SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 21
กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์  สาระการเรียนรู้  จำนวนและการดำเนินการ  เรขาคณิต และพีชคณิต  สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1 นายพงศธร  มหาวิจิตร   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์   โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี
ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1.  การแก้ปัญหา   2.  การให้เหตุผล   3.  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ   4.  การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ ได้   5.  ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],สาระหลักในรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ระดับชั้น ม .1
ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 1.  เพื่อสร้างกิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์  สาระการเรียนรู้  จำนวนและการดำเนินการ  เรขาคณิต  และพีชคณิต  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่  1 2.  เพื่อศึกษาผลของการใช้กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์   สาระการเรียนรู้ จำนวนและการดำเนินการ เรขาคณิต และพีชคณิต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1
สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า   นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1  ที่ได้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ มีทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ  60 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า ประชากร / กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1  โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี  อำเภอเมือง  จังหวัดสระบุรี  ที่กำลังเรียนในภาคเรียนที่  2  ปีการศึกษา  2549  จำนวน  1  ห้องเรียน  4 0   คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย  (Simple  Random  Sampling)
ระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินงาน ดำเนินงานในภาคเรียนที่  2  ปีการศึกษา  2549  ใช้เวลาในการสอน  8  ชั่วโมง  เนื้อหาที่ใช้ในการดำเนินงาน เนื้อหารายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน  ค  31101  ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1  ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี  จำแนกตามสาระการเรียนรู้  ดังนี้ 1.  สาระที่  1  จำนวนและการดำเนินการ  ได้แก่  ห . ร . ม . และ ค . ร . น .  จำนวนเต็ม  เศษส่วนและทศนิยม  เลขยกกำลัง  และการประมาณค่า
2.  สาระที่  3  เรขาคณิต ได้แก่  พื้นฐานทางเรขาคณิต และความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ 3.  สาระที่  4  พีชคณิต  ได้แก่  สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว  และคู่อันดับและกราฟ ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น   กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ตัวแปรตาม  ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน
นิยามศัพท์เฉพาะ กิจกรรมคณิตศาสตร์   หมายถึง  กิจกรรมที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์และจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยจัดขึ้นเพิ่มจากการเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติให้กับนักเรียนที่สนใจ เพื่อมุ่งเสริมสร้างความรู้  ความสามารถ  ประสบการณ์ด้านคณิตศาสตร์ที่จำเป็นแก่นักเรียน
ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์   หมายถึง  ความสามารถหรือความชำนาญในการปฏิบัติงานหรือกิจกรรมคณิตศาสตร์ โดยสามารถปฏิบัติได้ดี  มีคุณภาพ  มีความถูกต้องแม่นยำ  และรวดเร็ว อันเป็นผลมาจากจากการฝึกปฏิบัติอย่างมีระบบทางคณิตศาสตร์  ซึ่งประกอบด้วย  5  ทักษะ / กระบวนการ  ในการดำเนินงานครั้งนี้เลือกศึกษา  3  ทักษะ /  กระบวนการ  คือ   1.   ทักษะ / กระบวนการด้านการแก้ปัญหา   หมายถึง  ความสามารถใน การค้นหาคำตอบของปัญหาอย่างถูกต้อง  เหมาะสม และรวดเร็ว โดยการใช้ความรู้ต่างๆ ผ่านกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา  (Polya . 1957  :  16-17 )   ซึ่งมี  4  ขั้นตอน คือ  ขั้นทำความเข้าใจปัญหา  ขั้นวางแผนการแก้ปัญหา  ขั้นดำเนินการแก้ปัญหา  และขั้นตรวจสอบ
2.  ทักษะ / กระบวนการด้านการให้เหตุผล  หมายถึง  ความสามารถในการคิดและอธิบายหรือแสดงแนวคิดให้ผู้อื่นรับรู้ได้ โดยนำวิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยมาช่วยในการสรุปอย่างสมเหตุสมผล 3.  ทักษะ / กระบวนการด้านการเชื่อมโยง  หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานแนวคิด / ความรู้ทางคณิตศาสตร์กับสิ่งต่างๆ ทั้งกับเนื้อหาคณิตศาสตร์ด้วยกัน เนื้อหาศาสตร์อื่นๆ รวมทั้งสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน  เพื่อประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม
กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์   หมายถึง  กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ระดับชั้นม . 1  สาระจำนวนและการดำเนินการ  เรขาคณิต และพีชคณิต  ที่สร้างขึ้นเอง เพื่อให้นักเรียนที่ได้ปฏิบัติกิจกรรมเกิดทักษะ / กระบวนการ ทางคณิตศาสตร์  3  ทักษะ / กระบวนการ  คือ  ทักษะ / กระบวนการด้านการแก้ปัญหา  ทักษะ / กระบวนการด้านการให้เหตุผล  และทักษะ / กระบวนการด้านการเชื่อมโยง  โดยจัดตามสาระการเรียนรู้
