SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 99
แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่   2           ภาคเรียนที่   2
หน่วยการเรียนรู้ที่   6 เรื่อง   ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำานวนจริง        เวลา   15   ชั่วโมง
แผนที่   61     เรื่อง การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมซำ้า                               เวลา   1      ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้           สัมพันธ์กับมาตรฐานสาระ ค ………………………………………                              .
สาระสำาคัญ
        การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมซำ้าทำาได้โดยนำาส่วนมาหารเศษ


ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
             1.1     ด้านความรู้
                 เขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมซำ้าได้
             1.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
               1) การแก้ปัญหา
               2) การให้เหตุผล
               3) การสื่อสาร การสื่อความหมาย              และการนำาเสนอ
               4) การเชื่อมโยง
               5) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
             1.3 ด้านคุณลักษณะ
               1) ทำางานอย่างเป็นระบบ
               2) มีความรอบคอบ
               3) มีความรับผิดชอบ
               4) มีวิจารณญาณ
               5) มีความเชื่อมั่นในตนเอง
               6) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
สาระการเรียนรู้
       การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมซำ้า




กระบวนการจัดการเรียนรู้
         1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5    คน จากนั้นแจกกระดาษให้นักเรียนทุกกลุ่ม กลุ่มละ      แผ่น  5
ครูชี้แจงกติกาการเล่นเกมแข่งขันกันเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยม ซึ่งถ้าทศนิยมที่หาได้เป็นทศนิยมไม่รู้จบ ให้
นักเรียนหาคำาตอบเป็นทศนิยม        7   ตำาแหน่ง
         2. ครูซักถามนักเรียนนักเรียนจนแน่ใจว่าทุกคนเข้าใจกติกาการเล่นเกมดีแล้วจึงเริ่มบอกโจทย์ข้อที่
1   เมื่อนักเรียนส่งคำาตอบให้ครูทุกกลุ่มแล้ว ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนยืนขึ้นบอกคำาตอบของกลุ่มตน
ให้เพื่อน ๆ ฟัง แล้วร่วมกันสรุปคำาตอบทีถูกต้อง จากนั้นให้ตัวแทนนักเรียนออกมาแสดงวิธีทำาให้เพื่อนดูบน
                                        ่
กระดานดำาอีกครั้งเพื่อเป็นการทบทวน ทำาเช่นนี้จนครบทุกข้อ
         3. นักเรียนร่วมกันสรุปเกมที่เล่นว่า “การเปลี่ยนเศษส่วนให้เป็นทศนิยมใช้วิธีการหาร”
4. ครูยกตัวอย่างประกอบคำาอธิบายบนกระดานดำา เช่น
                     2
            1. 3               = 0.6666666…                           เขียนแทนด้วย
                                                                                         
                                                                                       0.6

                       160
             2.         45
                                   = 3.555555…               เขียนแทนด้วย        
                                                                               3.5

                       12
             3.        33
                                   = 0.36363636…             เขียนแทนด้วย        
                                                                               0.36

                        9
             4.        37
                                   = 0.243243243…            เขียนแทนด้วย         
                                                                               0.243

                       3
             5.        7
                                 = 0.42857142857142… เขียนแทนด้วย                        
                                                                               0 . 4 2857 1

         5. ให้นักเรียนร่วมกันสังเกตวิธีการเขียนทศนิยมที่ครูเขียนไว้บนกระดานดำา จากนั้นร่วมกันสรุปให้
ได้วา “จำานวนใดซำ้าจะใส่จุดเหนือตัวเลขตัวนั้น แต่ถาตัวเลขทีซำ้ากันตั้งแต่สามจำานวนขึ้นไปจะใส่จุดเหนือ
    ่                                             ้        ่
ตัวเลขตัวแรกกับตัวสุดท้ายเท่านั้น”
         6. ครูอานทศนิยมซำ้าให้นักเรียนฟังดังนี้
                 ่
             1.           0.6
                                          อ่านว่า ศูนย์จุดหก หกซำ้า
             2. 3 . 5
                                  อ่านว่า สามจุดห้า ห้าซำ้า
             3. 0 . 36
                                  อ่านว่า ศูนย์จุดสามหก สามหกซำ้า
             4. 0 . 2 4 3
                      
                                          อ่านว่า ศูนย์จุดสองสี่สาม สองสี่สามซำ้า
             5. 0 . 4 2857 1  
                                          อ่านว่า ศูนย์จุดสี่สองแปดห้าเจ็ดหนึ่ง สี่สองแปดห้าเจ็ดหนึ่งซำ้า
         สำาหรับทศนิยม เช่น 1.5, 2.94, 10.016 ถือว่าเป็นทศนิยมซำ้าเช่นเดียวกันเพราะ
1.5 = 1.5000… , 2.94 = 2.94000… , 10.016 =
10.016000… เรียกว่าทศนิยมซำ้าศูนย์
 นั่นคือ        1.5000… เขียนแทนด้วย 1.5 อ่านว่า หนึ่งจุดห้า
                2.94000…                  เขียนแทนด้วย 2.94 อ่านว่า สองจุดเก้าสี่
              10.016000… เขียนแทนด้วย 10.016 อ่านว่า สิบจุดศูนย์หนึ่งหก
         7. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย จากนั้นจดสิ่งสำาคัญลงสมุดเพื่อเก็บไว้ทบทวนใน
ครั้งต่อไป
         8. ให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือเรียน แล้วฝึกทักษะโดยการทำาแบบฝึกหัด (      ถ้ายังมีเวลาให้
ร่วมกันเฉลย ถ้าหมดเวลาให้ส่งครู)


สื่อและแหล่งการเรียนรู้
             1. เกมแข่งขันกันเปลียนเศษส่วน
                                 ่
             2. ธงหมายเลข 1, 2, และ 3
             3. กระดาษ(สำาหรับเล่นเกม)
             4. แบบฝึกหัด
             5. หนังสือเรียน
กระบวนการวัดผลประเมินผล
      การวัดผล
                  1.      วิธีการวัดผล
1.1       สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
                           1.2       สังเกตจากการตอบคำาถามและร่วมกิจกรรม
                           1.3       ตรวจแบบฝึกหัด
                   2.     เครื่องมือวัดผล
                           2.1         แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
                           2.2         แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์
        การประเมินผล
        1. เกณฑ์ผ่านการประเมินแบบฝึกหัด ใบงาน หรือใบกิจกรรมได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป
        2. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
           4 = ดีมาก               3 = ดี2 = พอใช้ 1 = ผ่าน 0 =
        ปรับปรุง


กิจกรรมเสนอแนะ
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
…
………………………………………………………………………
……………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
…………………………………………………………
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
……………………………

                                                     (ลงชื่อ)…………………………….

(…………………………..)
                                                     ตำาแหน่ง …………………………………     .
บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้
        ผลการเรียนรู้ ……………………………………………………………                              .
……………………………..
………………………………………………………………………
……………………………………………………
………………………………………………………………………
……………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
…
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
…………………………………………………………
  ปัญหา / อุปสรรค ……………………………………...
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
…………………………………………………………
  ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………...
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
…………………………
                             (ลงชื่อ) ………..............……………..
ผู้สอน
                              ( ……….....................
……………. )
                                     ............................
                         ตำาแหน่ง……………
………
เกม แข่งขันกันเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยม


กติกาการเล่น
        ครูบอกเศษส่วนครั้งละ   1   จำานวน   แล้วให้นักเรียนเปลี่ยนเป็นทศนิยมให้เร็วที่สุด กลุ่มใดเสร็จก่อน
ให้นำาคำาตอบมาส่งครู แล้วรับธงกลับไป ซึ่งครูจะมีธงอยู่   3   อัน แต่ละอันจะมีตัวเลข   1, 2,
                                                                                          3       และ
ตามลำาดับ กลุ่มที่เสร็จอันดับแรกจะได้ธงหมายเลข 1    และเสร็จอันดับรองลงมาก็จะได้ธงหมายเลข 2
และ 3 ตามลำาดับ โดยธงแต่ละอันจะมีค่าเป็นคะแนน คือ ธงหมายเลขหนึ่ง มีคา 3 คะแนน ธงหมายเลข 2
                                                                    ่
มีค่า 2 คะแนน และธงหมายเลข 3 มีคา 1 คะแนน ถ้าตอบถูกจะได้เพิ่มอีก 2 คะแนน (กลุ่มทีไม่ได้
                                          ่                                             ่
ธงแต่ตอบถูกจะได้คะแนน 2 คะแนน)


ตัวอย่างโจทย์และคำาตอบที่ใช้เล่นเกม


                                   โจทย์                         คำาตอบ

                        1.
                                1                               0.25
                                4

                        2.
                                 7                             0.35
                                20

                        3.
                                4                        1.3333333…
                                3

                        4.
                                17                       0.12121212…
                                18

                        5.
                                1                        0.1111111…
                                9

                        6.
                                 5                       0.2631578…
                                19

                        7.
                                12                  0.92307692307
                                13
                                                          6….
                        8.
                                23                   0.69696969…
                                33

                        9.
                                 5                  0.26315789473
                                19
                                                      6842105…
                        10.
                                17                   2.8333333…
                                 6




                                              แบบฝึกหัด


คำาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเศษส่วนต่อไปนี้ในรูปทศนิยมซำ้าในรูปที่ถกต้องพร้อมเขียนคำาอ่าน
                                                                 ู


               โจทย์             คำาตอบ            เขียนในรูปทีถูกต้อง
                                                               ่                    คำาอ่าน
1.
      1     0.33333…
      3

2.
      143     0.572
      250

3.
      2     0.66666666
      3
                 …
4.
       4    0.12121212
      33
                 …
5.
      258    0.5212121
      495
                 …
6.
       5     0.2631578
      19
                 …
7.
      45    0.60714285
      28
             714285….
8.
      31     2.8181818
      11
                 …
9.
      13        0.65
      20
10.         0.0151515
 1              …
66
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
                                                               2 ครูผู้
                      กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
                         บันทึก.................................
      วันที่......เดือน..................... พ.ศ. ........... ครั้งที่ ........ ปีการ
                               ศึกษา........................

