SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 30
Descargar para leer sin conexión
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ (พ่อขุนรามคาแหง)




                                         พ่อขุนรามคาแหงมหาราช

   ประวัติการค้นพบ
   ขณะสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวยังไม่ได้เสวยราชย์ และทรงผนวชประทับอยู่ ณ วัดราชาธิราชนั้นได้
                                    ั
เสด็จประพาสหัวเมืองฝ่ายเหนือในพ.ศ.๒๓๗๖ เมื่อเสด็จไปถึงเมืองสุโขทัย ได้ทรงพบศิลาจารึก๒หลัก และ
แท่นหิน ๑ แท่น ตั้งอยู่ทเี่ นินปราสาทในพระราชวังเก่าสุโขทัย ต่อมาภายหลังปรากฎว่าเป็นศิลาจารึกของพ่อ
ขุนรามคาแหงหลักหนึงศิลาจารึกภาษาขอมของพระมหาธรรมราชาลิไทยหลักหนึงและแท่นหินนั้น คือ พระ
                       ่                                                    ่
ที่นั่งมนังคศิลาบาตรพระองค์ได้โปรดให้นาโบราณวัตถุทั้งสามชิ้นกลับมายังพระนคร และได้ทรงพยายาม
อ่านศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหง จนทราบว่าจารึกนี้สันนิษฐานว่าสร้างเมื่อ พ.ศ.๑๘๓๕
 ภายหลังเมื่อได้เสวยสิริราชสมบัติแล้วจึงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายจากวัดบวรนิเวศไปตั้ งไว้ที่ศาลารายภายในวัด
พระศรีรัตนศาสดาราม ข้างด้านเหนือพระอุโบสถหลังที่สองนับจากตะวันตก จนถึงปีพ,ศ.2466จึงได้ย้ายมา
ไว้ที่หอสมุดวชิรญาณในปีพ.ศ.2468จึงโปรดเกล้าให้ย้ายจารึกมาเก็บไว้ณพระที่นั่งศิวโมกขพิมานพ.ศ.2511
จึงได้ย้ายเฉพาะศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงมหาราชไปตั้งที่อาคารสร้างใหม่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระ
นครด้านเหนือชั้นบน ซึ่งเป็นห้องแสดงศิลปะสมัยสุโขทัยเพื่อประโยชน์ในการศึกษาทางประวัติศาสตร์และ
โบราณคดี และได้จัดทาศิลาจารึกหลักจาลองขึ้นเก็บรักษาไว้ที่หอวชิราวุธแทน