เกณฑ์   หมายถึง  การเปรียบเทียบคะแนนที่ได้จากการทำแบบวัดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์  แล้วนำมาวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐาน  โดยนำคะแนนเฉลี่ยมาเทียบกับเกณฑ์เป็นร้อยละ  โดยในการศึกษาครั้งนี้ใช้เกณฑ์ร้อยละ  60
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 1.  กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์  สาระการเรียนรู้  จำนวนและการดำเนินการ  เรขาคณิต และพีชคณิต   ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1   โดยแบ่งเป็น  3  กิจกรรม  ดังนี้ 1)  กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการ   สาระที่  1  จำนวนและ  การดำเนินการ  3  ชั่วโมง 2)  กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการ   สาระที่  3  เรขาคณิต  2  ชั่วโมง 3)  กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการ   สาระที่  4  พีชคณิต  2  ชั่วโมง 2 .  แบบวัดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์  สาระการเรียนรู้  จำนวนและการดำเนินการ  เรขาคณิต  และพีชคณิต   เป็นแบบอัตนัย  จำนวน  6  ข้อ
แบบแผนที่ใช้ในการดำเนินงาน การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง   (Experimental Research)  โดยประยุกต์ใช้แบบแผนการทดลองเป็นแบบ  One – Short  Case  Study   ตาราง  1  แบบแผนการทดลอง  One – Short  Case  Study กลุ่ม  ทดลอง  สอบหลังเรียน   E  X  T 2
วิธีดำเนินการ 1.  เลือกกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาซึ่งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1  ภาคเรียนที่  2  ปีการศึกษา  2549  โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี  ที่เรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค  31101  2.  ดำเนินการสอนโดยใช้กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์  ตามแผนที่วางไว้  3.  ทำการทดสอบหลังได้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์กับกลุ่มทดลอง  โดยใช้แบบวัดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 4.  ตรวจให้คะแนนจากแบบวัดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์  นำคะแนนที่ได้มาทำการวิเคราะห์โดยวิธีทางสถิติเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน
การวิเคราะห์ข้อมูล 1.  วิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้อง  (IOC)   ของแบบวัดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์   2.  วิเคราะห์ค่าความยาก   (P E )   และค่าอำนาจจำแนก  (D)   ของแบบวัดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์   3.  วิเคราะห์ความเชื่อมั่นของของแบบวัดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์  โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา ของครอนบัค   (Cronbach)   4.  ศึกษาคะแนนจากการวัดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน  แล้วนำคะแนนเฉลี่ยมาเทียบกับเกณฑ์เป็นร้อยละ  โดยใช้สถิติแบบ  t – test  one  group
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า ผลการศึกษาค้นคว้า  พบว่า  ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนหลังได้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ มีค่า  =  11.65  สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ  60 (   =  10.8)  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  .01  เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
การขยายผลและเผยแพร่ผลการพัฒนา 1.  สร้างกิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์  สาระการเรียนรู้อื่นๆ ในระดับชั้นต่างๆ  เพื่อพัฒนาศักยภาพทางคณิตศาสตร์ให้กับนักเรียน 2.  รายงานผลการใช้นวัตกรรมในรูปแบบงานวิจัยในชั้นเรียน  5  บท  เป็นตัวอย่างของการพัฒนาการเรียนการสอนอย่างเป็นรูปธรรม 3.  เผยแพร่ผลการพัฒนาในรูปแบบของบทความ  โดยได้รับการคัดเลือกลงตีพิมพ์ในวารสารสมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ 4.  ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทนของโรงเรียนเข้าร่วมในโครงการส่งเสริมพัฒนานวัตกรรมในโรงเรียน ปี  2550
ขอขอบคุณ  นายจตุรงค์  เกิดปั้น  ผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี  และนายวัลลภ  ศรีวงศ์จรรยา  รองผู้อำนวยการกลุ่มการบริหารงานวิชาการ  ให้นโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูทุกคนได้พัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ รองศาสตราจารย์ ดร .  สิริพร  ทิพย์คง  จากภาควิชาการศึกษา  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  กรุณาให้ความอนุเคราะห์เป็นผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้  และสนับสนุนให้ได้เผยแพร่ผลงานตีพิมพ์ลงในวารสารคณิตศาสตร์  ของสมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
ครูสุปราณี  ทองอยู่ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ครูเสาว์ภา  ชูทอง  และครูเยาวลักษณ์  พันกลั่น  ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ให้ความสะดวกและให้ความร่วมมือในการทดลองหาคุณภาพเครื่องมือ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี  เขต  1  ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนา  คัดเลือก  และนำเสนอผลงานนวัตกรรมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
 