                                                                          รายการประเมิน                                                                                 สรุปผล
                                                                                                                                                                        ผ่าน   ไม่




                                                                                                                                                ตั้งใจตอบคำาถาม
                                               เตรียมอุปกรณ์การเรียนครบ

                                                                          ร่วมกิจกรรมด้วยความสนใจ

                                                                                                    ทำางานเสร็จทันเวลา

                                                                                                                         ซักถามเมื่อไม่เข้าใจ
                                                                                                                                                                  รวม                ผ
ที่                                                                                                                                                                                  ่่
               ชื่อ   -   สกุล                                                                                                                                                       า
                                                                                                                                                                                     น




                                              4                           4                         4                    4                      4                 2
แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                ชั้นมัธยมศึกษาปีที่   2                 ภาคเรียนที่   2
หน่วยการเรียนรู้ที่   6   เรื่อง ความรู้เบืองต้นเกี่ยวกับจำานวนจริง
                                           ้                                          เวลา15         ชั่วโมง
แผนที่   62     เรื่อง การเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน                                 เวลา 1        ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้          สัมพันธ์กับมาตรฐานสาระ ค ………………………………………                                 .
สาระสำาคัญ
         การเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน มีวิธีการเขียนอย่างง่าย         2   กรณีคือ
          1. ถ้ามีเลขโดดซำ้าทั้งหมด เมื่อเขียนในรูปเศษส่วน       ตัวเศษคือตัวเลขที่เป็นตัวซำ้า
ตัวส่วนจะเป็นเลข 9 เท่ากับจำานวนตัวเลขทีซำ้า ่
          2. ถ้ามีเลขโดดไม่ซำ้ากันทั้งหมด เมื่อเขียนในรูปเศษส่วน ตัวเศษคือผลต่างของตัวเลขทั้งหมดที่
อยูข้างหลังจุดทศนิยมลบด้วยตัวเลขทีไม่ซำ้า ตัวส่วน ประกอบด้วย 9 กับ 0 ซึ่งจำานวนของ 9
   ่                                  ่
เท่ากับจำานวนเลขโดดที่ซำ้า และจำานวนของ 0 เท่ากับจำานวนเลขโดดทีไม่ซำ้า่


ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
             1.1     ด้านความรู้
                 เขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วนได้
             1.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
               1) การแก้ปัญหา
               2) การให้เหตุผล
               3) การสื่อสาร การสื่อความหมาย           และการนำาเสนอ
               4) การเชื่อมโยง
               5) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
             1.3 ด้านคุณลักษณะ
               1) ทำางานอย่างเป็นระบบ
               2) มีความรอบคอบ
               3) มีความรับผิดชอบ
               4) มีวิจารณญาณ
               5) มีความเชื่อมั่นในตนเอง
               6) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
สาระการเรียนรู้
       การเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน


กระบวนการจัดการเรียนรู้
                                                                      2
         1. ครูสุ่มนักเรียน 2    คนออกมานำาเสนอวิธีการเขียน
                                                                      9
                                                                        ในรูปทศนิยมซำ้าโดยให้นักเรียน
คนหนึ่งแสดงวิธีทำาบนกระดานดำาด้านซ้าย อีกคนหนึ่งแสดงวิธีทำาบนกระดานด้านขวา ส่วนนักเรียนคน
อื่น ๆ ช่วยกันตรวจคำาตอบ
2. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า เศษส่วนทุกจำานวนสามารถเขียนเป็นทศนิยมซำ้าได้หรือไม่
(สรุปให้ได้วา เศษส่วนทุกจำานวนที่มีตัวเศษเป็นจำานวนเต็ม และตัวส่วนเป็นจำานวนเต็มทีไม่เท่ากับศูนย์
            ่                                                                     ่
สามารถเขียนให้อยูในรูปทศนิยมซำ้าได้เสมอ)
                  ่
        3. ครูยกตัวอย่างการเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน 3 – 4 ตัวอย่าง โดยวิธการของระบบ
                                                                                    ี
สมการบนกระดานดำา แล้วให้ตัวแทนออกมาแสดงวิธีทำา 2 ตัวอย่างบนกระดานดำา
        4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 6 คน แล้วศึกษาใบความรู้ เรื่อง การเขียนทศนิยม
ซำ้าในรูปเศษส่วน
         5. ครูยกตัวอย่างพร้อมอธิบายเพิ่มเติมบนกระดานดำาอีก 2 – 3 ตัวอย่าง
เช่น     1) 0 . 1 2 2) 0 . 57 8 1
                                     
                                                  3) 5 . 4 1 2
                                                              

         6. นักเรียนศึกษาตัวอย่างจากหนังสือเรียนเพิ่มเติม และซักถามครูเมื่อสงสัย
         7. ครูให้นักเรียนอาสาสมัครแจกแบบฝึกหัด ให้นกเรียนฝึกทักษะโดยพยายามทำาด้วย
                                                        ั
ตนเอง
         8. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด
         9. ให้นักเรียนกลับไปทำาแบบฝึกหัดในหนังสือเพิ่มเติมเป็นการบ้าน
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
             1. ใบความรู้
             2. แบบฝึกหัด
             3. หนังสือเรียน
             4. ใบงาน


กระบวนการวัดผลประเมินผล
      การวัดผล
                    1.    วิธีการวัดผล
                            1.1          สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
                            1.2          สังเกตจากการตอบคำาถามและร่วมกิจกรรม
                            1.3          ตรวจแบบฝึกหัด
                    2.     เครื่องมือวัดผล
                            2.1           แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
                            2.2           แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์
         การประเมินผล
         1. เกณฑ์ผ่านการประเมินแบบฝึกหัด ใบงาน หรือใบกิจกรรมได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป
         3. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
            4 = ดีมาก               3 = ดี2 = พอใช้ 1 = ผ่าน 0 =
         ปรับปรุง


กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
……………………………………………
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
……………………………

                                (ลงชื่อ)
…………………………….

(…………………………..)
                                                     .
                                ตำาแหน่ง …………………………………




บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้
        ผลการเรียนรู้ …………………………………………………………….
……………………………..
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
……………………………………
/ อุปสรรค ……………………………………...
    ปัญหา
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………………………………………………………………….
  ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………...
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………

                       (ลงชื่อ) ………..............
……………..     ผู้สอน
                            ( ……….....................
……………. )
                       ตำาแหน่ง…………… ............................
………
ใบความรู้
                                  เรื่อง การเปลี่ยนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน


ตัวอย่างที่   1                 
                    จงเขียน 0 . 5 4 ในรูปเศษส่วน
วิธีทำา   ให้         N =        
                               0.54      = 0.545454…                             (1)
       คูณทั้งสองข้างของสมการด้วย 100       (สังเกตว่าจะคูณด้วยจำานวนใดนั้น เมื่อคูณแล้ว
ทศนิยมชุดหลังจุดของ สมการที่ 1 จะเท่ากับสมการที่ 2 )
                100N           =         54.545454…
       (2)
       จากสมการ (2) – (1) จะได้
       100N – N                = ( 54.545454… - 0.545454… )
          99N                  =            54
                                            54
                N              =            99
                                                     6
                     N                =             11
                                       6
          นั่นคือ       
                      0.54    =       11


วิธีทำา   ให้         N =             
                               0 . 29 7 3                = 0.29737373…
          (1)
                                  10,000 (สังเกตว่าจะคูณด้วยจำานวนใดนั้น เมื่อคูณแล้ว
          คูณทั้งสองข้างของสมการด้วย
ทศนิยมชุดหลังจุดของ สมการที่ 1 จะเท่ากับสมการที่ 2 )
                100N                    =        29.73737373…
       (2)
                10,000N                 =        2973.737373…
       (3)

          (3) – (2) จะได้
          จากสมการ
    10,000N – 10N         = (2973.737373… -
29.73737373… )
      9,900N       =        2,973 – 29
                            2973 − 29
         N         =          9900
                                                    2944
                     N                =             9900
                                                     736
                     N                =             2475
                                              736
          นั่นคือ            
                      0 . 29 7 3     =       2475
แบบฝึกหัด


คำาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนทศนิยมซำ้าต่อไปนี้ในรูปเศษส่วน

          1. 0 . 2 5
                 


          2. 1 . 1 8
                 


          3. 0 . 6 3 9
                  


          4. 3 . 4
                 


          5. 0 . 8 1 8
                   


          6. 0 . 6 1
                   


          7. 0 . 84615 3
                       


          8. 2 . 12 6 3
                    


          9. 0 . 35 0
                    


          10. 0 . 06 3 8 1
                      
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
                                                               2 ครูผู้
                      กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
                         บันทึก.................................
      วันที่......เดือน..................... พ.ศ. ........... ครั้งที่ ........ ปีการ
                               ศึกษา........................