         ศิลาจารึกหลักที่ ๑(พ่อขุนรามคาแหง)
ลักษณะของศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง
    ลักษณะของศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงเป็นหินชนวนสีเ่ หลียมมียอดแหลมปลายมน สูง ๑ เมตร ๑๑
                                                          ่
เซนติเมตร มีข้อความจารึกทั้ง ๔ ด้าน สูง ๕๙ เซนติเมตรกว้าง ๓๕ เซนติเมตร ด้านที่ ๑และ๒ มี ๓๕ บรรทัด
ด้านที่ ๓และด้านที่ ๔ มี ๒๗ บรรทัด
 การบันทึกของศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงแบ่งออกเป็น 3 ตอน
ตอนที่ ๑ ตั้งแต่บรรทัดที่ ๑ – ๑๘เป็นเรืองของพ่อขุนรามคาแหงทรงเล่าประวัติพระองค์เอง ตั้งแต่ประสูติจน
                                       ่
เสวยราชย์ใช้สรรพนามแทนชื่อของพระองค์ว่ากู
ตอนที่ ๒ ตั้งแต่บรรทัดที่ ๑๙ เล่าเหตุการณ์ต่างๆและขนบประเพณีของกรุงสุโขทัยเล่าเรื่องการสร้างพระ-
แท่นมนังคศิลาบาตร      สร้างวัดมหาธาตุเมืองศรีสชนาลัยและการประดิษฐ์อักษรไทยใช้พระนามว่าพ่อขุน-
                                               ั
รามคาแหง
ตอนที่ ๓ คงจารึกต่อจากตอนที๒หลายปีเพราะรูปร่างอักษรต่างไปมากกล่าวสรรเสริญและยอพระเกียรติของ
                           ่
พ่อขุนรามคาแหงบรรยากาศถูมิสถานบ้านเมือง และขอบเขตของอาณาจักรสุโขทัย
ศิลาจารึกด้านที่ ๑
ศิลาจารึกด้านที่ ๒
ศิลาจารึกด้านที่ ๓
ศิลาจารึกด้านที่ ๔
การถอดจารึกด้านที่๑ในรูปแบบต่างๆ
 ถอดจารึกแบบตามจารึก
ถอดจารึกแบบตามอักษรไทยปัจจุบัน
ถอดจารึกเขียนแบบปัจจุบัน
การถอดจารึกด้านที่๒ในรูปแบบต่างๆ
ถอดจารึกแบบตามจารึก
ถอดจารึกแบบตามอักษรไทยปัจจุบัน
ถอดจารึกเขียนแบบปัจจุบัน
การถอดจารึกด้านที่๓ในรูปแบบต่างๆ
ถอดจารึกแบบตามจารึก
ถอดจารึกแบบตามอักษรไทยปัจจุบัน
ถอดจารึกเขียนแบบปัจจุบัน
การถอดจารึกด้านที่๔ในรูปแบบต่างๆ
ถอดจารึกแบบตามจารึก
ถอดจารึกแบบตามอักษรไทยปัจจุบัน
ถอดจารึกเขียนแบบปัจจุบัน
คาศัพท์ที่ปรากฏ
ด้านที่๑
ไพร่ฝ้าหน้าใส- ไพร่พล
ญญ่าย มาจาก ย่ายย่าย แปลว่า ไปอย่างรวดเร็ว
จะแจ้น มาจาก แจ้นแจ้น คือ ชุลมุน
เบกพล แปลว่า เบิกพล หรือ แหวกพลอาจเป็นชื่อช้างก็ได้ตีหนัง
ตีหนัง วังช้าง - คล้องช้าง
ลูท่าง -เป็นการสะดวก
กว่า– ไป พ่อเชื้อ – พ่อที่ล่วงลับไปแล้ว
เสื้อคา - เป็นคาที่ใช้คู่กับพ่อเชื้อ
ช้างขอ – ช้างที่เคยขอ คือช้างที่ฝึกไว้ดีแล้ว
เยียเข้า– ยุ้งฉาง
ผิดแผกแสกว้างกัน– ทะเลาะกัน
แล่งความ – ตัดสินความ
บ่ใคร่พน – ไม่อยากได้
       ี
บ่ใคร่เดือด– ไม่ริษยา
ตวง– จนกระทั่ง
หัวพู่งหัวรบ- ข้าศึกชั้นหัวหน้า
ไพร่ฝ้าหน้าปก – ประชาชนที่มีทกข์รอน
                                ุ ้
เจ็บท้องข้องใจ– ทะเลาะกัน
บ่ไร้ – ไม่ยาก
คาศัพท์ที่ปรากฏ
ด้านที่๒
ลางขนุน, หมาก – มะพร้าวประเภทหนึ่ง
ตระพัง– สระน้า
ตรีบูร– กาแพงสามชั้น
มักโอยทาน– นิยมถวายทานแกผู้ทรงศีล
พนม– ประดิษฐ์เป็นพุ่ม
แล่ปีแล้ญิบล้าน– ปีละสองล้าน(เบีย)
                                ้
เท้า– ถึง
ดม– ระดม
บงคม– ประโคม
เลื้อน– ขับทานองเสนาะ
มี– อึ่งมี่
ราม– ปานกลาง
นีสไสยสุต- พระภิกษุผู้มีพรรษาครบ ๕
อรัญญิก– วัดในป่า
หลวก– ฉลาดหลักแหลม
ทะเลหลวง– ทุ่งกว้าง
แกล้ง- ตั้งใจ
คาศัพท์ที่ปรากฏ
ด้านที่ ๓
ปสาน – ตลาด
อัจนะ – สิ่งที่ควรบูชา
สรีดภงส – ทานบ,คลองส่งน้า, ทาง หรือท่อระบายน้า
น้าโคก – แอ่งน้าลึก
ขพุง – ชื่อภูเขา
ขพุง แปลว่า สูง
วันเดือนดับ -วันสินเดือนทางจันทรคติ
                   ้
ผี – เทวดา
เดือนโอกแปดวัน – วันขึนแปดค่า
                          ้
วันเดือนเต็ม – วันเพ็ญ
เดือนบ้างแปดวัน – วันแรมแปดค่า
คัล – เฝ้า
กระพัดลยาง - สายเชือกที่ผูกกูบหรือสับประคับ คล้องไว้กับโคนหางช้างและรัดกับตัวช้าง
รูจาครี ชื่อช้าง
ชเลียง เมืองเชลียง คือ เมืองสวรรคโลกเก่า
กลวง บริเวณ หรือ ท่ามกลาง
คาศัพท์ที่ปรากฏ
ด้านที่๔
มาออก – มาเป็นเมืองขึ้น
๑๒๐๗ ศกปีกุน – มหาศักราช ๑๒๐๗ ตรงกับปีระกาถ้าเป็นปีกน จะต้องตรงกับมหาศักราช ๑๒๐๙
                                                    ุ
เวียงผา – กาแพงหิน
๑๒๐๕ เป็นมหาศักราช - ตรงกับพุทธศักราช ๑๘๒๖
หา – หาก
แคะ เปรียว - ว่องไว
รอด – ตลอด
สรลวงสองแคว – พิษณุโลก
ลุมบาจาย – เมืองหล่มเก่า
สคา – เมืองแถวแม่น้าป่าสัก
คนที – บ้านโคน กาแพงเพชร
พระบาง เมืองนครสวรรค์
แพรก เมืองชัยนาท
สูพรรณภูมิ - เมืองเก่าแถวสุพรรณบุรี
แพล เมืองแพร่
ม่าน - เมืองอยู่ระหว่าแพร่กับน่าน
พลัว – อาเภอปัว จังหวัดน่าน
ชวา - เมืองหลวงพระบาง
วรรณศิลป์ในศิลาจารึก
     วรรณศิลป์ คือ ศิลปะของการประพันธ์ซึ่งเป็นคุณสมบัติหนึงที่วรรณคดีควรจะมีดงนันการศึกษาถึง
                                                          ่                  ั ้
วรรณศิลป์ของศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ย่อมสามารถตอบข้อสงสัยเกี่ยวกับการเป็นวรรณคดีของศิลาจารึก
หลักที่หนึงได้
          ่
   จากการศึกษาวรรณศิลป์ในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่๑ พบความโดนเด่นทางวรรณศิลป์ที่น่าสนใจสอง
ประการ คือการใช้คาหรือวลีที่มลักษณะเหมือนคาอุทานเสริมบท และ การมีคาสร้อยสลับวรรคซึงลักษณะ
                             ี                                                             ่
ดังกล่าวเป็นหลักฐานที่สนับสนุนความเป็นวรรณคดีของศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ ทั้งยังถือได้ว่าเป็นข้อมูลที่
มีประโยชน์ต่อการศึกษาในเชิงวิวัฒนาการวรรณคดีไทยในระดับต่อไปอีกด้วย
ก) การใช้วลีที่มลักษณะเหมือนคาอุทานเสริมบท
                ี
ในศิลาจารึกหลักที่หนึงมีการประพันธ์ด้วยคาทีมีโครงสร้างคล้ายคาอุทานเสริมบทซึ่งมักจะมีสี่พยางค์คอ
                     ่                       ่                                                   ื
พยางค์ที่ ๑ กับพยางค์ที่ ๓ จะเป็นคาเดียวกันและพยางค์ที่ ๒ กับพยางค์ที่ ๔ของคาจะเป็นคาที่ต่างกันแต่ก็มี
ความหมายในทานองเดียวกัน
ตัวอย่างเช่น
“บ่ฆ่าบ่ตี”
จะสังเกตเห็นว่าคาพยางค์แรกและคาพยางค์ที่ ๓ เป็นคาเดียวกัน คือคาว่า “บ่”
ส่วน“ฆ่า” และ “ตี” ในพยางค์ที่ ๒ และ ๓ ตามลาดับนั้น มีความหมายไปในทานองเดียวกัน เกี่ยวกับการทา
ร้ายเพียงแต่ “ฆ่า” เป็นการทาร้ายอย่างรุนแรงกว่า
“กลางบ้านกลางเมือง”
ตัวอย่างนี้ซ้าคาว่า“กลาง” ในพยางค์ตาแหน่งที่ ๑ และ ๓ ส่วนคาว่า “บ้าน” และ “เมือง” ในตาแหน่งที่ ๒และ
๔ ก็มีความหมายในกลุมเดียวกันคือสถานทีอยูอาศัยของคน เพียงแต่ “เมือง”มีความหมายที่เป็นสถานที่ทมี
                       ่                ่ ่                                                     ี่
ขอบเขตกว้างใหญ่กว่า “บ้าน”นอกจากคา ๔ พยางค์แล้วลักษณะที่คล้ายกับคาอุทานเสริมบทยังปรากฏให้
เห็นได้ในคา ๖พยางค์ด้วย ดังเช่น
“บ่มีเงือนบ่มทอง”และ “บ่มีช้างบ่มีม้า”
             ี
  ทั้งนี้จากการพิจารณาศิลาจารึกหลักที่หนึ่งลักษณะดังกล่าวจะมีปรากฏในคา๔ พยางค์มากที่สุด
ลักษณะของคาที่ที่คล้ายกับคาอุทานเสริมบทนี้จะทาให้ร้อยแก้วกึ่งร่ายของศิลาจารึกหลักที่หนึงมีความ
                                                                                       ่
ไพเราะสมกับเป็น
วรรณคดีมากยิ่งขึ้นเพราะมีคาทีก่อให้เกิดความสมดุลทั้งจังหวะ เสียง และความหมายดังที่กล่าวไปข้างต้น
                             ่
ข) การมีคาสร้อยสลับวรรค
    คาสร้อยสลับวรรค คือ การที่คาประพันธ์มีคาสร้อยต่อท้ายวรรคในแต่ละวรรคซึ่งมีเพือเสริมความหมาย
                                                                                ่
ให้ชัดเจนขึนและใช้ในกรณีคาประพันธ์มีความหมายที่คล้ายและเป็นไปในทางเดียวกัน ดังตัวอย่าง
           ้
“... ได้ตัวเนื้อตัวปลา ...เอามาแก่พ่อ...ได้หมากส้มหมากหวาน อันใดกินอร่อยดี...เอามาแก่พ่อ...ไปตีหนังวัง
ช้างได้ ...เอามาแก่พ่อ...ไปท่บ้านท่เมืองได้ช้างได้งวง ได้ปั่วได้นาง ได้เงือนได้ทอง ...เอามาเวนแก่พอ... ...”
                                                                                                  ่
จากตัวอย่างจะพบว่า “...เอามาแก่พ่อ...” หรือ “...เอามาเวนแก่พอ...” เป็นคาสร้อยสลับวรรค โดยที่คาสร้อย
                                                            ่
นั้นเป็นวลี
“...ป่าพร้าวก็หลายในเมืองนี้ ป่าลางก็หลายในเมืองนี้ หมากม่วงก็หลายในเมืองนี้หมากขามก็หลายในเมืองนี้
...”
     จากตัวอย่าง “ก็หลายในเมืองนี” เป็นคาสร้อยสลับวรรคโดยทีคาสร้อยนั้นเป็นวลีเช่นเดียวกับ คาสร้อย
                                 ้                         ่
“...เอามาแก่พ่อ...”
 นอกจากนี้ในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ยังมีคาสร้อยสลับวรรคทีเ่ ป็นคาพยางค์เดียวด้วย ดังเห็นได้จาก คาว่า “ค้า”
ในตัวอย่าง
“... ใครจักใคร่ค้าช้า ค้า ใครจักใคร่ค้าม้า ค้า ใครจักใคร่ค้าเงือนค้าทองค้า ...”
 จากการค้นคว้าเบืองต้นแล้วคาสร้อยสลับวรรคทีเ่ ป็นวลีมีมากกว่าคาสร้อยสลับวรรคแบบที่เป็นคาพยางค์
                    ้
เดียวและถึงแม้คาสร้อยสลับวรรคในศิลาจารึกหลักที่ ๑จะยังไม่คงที่ด้านจานวนคาและไม่สมบูรณ์ด้านการใช้
คาหรือวลีเดียวกันทุกคาสร้อยบ้างแต่คาสร้อยสลับวรรคของศิลาจารึกหลักที่หนึ่งนี้ได้แสดงให้เห็นว่าศิลา
จารึกหลักที่หนึ่งไม่ใช่แค่มรูปแบบการประพันธ์ร้อยแก้วที่มีสัมผัสในวรรคและระหว่างวรรคมากกว่าร้อย
                            ี
แก้วปกติแต่ยังเป็นร้อยแก้วที่ผู้ประพันธ์ได้สร้างลักษณะพิเศษอย่างคาสร้อยสลับวรรคแทรกไว้ ดงนันศิลา
                                                                                        ั ้
จารึกหลักที่หนึ่งจึงมีคุณค่าด้านวรรณศิลป์ในระดับที่เหมาะสมกับการได้รับการยกย่องให้เป็นวรรณคดีไทย
นอกจากนี้ลกษณะของคาสร้อยสลับวรรคที่พบในศิลาจารึกหลักที่ ๑ นี้ยังพบความคล้ายคลึงกับคาสร้อยสลับ
          ั
วรรคของ “ลิลิตโองการแช่งน้า”วรรณคดีไทยสมัยอยุธยาตอนต้นด้วย
“...อย่ากินเข้าไปเพือ จนตาย อย่าอาศัยแก่น้า จนตาย นอนเรือนคารนคา จนตาย ลืมตาหงายสู่ฟ้าจนตาย ก้ม
                    ่
หน้าลงแผ่นดิน จนตาย”
 จากลักษณะของคาสร้อยสลับวรรคของวรรณคดีทงสองยุคสมัยจึงสามารถสัณนิษฐานได้ว่า ลักษณะคา
                                                ั้
สร้อยสลับวรรคของวรรณคดีในสมัยอยุธยาตอนต้นอย่างลิลิตโองการแช่งน้า เป็นลักษณะที่สืบทอดมาจาก
วรรณคดีสมัยสุโขทัย อย่างศิลาจารึกหลักที่ ๑ อย่างไรก็ตามจุดเริ่มต้นของคาสร้อยสลับวรรคและคาสร้อย
โดยทั่วไปนันอาจมีความเป็นมาที่ยาวนานกว่าจะเป็นลักษณะของวรรณคดีสมัยสุโขทัยก็เป็นได้หากแต่ใน
           ้
ปัจจุบนหลักฐานที่พบจากวรรณคดีสองยุคสมัยนี้สามารถนาไปสูข้อสรุปว่าคาสร้อยสลับวรรคมีตนเค้ามา
      ั                                                ่                           ้
จากวรรณคดีสมัยสุโขทัย
คุณค่าของศิลาจารึก
   ศิลาจารึกนี้แม้มีเนือความสั้นเพียง 124 บรรทัดแต่บรรจุเรืองราวที่อุดมด้วยคุณค่าทางวิชาการหลายสาขา
                       ้                                   ่
ทั้งในด้านนิติศาสตร์รัฐศาสตร์ เศรษฐกิจสังคม ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วรรณคดี ศาสนา และ
จารีตประเพณีด้านนิติศาสตร์ ศิลาจารึกหลักนีอาจถือว่า เป็นกฎหมายรัฐธรรมนูญเทียบได้กบรัฐธรรมนูญ
                                             ้                                          ั
ฉบับแรกของอังกฤษมีการกาหนดสิทธิเสรีภาพของประชาชน และรักษาสิทธิมนุษยชน เห็นได้จากข้อความ
ที่กล่าวถึงมีการคุ้มครองเชลยศึก นอกจากนี้ ยังมีข้อความเสมือนเป็นบทบัญญัติในกฎมณเฑียรบาลและ
บทบัญญัติในกฎหมายแพ่งลักษณะครอบครัวและมรดกตลอดจนการพิจารณาความแห่งและอาญา