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงTupPee Zhouyongfang
 
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์Jirathorn Buenglee
 
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้Thotsaphon M'Max
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลัง
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลังRahe model เรื่อง เลขยกกำลัง
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลัง8752584
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติNU
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...TupPee Zhouyongfang
 
Random 141119054501-conversion-gate01
Random 141119054501-conversion-gate01Random 141119054501-conversion-gate01
Random 141119054501-conversion-gate01dendaw piyapisut
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการArm Watcharin
 

La actualidad más candente (15)

การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริง
 
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
 
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลัง
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลังRahe model เรื่อง เลขยกกำลัง
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลัง
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
Random 141119054501-conversion-gate01
Random 141119054501-conversion-gate01Random 141119054501-conversion-gate01
Random 141119054501-conversion-gate01
 
คณิตป.5
คณิตป.5 คณิตป.5
คณิตป.5
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผล
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 

Similar a วิจัยของครูสวนกุหลาบ

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์Boonlert Aroonpiboon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8dump0507
 
วิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนวิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนNDuangkaew
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัดnuaof
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 

Similar a วิจัยของครูสวนกุหลาบ (20)

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
 
วิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนวิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียน
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ พัฒนา
บทคัดย่อ  พัฒนาบทคัดย่อ  พัฒนา
บทคัดย่อ พัฒนา
 
Kp iappliedart
Kp iappliedartKp iappliedart
Kp iappliedart
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัด
 
บทคัดย่อ(เอนก)
บทคัดย่อ(เอนก)บทคัดย่อ(เอนก)
บทคัดย่อ(เอนก)
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
Chai
ChaiChai
Chai
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 