                                                                          รายการประเมิน                                                                                 สรุปผล
                                                                                                                                                                        ผ่าน   ไม่




                                               เตรียมอุปกรณ์การเรียนครบ

                                                                          ร่วมกิจกรรมด้วยความสนใจ

                                                                                                    ทำางานเสร็จทันเวลา




                                                                                                                                                ตั้งใจตอบคำาถาม
                                                                                                                         ซักถามเมื่อไม่เข้าใจ
                                                                                                                                                                  รวม                ผ
ที่                                                                                                                                                                                  ่่
               ชื่อ   -   สกุล                                                                                                                                                       า
                                                                                                                                                                                     น




                                              4                           4                         4                    4                      4                 2
แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่   2                 ภาคเรียนที่   2
หน่วยการเรียนรู้ที่   6 เรื่อง   ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำานวนจริง           เวลา   15     ชั่วโมง
แผนที่   63     เรื่อง การเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน                                    เวลา   1      ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้           สัมพันธ์กับมาตรฐานสาระ ค ………………………………………                                   .
สาระสำาคัญ
         การเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน มีวิธีการเขียนอย่างง่าย            2   กรณีคือ
          1. ถ้ามีเลขโดดซำ้าทั้งหมด เมื่อเขียนในรูปเศษส่วน       ตัวเศษคือตัวเลขที่เป็นตัวซำ้า
ตัวส่วนจะเป็นเลข 9 เท่ากับจำานวนตัวเลขทีซำ้า ่
          2. ถ้ามีเลขโดดไม่ซำ้ากันทั้งหมด เมื่อเขียนในรูปเศษส่วน ตัวเศษคือผลต่างของตัวเลขทั้งหมดที่
อยูข้างหลังจุดทศนิยมลบด้วยตัวเลขทีไม่ซำ้า ตัวส่วน ประกอบด้วย 9 กับ 0 ซึ่งจำานวนของ 9
   ่                                  ่
เท่ากับจำานวนเลขโดดที่ซำ้า และจำานวนของ 0 เท่ากับจำานวนเลขโดดทีไม่ซำ้า่


ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
             1.1    ด้านความรู้
                 สามารถเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วนได้
             1.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
               1) การแก้ปัญหา
               2) การให้เหตุผล
               3) การสื่อสาร การสื่อความหมาย              และการนำาเสนอ
               4) การเชื่อมโยง
               5) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
             1.3 ด้านคุณลักษณะ
               1) ทำางานอย่างเป็นระบบ
               2) มีความรอบคอบ
               3) มีความรับผิดชอบ
               4) มีวิจารณญาณ
               5) มีความเชื่อมั่นในตนเอง
               6) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
สาระการเรียนรู้
     การเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน


กระบวนการจัดการเรียนรู้
                                                                       2
         1. ครูสุ่มนักเรียน 2      คนออกมานำาเสนอวิธีการเขียน
                                                                       9
                                                                         ในรูปทศนิยมซำ้าโดยให้นักเรียนคน
หนึ่งแสดงวิธีทำาบนกระดานดำาด้านซ้าย อีกคนหนึ่งแสดงวิธีทำาบนกระดานด้านขวา ส่วนนักเรียนคนอื่น ๆ
ช่วยกันตรวจคำาตอบ
2. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า เศษส่วนทุกจำานวนสามารถเขียนเป็นทศนิยมซำ้าได้หรือไม่
(สรุปให้ได้วา เศษส่วนทุกจำานวนที่มีตัวเศษเป็นจำานวนเต็ม และตัวส่วนเป็นจำานวนเต็มทีไม่เท่ากับศูนย์
            ่                                                                     ่
สามารถเขียนให้อยูในรูปทศนิยมซำ้าได้เสมอ)
                  ่
        3. ครูยกตัวอย่างการเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน 3 – 4 ตัวอย่าง โดยวิธการของระบบ
                                                                                    ี
สมการบนกระดานดำา แล้วให้ตัวแทนออกมาแสดงวิธีทำา 2 ตัวอย่างบนกระดานดำา
        4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 6 คน แล้วศึกษาใบความรู้ เรื่อง การเขียนทศนิยม
ซำ้าในรูปเศษส่วน
         5. ครูยกตัวอย่างพร้อมอธิบายเพิ่มเติมบนกระดานดำาอีก 2 – 3 ตัวอย่าง
         6. นักเรียนศึกษาตัวอย่างจากหนังสือเรียนเพิ่มเติม และซักถามครูเมื่อสงสัย
         7. ครูให้นักเรียนอาสาสมัครแจกแบบฝึกหัด ให้นกเรียนฝึกทักษะโดยพยายามทำาด้วย
                                                        ั
ตนเอง
         8. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด
         9. ให้นักเรียนกลับไปทำาแบบฝึกหัดในหนังสือเพิ่มเติมเป็นการบ้าน
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
              1. ใบความรู้
              2. แบบฝึกหัด
              3. หนังสือเรียน
              4. ใบงาน




กระบวนการวัดผลประเมินผล
      การวัดผล
                    1.    วิธีการวัดผล
                            1.1          สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
                            1.2          สังเกตจากการตอบคำาถามและร่วมกิจกรรม
                            1.3          ตรวจแบบฝึกหัด
                    2.     เครื่องมือวัดผล
                            2.1           แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
                            2.2           แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์
         การประเมินผล
         1.    เกณฑ์ผ่านการประเมินแบบฝึกหัด ใบงาน หรือใบกิจกรรมได้คะแนนร้อยละ         50   ขึ้นไป
         2.     เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
              4 =         ดีมาก              3 =      ดี   2 =   พอใช้   1 =   ผ่าน   0 =
         ปรับปรุง
กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
……………………………………………
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………………………………………………………

                                (ลงชื่อ)
…………………………….

(…………………………..)
                                                     .
                                ตำาแหน่ง …………………………………




บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้
        ผลการเรียนรู้ …………………………………………………………….
……………………………..
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
……………………………………
/ อุปสรรค ……………………………………...
    ปัญหา
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…
  ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………...
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………

                       (ลงชื่อ) ………..............
……………..     ผู้สอน
                            ( ……….....................
……………. )
                       ตำาแหน่ง…………… ............................
………
ใบความรู้
                                  เรื่อง การเปลี่ยนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน


กรณีที่   1  ทศนิยมซำ้าศูนย์
          ตัวเศษ เท่ากับ ตัวเลขเดิมเขียนโดยไม่ใส่จุด
          ตัวส่วน เท่ากับ ตัวเลข    1   แล้วตามด้วยเลขศูนย์เท่ากับจำานวนของตัวเลขหลังจุดทศนิยม
เช่น
                              47
          0.47=              100
                                       1513
          15.13              =          100
                                        1897
          0.1897             =         10000
                              47
          0.47=              100


กรณีที่   2   ทศนิยมทีไม่ใช่ทศนิยมซำ้าศูนย์
                      ่
          การเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน มีวิธีการเขียนอย่างง่าย         2   กรณีคือ
          ถ้ามีเลขโดดซำ้าทั้งหมด เมื่อเขียนในรูปเศษส่วน
                   ตัวเศษคือตัวเลขที่เป็นตัวซำ้า
                    ตัวส่วนจะเป็นเลข   9   เท่ากับจำานวนตัวเลขทีซำ้า
                                                                ่
                             4
เช่น        
          0.4       =        9
                             18                   2
            
          0.18      =        99
                                       =         11
                                       4536                 504
                  
          0 . 4 53 6         =         9999
                                                =          1111
          ถ้ามีเลขโดดไม่ซำ้ากันทั้งหมด เมื่อเขียนในรูปเศษส่วน
                   ตัวเศษคือผลต่างของตัวเลขทั้งหมดที่อยู่ขางหลังจุดทศนิยมลบด้วยตัวเลขทีไม่ซำ้า
                                                           ้                           ่
                    ตัวส่วน ประกอบด้วย     9   กับ   0   ซึ่งจำานวนของ   9   เท่ากับจำานวนเลขโดดทีซำ้า และ
                                                                                                  ่
จำานวนของ     0   เท่ากับจำานวนเลขโดดทีไม่ซำ้า
                                       ่
                             14 −1                                 13
เช่น         
          0.14      =          90
                                                          =        90
                                       3481 − 34                   3447
                  
          0 . 34 8 1         =            9900
                                                          =        9900
                                         456 − 45                  411
                 
          3 . 45 6           =         3
                                           900
                                                          =        900



                                                 แบบฝึกหัด


คำาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนทศนิยมซำ้าต่อไปนี้ในรูปเศษส่วน

              1. 0 . 2 5
                     


              2. 1 . 1 8
                     
3. 0 . 6 3 9
        


4. 3 . 4
       


5. 0 . 8 1 8
         


6. 0 . 6 1
         


7. 0 . 84615 3
             


8. 2 . 12 6 3
          


9. 0 . 35 0
          


10. 0 . 06 3 8 1
            
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
                                                               2 ครูผู้
                      กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
                         บันทึก.................................
      วันที่......เดือน..................... พ.ศ. ........... ครั้งที่ ........ ปีการ
                               ศึกษา........................
                                                                          รายการประเมิน                                                                                 สรุปผล
                                                                                                                                                                        ผ่าน   ไม่




                                                                                                                                                ตั้งใจตอบคำาถาม
                                               เตรียมอุปกรณ์การเรียนครบ

                                                                          ร่วมกิจกรรมด้วยความสนใจ

                                                                                                    ทำางานเสร็จทันเวลา

                                                                                                                         ซักถามเมื่อไม่เข้าใจ
                                                                                                                                                                  รวม                ผ
ที่                                                                                                                                                                                  ่่
               ชื่อ   -   สกุล                                                                                                                                                       า
                                                                                                                                                                                     น




                                              4                           4                         4                    4                      4                 2
แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่   2             ภาคเรียนที่     2
หน่วยการเรียนรู้ที่    6 เรื่อง   ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำานวนจริง       เวลา   15     ชั่วโมง
แผนที่   64      เรื่อง จำานวนจริง                                                    เวลา    1       ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้            สัมพันธ์กับมาตรฐานสาระ ค ………………………………………                                 .
สาระสำาคัญ

         จำานวนตรรกยะ หมายถึง จำานวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน
                                                                            a
                                                                            b
                                                                              เมื่อ   a   และ     b เป็น
จำานวนเต็ม และ   b≠ 0
         จำานวนอตรรกยะ คือ จำานวนที่ไม่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วน ส่วน
                                                                                    a
                                                                                    b
                                                                                      เมื่อ   a    และ     b
เป็นจำานวนเต็ม และ     b≠ 0
      จำานวนจริงประกอบด้วยจำานวนตรรกยะ และอตรรกยะ