         ด้านนิติศาสตร์



ศิลาจารึกหลักนี้อาจถือว่า เป็นกฎหมายรัฐธรรมนูญเทียบได้กบรัฐธรรมนูญฉบับแรกของ
                                                          ั
อังกฤษ มีการกาหนดสิทธิเสรีภาพของประชาชน และรักษาสิทธิมนุษยชน เห็นได้จาก
ข้อความที่กล่าวถึง มีการคุ้มครองเชลยศึก นอกจากนี้ ยังมีขอความเสมือนเป็นบทบัญญัติใน
                                                        ้
กฎมณเฑียรบาลและบทบัญญัติในกฎหมายแพ่งลักษณะครอบครัวและมรดก ตลอดจนการ
พิจารณาความแพ่งและอาญา
ด้านรัฐศาสตร์



            ศิลาจารึกหลักนี้ได้กล่าวถึงความใกล้ชิดระหว่างกษัตริย์กับประชาชนว่า พ่อขุน
       รามคาแหงมหาราชโปรดให้ข้าราชบริพารเข้าเฝ้าปรึกษาราชการได้ทุกวัน ยกเว้นวันพระ
       และเปิดโอกาสให้ราษฎรมาสั่นกระดิ่งเพื่ออุทธรณ์ฎกาได้ทุกเมื่อ
                                                       ี




