากหลายๆตัวอย่าง มาสรุปเป็น การให้เหตุผลแบบนิรนัย ข้อตกลง หรือข้อคาดเดาทั่วไปหรือคาพยากรณ์ซึ่งจะเห็นว่าการ การให้เหตุผลแบบอุปนัย จะนาเอาข้อสังเกต หรือผลการทดลองจากบางหน่วยมาสนับสนุน ให้ได้ข้อตกลงหรือข้อความทั่วไปซึ่งกินความถึงทุกหน่วย ย่อม การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ ไม่สมเหตุสมผลเพราะเป็นการอนุมานเกินสิงที่กาหนดให้ซึ่ง ่ หมายความว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัยจะต้องมีกฎของความ วิธีการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลเฉพาะของตนเองนั่นคือ จะต้องมีข้อสังเกต หรือผล สมเหตุสมผลของการ การทดลอง หรือ มีประสบการณ์ที่มากมายพอที่จะปักใจเชื่อได้ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ แต่ก็ยังไม่สามารถแน่ใจในผลสรุปได้เต็มที่ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 12. การให้เหตุผลแบบอุปนัย เหมือนกับการให้เหตุผลแบบนิรนัยดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าการให้ การให้เหตุผล เหตุผลแบบนิรนัยจะให้ความแน่นอนแต่การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้เหตุผลแบบนิรนัย จะให้ความน่าจะเป็น การให้เหตุผลแบบอุปนัย ตัวอย่างการให้เหตุผลแบบอุปนัย เช่น เราเห็นว่ามีปลา จานวนมากที่ออกลูกเป็นไข่เราจึงอนุมานว่า “ปลาทุกชนิดออกลูก การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ เป็นไข่” ซึงกรณีนี้ถือว่าไม่สมเหตุสมผล ทั้งนี้เพราะข้อสังเกต ่ หรือ ตัวอย่างที่พบยังไม่มากพอที่จะสรุป เพราะโดยข้อเท็จจริง วิธีการตรวจสอบความ แล้วมีปลาบางชนิดออกลูกเป็นตัว เช่น ปลาหางนกยูงเป็นต้น สมเหตุสมผลของการ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ โดยทั่วไปการให้เหตุผลแบบอุปนัยนี้ มักนิยมใช้ในการศึกษา ค้นคว้าคุณสมบัติตางๆ ทางด้านวิทยาศาสตร์ เช่น ข้อสรุปที่ว่าการ ่ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง สกัดจากสะเดาสามารถใช้เป็นยากาจัดศัตรูพืชได้ คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 13. การให้เหตุผลแบบอุปนัย ซึ่งข้อสรุปดังกล่าวมาจากการทดลองซ้าๆ กันหลายๆครั้ง แล้ว การให้เหตุผล ได้ผลการทดลองที่ตรงกันหรือในทางคณิตศาสตร์จะใช้การให้ การให้เหตุผลแบบนิรนัย เหตุผลแบบอุปนัยในการสร้างสัจพจน์ เช่น เมื่อเราทดลอง ลากเส้นตรงสองเส้นให้ตัดกัน เราก็พบว่าเส้นตรงสองเส้นจะ การให้เหตุผลแบบอุปนัย ตัดกันเพียงจุดๆเดียวเท่านัน ไม่ว่าจะทดลองลากกี่ครั้งก็ตาม ้ เราก็อนุมานว่า “เส้นตรงสองเส้นตัดกันเพียงจุดๆเดียวเท่านั้น” การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ วิธีการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของการ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ย้อนกลับ
  • 14. การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้แผนภาพ ในการพิจารณาความสมเหตุสมผลกับการให้เหตุผล อาจทาได้ การให้เหตุผล โดยใช้แผนภาพ ซึ่งใช้ปิด เช่น วงกลมหรือวงรี แทนเทอมต่างๆ การให้เหตุผลแบบนิรนัย ซึ่งทาหน้าทีเ่ ป็นประธานและภาคแสดงในประโยคตรรกวิทยา แล้วเขียนรูปปิดเหล่านั้นตามความสัมพันธ์ของเหตุที่กาหนดให้ การให้เหตุผลแบบอุปนัย จากนั้นจึงพิจารณาความสมเหตุสมผล จากแผนภาพที่ได้ การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ แผนภาพที่ใช้ในการตรวจสอบความสมเหตุสมผล มีรูปแบบมาตรฐาน 4 รูปแบบดังนี้ รูปแบบที่ 1 “ A ทุกตัวเป็น B “ วิธีการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของการ B ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง A คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 15. การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้แผนภาพ เขียนวงกลม A และ B ซ้อนกัน โดย A อยู่ภายใน B ส่วนที่ การให้เหตุผล แรเงาแสดงว่า “ A ทุกตัวเป็น B” การให้เหตุผลแบบนิรนัย รูปแบบที่ 2 “A บางตัวเป็น B” A การให้เหตุผลแบบอุปนัย B เขียนวงกลม A และ B ตัดกันส่วนที่ B แรเงาแสดงว่า “ A บางตัวเป็น B” การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ วิธีการตรวจสอบความ รูปแบบที่ 3 “ไม่มีA