วิจัยของครูสวนกุหลาบ

  • 1. กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ จำนวนและการดำเนินการ เรขาคณิต และพีชคณิต สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นายพงศธร มหาวิจิตร กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี
  • 2. ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. การแก้ปัญหา 2. การให้เหตุผล 3. การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ 4. การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ ได้ 5. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
  • 3.
  • 4. ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อสร้างกิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ จำนวนและการดำเนินการ เรขาคณิต และพีชคณิต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 2. เพื่อศึกษาผลของการใช้กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ จำนวนและการดำเนินการ เรขาคณิต และพีชคณิต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 5. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ มีทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า ประชากร / กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี ที่กำลังเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549 จำนวน 1 ห้องเรียน 4 0 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling)
  • 6. ระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินงาน ดำเนินงานในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549 ใช้เวลาในการสอน 8 ชั่วโมง เนื้อหาที่ใช้ในการดำเนินงาน เนื้อหารายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค 31101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี จำแนกตามสาระการเรียนรู้ ดังนี้ 1. สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ ได้แก่ ห . ร . ม . และ ค . ร . น . จำนวนเต็ม เศษส่วนและทศนิยม เลขยกกำลัง และการประมาณค่า
  • 7. 2. สาระที่ 3 เรขาคณิต ได้แก่ พื้นฐานทางเรขาคณิต และความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ 3. สาระที่ 4 พีชคณิต ได้แก่ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และคู่อันดับและกราฟ ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ตัวแปรตาม ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน
  • 8. นิยามศัพท์เฉพาะ กิจกรรมคณิตศาสตร์ หมายถึง กิจกรรมที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์และจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยจัดขึ้นเพิ่มจากการเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติให้กับนักเรียนที่สนใจ เพื่อมุ่งเสริมสร้างความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ด้านคณิตศาสตร์ที่จำเป็นแก่นักเรียน
  • 9. ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความสามารถหรือความชำนาญในการปฏิบัติงานหรือกิจกรรมคณิตศาสตร์ โดยสามารถปฏิบัติได้ดี มีคุณภาพ มีความถูกต้องแม่นยำ และรวดเร็ว อันเป็นผลมาจากจากการฝึกปฏิบัติอย่างมีระบบทางคณิตศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย 5 ทักษะ / กระบวนการ ในการดำเนินงานครั้งนี้เลือกศึกษา 3 ทักษะ / กระบวนการ คือ 1. ทักษะ / กระบวนการด้านการแก้ปัญหา หมายถึง ความสามารถใน การค้นหาคำตอบของปัญหาอย่างถูกต้อง เหมาะสม และรวดเร็ว โดยการใช้ความรู้ต่างๆ ผ่านกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา (Polya . 1957 : 16-17 ) ซึ่งมี 4 ขั้นตอน คือ ขั้นทำความเข้าใจปัญหา ขั้นวางแผนการแก้ปัญหา ขั้นดำเนินการแก้ปัญหา และขั้นตรวจสอบ
  • 10. 2. ทักษะ / กระบวนการด้านการให้เหตุผล หมายถึง ความสามารถในการคิดและอธิบายหรือแสดงแนวคิดให้ผู้อื่นรับรู้ได้ โดยนำวิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยมาช่วยในการสรุปอย่างสมเหตุสมผล 3. ทักษะ / กระบวนการด้านการเชื่อมโยง หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานแนวคิด / ความรู้ทางคณิตศาสตร์กับสิ่งต่างๆ ทั้งกับเนื้อหาคณิตศาสตร์ด้วยกัน เนื้อหาศาสตร์อื่นๆ รวมทั้งสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน เพื่อประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม
  • 11. กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ หมายถึง กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ระดับชั้นม . 1 สาระจำนวนและการดำเนินการ เรขาคณิต และพีชคณิต ที่สร้างขึ้นเอง เพื่อให้นักเรียนที่ได้ปฏิบัติกิจกรรมเกิดทักษะ / กระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ 3 ทักษะ / กระบวนการ คือ ทักษะ / กระบวนการด้านการแก้ปัญหา ทักษะ / กระบวนการด้านการให้เหตุผล และทักษะ / กระบวนการด้านการเชื่อมโยง โดยจัดตามสาระการเรียนรู้