ด้านเศรษฐกิจ



           ข้อความที่จารึกไว้ว่า "ในน้ามีปลา ในนามีข้าว" แสดงให้เห็นว่าเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย
       นั้น มีความมันคงมาก นอกจากนี้ยังมีการชลประทาน การเกษตรกรรมอุดมสมบูรณ์ และการ
                    ่
       ค้าขายก็ทาโดยเสรี




               ด้านประวัติศาสตร์



             ศิลาจารึกหลักนี้ช่วยให้เราได้ทราบถึงประวัตความรุ่งเรืองชองชาติไทยในยุคสุโขทัย
                                                        ิ
       และประวัตเิ รืองราวอื่นๆ เช่น ประวัติราชวงศ์สุโขทัย ประวัติการรวบรวมอาณาจักรไทยให้
                     ่
       เป็นปึกแผ่น ประวัตการค้าโดยเสรี ประวัติการสืบสร้างพระพุทธศาสนา และการประดิษฐ์
                          ิ
       ลายสือไทย
ศิลาจารึกหลักนี้ได้ระบุอาณาเขตของสุโขทัยไว้อย่างชัดแจ้ง กล่าวถึงว่าทิศตะวันออก
       จดเวียงจันทน์ เวียงคา ทิศใต้จดศรีธรรมราช และฝั่งทะเล ทิศตะวันตกถึงหงสาวดี ทิศเหนือ
       ถึงเมืองแพร่ น่าน พลัว มีการกล่าวถึงชื่อเมืองสาคัญต่างๆ หลายเมือง เช่น เชลียง เพชรบุรี
                            ่
       นอกจากนี้ยงได้พรรณนาแหล่งทามาหากินและและแหล่งที่อยูอาศัยของชาวเมืองสุโขทัยไว้
                   ั                                              ่




ด้านภาษาศาสตร์



             ลายสือไทยสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชมีความสมบูรณ์ทั้งสระและพยัญชนะ
       สามารถเขียนคาภาษาไทยได้ทุกคา และสามารถเลียนเสียงภาษาต่างประเทศได้ดีกว่าอักษร
       แบบอื่นๆ เป็นอันมาก มีการใช้อักขรวิธีแบบนาสระและพยัญชนะมาเรียงไว้ในบรรทัด
       เดียวกัน ซึ่งทาให้ประหยัดทังเนื้อที่และเวลาในการเขียน ภาษาเป็นสานวนง่ายๆ และมี
                                  ้
       ภาษาต่างประเทศบ้าง ประโยคที่เขียนก็ออกเสียงอ่านได้เป็นจัง หวะคล้องจองกันคล้ายกับ
       การอ่านร้อยกรองด้านวรรณคดี ศิลาจารึกหลักนีจัดว่าเป็นวรรณคดีเรื่องแรกของไทย เพราะ
                                                     ้
       มีข้อความไพเราะลึกซึ้งและกินใจ ก่อให้เกิดจินตนาการได้งดงาม




ด้านศาสนา



     ข้อความในศิลาจารึกนี้ มีหลายตอนที่แสดงให้เห็นว่า พระพุทธศาสนาซึ่งเป็นศาสนาประจาชาติไทย
ในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชนั้น ได้รับการอุปถัมภ์เชิดชูอย่างดียิ่ง ประชาชนชาวไทยได้ทานุบารุง
พระพุทธศาสนาให้มีความเจริญรุ่งเรืองสูงส่ง มีการสร้างปูชนียสถานและปูชนียวัตถุไว้เป็นจานวนมาก
พระพุทธรูปสมัยสุโขทัยสร้างขึ้นด้วยความศรัทธาในพระศาสนา จึงมีศิลปะงดงามยิง แม้ในปัจจุบันนี้กยังไม่
                                                                           ่                ็
สามารถจะสร้างให้งามทัดเทียมได้ด้านจารีตประเพณี ศิลาจารึกหลักนี้ช่วยให้ทราบว่า สมัยสุโขทัยนันมีหลัก
                                                                                           ้
จารีตประเพณีหลายประการที่ประชาชนนับถือและปฏิบัติกันอยู่ มีทั้งประเพณีทางพระพุทธศาสนาและ
ประเพณีอื่น ๆ เช่น ประเพณีรักษาศีลเมือเข้าพรรษา ประเพณีฟังธรรมในวันพระ ประเพณีการทอดกฐิน
                                     ่
ประเพณีการเผาเทียนเล่นไฟ เป็นต้น




              ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงมหาราชนี้ เป็นเอกสารที่สาคัญยิ่งชิ้นหนึ่งของชาติไทย
       เป็นมรดกอันล้าค่าและทรงคุณค่าอย่างยิง มีสาระประโยชน์แก่ชาติบ้านเมืองนานัปการ ควร
                                              ่
       พิทักษ์รักษาไว้ให้ดารงคงอยู่คู่ชาติไทยตลอดกาล



              และเป็นที่น่ายินดีอย่างยิ่งที่คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติขององค์การศึกษา
       วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (องค์การยูเนสโก) ได้ประชุมเมือวันที่ 28-30
                                                                                ่
       สิงหาคม 2546 ที่เมือง Gdansk ประเทศโปแลนด์ โดยได้พิจารณาใบสมัครจานวน 43
       รายการ จาก 27 ประเทศทั่วโลก ผลการประชุมมีมติสนับสนุนเป็นเอกฉันท์ให้องค์การ
       ยูเนสโกจดทะเบียนระดับโลก ศิลาจารึกหลักที่ 1 ของพ่อขุนรามคาแหง พร้อมกับอีก 22
       รายการ จาก 20 ประเทศ ทั้งนี้ โครงการมรดกความทรงจาของโลกเป็นโครงการเพืออนุรักษ์
                                                                                    ่
       และเผยแพร่มรดกความทรงจาทีเ่ ป็นเอกสาร วัสดุหรือข้อมูลข่าวสารอืนๆ เช่น กระดาษ สื่อ
                                                                        ่
       ทัศนูปกรณ์ และสืออิเล็กทรอนิกส์ดวย แต่จะต้องมีความสาคัญในระดับนานาชาติ และ
                         ่                   ้
       จะต้องมีการเก็บรักษาในความทรงจาในระดับชาติและระดับภูมิภาคอยู่แล้ว ซึ่งเมื่อองค์การ
       ยูเนสโกได้ประกาศจดทะเบียนแล้ว ประเทศเจ้าของมรดกมีพันธกรณีทางปัญญาและทาง
       ศีลธรรมทีจะต้องอนุรักษ์ ให้อยู่ในสภาพที่ดี และเผยแพร่ให้ความรู้แก่มหาชนอนุชนรุนหลัง
                 ่                                                                    ่
       ทั่วโลกให้กว้างขวาง เพือให้มรดกดังกล่าวอยู่ในความทรงจาของโลกตลอดไป
                              ่



      นับเป็นความภาคภูมิใจของมหาวิทยาลัยรามคาแหงอย่างยิ่งที่นอกเหนือจากเป็น
สถาบันการศึกษาภายใต้พระนาม พ่อขุนรามคาแหงมหาราช กษัตริย์ผู้มีคุณูปการยิงใหญ่แก่
                                                                       ่
ชาติไทยแล้ว ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงมหาราช อันเป็น ตราประจามหาวิทยาลัยรามคาแหง
ยังได้รับการยกย่องไปทัวโลกว่าเป็น มรดกความทรงจาของโลก
                      ่