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
           1.1 ด้านความรู้
                  ยกตัวอย่างจำานวนตรรกยะ และจำานวนอตรรกยะได้
           1.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
              1) การให้เหตุผล
              2) การสื่อสาร การสื่อความหมาย                และการนำาเสนอ
              3) การเชื่อมโยง
           1.3 ด้านคุณลักษณะ
              1) ทำางานอย่างเป็นระบบ
              2) มีระเบียบวินัย
              3) มีความรอบคอบ
              4) มีความรับผิดชอบ
              5) มีวิจารณญาณ
              6) มีความเชื่อมั่นในตนเอง
              7) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
สาระการเรียนรู้
       จำานวนจริง จำานวนตรรกยะ จำานวนอตรรกยะ


 กระบวนการจัดการเรียนรู้
         1. ครูชูแผ่นป้าย               4        แล้วถามนักเรียนดังนี้


         2. ครูชูแผ่นป้าย           4       แล้วให้นักเรียนเปรียบเทียบกับแผ่นป้าย         4       โดยถามว่า
                                                       (
“จำานวนทั้งสองเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร” คำาตอบคือต่างกัน –            11     เป็นจำานวนเต็มลบและเป็น
จำานวนคี่ ส่วน   4    เป็นจำานวนเต็มบวกและเป็นจำานวนคู่ แต่ทั้งสองเป็นจำานวนเต็มเหมือนกัน         )
3. ครูถามนักเรียนว่า “จำานวนที่นักเรียนรู้จก มีเพียงจำานวนเต็มบวก คือ 1,2,3,… กับ
                                                   ั
จำานวนเต็มลบคือ –1, -2, -3, … เท่านั้นหรือ” ครูให้นักเรียนร่วมกันหาคำาตอบโดยอภิปรายจน
ได้คำาตอบว่ามีศูนย์ด้วย
         4.  ครูถามนักเรียนว่า “ครูตั้งคำาถามนำาว่า “เมื่อมีจำานวนเต็มก็น่าจะมีจำานวนไม่เต็มด้วยนักเรียน
คิดว่าจะมมีหรือไมม่ถามีจำานวนนั้นคืออะไร” ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้คำาตอบว่ามีทศนิยมและ
                    ้
เศษส่วนด้วย
        5. ครูถามนักเรียนว่าเศษส่วนกับทศนิยมเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร และสองจำานวนนี้มี
                                                                                    1
ความสัมพันธ์กันอย่างไร” ครูให้นักเรียนอภิปราย ถ้ายังหาคำาตอบไม่ได้ ครูเขียน 0.5 กับ   แล้ว
                                                                                    2
ถามนักเรียนจำานวนทั้งสองเท่ากันหรือไม่ (เศษส่วนสามารถเขียนในรูปทศนิยมได้ หรือทศนิยมสามารถ
เขียนในรูปเศษส่วนได้เช่นกัน)
        6. ครูสรุปเกี่ยวกับจำานวน ซึ่งสรุปได้คือ
                                                 เมื่อ a และ b เป็นจำานวนเต็ม และ b ≠ 0
                                              a
                จำานวนที่เขียนในรูปเศษส่วน
                                              b
หรือเขียนเป็นทศนิยมซำ้า เรียกว่า จำานวนตรรกยะ

                  จำานวนทีไม่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน
                          ่
                                                           a
                                                           b
                                                             เมื่อ    a   และ   b   เป็นจำานวนเต็ม และ

b≠0           หรือเขียนเป็นทศนิยมไม่ซำ้า เรียกว่า จำานวนอตรรกยะ
         7. ครูให้นักเรียนช่วยแจกใบความรู้เรื่อง แผนผังของจำานวนจริง
         8. ครูให้นักเรียนสรุปส่วนประกอบของจำานวนจริง จำานวนตรรกยะ และ
จำานวนอตรรกยะ ว่าประกอบด้วยจำานวนใดบ้าง
         9. ครูให้นักเรียนอาสาสมัครแจกแบบฝึกหัด ให้นกเรียนฝึกทักษะโดยพยายามทำาด้วย
                                                    ั
ตนเอง
         10.      ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด
         11.      ให้นักเรียนกลับไปทำาแบบฝึกหัดในหนังสือเพิ่มเติมเป็นการบ้าน




สื่อและแหล่งการเรียนรู้
              1. ใบความรู้
              2. แบบฝึกหัด
              3. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์
กระบวนการวัดผลประเมินผล
      การวัดผล
                  1.      วิธีการวัดผล
                            1.1          สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
                            1.2          สังเกตจากการตอบคำาถามและร่วมกิจกรรม
                            1.3          ตรวจแบบฝึกหัด
                  2.       เครื่องมือวัดผล
                            2.1           แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
                            2.2           แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์
การประเมินผล
        1.    เกณฑ์ผ่านการประเมินแบบฝึกหัด ใบงาน หรือใบกิจกรรมได้คะแนนร้อยละ          50   ขึ้นไป
        2.     เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
             4 =     ดีมาก           3 =     ดี   2 =        พอใช้   1 =       ผ่าน   0 =
        ปรับปรุง


กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
……………………………………………
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………………………………………………………

                                                  (ลงชื่อ)
…………………………….

(…………………………..)
                                                  ตำาแหน่ง …………………………………                   .
บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้
        ผลการเรียนรู้ ……………………………………………………………                              .
……………………………..
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………
  ปัญหา / อุปสรรค ……………………………………...
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………
  ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………...
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………………………………………………
                             (ลงชื่อ) ………..............
…………….. ผู้สอน
                                      ( ……….....................
……………. )
                             ตำาแหน่ง……………............................
………
ใบความรู้
                                       เรื่อง แผนผังจำานวนจริง


                                             จำานวนจริง
                                               จำานวนจริง




                  จำานวนตรรกยะ                                        จำานวนอตรรกยะ
                    จำานวนตรรกยะ                                        จำานวนอตรรกยะ




       จำานวนเต็ม                           เศษส่วน และทศนิยมซำ้า
         จำานวนเต็ม                           เศษส่วน และทศนิยมซำ้า




จำานวนเต็มลบ                 ศูนย์                    จำานวนเต็มบวก
  จำานวนเต็มลบ                 ศูนย์                    จำานวนเต็มบวก
แบบฝึกหัด


คำาชี้แจง ให้นกเรียนนำาจำานวนต่อไปนี้ ลงในช่องว่างให้ถกต้อง 0 . 00 1
              ั                                       ู            

  1
  0
  7       -                 -          9                    π      0.5151                0
          1                2.                                      15111
          6                5                                         …
                                             จำานวนจริง
                                               จำานวนจริง




                   จำานวนตรรกยะ                                        จำานวนอตรรกยะ
                     จำานวนตรรกยะ                                        จำานวนอตรรกยะ
                                           ……………………
                                           ……………………
      จำานวนเต็ม    เศษส่วน   ทศนิยมซำ้า
        จำานวนเต็ม    เศษส่วน  ทศนิยมซำ้า  ……………………
                                           ……………………
                                           …………
                  ……………………              ………………………
                  ………………………………
                  ……………………           ………………………
                  ……………………………..
                  ……………………           ………………………
                  ……………………           ………………………

  จำานวนเต็มลบ               ศูนย์               จำานวนเต็มบวก
    จำานวนเต็มลบ               ศูนย์               จำานวนเต็มบวก


……………………… ……………………
……………………………
……………………… ……………………
……………………………
……………………… ……………………
……………………………
……………………… …………………..
…………………………
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
                                                               2 ครูผู้
                      กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
                         บันทึก.................................
      วันที่......เดือน..................... พ.ศ. ........... ครั้งที่ ........ ปีการ
                               ศึกษา........................
                                                                          รายการประเมิน                                                                                 สรุปผล
                                                                                                                                                                        ผ่าน   ไม่




                                                                                                                                                ตั้งใจตอบคำาถาม
                                               เตรียมอุปกรณ์การเรียนครบ

                                                                          ร่วมกิจกรรมด้วยความสนใจ

                                                                                                    ทำางานเสร็จทันเวลา

                                                                                                                         ซักถามเมื่อไม่เข้าใจ
                                                                                                                                                                  รวม                ผ
ที่                                                                                                                                                                                  ่่
               ชื่อ   -   สกุล                                                                                                                                                       า
                                                                                                                                                                                     น




                                              4                           4                         4                    4                      4                 2
แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่   2            ภาคเรียนที่    2
หน่วยการเรียนรู้ที่   6 เรื่อง   ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำานวนจริง        เวลา   15    ชั่วโมง
แผนที่   65     เรื่อง จำานวนจริง                                                   เวลา    1      ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้           สัมพันธ์กับมาตรฐานสาระ ค ………………………………………                               .
สาระสำาคัญ
        จำานวนเต็มสามารถเขียนให้อยูในรูปทศนิยมซำ้าและรูปเศษส่วนมีค่าเท่ากันได้
                                   ่
        ทศนิยมซำ้า สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนได้
        เศษส่วน สามารถเขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมซำ้าได้ แต่ เศษส่วนบางจำานวนไม่สามารถเขียนอยู่ใน
รูปจำานวนเต็มได้


ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
           1.1 ด้านความรู้
                 บอกความเกี่ยวข้องระหว่างจำานวนเต็ม จำานวนตรรกยะ และจำานวนอตรรกยะได้
           1.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
              1) การให้เหตุผล
              2) การสื่อสาร การสื่อความหมาย               และการนำาเสนอ
              3) การเชื่อมโยง
           1.3 ด้านคุณลักษณะ
              1) ทำางานอย่างเป็นระบบ
              2) มีระเบียบวินัย
              3) มีความรอบคอบ
              4) มีความรับผิดชอบ
              5) มีวิจารณญาณ
              6) มีความเชื่อมั่นในตนเอง
              7) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
สาระการเรียนรู้
       ความสัมพันธ์ระหว่างจำานวนเต็ม จำานวนตรรกยะ และจำานวนอตรรกยะ


