SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 17
การเตรียมความพร้อมในการให้เหตุผล สอนโดย ... ครูไพรวัล  ดวงตา
เมื่อเรียนจบแล้วนักเรียนสามารถ ,[object Object]
1.1  ข้อความคาดการณ์ มนุษย์  จะเริ่มเรียนรู้จากการได้พบเห็นเหตุการณ์หรือ สถานการณ์ที่เกิดซ้ำ ๆ กัน แล้วนำมาเป็นข้อสรุป เกี่ยวกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์นั้นเป็นความรู้ใหม่  และถ้าสามารถแสดงได้ว่า  เป็นจริง  ก็จะนำมาใช้ในการ อ้างอิงต่อไป
สถานการณ์ที่  1 ประกายพรึก  เป็นเด็กที่น่ารัก ทุกวันหลังโรงเรียนเลิก ประกายพรึกจะ รีบกลับบ้านมาช่วยคุณแม่ทำงานบ้าน เช่น กวาดบ้าน ล้างจาน ทำกับข้าว  ความที่ประกายพรึกเป็นเด็กช่างสังเกตเธอได้พบว่าทุกเย็นวันศุกร์ คุณแม่ จะพาเธอไปรับประทานเนื้อย่างร้านลำภู ประกายพรึกสังเกตประมาณ 1  เดือนแล้ว เธอจึงสรุปว่า  ทุกเย็นวันศุกร์เธอจะได้ไปรับประทานเนื้อย่าง ร้านลำภู
สถานการณ์ที่  2 จิรภัทร  สังเกตเห็นว่าในช่วงโรงเรียนเปิดเทอม ครูไพรวัลซึ่งเป็น ครูประจำชั้นจะปั่นจักรยานผ่านหน้าบ้านจิรภัทรไปโรงเรียนทุกเช้าประมาณ 7.00  น .  แต่วันนี้สายแล้ว จิรภัทรยังไม่เห็นครูไพรวัลปั่นรถจักรยานผ่าน หน้าบ้าน  จิรภัทรจึงสรุปว่า ... วันนี้เป็นวันที่โรงเรียนหยุด
สถานการณ์ที่  3 ปลายฝัน ได้มีการสังเกต การเรียงลำดับของจำนวน  ดังต่อไปนี้ 2,  3,  5,  9,  17,  33,  ...  และพบว่ามีแบบรูปของความสัมพันธ์ ดังแผนภาพนี้  2  3  5  9  17  33 +1  +2  +4  +8  +16 ดังนั้น   ปลายฝันจึงสรุปว่า  จำนวนที่  9  คือ  257
สถานการณ์ที่  4 ธนพร  ต้องการที่จะสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาดต่าง ๆ โดยให้มีความยาวรอบรูป  เท่ากับ  20  เซนติเมตร และมีความยาวของด้านประกอบมุมฉากแต่ละด้านเป็น จำนวนเต็ม เช่น กว้าง  1 ซม .  จะยาว  9  ซม .  ธนพรคำนวณพื้นที่ พร้อมทั้งบันทึกข้อมูลในตาราง ดังนี้ หลังจากที่ลองคำนวณแล้วหาพื้นที่ที่ได้ในตาราง ธนพรสังเกตว่าเมื่อความกว้าง เพิ่มขึ้น พื้นที่ของสี่เหลี่ยมจะเพิ่มขึ้นด้วย จึงสรุปว่า  พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่ได้ จะเพิ่มขึ้นเมื่อความกว้างเพิ่มขึ้น กว้าง  ( ซม .) ยาว  ( ซม .) พื้นที่  ( ตร . ซม .) 1 2 3 4 5 9 8 7 6 5 9 16 21 24 25
วิธีเขียนเซต มี  2  แบบ  ดังนี้ 1. แบบแจกแจงสมาชิก 2. แบบบอกเงื่อนไข ข้อความคาดการณ์  คือ กระบวนการที่ใช้ในการสังเกตหรือการทดลอง หลาย  ๆ ครั้ง แล้วรวบรวมข้อมูลเพื่อหาแบบรูปที่จะนำไปสู่ข้อสรุป ที่มีความเป็นไปได้มากที่สุด แต่ยังไม่ได้พิสูจน์ว่าเป็นจริง ถ้าต้องการทราบว่าข้อความคาดการณ์นั้นเป็นจริง ก็ต้องสืบเสาะ ค้นหาข้อมูลมาสนับสนุนหรือแสดงเหตุผลที่ทำให้ยอมรับได้ว่า ข้อความคาดการณ์นั้นเป็นจริง สรุป
การตรวจสอบข้อความคาดการณ์   สถานการณ์ที่  1   ถ้าประกายพรึกต้องการทราบว่า ข้อความคาดการณ์ของตนเป็นจริงหรือไม่  ประกายพรึกอาจจะสอบถามคุณแม่ว่า ทุกวันศุกร์คุณแม่จะพาไปทานเนื้อย่างใช่ไหมคะ ถ้าคุณแม่บอกว่าใช่  ข้อความคาดการณ์ของประกายพรึกก็เป็นจริง แต่ถ้าคุณแม่บอกว่าวันศุกร์หน้าคุณแม่จะทำแจ่วฮ้อนทานที่บ้าน ข้อความคาดการณ์ของประกายพรึกก็ไม่เป็นจริง สถานการณ์ที่  2  ถ้าจิรภัทรต้องการทราบว่า  ข้อความคาดการณ์ของตนเป็นจริงหรือไม่   จิรภัทรต้องหาข้อมูลจากครูไพรวัล สถานการณ์ที่  3  ........................( ร่วมกันอภิปราย ) สถานการณ์ที่  4  ........................( ร่วมกันอภิปราย )