                    สุดท้ายนี้ ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ สุวิชาโน ภว โหติ
ศิลาจารึกหลักที่ ๑

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
Nook Kanokwan
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
นิตยา ทองดียิ่ง
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
Nam M'fonn
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
teerachon
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
bambookruble
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
krubuatoom
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
krubuatoom
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
Lakkana Wuittiket
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
bangonchin
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 

La actualidad más candente (20)

สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
แบบฝึกอ่านสระ
แบบฝึกอ่านสระแบบฝึกอ่านสระ
แบบฝึกอ่านสระ
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 

Destacado

ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
Chinnakorn Pawannay
 
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราชประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
Ammie Sweetty
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
F'Fhon Kanokrat
 
สามัคคีเสวก
สามัคคีเสวกสามัคคีเสวก
สามัคคีเสวก
KruBowbaro
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
naykulap
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran Jarurnphong
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
Ritthinarongron School
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
Nongkran Jarurnphong
 

Destacado (15)

ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
ใครสร้างศิลาจารึกหลักที่ 1
 
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราชประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
สามัคคีเสวก
สามัคคีเสวกสามัคคีเสวก
สามัคคีเสวก
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 

Similar a ศิลาจารึกหลักที่ ๑

วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
Orapan Chamnan
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
mayavee16
 
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอีเล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
กัลยณัฏฐ์ สุวรรณไตรย์
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
Nattha Namm
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
phornphan1111
 

Similar a ศิลาจารึกหลักที่ ๑ (20)

มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
 
สหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรมสหบทกับวรรณกรรม
สหบทกับวรรณกรรม
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอีเล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
 
การแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรองการแต่งบทร้อยกรอง
การแต่งบทร้อยกรอง
 
ศิลาจารึก
ศิลาจารึกศิลาจารึก
ศิลาจารึก
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
 