ตัวใดเป็น B” สมเหตุสมผลของการ A B ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ เขียนวงกลม A และ B แยกกันเพื่อ B แสดงว่า “ไม่มีA ตัวใดเป็น B” การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 16. การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้แผนภาพ รูปแบบที่ 4 “A บางตัวไม่เป็น B” การให้เหตุผล A B การให้เหตุผลแบบนิรนัย เขียนวงกลม A และ B ตัดกันส่วนที่ การให้เหตุผลแบบอุปนัย แรเงาแสดงว่า “A บางตัวไม่เป็น B ” การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ วิธีการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของการ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ย้อนกลับ
  • 17. วิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผล ของการใช้เหตุผลโดยใช้แผนภาพ 1. เปลี่ยนประโยคหรือข้อความทั่วไปให้เป็น การให้เหตุผล ประโยคตรรกวิทยา เพื่อแยกเทอมและตัวเชื่อม การให้เหตุผลแบบนิรนัย 2. ใช้แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของเทอมต่างๆ การให้เหตุผลแบบอุปนัย ในเหตุ 1 และเหตุ 2 ตามรูปแบบมาตรฐาน 3. นาแผนภาพในข้อ 2 มารวมกันหรือซ้อนกันจะ การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ ได้แผนภาพรวมของเหตุ 1 และ เหตุ 2 ซึ่งแผนภาพรวม วิธีการตรวจสอบความ ดังกล่าวอาจเกิดได้หลายรูปแบบ สมเหตุสมผลของการ 4. นาผลสรุปที่กาหนด มาวิเคราะห์ความ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ สมเหตุสมผลโดยพิจารณาความสอดคล้องกัน ระหว่าง ผลสรุปกับแผนภาพรวม ดังนี้ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 18. วิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผล ของการใช้เหตุผลโดยใช้แผนภาพ การให้เหตุผล ก) ถ้าผลสรุปไม่สอดคล้องกับแผนภาพรวมอย่าง การให้เหตุผลแบบนิรนัย น้อย 1 รูปแบบ แสดงว่าการให้ เหตุผลแบบนี้ ไม่ การให้เหตุผลแบบอุปนัย สมเหตุสมผล การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ ข) ถ้าผลสรุปสอดคล้องกับแผนภาพรวมทุกรูปแบบ แสดงว่าการให้เหตุผลนี้ สมเหตุสมผล วิธีการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของการ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 19. วิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผล ของการใช้เหตุผลโดยใช้แผนภาพ ตัวอย่าง จงตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการให้เหตุผล การให้เหตุผล โดยใช้แผนภาพ การให้เหตุผลแบบนิรนัย เหตุ 1 : คนดีทุกคนไว้วางใจได้ การให้เหตุผลแบบอุปนัย เหตุ 2 : คนที่ไว้วางใจได้ทุกคนเป็นคนซื้อสัตย์ การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ ผลสรุป : คนดีทุกคนเป็นคนซื้อสัตย์ วิธีทา วิธีการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของการ เหตุ 1 : คนดีทุกคน เป็น คนทีวางไว้ใจได้ ่ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ เหตุ 2 : คนที่ไว้วางใจ ได้ทุกคน เป็น คนซื่อสัตย์ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง ผลสรุป : คนดีทุกคน เป็น คนซื่อสัตย์ คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 20. วิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผล ของการใช้เหตุผลโดยใช้แผนภาพ จากเหตุที่ 1 การให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบนิรนัย คนที่ไว้วางใจได้ คนดี การให้เหตุผลแบบอุปนัย การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ จากเหตุที่ 2 วิธีการตรวจสอบความ คนซื่อสัตย์ สมเหตุสมผลของการ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ คนที่ไว้วางใจได้ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คนดี คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 21. วิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผล ของการใช้เหตุผลโดยใช้แผนภาพ การให้เหตุผล จากแผนภาพจะเห็นว่า วงของ “คนดี” อยู่ในวง ของ “คนซื่อสัตย์” แสดงว่า “คนดีทุกคนเป็นคนซื่อสัตย์” ซึ่ง การให้เหตุผลแบบนิรนัย สอดคล้องกับผลสรุปที่กาหนดดังนั้น การให้เหตุผลนี้ การให้เหตุผลแบบอุปนัย สมเหตุสมผล การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ วิธีการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของการ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ย้อนกลับ