กิจกรรมที่  1   เติ้ลและเต้ยขับรถไปตามถนนยโสธร – มุกดาหาร เขาพบว่าตลอดเส้นทางมีร้านขายก๋วยเตี๋ยวหลายร้านที่เขายังไม่เคยลองรับประทาน เติ้ล  :  เต้ยเราแวะกินก๋วยเตี๋ยวกันเถอะ   เต้ย  :  เอาซิ แล้วร้านไหนล่ะที่อร่อย   เติ้ล  :  เอาร้านนั้นไหมล่ะ  “ลูกชิ้นกุดชุม”  มีรถจอดหลายคันเลย   เต้ย  :  คนกินแน่นร้านด้วย   เติ้ล  :  งั้นเลือกร้านนี้ล่ะนะ   เต้ย  :  ตกลง เติ้ลและเต้ยมีเหตุผลอย่างไรจึงเลือกรับประทานก๋วยเตี๋ยวร้านนั้น  จงอธิบาย  ? ข้อความคาดการณ์ ... ร้านใดที่มีคนเข้าไปรับประทานมาก ร้านนั้นมักจะอร่อย
กิจกรรมที่  2 ไฟต์ทราบว่า “จำนวนคู่ คือจำนวนเต็มที่หารด้วย  2  ลงตัว” ซึ่งได้แก่  ...-6, -4, -2,  0,  2, 4,  6,  8,  ...  เมื่อไฟต์นำจำนวนคู่มาลองเขียนในรูปการคูณของ  2  กับจำนวนเต็ม ได้ผลดังตารางข้างล่าง 1)  จำนวนคู่แต่ละจำนวนสามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของ  2  กับ จำนวนเต็ม    จำนวนหนึ่งได้หรือไม่  ................ 2)  ถ้าให้  n   แทนจำนวนเต็มจำนวนหนึ่ง จำนวนในรูป  2n   เป็นจำนวนคู่หรือไม่ ........ 3)  ให้นักเรียนเขียนข้อสรุปที่ได้ในข้อ  1  และข้อ  2  ........... ได้ เป็น จำนวนคู่ คือ จำนวนที่เขียนได้ในรูป  2 n  เมื่อ  n  แทนจำนวนเต็มจำนวนหนึ่ง ... - 6 - 4 -2 0 2 4 6 ... ... 2 x (-3) 2 x (-2) 2 x (-1) 2 x 0 2 x 1 2 x 2 2 x 3 ...
กิจกรรมที่  3 ให้นักเรียนสังเกตแบบรูป แล้วเติมจำนวนที่คาดว่าจะเป็นไปได้มากที่สุดลงในช่องว่างที่กำหนดให้ต่อไปนี้ ข้อที่  1) 1  x   1  =   1   11  x  11  =   121   111  x  111  =   12321   1111  x  1111  =   1234321 11111  x  11111  =  ....................... ข้อที่  2) 6  x   7  =   42   66  x  67  =   4422   666  x  667  =   444222   6666  x  6667  =   44442222 66666  x  66667  =  ....................... 123454321 4444422222
กิจกรรมที่  3 ข้อที่  3) (9  x   0) + 1   =   1   (9  x  1) + 2   =   11   (9  x  2) + 3   =   21    (9  x  3) + 4   =   ……     ................  =   41 ข้อที่  4) 1 + (9   x 0)  =   1   2 + (9  x 1)  =   11   3 + (9  x 12)  =  111   4 + (9  x 123)  =   ..........   .....................  =   11111 นักเรียนมีวิธีการหาจำนวนในแต่ละข้ออย่างไร  จงอธิบาย  ..................... 31 (9  x  4) + 5 1111 5 + (9 x 1234)
กิจกรรมที่  4 อนุวัฒน์สร้างรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วบนฐาน  AB   หลาย ๆ รูป โดยให้ด้านประกอบ มุมยอดมีความยาวต่าง ๆ กัน ดังตัวอย่าง อนุวัฒน์น่าจะสร้างข้อความคาดการณ์เกี่ยวกับจุดยอดของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วทั้งหลายที่มีฐานเดียวกันอย่างไร จุดยอดของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วทั้งหลายที่มีฐานเดียวกัน จะอยู่บนเส้นตรงเดียวกัน จุดยอดของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วทั้งหลายที่มีฐานเดียวกัน จะอยู่บนเส้นตรงที่ตั้งฉากและแบ่งครึ่งฐานนั้น
แบบฝึกหัดที่  1
 