Chitrapathachan
ChitrapathachanChitrapathachan
Chitrapathachan
 

ศิลาจารึกหลักที่ ๑

  • 1. ศิลาจารึกหลักที่ ๑ (พ่อขุนรามคาแหง) พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ประวัติการค้นพบ ขณะสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวยังไม่ได้เสวยราชย์ และทรงผนวชประทับอยู่ ณ วัดราชาธิราชนั้นได้ ั เสด็จประพาสหัวเมืองฝ่ายเหนือในพ.ศ.๒๓๗๖ เมื่อเสด็จไปถึงเมืองสุโขทัย ได้ทรงพบศิลาจารึก๒หลัก และ แท่นหิน ๑ แท่น ตั้งอยู่ทเี่ นินปราสาทในพระราชวังเก่าสุโขทัย ต่อมาภายหลังปรากฎว่าเป็นศิลาจารึกของพ่อ ขุนรามคาแหงหลักหนึงศิลาจารึกภาษาขอมของพระมหาธรรมราชาลิไทยหลักหนึงและแท่นหินนั้น คือ พระ ่ ่ ที่นั่งมนังคศิลาบาตรพระองค์ได้โปรดให้นาโบราณวัตถุทั้งสามชิ้นกลับมายังพระนคร และได้ทรงพยายาม อ่านศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหง จนทราบว่าจารึกนี้สันนิษฐานว่าสร้างเมื่อ พ.ศ.๑๘๓๕ ภายหลังเมื่อได้เสวยสิริราชสมบัติแล้วจึงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายจากวัดบวรนิเวศไปตั้ งไว้ที่ศาลารายภายในวัด พระศรีรัตนศาสดาราม ข้างด้านเหนือพระอุโบสถหลังที่สองนับจากตะวันตก จนถึงปีพ,ศ.2466จึงได้ย้ายมา ไว้ที่หอสมุดวชิรญาณในปีพ.ศ.2468จึงโปรดเกล้าให้ย้ายจารึกมาเก็บไว้ณพระที่นั่งศิวโมกขพิมานพ.ศ.2511 จึงได้ย้ายเฉพาะศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงมหาราชไปตั้งที่อาคารสร้างใหม่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระ นครด้านเหนือชั้นบน ซึ่งเป็นห้องแสดงศิลปะสมัยสุโขทัยเพื่อประโยชน์ในการศึกษาทางประวัติศาสตร์และ โบราณคดี และได้จัดทาศิลาจารึกหลักจาลองขึ้นเก็บรักษาไว้ที่หอวชิราวุธแทน ศิลาจารึกหลักที่ ๑(พ่อขุนรามคาแหง)
  • 2. ลักษณะของศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง ลักษณะของศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงเป็นหินชนวนสีเ่ หลียมมียอดแหลมปลายมน สูง ๑ เมตร ๑๑ ่ เซนติเมตร มีข้อความจารึกทั้ง ๔ ด้าน สูง ๕๙ เซนติเมตรกว้าง ๓๕ เซนติเมตร ด้านที่ ๑และ๒ มี ๓๕ บรรทัด ด้านที่ ๓และด้านที่ ๔ มี ๒๗ บรรทัด การบันทึกของศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงแบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอนที่ ๑ ตั้งแต่บรรทัดที่ ๑ – ๑๘เป็นเรืองของพ่อขุนรามคาแหงทรงเล่าประวัติพระองค์เอง ตั้งแต่ประสูติจน ่ เสวยราชย์ใช้สรรพนามแทนชื่อของพระองค์ว่ากู ตอนที่ ๒ ตั้งแต่บรรทัดที่ ๑๙ เล่าเหตุการณ์ต่างๆและขนบประเพณีของกรุงสุโขทัยเล่าเรื่องการสร้างพระ- แท่นมนังคศิลาบาตร สร้างวัดมหาธาตุเมืองศรีสชนาลัยและการประดิษฐ์อักษรไทยใช้พระนามว่าพ่อขุน- ั รามคาแหง ตอนที่ ๓ คงจารึกต่อจากตอนที๒หลายปีเพราะรูปร่างอักษรต่างไปมากกล่าวสรรเสริญและยอพระเกียรติของ ่ พ่อขุนรามคาแหงบรรยากาศถูมิสถานบ้านเมือง และขอบเขตของอาณาจักรสุโขทัย
  • 19. คาศัพท์ที่ปรากฏ ด้านที่๑ ไพร่ฝ้าหน้าใส- ไพร่พล ญญ่าย มาจาก ย่ายย่าย แปลว่า ไปอย่างรวดเร็ว จะแจ้น มาจาก แจ้นแจ้น คือ ชุลมุน เบกพล แปลว่า เบิกพล หรือ แหวกพลอาจเป็นชื่อช้างก็ได้ตีหนัง ตีหนัง วังช้าง - คล้องช้าง ลูท่าง -เป็นการสะดวก กว่า– ไป พ่อเชื้อ – พ่อที่ล่วงลับไปแล้ว เสื้อคา - เป็นคาที่ใช้คู่กับพ่อเชื้อ ช้างขอ – ช้างที่เคยขอ คือช้างที่ฝึกไว้ดีแล้ว เยียเข้า– ยุ้งฉาง ผิดแผกแสกว้างกัน– ทะเลาะกัน แล่งความ – ตัดสินความ บ่ใคร่พน – ไม่อยากได้ ี บ่ใคร่เดือด– ไม่ริษยา ตวง– จนกระทั่ง หัวพู่งหัวรบ- ข้าศึกชั้นหัวหน้า ไพร่ฝ้าหน้าปก – ประชาชนที่มีทกข์รอน ุ ้ เจ็บท้องข้องใจ– ทะเลาะกัน บ่ไร้ – ไม่ยาก
  • 20. คาศัพท์ที่ปรากฏ ด้านที่๒ ลางขนุน, หมาก – มะพร้าวประเภทหนึ่ง ตระพัง– สระน้า ตรีบูร– กาแพงสามชั้น มักโอยทาน– นิยมถวายทานแกผู้ทรงศีล พนม– ประดิษฐ์เป็นพุ่ม แล่ปีแล้ญิบล้าน– ปีละสองล้าน(เบีย) ้ เท้า– ถึง ดม– ระดม บงคม– ประโคม เลื้อน– ขับทานองเสนาะ มี– อึ่งมี่ ราม– ปานกลาง นีสไสยสุต- พระภิกษุผู้มีพรรษาครบ ๕ อรัญญิก– วัดในป่า หลวก– ฉลาดหลักแหลม ทะเลหลวง– ทุ่งกว้าง แกล้ง- ตั้งใจ
  • 21. คาศัพท์ที่ปรากฏ ด้านที่ ๓ ปสาน – ตลาด อัจนะ – สิ่งที่ควรบูชา สรีดภงส – ทานบ,คลองส่งน้า, ทาง หรือท่อระบายน้า น้าโคก – แอ่งน้าลึก ขพุง – ชื่อภูเขา ขพุง แปลว่า สูง วันเดือนดับ -วันสินเดือนทางจันทรคติ ้ ผี – เทวดา เดือนโอกแปดวัน – วันขึนแปดค่า ้ วันเดือนเต็ม – วันเพ็ญ เดือนบ้างแปดวัน – วันแรมแปดค่า คัล – เฝ้า กระพัดลยาง - สายเชือกที่ผูกกูบหรือสับประคับ คล้องไว้กับโคนหางช้างและรัดกับตัวช้าง รูจาครี ชื่อช้าง ชเลียง เมืองเชลียง คือ เมืองสวรรคโลกเก่า กลวง บริเวณ หรือ ท่ามกลาง
  • 22. คาศัพท์ที่ปรากฏ ด้านที่๔ มาออก – มาเป็นเมืองขึ้น ๑๒๐๗ ศกปีกุน – มหาศักราช ๑๒๐๗ ตรงกับปีระกาถ้าเป็นปีกน จะต้องตรงกับมหาศักราช ๑๒๐๙ ุ เวียงผา – กาแพงหิน ๑๒๐๕ เป็นมหาศักราช - ตรงกับพุทธศักราช ๑๘๒๖ หา – หาก แคะ เปรียว - ว่องไว รอด – ตลอด สรลวงสองแคว – พิษณุโลก ลุมบาจาย – เมืองหล่มเก่า สคา – เมืองแถวแม่น้าป่าสัก คนที – บ้านโคน กาแพงเพชร พระบาง เมืองนครสวรรค์ แพรก เมืองชัยนาท สูพรรณภูมิ - เมืองเก่าแถวสุพรรณบุรี แพล เมืองแพร่ ม่าน - เมืองอยู่ระหว่าแพร่กับน่าน พลัว – อาเภอปัว จังหวัดน่าน ชวา - เมืองหลวงพระบาง