กระบวนการจัดการเรียนรู้
                                                      6
       1. ครูเขียนจำานวน 2 , 2 . 0 , 3
                                                            ให้นกเรียนช่วยกันวิเคราะห์ว่าจำานวนเหล่านี้มี
                                                                ั

ความสัมพันธ์กันอย่างไร ( จำานวนทั้งสามมีค่าเท่ากัน)


         2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความสัมพันธ์ของจำานวนให้ได้ดังนี้
จำานวนเต็มสามารถเขียนให้อยูในรูปทศนิยมซำ้าและรูปเศษส่วนมีค่าเท่ากันได้
                                              ่
                   ทศนิยมซำ้า สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนได้
                   เศษส่วน สามารถเขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมซำ้าได้
              แต่ เศษส่วนบางจำานวนไม่สามารถเขียนอยู่ในรูปจำานวนเต็มได้
         3. ครูให้นักเรียนจับคู่และชี้แจงว่าจะให้นักเรียนเล่นเกม ให้นักเรียนแต่ละคู่ส่งตัวแทนออกมา
รับบัตรจำานวนจริงจากครูคู่ละ 1 แผ่น
         4. เมื่อนักเรียนทุกคู่ได้บัตรจำานวนจริงแล้ว ครูบอกกติกาว่าจะให้นักเรียนแต่ละคู่แข่งกันหา
จำานวนที่เท่ากันในบัตรนั้นให้ได้มากที่สุดและเร็วที่สุดภายในเวลา 2 นาที (ซึ่งอาจอยูในรูปในรูป
                                                                                     ่
จำานวนเต็มบวก จำานวนเต็มลบ ทศนิยมซำ้า เศษส่วน จำานวนศูนย์ หรือจำานวนอตรรกยะก็ได้
         5. เมื่อนักเรียนทุกคู่เข้าใจกติกาดีแล้ว ครูเริ่มจับเวลา ขณะที่นักเรียนกำาลังช่วยกันคิด
ครูคอยสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนไปด้วย จากนั้นเมื่อหมดเวลาครูให้นักเรียนแต่ละคูออกมา    ่            นำา
เสนอผลการคิดคำานวณของตนหน้าห้องเรียน โดยเพื่อนคนอื่น ๆ ช่วยกันตรวจคำาตอบไปด้วย
         6. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย และอธิบายจนนักเรียนเข้าใจมากขึ้น
         7. ครูให้นักเรียนสรุปบทเรียนเรื่องจำานวนจริง โดยศึกษาจากหนังสือเรียนคณิตศาสตร์อีกครั้ง
         8. ครูให้นักเรียนอาสาสมัครแจกแบบฝึกหัด ให้นกเรียนฝึกทักษะ
                                                       ั
         9. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด
         10. ให้นักเรียนกลับไปทำาแบบฝึกหัดในหนังสือเพิ่มเติมเป็นการบ้าน
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
              1. บัตรจำานวน
              2. แบบฝึกหัด
              3. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์
              4. ใบงาน


กระบวนการวัดผลประเมินผล
      การวัดผล
                    1.    วิธีการวัดผล
                            1.1          สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
                            1.2          สังเกตจากการตอบคำาถามและร่วมกิจกรรม
                            1.3          ตรวจแบบฝึกหัด
                    2.     เครื่องมือวัดผล
                            2.1           แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
                            2.2           แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์
         การประเมินผล
         1.    เกณฑ์ผ่านการประเมินแบบฝึกหัด ใบงาน หรือใบกิจกรรมได้คะแนนร้อยละ              50     ขึ้นไป
         2.     เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
              4 =         ดีมาก              3 =      ดี   2 =   พอใช้   1 =       ผ่าน    0 =
         ปรับปรุง


กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………………………………………………………………
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
……………………………

                                (ลงชื่อ)
…………………………….

(…………………………..)
                                                     .
                                ตำาแหน่ง …………………………………
บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้
        ผลการเรียนรู้ …………………………………………………………….
……………………………..
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………
…………………………………………………………….
……………………………..
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………
…………………………………………………………….
……………………………..
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………
  ปัญหา / อุปสรรค ……………………………………...
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
………………………………………………………
  ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………...
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………

                       (ลงชื่อ) ………..............
……………..     ผู้สอน
                            ( ……….....................
……………. )
                       ตำาแหน่ง…………… ............................
………
ตัวอย่างบัตรจำานวน


     6                           1               4
     3                          7              29
            2.0




           11               16
 7         45                2                  
                                              0.82




                1
       
3 . 21 0        3                        0 . 121121112 ...
แบบฝึกหัด


คำาชี้แจง ให้นกเรียนเติมคำาตอบลงในช่องว่างในแผนผังจำานวนจริงทีกำาหนดให้
              ั                                               ่




                  ……………
                  ……………
                   ………..
                   ………..
           ……………
           ……………       ……………
                         ……………
            ………..
            ………..        ………..
                          ………..
………
………                    ………
                       ………                           ………
                                                     ………
………
………                    ………
                       ………                           ………
                                                     ………
……..
……..                   ……..
                       ……..                          ……..
                                                     ……..

………
………                  ……
                     ……                  …………
                                         …………
………
………                  ……
                     ……                  …………
                                         …………
……..
……..                 ……
                     ……                    ..
                                            ..
                     ……
                     ……
                      ..
                       ..
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
                                                               2 ครูผู้
                      กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
                         บันทึก.................................
      วันที่......เดือน..................... พ.ศ. ........... ครั้งที่ ........ ปีการ
                               ศึกษา........................
                                                                          รายการประเมิน                                                                                 สรุปผล
                                                                                                                                                                        ผ่าน   ไม่




                                                                                                                                                ตั้งใจตอบคำาถาม
                                               เตรียมอุปกรณ์การเรียนครบ

                                                                          ร่วมกิจกรรมด้วยความสนใจ

                                                                                                    ทำางานเสร็จทันเวลา

                                                                                                                         ซักถามเมื่อไม่เข้าใจ
                                                                                                                                                                  รวม                ผ
ที่                                                                                                                                                                                  ่่
               ชื่อ   -   สกุล                                                                                                                                                       า
                                                                                                                                                                                     น




                                              4                           4                         4                    4                      4                 2
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2kroojaja
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมkroojaja
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานsawed kodnara
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความHom Rim
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...Atigarn Tingchart
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
เส้นขนาน
เส้นขนานเส้นขนาน
เส้นขนานyingsinee
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ทับทิม เจริญตา
 

La actualidad más candente (20)

แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนาน
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
เเผนสามเหลี่ยม ม2
เเผนสามเหลี่ยม ม2เเผนสามเหลี่ยม ม2
เเผนสามเหลี่ยม ม2
 
เส้นขนาน
เส้นขนานเส้นขนาน
เส้นขนาน
 
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายในชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
 

Destacado

แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นแบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นทับทิม เจริญตา
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงRitthinarongron School
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงkruaunpwk
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงyingsinee
 
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานแบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานNittaya Noinan
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริงChwin Robkob
 
แบบฝึกทักษะจำนวนจริง
แบบฝึกทักษะจำนวนจริงแบบฝึกทักษะจำนวนจริง
แบบฝึกทักษะจำนวนจริงsawed kodnara
 
Techniques and Strategies in Teaching Math
Techniques and Strategies in Teaching MathTechniques and Strategies in Teaching Math
Techniques and Strategies in Teaching MathAlyssa Marie Bautista
 

Destacado (11)

แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นแบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานแบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง
 
แบบฝึกทักษะจำนวนจริง
แบบฝึกทักษะจำนวนจริงแบบฝึกทักษะจำนวนจริง
แบบฝึกทักษะจำนวนจริง
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
Strategies in teaching mathematics
Strategies in teaching mathematicsStrategies in teaching mathematics
Strategies in teaching mathematics
 
Techniques and Strategies in Teaching Math
Techniques and Strategies in Teaching MathTechniques and Strategies in Teaching Math
Techniques and Strategies in Teaching Math
 

Similar a หน่วยที่ 06 จำนวนจริง

สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังApichaya Savetvijit
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาwichudaaon
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เรื่องแบ...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1  เรื่องแบ...แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1  เรื่องแบ...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เรื่องแบ...Suphot Chaichana
 
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยมหนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยมสมบัติ ตันจินดารัตน์
 

Similar a หน่วยที่ 06 จำนวนจริง (20)

สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เรื่องแบ...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1  เรื่องแบ...แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1  เรื่องแบ...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 เรื่องแบ...
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Student analysis2
Student analysis2Student analysis2
Student analysis2
 
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยมหนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
 