  • 22. การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้ตาราง ในการให้เหตุผล เราสามารถตรวจสอบความ การให้เหตุผล สมเหตุสมผล หรือ หาผลสรุปที่สมเหตุสมผลได้โดยใช้ การให้เหตุผลแบบนิรนัย แผนภาพ นอกจากนี้ยังอาจใช้ตาราง ช่วยในการวิเคราะห์ความ สมเหตุสมผลได้อีกกรณีหนึ่ง โดยเขียนเทอมแต่ละเทอมที่ ปรากฏในเหตุที่กาหนด ลงตาราง แล้วหาความสัมพันธ์ที่ การให้เหตุผลแบบอุปนัย การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ สมเหตุสมผลระหว่างเทอมเหล่านั้น วิธีการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของการ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 23. การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้ตาราง ตัวอย่าง มีเรือ 3 ลา ลอยอยู่ในทะเล เป็นเรือประมงเรือบรรทุก การให้เหตุผล สินค้า และเรือใบ ซึ่งมีชื่อว่า เจ้าสมุทร หวานเย็น และ พยัคฆ์ การให้เหตุผลแบบนิรนัย คาราม ถ้าทราบข้อมูลว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัย “ เรือประมงกาลังออกจากฝั่ง ขณะที่เรือหวานเย็น กาลังมุ่งหน้าสู่ฝั่ง และเรือเจ้าสมุทรกาลังกางใบอยู่ใกล้ชายฝั่ง” การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ จะสรุปได้หรือไม่ว่า “เรือบรรทุกสินค้าชื่อหวานเย็น” วิธีการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของการ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 24. การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้ตาราง แนวคิด สร้างตารางดังนี้ การให้เหตุผล ประเภท เรือบรรทุก การให้เหตุผลแบบนิรนัย เรือประมง เรือใบ ชื่อเรือ สินค้า การให้เหตุผลแบบอุปนัย จ้าวสมุทร การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ หวานเย็น วิธีการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของการ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ พยัคฆ์คาราม การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 25. การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้ตาราง เขียนเครื่องหมาย / ในช่องที่ชื่อเรือตรงกับประเภทของเรือ X ใน ช่องที่ชื่อ การให้เหตุผล เรือไม่ตรงกับประเภทของเรือ เนื่องจาก 1. “เรือจ้าวสมุทรกาลังกางใบอยู่ใกล้ชายฝั่ง”แสดงว่า จ้าว การให้เหตุผลแบบนิรนัย สมุทรเป็นชื่อเรือใบ การให้เหตุผลแบบอุปนัย ประเภท เรือบรรทุก เรือประมง เรือใบ การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ สินค้า ชื่อเรือ วิธีการตรวจสอบความ จ้าวสมุทร X X / สมเหตุสมผลของการ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ หวานเย็น X การตรวจสอบโดยใช้ตาราง พยัคฆ์คาราม X คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 26. การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้ตาราง การให้เหตุผล เนื่องจาก 2. “เรือประมงกาลังออกจากฝั่ง ขณะทีเ่ รือหวานเย็น การให้เหตุผลแบบนิรนัย กาลังมุ่งหน้าเข้าฝั่ง แสดงว่า เรือประมงกับเรือหวานเย็นเป็นคนละลา การให้เหตุผลแบบอุปนัย กันและเรือประมงจะต้อง การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ ไม่ใช่เรือหวานเย็น ดังนั้นเรือประมง จะต้องชื่อ พยัคฆ์คาราม และเรือบรรทุก วิธีการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของการ ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ต่อไป
  • 27. การตรวจสอบความสมเหตุสมผลโดยใช้ตาราง ประเภท การให้เหตุผล เรือบรรทุก เรือประมง เรือใบ สินค้า การให้เหตุผลแบบนิรนัย ชื่อเรือ การให้เหตุผลแบบอุปนัย จ้าวสมุทร X X / การตรวจสอบโดยใช้แผนภาพ หวานเย็น X / X พยัคฆ์คาราม / X X วิธีการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของการ ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า “เรือบรรทุกสินค้าชื่อหวานเย็น” เพราะเป็นข้อสรุปสมเหตุสมผล ใช้เหตุผล โดยใช้ แผนภาพ การตรวจสอบโดยใช้ตาราง คติเล็กน้อย หน้าแรก ย้อนกลับ