  • 23. วรรณศิลป์ในศิลาจารึก วรรณศิลป์ คือ ศิลปะของการประพันธ์ซึ่งเป็นคุณสมบัติหนึงที่วรรณคดีควรจะมีดงนันการศึกษาถึง ่ ั ้ วรรณศิลป์ของศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ย่อมสามารถตอบข้อสงสัยเกี่ยวกับการเป็นวรรณคดีของศิลาจารึก หลักที่หนึงได้ ่ จากการศึกษาวรรณศิลป์ในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่๑ พบความโดนเด่นทางวรรณศิลป์ที่น่าสนใจสอง ประการ คือการใช้คาหรือวลีที่มลักษณะเหมือนคาอุทานเสริมบท และ การมีคาสร้อยสลับวรรคซึงลักษณะ ี ่ ดังกล่าวเป็นหลักฐานที่สนับสนุนความเป็นวรรณคดีของศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ ทั้งยังถือได้ว่าเป็นข้อมูลที่ มีประโยชน์ต่อการศึกษาในเชิงวิวัฒนาการวรรณคดีไทยในระดับต่อไปอีกด้วย ก) การใช้วลีที่มลักษณะเหมือนคาอุทานเสริมบท ี ในศิลาจารึกหลักที่หนึงมีการประพันธ์ด้วยคาทีมีโครงสร้างคล้ายคาอุทานเสริมบทซึ่งมักจะมีสี่พยางค์คอ ่ ่ ื พยางค์ที่ ๑ กับพยางค์ที่ ๓ จะเป็นคาเดียวกันและพยางค์ที่ ๒ กับพยางค์ที่ ๔ของคาจะเป็นคาที่ต่างกันแต่ก็มี ความหมายในทานองเดียวกัน ตัวอย่างเช่น “บ่ฆ่าบ่ตี” จะสังเกตเห็นว่าคาพยางค์แรกและคาพยางค์ที่ ๓ เป็นคาเดียวกัน คือคาว่า “บ่” ส่วน“ฆ่า” และ “ตี” ในพยางค์ที่ ๒ และ ๓ ตามลาดับนั้น มีความหมายไปในทานองเดียวกัน เกี่ยวกับการทา ร้ายเพียงแต่ “ฆ่า” เป็นการทาร้ายอย่างรุนแรงกว่า “กลางบ้านกลางเมือง” ตัวอย่างนี้ซ้าคาว่า“กลาง” ในพยางค์ตาแหน่งที่ ๑ และ ๓ ส่วนคาว่า “บ้าน” และ “เมือง” ในตาแหน่งที่ ๒และ ๔ ก็มีความหมายในกลุมเดียวกันคือสถานทีอยูอาศัยของคน เพียงแต่ “เมือง”มีความหมายที่เป็นสถานที่ทมี ่ ่ ่ ี่ ขอบเขตกว้างใหญ่กว่า “บ้าน”นอกจากคา ๔ พยางค์แล้วลักษณะที่คล้ายกับคาอุทานเสริมบทยังปรากฏให้ เห็นได้ในคา ๖พยางค์ด้วย ดังเช่น “บ่มีเงือนบ่มทอง”และ “บ่มีช้างบ่มีม้า” ี ทั้งนี้จากการพิจารณาศิลาจารึกหลักที่หนึ่งลักษณะดังกล่าวจะมีปรากฏในคา๔ พยางค์มากที่สุด ลักษณะของคาที่ที่คล้ายกับคาอุทานเสริมบทนี้จะทาให้ร้อยแก้วกึ่งร่ายของศิลาจารึกหลักที่หนึงมีความ ่ ไพเราะสมกับเป็น วรรณคดีมากยิ่งขึ้นเพราะมีคาทีก่อให้เกิดความสมดุลทั้งจังหวะ เสียง และความหมายดังที่กล่าวไปข้างต้น ่
  • 24. ข) การมีคาสร้อยสลับวรรค คาสร้อยสลับวรรค คือ การที่คาประพันธ์มีคาสร้อยต่อท้ายวรรคในแต่ละวรรคซึ่งมีเพือเสริมความหมาย ่ ให้ชัดเจนขึนและใช้ในกรณีคาประพันธ์มีความหมายที่คล้ายและเป็นไปในทางเดียวกัน ดังตัวอย่าง ้ “... ได้ตัวเนื้อตัวปลา ...เอามาแก่พ่อ...ได้หมากส้มหมากหวาน อันใดกินอร่อยดี...เอามาแก่พ่อ...ไปตีหนังวัง ช้างได้ ...เอามาแก่พ่อ...ไปท่บ้านท่เมืองได้ช้างได้งวง ได้ปั่วได้นาง ได้เงือนได้ทอง ...เอามาเวนแก่พอ... ...” ่ จากตัวอย่างจะพบว่า “...เอามาแก่พ่อ...” หรือ “...เอามาเวนแก่พอ...” เป็นคาสร้อยสลับวรรค โดยที่คาสร้อย ่ นั้นเป็นวลี “...ป่าพร้าวก็หลายในเมืองนี้ ป่าลางก็หลายในเมืองนี้ หมากม่วงก็หลายในเมืองนี้หมากขามก็หลายในเมืองนี้ ...” จากตัวอย่าง “ก็หลายในเมืองนี” เป็นคาสร้อยสลับวรรคโดยทีคาสร้อยนั้นเป็นวลีเช่นเดียวกับ คาสร้อย ้ ่ “...เอามาแก่พ่อ...” นอกจากนี้ในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ยังมีคาสร้อยสลับวรรคทีเ่ ป็นคาพยางค์เดียวด้วย ดังเห็นได้จาก คาว่า “ค้า” ในตัวอย่าง “... ใครจักใคร่ค้าช้า ค้า ใครจักใคร่ค้าม้า ค้า ใครจักใคร่ค้าเงือนค้าทองค้า ...” จากการค้นคว้าเบืองต้นแล้วคาสร้อยสลับวรรคทีเ่ ป็นวลีมีมากกว่าคาสร้อยสลับวรรคแบบที่เป็นคาพยางค์ ้ เดียวและถึงแม้คาสร้อยสลับวรรคในศิลาจารึกหลักที่ ๑จะยังไม่คงที่ด้านจานวนคาและไม่สมบูรณ์ด้านการใช้ คาหรือวลีเดียวกันทุกคาสร้อยบ้างแต่คาสร้อยสลับวรรคของศิลาจารึกหลักที่หนึ่งนี้ได้แสดงให้เห็นว่าศิลา จารึกหลักที่หนึ่งไม่ใช่แค่มรูปแบบการประพันธ์ร้อยแก้วที่มีสัมผัสในวรรคและระหว่างวรรคมากกว่าร้อย ี แก้วปกติแต่ยังเป็นร้อยแก้วที่ผู้ประพันธ์ได้สร้างลักษณะพิเศษอย่างคาสร้อยสลับวรรคแทรกไว้ ดงนันศิลา ั ้ จารึกหลักที่หนึ่งจึงมีคุณค่าด้านวรรณศิลป์ในระดับที่เหมาะสมกับการได้รับการยกย่องให้เป็นวรรณคดีไทย นอกจากนี้ลกษณะของคาสร้อยสลับวรรคที่พบในศิลาจารึกหลักที่ ๑ นี้ยังพบความคล้ายคลึงกับคาสร้อยสลับ ั วรรคของ “ลิลิตโองการแช่งน้า”วรรณคดีไทยสมัยอยุธยาตอนต้นด้วย “...อย่ากินเข้าไปเพือ จนตาย อย่าอาศัยแก่น้า จนตาย นอนเรือนคารนคา จนตาย ลืมตาหงายสู่ฟ้าจนตาย ก้ม ่ หน้าลงแผ่นดิน จนตาย” จากลักษณะของคาสร้อยสลับวรรคของวรรณคดีทงสองยุคสมัยจึงสามารถสัณนิษฐานได้ว่า ลักษณะคา ั้ สร้อยสลับวรรคของวรรณคดีในสมัยอยุธยาตอนต้นอย่างลิลิตโองการแช่งน้า เป็นลักษณะที่สืบทอดมาจาก วรรณคดีสมัยสุโขทัย อย่างศิลาจารึกหลักที่ ๑ อย่างไรก็ตามจุดเริ่มต้นของคาสร้อยสลับวรรคและคาสร้อย
  • 25. โดยทั่วไปนันอาจมีความเป็นมาที่ยาวนานกว่าจะเป็นลักษณะของวรรณคดีสมัยสุโขทัยก็เป็นได้หากแต่ใน ้ ปัจจุบนหลักฐานที่พบจากวรรณคดีสองยุคสมัยนี้สามารถนาไปสูข้อสรุปว่าคาสร้อยสลับวรรคมีตนเค้ามา ั ่ ้ จากวรรณคดีสมัยสุโขทัย คุณค่าของศิลาจารึก ศิลาจารึกนี้แม้มีเนือความสั้นเพียง 124 บรรทัดแต่บรรจุเรืองราวที่อุดมด้วยคุณค่าทางวิชาการหลายสาขา ้ ่ ทั้งในด้านนิติศาสตร์รัฐศาสตร์ เศรษฐกิจสังคม ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วรรณคดี ศาสนา และ จารีตประเพณีด้านนิติศาสตร์ ศิลาจารึกหลักนีอาจถือว่า เป็นกฎหมายรัฐธรรมนูญเทียบได้กบรัฐธรรมนูญ ้ ั ฉบับแรกของอังกฤษมีการกาหนดสิทธิเสรีภาพของประชาชน และรักษาสิทธิมนุษยชน เห็นได้จากข้อความ ที่กล่าวถึงมีการคุ้มครองเชลยศึก นอกจากนี้ ยังมีข้อความเสมือนเป็นบทบัญญัติในกฎมณเฑียรบาลและ บทบัญญัติในกฎหมายแพ่งลักษณะครอบครัวและมรดกตลอดจนการพิจารณาความแห่งและอาญา ด้านนิติศาสตร์ ศิลาจารึกหลักนี้อาจถือว่า เป็นกฎหมายรัฐธรรมนูญเทียบได้กบรัฐธรรมนูญฉบับแรกของ ั อังกฤษ มีการกาหนดสิทธิเสรีภาพของประชาชน และรักษาสิทธิมนุษยชน เห็นได้จาก ข้อความที่กล่าวถึง มีการคุ้มครองเชลยศึก นอกจากนี้ ยังมีขอความเสมือนเป็นบทบัญญัติใน ้ กฎมณเฑียรบาลและบทบัญญัติในกฎหมายแพ่งลักษณะครอบครัวและมรดก ตลอดจนการ พิจารณาความแพ่งและอาญา