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
 

หน่วยที่ 06 จำนวนจริง

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำานวนจริง เวลา 15 ชั่วโมง แผนที่ 61 เรื่อง การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมซำ้า เวลา 1 ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้ สัมพันธ์กับมาตรฐานสาระ ค ……………………………………… . สาระสำาคัญ การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมซำ้าทำาได้โดยนำาส่วนมาหารเศษ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1.1 ด้านความรู้ เขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมซำ้าได้ 1.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ 1) การแก้ปัญหา 2) การให้เหตุผล 3) การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำาเสนอ 4) การเชื่อมโยง 5) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 1.3 ด้านคุณลักษณะ 1) ทำางานอย่างเป็นระบบ 2) มีความรอบคอบ 3) มีความรับผิดชอบ 4) มีวิจารณญาณ 5) มีความเชื่อมั่นในตนเอง 6) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สาระการเรียนรู้ การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมซำ้า กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5 คน จากนั้นแจกกระดาษให้นักเรียนทุกกลุ่ม กลุ่มละ แผ่น 5 ครูชี้แจงกติกาการเล่นเกมแข่งขันกันเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยม ซึ่งถ้าทศนิยมที่หาได้เป็นทศนิยมไม่รู้จบ ให้ นักเรียนหาคำาตอบเป็นทศนิยม 7 ตำาแหน่ง 2. ครูซักถามนักเรียนนักเรียนจนแน่ใจว่าทุกคนเข้าใจกติกาการเล่นเกมดีแล้วจึงเริ่มบอกโจทย์ข้อที่ 1 เมื่อนักเรียนส่งคำาตอบให้ครูทุกกลุ่มแล้ว ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนยืนขึ้นบอกคำาตอบของกลุ่มตน ให้เพื่อน ๆ ฟัง แล้วร่วมกันสรุปคำาตอบทีถูกต้อง จากนั้นให้ตัวแทนนักเรียนออกมาแสดงวิธีทำาให้เพื่อนดูบน ่ กระดานดำาอีกครั้งเพื่อเป็นการทบทวน ทำาเช่นนี้จนครบทุกข้อ 3. นักเรียนร่วมกันสรุปเกมที่เล่นว่า “การเปลี่ยนเศษส่วนให้เป็นทศนิยมใช้วิธีการหาร”
  • 2. 4. ครูยกตัวอย่างประกอบคำาอธิบายบนกระดานดำา เช่น 2 1. 3 = 0.6666666… เขียนแทนด้วย  0.6 160 2. 45 = 3.555555… เขียนแทนด้วย  3.5 12 3. 33 = 0.36363636… เขียนแทนด้วย  0.36 9 4. 37 = 0.243243243… เขียนแทนด้วย   0.243 3 5. 7 = 0.42857142857142… เขียนแทนด้วย   0 . 4 2857 1 5. ให้นักเรียนร่วมกันสังเกตวิธีการเขียนทศนิยมที่ครูเขียนไว้บนกระดานดำา จากนั้นร่วมกันสรุปให้ ได้วา “จำานวนใดซำ้าจะใส่จุดเหนือตัวเลขตัวนั้น แต่ถาตัวเลขทีซำ้ากันตั้งแต่สามจำานวนขึ้นไปจะใส่จุดเหนือ ่ ้ ่ ตัวเลขตัวแรกกับตัวสุดท้ายเท่านั้น” 6. ครูอานทศนิยมซำ้าให้นักเรียนฟังดังนี้ ่ 1. 0.6 อ่านว่า ศูนย์จุดหก หกซำ้า 2. 3 . 5 อ่านว่า สามจุดห้า ห้าซำ้า 3. 0 . 36 อ่านว่า ศูนย์จุดสามหก สามหกซำ้า 4. 0 . 2 4 3   อ่านว่า ศูนย์จุดสองสี่สาม สองสี่สามซำ้า 5. 0 . 4 2857 1  อ่านว่า ศูนย์จุดสี่สองแปดห้าเจ็ดหนึ่ง สี่สองแปดห้าเจ็ดหนึ่งซำ้า สำาหรับทศนิยม เช่น 1.5, 2.94, 10.016 ถือว่าเป็นทศนิยมซำ้าเช่นเดียวกันเพราะ 1.5 = 1.5000… , 2.94 = 2.94000… , 10.016 = 10.016000… เรียกว่าทศนิยมซำ้าศูนย์ นั่นคือ 1.5000… เขียนแทนด้วย 1.5 อ่านว่า หนึ่งจุดห้า 2.94000… เขียนแทนด้วย 2.94 อ่านว่า สองจุดเก้าสี่ 10.016000… เขียนแทนด้วย 10.016 อ่านว่า สิบจุดศูนย์หนึ่งหก 7. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย จากนั้นจดสิ่งสำาคัญลงสมุดเพื่อเก็บไว้ทบทวนใน ครั้งต่อไป 8. ให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือเรียน แล้วฝึกทักษะโดยการทำาแบบฝึกหัด ( ถ้ายังมีเวลาให้ ร่วมกันเฉลย ถ้าหมดเวลาให้ส่งครู) สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. เกมแข่งขันกันเปลียนเศษส่วน ่ 2. ธงหมายเลข 1, 2, และ 3 3. กระดาษ(สำาหรับเล่นเกม) 4. แบบฝึกหัด 5. หนังสือเรียน กระบวนการวัดผลประเมินผล การวัดผล 1. วิธีการวัดผล
  • 3. 1.1 สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน 1.2 สังเกตจากการตอบคำาถามและร่วมกิจกรรม 1.3 ตรวจแบบฝึกหัด 2. เครื่องมือวัดผล 2.1 แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน 2.2 แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ การประเมินผล 1. เกณฑ์ผ่านการประเมินแบบฝึกหัด ใบงาน หรือใบกิจกรรมได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป 2. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน 4 = ดีมาก 3 = ดี2 = พอใช้ 1 = ผ่าน 0 = ปรับปรุง กิจกรรมเสนอแนะ ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… … ……………………………………………………………………… …………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ………………………………………………………… ความคิดเห็นของผู้บริหาร ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… …………………………… (ลงชื่อ)……………………………. (…………………………..) ตำาแหน่ง ………………………………… . บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ …………………………………………………………… . ……………………………..
  • 4. ……………………………………………………………………… …………………………………………………… ……………………………………………………………………… …………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… … ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ………………………………………………………… ปัญหา / อุปสรรค ……………………………………... ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………... ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ………………………… (ลงชื่อ) ………..............…………….. ผู้สอน ( ………..................... ……………. ) ............................ ตำาแหน่ง…………… ………
  • 5. เกม แข่งขันกันเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยม กติกาการเล่น ครูบอกเศษส่วนครั้งละ 1 จำานวน แล้วให้นักเรียนเปลี่ยนเป็นทศนิยมให้เร็วที่สุด กลุ่มใดเสร็จก่อน ให้นำาคำาตอบมาส่งครู แล้วรับธงกลับไป ซึ่งครูจะมีธงอยู่ 3 อัน แต่ละอันจะมีตัวเลข 1, 2, 3 และ ตามลำาดับ กลุ่มที่เสร็จอันดับแรกจะได้ธงหมายเลข 1 และเสร็จอันดับรองลงมาก็จะได้ธงหมายเลข 2 และ 3 ตามลำาดับ โดยธงแต่ละอันจะมีค่าเป็นคะแนน คือ ธงหมายเลขหนึ่ง มีคา 3 คะแนน ธงหมายเลข 2 ่ มีค่า 2 คะแนน และธงหมายเลข 3 มีคา 1 คะแนน ถ้าตอบถูกจะได้เพิ่มอีก 2 คะแนน (กลุ่มทีไม่ได้ ่ ่ ธงแต่ตอบถูกจะได้คะแนน 2 คะแนน) ตัวอย่างโจทย์และคำาตอบที่ใช้เล่นเกม โจทย์ คำาตอบ 1. 1 0.25 4 2. 7 0.35 20 3. 4 1.3333333… 3 4. 17 0.12121212… 18 5. 1 0.1111111… 9 6. 5 0.2631578… 19 7. 12 0.92307692307 13 6…. 8. 23 0.69696969… 33 9. 5 0.26315789473 19 6842105… 10. 17 2.8333333… 6 แบบฝึกหัด คำาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเศษส่วนต่อไปนี้ในรูปทศนิยมซำ้าในรูปที่ถกต้องพร้อมเขียนคำาอ่าน ู โจทย์ คำาตอบ เขียนในรูปทีถูกต้อง ่ คำาอ่าน
  • 6. 1. 1 0.33333… 3 2. 143 0.572 250 3. 2 0.66666666 3 … 4. 4 0.12121212 33 … 5. 258 0.5212121 495 … 6. 5 0.2631578 19 … 7. 45 0.60714285 28 714285…. 8. 31 2.8181818 11 … 9. 13 0.65 20 10. 0.0151515 1 … 66
  • 7. แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน 2 ครูผู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ บันทึก................................. วันที่......เดือน..................... พ.ศ. ........... ครั้งที่ ........ ปีการ ศึกษา........................ รายการประเมิน สรุปผล ผ่าน ไม่ ตั้งใจตอบคำาถาม เตรียมอุปกรณ์การเรียนครบ ร่วมกิจกรรมด้วยความสนใจ ทำางานเสร็จทันเวลา ซักถามเมื่อไม่เข้าใจ รวม ผ ที่ ่่ ชื่อ - สกุล า น 4 4 4 4 4 2