 

Más contenido relacionado

Más de ไพรวัล ดวงตา (20)

Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
Final2554
Final2554Final2554
Final2554
 
Integer
IntegerInteger
Integer
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
SlideShare
SlideShareSlideShare
SlideShare
 
Picasa
PicasaPicasa
Picasa
 
YouTube
YouTubeYouTube
YouTube
 
Google docs
Google docsGoogle docs
Google docs
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedPpt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
 
Test
TestTest
Test
 
31.111+ข้..
31.111+ข้..31.111+ข้..
31.111+ข้..
 
31.111+ข้..
31.111+ข้..31.111+ข้..
31.111+ข้..
 
5 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 55 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 5
 
Wp
WpWp
Wp
 

Acjecture

  • 2.
  • 3. 1.1 ข้อความคาดการณ์ มนุษย์ จะเริ่มเรียนรู้จากการได้พบเห็นเหตุการณ์หรือ สถานการณ์ที่เกิดซ้ำ ๆ กัน แล้วนำมาเป็นข้อสรุป เกี่ยวกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์นั้นเป็นความรู้ใหม่ และถ้าสามารถแสดงได้ว่า เป็นจริง ก็จะนำมาใช้ในการ อ้างอิงต่อไป
  • 4. สถานการณ์ที่ 1 ประกายพรึก เป็นเด็กที่น่ารัก ทุกวันหลังโรงเรียนเลิก ประกายพรึกจะ รีบกลับบ้านมาช่วยคุณแม่ทำงานบ้าน เช่น กวาดบ้าน ล้างจาน ทำกับข้าว ความที่ประกายพรึกเป็นเด็กช่างสังเกตเธอได้พบว่าทุกเย็นวันศุกร์ คุณแม่ จะพาเธอไปรับประทานเนื้อย่างร้านลำภู ประกายพรึกสังเกตประมาณ 1 เดือนแล้ว เธอจึงสรุปว่า ทุกเย็นวันศุกร์เธอจะได้ไปรับประทานเนื้อย่าง ร้านลำภู
  • 5. สถานการณ์ที่ 2 จิรภัทร สังเกตเห็นว่าในช่วงโรงเรียนเปิดเทอม ครูไพรวัลซึ่งเป็น ครูประจำชั้นจะปั่นจักรยานผ่านหน้าบ้านจิรภัทรไปโรงเรียนทุกเช้าประมาณ 7.00 น . แต่วันนี้สายแล้ว จิรภัทรยังไม่เห็นครูไพรวัลปั่นรถจักรยานผ่าน หน้าบ้าน จิรภัทรจึงสรุปว่า ... วันนี้เป็นวันที่โรงเรียนหยุด
  • 6. สถานการณ์ที่ 3 ปลายฝัน ได้มีการสังเกต การเรียงลำดับของจำนวน ดังต่อไปนี้ 2, 3, 5, 9, 17, 33, ... และพบว่ามีแบบรูปของความสัมพันธ์ ดังแผนภาพนี้ 2 3 5 9 17 33 +1 +2 +4 +8 +16 ดังนั้น ปลายฝันจึงสรุปว่า จำนวนที่ 9 คือ 257