  • 26. ด้านรัฐศาสตร์ ศิลาจารึกหลักนี้ได้กล่าวถึงความใกล้ชิดระหว่างกษัตริย์กับประชาชนว่า พ่อขุน รามคาแหงมหาราชโปรดให้ข้าราชบริพารเข้าเฝ้าปรึกษาราชการได้ทุกวัน ยกเว้นวันพระ และเปิดโอกาสให้ราษฎรมาสั่นกระดิ่งเพื่ออุทธรณ์ฎกาได้ทุกเมื่อ ี ด้านเศรษฐกิจ ข้อความที่จารึกไว้ว่า "ในน้ามีปลา ในนามีข้าว" แสดงให้เห็นว่าเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย นั้น มีความมันคงมาก นอกจากนี้ยังมีการชลประทาน การเกษตรกรรมอุดมสมบูรณ์ และการ ่ ค้าขายก็ทาโดยเสรี ด้านประวัติศาสตร์ ศิลาจารึกหลักนี้ช่วยให้เราได้ทราบถึงประวัตความรุ่งเรืองชองชาติไทยในยุคสุโขทัย ิ และประวัตเิ รืองราวอื่นๆ เช่น ประวัติราชวงศ์สุโขทัย ประวัติการรวบรวมอาณาจักรไทยให้ ่ เป็นปึกแผ่น ประวัตการค้าโดยเสรี ประวัติการสืบสร้างพระพุทธศาสนา และการประดิษฐ์ ิ ลายสือไทย
  • 27. ศิลาจารึกหลักนี้ได้ระบุอาณาเขตของสุโขทัยไว้อย่างชัดแจ้ง กล่าวถึงว่าทิศตะวันออก จดเวียงจันทน์ เวียงคา ทิศใต้จดศรีธรรมราช และฝั่งทะเล ทิศตะวันตกถึงหงสาวดี ทิศเหนือ ถึงเมืองแพร่ น่าน พลัว มีการกล่าวถึงชื่อเมืองสาคัญต่างๆ หลายเมือง เช่น เชลียง เพชรบุรี ่ นอกจากนี้ยงได้พรรณนาแหล่งทามาหากินและและแหล่งที่อยูอาศัยของชาวเมืองสุโขทัยไว้ ั ่ ด้านภาษาศาสตร์ ลายสือไทยสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชมีความสมบูรณ์ทั้งสระและพยัญชนะ สามารถเขียนคาภาษาไทยได้ทุกคา และสามารถเลียนเสียงภาษาต่างประเทศได้ดีกว่าอักษร แบบอื่นๆ เป็นอันมาก มีการใช้อักขรวิธีแบบนาสระและพยัญชนะมาเรียงไว้ในบรรทัด เดียวกัน ซึ่งทาให้ประหยัดทังเนื้อที่และเวลาในการเขียน ภาษาเป็นสานวนง่ายๆ และมี ้ ภาษาต่างประเทศบ้าง ประโยคที่เขียนก็ออกเสียงอ่านได้เป็นจัง หวะคล้องจองกันคล้ายกับ การอ่านร้อยกรองด้านวรรณคดี ศิลาจารึกหลักนีจัดว่าเป็นวรรณคดีเรื่องแรกของไทย เพราะ ้ มีข้อความไพเราะลึกซึ้งและกินใจ ก่อให้เกิดจินตนาการได้งดงาม ด้านศาสนา ข้อความในศิลาจารึกนี้ มีหลายตอนที่แสดงให้เห็นว่า พระพุทธศาสนาซึ่งเป็นศาสนาประจาชาติไทย ในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชนั้น ได้รับการอุปถัมภ์เชิดชูอย่างดียิ่ง ประชาชนชาวไทยได้ทานุบารุง พระพุทธศาสนาให้มีความเจริญรุ่งเรืองสูงส่ง มีการสร้างปูชนียสถานและปูชนียวัตถุไว้เป็นจานวนมาก พระพุทธรูปสมัยสุโขทัยสร้างขึ้นด้วยความศรัทธาในพระศาสนา จึงมีศิลปะงดงามยิง แม้ในปัจจุบันนี้กยังไม่ ่ ็
  • 28. สามารถจะสร้างให้งามทัดเทียมได้ด้านจารีตประเพณี ศิลาจารึกหลักนี้ช่วยให้ทราบว่า สมัยสุโขทัยนันมีหลัก ้ จารีตประเพณีหลายประการที่ประชาชนนับถือและปฏิบัติกันอยู่ มีทั้งประเพณีทางพระพุทธศาสนาและ ประเพณีอื่น ๆ เช่น ประเพณีรักษาศีลเมือเข้าพรรษา ประเพณีฟังธรรมในวันพระ ประเพณีการทอดกฐิน ่ ประเพณีการเผาเทียนเล่นไฟ เป็นต้น ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงมหาราชนี้ เป็นเอกสารที่สาคัญยิ่งชิ้นหนึ่งของชาติไทย เป็นมรดกอันล้าค่าและทรงคุณค่าอย่างยิง มีสาระประโยชน์แก่ชาติบ้านเมืองนานัปการ ควร ่ พิทักษ์รักษาไว้ให้ดารงคงอยู่คู่ชาติไทยตลอดกาล และเป็นที่น่ายินดีอย่างยิ่งที่คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติขององค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (องค์การยูเนสโก) ได้ประชุมเมือวันที่ 28-30 ่ สิงหาคม 2546 ที่เมือง Gdansk ประเทศโปแลนด์ โดยได้พิจารณาใบสมัครจานวน 43 รายการ จาก 27 ประเทศทั่วโลก ผลการประชุมมีมติสนับสนุนเป็นเอกฉันท์ให้องค์การ ยูเนสโกจดทะเบียนระดับโลก ศิลาจารึกหลักที่ 1 ของพ่อขุนรามคาแหง พร้อมกับอีก 22 รายการ จาก 20 ประเทศ ทั้งนี้ โครงการมรดกความทรงจาของโลกเป็นโครงการเพืออนุรักษ์ ่ และเผยแพร่มรดกความทรงจาทีเ่ ป็นเอกสาร วัสดุหรือข้อมูลข่าวสารอืนๆ เช่น กระดาษ สื่อ ่ ทัศนูปกรณ์ และสืออิเล็กทรอนิกส์ดวย แต่จะต้องมีความสาคัญในระดับนานาชาติ และ ่ ้ จะต้องมีการเก็บรักษาในความทรงจาในระดับชาติและระดับภูมิภาคอยู่แล้ว ซึ่งเมื่อองค์การ ยูเนสโกได้ประกาศจดทะเบียนแล้ว ประเทศเจ้าของมรดกมีพันธกรณีทางปัญญาและทาง ศีลธรรมทีจะต้องอนุรักษ์ ให้อยู่ในสภาพที่ดี และเผยแพร่ให้ความรู้แก่มหาชนอนุชนรุนหลัง ่ ่ ทั่วโลกให้กว้างขวาง เพือให้มรดกดังกล่าวอยู่ในความทรงจาของโลกตลอดไป ่ นับเป็นความภาคภูมิใจของมหาวิทยาลัยรามคาแหงอย่างยิ่งที่นอกเหนือจากเป็น สถาบันการศึกษาภายใต้พระนาม พ่อขุนรามคาแหงมหาราช กษัตริย์ผู้มีคุณูปการยิงใหญ่แก่ ่ ชาติไทยแล้ว ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงมหาราช อันเป็น ตราประจามหาวิทยาลัยรามคาแหง
  • 29. ยังได้รับการยกย่องไปทัวโลกว่าเป็น มรดกความทรงจาของโลก ่ สุดท้ายนี้ ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ สุวิชาโน ภว โหติ