  • 8. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง ความรู้เบืองต้นเกี่ยวกับจำานวนจริง ้ เวลา15 ชั่วโมง แผนที่ 62 เรื่อง การเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน เวลา 1 ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้ สัมพันธ์กับมาตรฐานสาระ ค ……………………………………… . สาระสำาคัญ การเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน มีวิธีการเขียนอย่างง่าย 2 กรณีคือ 1. ถ้ามีเลขโดดซำ้าทั้งหมด เมื่อเขียนในรูปเศษส่วน ตัวเศษคือตัวเลขที่เป็นตัวซำ้า ตัวส่วนจะเป็นเลข 9 เท่ากับจำานวนตัวเลขทีซำ้า ่ 2. ถ้ามีเลขโดดไม่ซำ้ากันทั้งหมด เมื่อเขียนในรูปเศษส่วน ตัวเศษคือผลต่างของตัวเลขทั้งหมดที่ อยูข้างหลังจุดทศนิยมลบด้วยตัวเลขทีไม่ซำ้า ตัวส่วน ประกอบด้วย 9 กับ 0 ซึ่งจำานวนของ 9 ่ ่ เท่ากับจำานวนเลขโดดที่ซำ้า และจำานวนของ 0 เท่ากับจำานวนเลขโดดทีไม่ซำ้า่ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1.1 ด้านความรู้ เขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วนได้ 1.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ 1) การแก้ปัญหา 2) การให้เหตุผล 3) การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำาเสนอ 4) การเชื่อมโยง 5) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 1.3 ด้านคุณลักษณะ 1) ทำางานอย่างเป็นระบบ 2) มีความรอบคอบ 3) มีความรับผิดชอบ 4) มีวิจารณญาณ 5) มีความเชื่อมั่นในตนเอง 6) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สาระการเรียนรู้ การเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน กระบวนการจัดการเรียนรู้ 2 1. ครูสุ่มนักเรียน 2 คนออกมานำาเสนอวิธีการเขียน 9 ในรูปทศนิยมซำ้าโดยให้นักเรียน คนหนึ่งแสดงวิธีทำาบนกระดานดำาด้านซ้าย อีกคนหนึ่งแสดงวิธีทำาบนกระดานด้านขวา ส่วนนักเรียนคน อื่น ๆ ช่วยกันตรวจคำาตอบ
  • 9. 2. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า เศษส่วนทุกจำานวนสามารถเขียนเป็นทศนิยมซำ้าได้หรือไม่ (สรุปให้ได้วา เศษส่วนทุกจำานวนที่มีตัวเศษเป็นจำานวนเต็ม และตัวส่วนเป็นจำานวนเต็มทีไม่เท่ากับศูนย์ ่ ่ สามารถเขียนให้อยูในรูปทศนิยมซำ้าได้เสมอ) ่ 3. ครูยกตัวอย่างการเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน 3 – 4 ตัวอย่าง โดยวิธการของระบบ ี สมการบนกระดานดำา แล้วให้ตัวแทนออกมาแสดงวิธีทำา 2 ตัวอย่างบนกระดานดำา 4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 6 คน แล้วศึกษาใบความรู้ เรื่อง การเขียนทศนิยม ซำ้าในรูปเศษส่วน 5. ครูยกตัวอย่างพร้อมอธิบายเพิ่มเติมบนกระดานดำาอีก 2 – 3 ตัวอย่าง เช่น 1) 0 . 1 2 2) 0 . 57 8 1    3) 5 . 4 1 2   6. นักเรียนศึกษาตัวอย่างจากหนังสือเรียนเพิ่มเติม และซักถามครูเมื่อสงสัย 7. ครูให้นักเรียนอาสาสมัครแจกแบบฝึกหัด ให้นกเรียนฝึกทักษะโดยพยายามทำาด้วย ั ตนเอง 8. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด 9. ให้นักเรียนกลับไปทำาแบบฝึกหัดในหนังสือเพิ่มเติมเป็นการบ้าน สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ 2. แบบฝึกหัด 3. หนังสือเรียน 4. ใบงาน กระบวนการวัดผลประเมินผล การวัดผล 1. วิธีการวัดผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน 1.2 สังเกตจากการตอบคำาถามและร่วมกิจกรรม 1.3 ตรวจแบบฝึกหัด 2. เครื่องมือวัดผล 2.1 แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน 2.2 แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ การประเมินผล 1. เกณฑ์ผ่านการประเมินแบบฝึกหัด ใบงาน หรือใบกิจกรรมได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป 3. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน 4 = ดีมาก 3 = ดี2 = พอใช้ 1 = ผ่าน 0 = ปรับปรุง กิจกรรมเสนอแนะ ………………………………………………………………… …………………………………………………………………
  • 10. ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………… ความคิดเห็นของผู้บริหาร ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………… (ลงชื่อ) ……………………………. (…………………………..) . ตำาแหน่ง ………………………………… บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ……………………………………………………………. …………………………….. ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……………………………………
  • 11. / อุปสรรค ……………………………………... ปัญหา ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………………………………. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………... ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………… (ลงชื่อ) ……….............. …………….. ผู้สอน ( ………..................... ……………. ) ตำาแหน่ง…………… ............................ ………
  • 12. ใบความรู้ เรื่อง การเปลี่ยนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน ตัวอย่างที่ 1  จงเขียน 0 . 5 4 ในรูปเศษส่วน วิธีทำา ให้ N =  0.54 = 0.545454… (1) คูณทั้งสองข้างของสมการด้วย 100 (สังเกตว่าจะคูณด้วยจำานวนใดนั้น เมื่อคูณแล้ว ทศนิยมชุดหลังจุดของ สมการที่ 1 จะเท่ากับสมการที่ 2 ) 100N = 54.545454… (2) จากสมการ (2) – (1) จะได้ 100N – N = ( 54.545454… - 0.545454… ) 99N = 54 54 N = 99 6 N = 11 6 นั่นคือ  0.54 = 11 วิธีทำา ให้ N =  0 . 29 7 3 = 0.29737373… (1) 10,000 (สังเกตว่าจะคูณด้วยจำานวนใดนั้น เมื่อคูณแล้ว คูณทั้งสองข้างของสมการด้วย ทศนิยมชุดหลังจุดของ สมการที่ 1 จะเท่ากับสมการที่ 2 ) 100N = 29.73737373… (2) 10,000N = 2973.737373… (3) (3) – (2) จะได้ จากสมการ 10,000N – 10N = (2973.737373… - 29.73737373… ) 9,900N = 2,973 – 29 2973 − 29 N = 9900 2944 N = 9900 736 N = 2475 736 นั่นคือ  0 . 29 7 3 = 2475
  • 13. แบบฝึกหัด คำาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนทศนิยมซำ้าต่อไปนี้ในรูปเศษส่วน 1. 0 . 2 5  2. 1 . 1 8  3. 0 . 6 3 9   4. 3 . 4  5. 0 . 8 1 8  6. 0 . 6 1  7. 0 . 84615 3  8. 2 . 12 6 3  9. 0 . 35 0  10. 0 . 06 3 8 1  
  • 14. แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน 2 ครูผู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ บันทึก................................. วันที่......เดือน..................... พ.ศ. ........... ครั้งที่ ........ ปีการ ศึกษา........................ รายการประเมิน สรุปผล ผ่าน ไม่ เตรียมอุปกรณ์การเรียนครบ ร่วมกิจกรรมด้วยความสนใจ ทำางานเสร็จทันเวลา ตั้งใจตอบคำาถาม ซักถามเมื่อไม่เข้าใจ รวม ผ ที่ ่่ ชื่อ - สกุล า น 4 4 4 4 4 2
  • 15. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำานวนจริง เวลา 15 ชั่วโมง แผนที่ 63 เรื่อง การเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน เวลา 1 ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้ สัมพันธ์กับมาตรฐานสาระ ค ……………………………………… . สาระสำาคัญ การเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน มีวิธีการเขียนอย่างง่าย 2 กรณีคือ 1. ถ้ามีเลขโดดซำ้าทั้งหมด เมื่อเขียนในรูปเศษส่วน ตัวเศษคือตัวเลขที่เป็นตัวซำ้า ตัวส่วนจะเป็นเลข 9 เท่ากับจำานวนตัวเลขทีซำ้า ่ 2. ถ้ามีเลขโดดไม่ซำ้ากันทั้งหมด เมื่อเขียนในรูปเศษส่วน ตัวเศษคือผลต่างของตัวเลขทั้งหมดที่ อยูข้างหลังจุดทศนิยมลบด้วยตัวเลขทีไม่ซำ้า ตัวส่วน ประกอบด้วย 9 กับ 0 ซึ่งจำานวนของ 9 ่ ่ เท่ากับจำานวนเลขโดดที่ซำ้า และจำานวนของ 0 เท่ากับจำานวนเลขโดดทีไม่ซำ้า่ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1.1 ด้านความรู้ สามารถเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วนได้ 1.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ 1) การแก้ปัญหา 2) การให้เหตุผล 3) การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำาเสนอ 4) การเชื่อมโยง 5) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 1.3 ด้านคุณลักษณะ 1) ทำางานอย่างเป็นระบบ 2) มีความรอบคอบ 3) มีความรับผิดชอบ 4) มีวิจารณญาณ 5) มีความเชื่อมั่นในตนเอง 6) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สาระการเรียนรู้ การเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน กระบวนการจัดการเรียนรู้ 2 1. ครูสุ่มนักเรียน 2 คนออกมานำาเสนอวิธีการเขียน 9 ในรูปทศนิยมซำ้าโดยให้นักเรียนคน หนึ่งแสดงวิธีทำาบนกระดานดำาด้านซ้าย อีกคนหนึ่งแสดงวิธีทำาบนกระดานด้านขวา ส่วนนักเรียนคนอื่น ๆ ช่วยกันตรวจคำาตอบ