  • 12. เกณฑ์ หมายถึง การเปรียบเทียบคะแนนที่ได้จากการทำแบบวัดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ แล้วนำมาวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐาน โดยนำคะแนนเฉลี่ยมาเทียบกับเกณฑ์เป็นร้อยละ โดยในการศึกษาครั้งนี้ใช้เกณฑ์ร้อยละ 60
  • 13. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 1. กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ จำนวนและการดำเนินการ เรขาคณิต และพีชคณิต ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยแบ่งเป็น 3 กิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการ สาระที่ 1 จำนวนและ การดำเนินการ 3 ชั่วโมง 2) กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการ สาระที่ 3 เรขาคณิต 2 ชั่วโมง 3) กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการ สาระที่ 4 พีชคณิต 2 ชั่วโมง 2 . แบบวัดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ จำนวนและการดำเนินการ เรขาคณิต และพีชคณิต เป็นแบบอัตนัย จำนวน 6 ข้อ
  • 14. แบบแผนที่ใช้ในการดำเนินงาน การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) โดยประยุกต์ใช้แบบแผนการทดลองเป็นแบบ One – Short Case Study ตาราง 1 แบบแผนการทดลอง One – Short Case Study กลุ่ม ทดลอง สอบหลังเรียน E X T 2
  • 15. วิธีดำเนินการ 1. เลือกกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาซึ่งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี ที่เรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค 31101 2. ดำเนินการสอนโดยใช้กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ตามแผนที่วางไว้ 3. ทำการทดสอบหลังได้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์กับกลุ่มทดลอง โดยใช้แบบวัดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 4. ตรวจให้คะแนนจากแบบวัดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ นำคะแนนที่ได้มาทำการวิเคราะห์โดยวิธีทางสถิติเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน
  • 16. การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแบบวัดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 2. วิเคราะห์ค่าความยาก (P E ) และค่าอำนาจจำแนก (D) ของแบบวัดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 3. วิเคราะห์ความเชื่อมั่นของของแบบวัดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา ของครอนบัค (Cronbach) 4. ศึกษาคะแนนจากการวัดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน แล้วนำคะแนนเฉลี่ยมาเทียบกับเกณฑ์เป็นร้อยละ โดยใช้สถิติแบบ t – test one group
  • 17. สรุปผลการศึกษาค้นคว้า ผลการศึกษาค้นคว้า พบว่า ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนหลังได้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ มีค่า = 11.65 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 ( = 10.8) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
  • 18. การขยายผลและเผยแพร่ผลการพัฒนา 1. สร้างกิจกรรมส่งเสริมทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้อื่นๆ ในระดับชั้นต่างๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพทางคณิตศาสตร์ให้กับนักเรียน 2. รายงานผลการใช้นวัตกรรมในรูปแบบงานวิจัยในชั้นเรียน 5 บท เป็นตัวอย่างของการพัฒนาการเรียนการสอนอย่างเป็นรูปธรรม 3. เผยแพร่ผลการพัฒนาในรูปแบบของบทความ โดยได้รับการคัดเลือกลงตีพิมพ์ในวารสารสมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ 4. ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทนของโรงเรียนเข้าร่วมในโครงการส่งเสริมพัฒนานวัตกรรมในโรงเรียน ปี 2550
  • 19. ขอขอบคุณ นายจตุรงค์ เกิดปั้น ผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี และนายวัลลภ ศรีวงศ์จรรยา รองผู้อำนวยการกลุ่มการบริหารงานวิชาการ ให้นโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูทุกคนได้พัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ รองศาสตราจารย์ ดร . สิริพร ทิพย์คง จากภาควิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุณาให้ความอนุเคราะห์เป็นผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ และสนับสนุนให้ได้เผยแพร่ผลงานตีพิมพ์ลงในวารสารคณิตศาสตร์ ของสมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
  • 20. ครูสุปราณี ทองอยู่ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ครูเสาว์ภา ชูทอง และครูเยาวลักษณ์ พันกลั่น ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ให้ความสะดวกและให้ความร่วมมือในการทดลองหาคุณภาพเครื่องมือ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี เขต 1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนา คัดเลือก และนำเสนอผลงานนวัตกรรมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
  • 21.