  • 7. สถานการณ์ที่ 4 ธนพร ต้องการที่จะสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาดต่าง ๆ โดยให้มีความยาวรอบรูป เท่ากับ 20 เซนติเมตร และมีความยาวของด้านประกอบมุมฉากแต่ละด้านเป็น จำนวนเต็ม เช่น กว้าง 1 ซม . จะยาว 9 ซม . ธนพรคำนวณพื้นที่ พร้อมทั้งบันทึกข้อมูลในตาราง ดังนี้ หลังจากที่ลองคำนวณแล้วหาพื้นที่ที่ได้ในตาราง ธนพรสังเกตว่าเมื่อความกว้าง เพิ่มขึ้น พื้นที่ของสี่เหลี่ยมจะเพิ่มขึ้นด้วย จึงสรุปว่า พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่ได้ จะเพิ่มขึ้นเมื่อความกว้างเพิ่มขึ้น กว้าง ( ซม .) ยาว ( ซม .) พื้นที่ ( ตร . ซม .) 1 2 3 4 5 9 8 7 6 5 9 16 21 24 25
  • 8. วิธีเขียนเซต มี 2 แบบ ดังนี้ 1. แบบแจกแจงสมาชิก 2. แบบบอกเงื่อนไข ข้อความคาดการณ์ คือ กระบวนการที่ใช้ในการสังเกตหรือการทดลอง หลาย ๆ ครั้ง แล้วรวบรวมข้อมูลเพื่อหาแบบรูปที่จะนำไปสู่ข้อสรุป ที่มีความเป็นไปได้มากที่สุด แต่ยังไม่ได้พิสูจน์ว่าเป็นจริง ถ้าต้องการทราบว่าข้อความคาดการณ์นั้นเป็นจริง ก็ต้องสืบเสาะ ค้นหาข้อมูลมาสนับสนุนหรือแสดงเหตุผลที่ทำให้ยอมรับได้ว่า ข้อความคาดการณ์นั้นเป็นจริง สรุป
  • 9. การตรวจสอบข้อความคาดการณ์ สถานการณ์ที่ 1 ถ้าประกายพรึกต้องการทราบว่า ข้อความคาดการณ์ของตนเป็นจริงหรือไม่ ประกายพรึกอาจจะสอบถามคุณแม่ว่า ทุกวันศุกร์คุณแม่จะพาไปทานเนื้อย่างใช่ไหมคะ ถ้าคุณแม่บอกว่าใช่ ข้อความคาดการณ์ของประกายพรึกก็เป็นจริง แต่ถ้าคุณแม่บอกว่าวันศุกร์หน้าคุณแม่จะทำแจ่วฮ้อนทานที่บ้าน ข้อความคาดการณ์ของประกายพรึกก็ไม่เป็นจริง สถานการณ์ที่ 2 ถ้าจิรภัทรต้องการทราบว่า ข้อความคาดการณ์ของตนเป็นจริงหรือไม่ จิรภัทรต้องหาข้อมูลจากครูไพรวัล สถานการณ์ที่ 3 ........................( ร่วมกันอภิปราย ) สถานการณ์ที่ 4 ........................( ร่วมกันอภิปราย )
  • 10. กิจกรรมที่ 1 เติ้ลและเต้ยขับรถไปตามถนนยโสธร – มุกดาหาร เขาพบว่าตลอดเส้นทางมีร้านขายก๋วยเตี๋ยวหลายร้านที่เขายังไม่เคยลองรับประทาน เติ้ล : เต้ยเราแวะกินก๋วยเตี๋ยวกันเถอะ เต้ย : เอาซิ แล้วร้านไหนล่ะที่อร่อย เติ้ล : เอาร้านนั้นไหมล่ะ “ลูกชิ้นกุดชุม” มีรถจอดหลายคันเลย เต้ย : คนกินแน่นร้านด้วย เติ้ล : งั้นเลือกร้านนี้ล่ะนะ เต้ย : ตกลง เติ้ลและเต้ยมีเหตุผลอย่างไรจึงเลือกรับประทานก๋วยเตี๋ยวร้านนั้น จงอธิบาย ? ข้อความคาดการณ์ ... ร้านใดที่มีคนเข้าไปรับประทานมาก ร้านนั้นมักจะอร่อย
  • 11. กิจกรรมที่ 2 ไฟต์ทราบว่า “จำนวนคู่ คือจำนวนเต็มที่หารด้วย 2 ลงตัว” ซึ่งได้แก่ ...-6, -4, -2, 0, 2, 4, 6, 8, ... เมื่อไฟต์นำจำนวนคู่มาลองเขียนในรูปการคูณของ 2 กับจำนวนเต็ม ได้ผลดังตารางข้างล่าง 1) จำนวนคู่แต่ละจำนวนสามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของ 2 กับ จำนวนเต็ม จำนวนหนึ่งได้หรือไม่ ................ 2) ถ้าให้ n แทนจำนวนเต็มจำนวนหนึ่ง จำนวนในรูป 2n เป็นจำนวนคู่หรือไม่ ........ 3) ให้นักเรียนเขียนข้อสรุปที่ได้ในข้อ 1 และข้อ 2 ........... ได้ เป็น จำนวนคู่ คือ จำนวนที่เขียนได้ในรูป 2 n เมื่อ n แทนจำนวนเต็มจำนวนหนึ่ง ... - 6 - 4 -2 0 2 4 6 ... ... 2 x (-3) 2 x (-2) 2 x (-1) 2 x 0 2 x 1 2 x 2 2 x 3 ...
  • 12. กิจกรรมที่ 3 ให้นักเรียนสังเกตแบบรูป แล้วเติมจำนวนที่คาดว่าจะเป็นไปได้มากที่สุดลงในช่องว่างที่กำหนดให้ต่อไปนี้ ข้อที่ 1) 1 x 1 = 1 11 x 11 = 121 111 x 111 = 12321 1111 x 1111 = 1234321 11111 x 11111 = ....................... ข้อที่ 2) 6 x 7 = 42 66 x 67 = 4422 666 x 667 = 444222 6666 x 6667 = 44442222 66666 x 66667 = ....................... 123454321 4444422222
  • 13. กิจกรรมที่ 3 ข้อที่ 3) (9 x 0) + 1 = 1 (9 x 1) + 2 = 11 (9 x 2) + 3 = 21 (9 x 3) + 4 = …… ................ = 41 ข้อที่ 4) 1 + (9 x 0) = 1 2 + (9 x 1) = 11 3 + (9 x 12) = 111 4 + (9 x 123) = .......... ..................... = 11111 นักเรียนมีวิธีการหาจำนวนในแต่ละข้ออย่างไร จงอธิบาย ..................... 31 (9 x 4) + 5 1111 5 + (9 x 1234)
  • 14. กิจกรรมที่ 4 อนุวัฒน์สร้างรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วบนฐาน AB หลาย ๆ รูป โดยให้ด้านประกอบ มุมยอดมีความยาวต่าง ๆ กัน ดังตัวอย่าง อนุวัฒน์น่าจะสร้างข้อความคาดการณ์เกี่ยวกับจุดยอดของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วทั้งหลายที่มีฐานเดียวกันอย่างไร จุดยอดของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วทั้งหลายที่มีฐานเดียวกัน จะอยู่บนเส้นตรงเดียวกัน จุดยอดของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วทั้งหลายที่มีฐานเดียวกัน จะอยู่บนเส้นตรงที่ตั้งฉากและแบ่งครึ่งฐานนั้น
  • 16.  
  • 17.