  • 16. 2. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า เศษส่วนทุกจำานวนสามารถเขียนเป็นทศนิยมซำ้าได้หรือไม่ (สรุปให้ได้วา เศษส่วนทุกจำานวนที่มีตัวเศษเป็นจำานวนเต็ม และตัวส่วนเป็นจำานวนเต็มทีไม่เท่ากับศูนย์ ่ ่ สามารถเขียนให้อยูในรูปทศนิยมซำ้าได้เสมอ) ่ 3. ครูยกตัวอย่างการเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน 3 – 4 ตัวอย่าง โดยวิธการของระบบ ี สมการบนกระดานดำา แล้วให้ตัวแทนออกมาแสดงวิธีทำา 2 ตัวอย่างบนกระดานดำา 4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 6 คน แล้วศึกษาใบความรู้ เรื่อง การเขียนทศนิยม ซำ้าในรูปเศษส่วน 5. ครูยกตัวอย่างพร้อมอธิบายเพิ่มเติมบนกระดานดำาอีก 2 – 3 ตัวอย่าง 6. นักเรียนศึกษาตัวอย่างจากหนังสือเรียนเพิ่มเติม และซักถามครูเมื่อสงสัย 7. ครูให้นักเรียนอาสาสมัครแจกแบบฝึกหัด ให้นกเรียนฝึกทักษะโดยพยายามทำาด้วย ั ตนเอง 8. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด 9. ให้นักเรียนกลับไปทำาแบบฝึกหัดในหนังสือเพิ่มเติมเป็นการบ้าน สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ 2. แบบฝึกหัด 3. หนังสือเรียน 4. ใบงาน กระบวนการวัดผลประเมินผล การวัดผล 1. วิธีการวัดผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน 1.2 สังเกตจากการตอบคำาถามและร่วมกิจกรรม 1.3 ตรวจแบบฝึกหัด 2. เครื่องมือวัดผล 2.1 แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน 2.2 แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ การประเมินผล 1. เกณฑ์ผ่านการประเมินแบบฝึกหัด ใบงาน หรือใบกิจกรรมได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป 2. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน 4 = ดีมาก 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ผ่าน 0 = ปรับปรุง
  • 17. กิจกรรมเสนอแนะ ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………… ความคิดเห็นของผู้บริหาร ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……………………………………………………… (ลงชื่อ) ……………………………. (…………………………..) . ตำาแหน่ง ………………………………… บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ……………………………………………………………. …………………………….. ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……………………………………
  • 18. / อุปสรรค ……………………………………... ปัญหา ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… … ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………... ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………… (ลงชื่อ) ……….............. …………….. ผู้สอน ( ………..................... ……………. ) ตำาแหน่ง…………… ............................ ………
  • 19. ใบความรู้ เรื่อง การเปลี่ยนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน กรณีที่ 1 ทศนิยมซำ้าศูนย์ ตัวเศษ เท่ากับ ตัวเลขเดิมเขียนโดยไม่ใส่จุด ตัวส่วน เท่ากับ ตัวเลข 1 แล้วตามด้วยเลขศูนย์เท่ากับจำานวนของตัวเลขหลังจุดทศนิยม เช่น 47 0.47= 100 1513 15.13 = 100 1897 0.1897 = 10000 47 0.47= 100 กรณีที่ 2 ทศนิยมทีไม่ใช่ทศนิยมซำ้าศูนย์ ่ การเขียนทศนิยมซำ้าในรูปเศษส่วน มีวิธีการเขียนอย่างง่าย 2 กรณีคือ ถ้ามีเลขโดดซำ้าทั้งหมด เมื่อเขียนในรูปเศษส่วน ตัวเศษคือตัวเลขที่เป็นตัวซำ้า ตัวส่วนจะเป็นเลข 9 เท่ากับจำานวนตัวเลขทีซำ้า ่ 4 เช่น  0.4 = 9 18 2  0.18 = 99 = 11 4536 504   0 . 4 53 6 = 9999 = 1111 ถ้ามีเลขโดดไม่ซำ้ากันทั้งหมด เมื่อเขียนในรูปเศษส่วน ตัวเศษคือผลต่างของตัวเลขทั้งหมดที่อยู่ขางหลังจุดทศนิยมลบด้วยตัวเลขทีไม่ซำ้า ้ ่ ตัวส่วน ประกอบด้วย 9 กับ 0 ซึ่งจำานวนของ 9 เท่ากับจำานวนเลขโดดทีซำ้า และ ่ จำานวนของ 0 เท่ากับจำานวนเลขโดดทีไม่ซำ้า ่ 14 −1 13 เช่น  0.14 = 90 = 90 3481 − 34 3447   0 . 34 8 1 = 9900 = 9900 456 − 45 411  3 . 45 6 = 3 900 = 900 แบบฝึกหัด คำาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนทศนิยมซำ้าต่อไปนี้ในรูปเศษส่วน 1. 0 . 2 5  2. 1 . 1 8 
  • 20. 3. 0 . 6 3 9   4. 3 . 4  5. 0 . 8 1 8  6. 0 . 6 1  7. 0 . 84615 3  8. 2 . 12 6 3  9. 0 . 35 0  10. 0 . 06 3 8 1  
  • 21. แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน 2 ครูผู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ บันทึก................................. วันที่......เดือน..................... พ.ศ. ........... ครั้งที่ ........ ปีการ ศึกษา........................ รายการประเมิน สรุปผล ผ่าน ไม่ ตั้งใจตอบคำาถาม เตรียมอุปกรณ์การเรียนครบ ร่วมกิจกรรมด้วยความสนใจ ทำางานเสร็จทันเวลา ซักถามเมื่อไม่เข้าใจ รวม ผ ที่ ่่ ชื่อ - สกุล า น 4 4 4 4 4 2
  • 22. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำานวนจริง เวลา 15 ชั่วโมง แผนที่ 64 เรื่อง จำานวนจริง เวลา 1 ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้ สัมพันธ์กับมาตรฐานสาระ ค ……………………………………… . สาระสำาคัญ จำานวนตรรกยะ หมายถึง จำานวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน a b เมื่อ a และ b เป็น จำานวนเต็ม และ b≠ 0 จำานวนอตรรกยะ คือ จำานวนที่ไม่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วน ส่วน a b เมื่อ a และ b เป็นจำานวนเต็ม และ b≠ 0 จำานวนจริงประกอบด้วยจำานวนตรรกยะ และอตรรกยะ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1.1 ด้านความรู้ ยกตัวอย่างจำานวนตรรกยะ และจำานวนอตรรกยะได้ 1.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ 1) การให้เหตุผล 2) การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำาเสนอ 3) การเชื่อมโยง 1.3 ด้านคุณลักษณะ 1) ทำางานอย่างเป็นระบบ 2) มีระเบียบวินัย 3) มีความรอบคอบ 4) มีความรับผิดชอบ 5) มีวิจารณญาณ 6) มีความเชื่อมั่นในตนเอง 7) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สาระการเรียนรู้ จำานวนจริง จำานวนตรรกยะ จำานวนอตรรกยะ กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูชูแผ่นป้าย 4 แล้วถามนักเรียนดังนี้ 2. ครูชูแผ่นป้าย 4 แล้วให้นักเรียนเปรียบเทียบกับแผ่นป้าย 4 โดยถามว่า ( “จำานวนทั้งสองเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร” คำาตอบคือต่างกัน – 11 เป็นจำานวนเต็มลบและเป็น จำานวนคี่ ส่วน 4 เป็นจำานวนเต็มบวกและเป็นจำานวนคู่ แต่ทั้งสองเป็นจำานวนเต็มเหมือนกัน )
  • 23. 3. ครูถามนักเรียนว่า “จำานวนที่นักเรียนรู้จก มีเพียงจำานวนเต็มบวก คือ 1,2,3,… กับ ั จำานวนเต็มลบคือ –1, -2, -3, … เท่านั้นหรือ” ครูให้นักเรียนร่วมกันหาคำาตอบโดยอภิปรายจน ได้คำาตอบว่ามีศูนย์ด้วย 4. ครูถามนักเรียนว่า “ครูตั้งคำาถามนำาว่า “เมื่อมีจำานวนเต็มก็น่าจะมีจำานวนไม่เต็มด้วยนักเรียน คิดว่าจะมมีหรือไมม่ถามีจำานวนนั้นคืออะไร” ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้คำาตอบว่ามีทศนิยมและ ้ เศษส่วนด้วย 5. ครูถามนักเรียนว่าเศษส่วนกับทศนิยมเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร และสองจำานวนนี้มี 1 ความสัมพันธ์กันอย่างไร” ครูให้นักเรียนอภิปราย ถ้ายังหาคำาตอบไม่ได้ ครูเขียน 0.5 กับ แล้ว 2 ถามนักเรียนจำานวนทั้งสองเท่ากันหรือไม่ (เศษส่วนสามารถเขียนในรูปทศนิยมได้ หรือทศนิยมสามารถ เขียนในรูปเศษส่วนได้เช่นกัน) 6. ครูสรุปเกี่ยวกับจำานวน ซึ่งสรุปได้คือ เมื่อ a และ b เป็นจำานวนเต็ม และ b ≠ 0 a จำานวนที่เขียนในรูปเศษส่วน b หรือเขียนเป็นทศนิยมซำ้า เรียกว่า จำานวนตรรกยะ จำานวนทีไม่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน ่ a b เมื่อ a และ b เป็นจำานวนเต็ม และ b≠0 หรือเขียนเป็นทศนิยมไม่ซำ้า เรียกว่า จำานวนอตรรกยะ 7. ครูให้นักเรียนช่วยแจกใบความรู้เรื่อง แผนผังของจำานวนจริง 8. ครูให้นักเรียนสรุปส่วนประกอบของจำานวนจริง จำานวนตรรกยะ และ จำานวนอตรรกยะ ว่าประกอบด้วยจำานวนใดบ้าง 9. ครูให้นักเรียนอาสาสมัครแจกแบบฝึกหัด ให้นกเรียนฝึกทักษะโดยพยายามทำาด้วย ั ตนเอง 10. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด 11. ให้นักเรียนกลับไปทำาแบบฝึกหัดในหนังสือเพิ่มเติมเป็นการบ้าน สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ 2. แบบฝึกหัด 3. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ กระบวนการวัดผลประเมินผล การวัดผล 1. วิธีการวัดผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน 1.2 สังเกตจากการตอบคำาถามและร่วมกิจกรรม 1.3 ตรวจแบบฝึกหัด 2. เครื่องมือวัดผล 2.1 แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน 2.2 แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์
  • 24. การประเมินผล 1. เกณฑ์ผ่านการประเมินแบบฝึกหัด ใบงาน หรือใบกิจกรรมได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป 2. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน 4 = ดีมาก 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ผ่าน 0 = ปรับปรุง กิจกรรมเสนอแนะ ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………… ความคิดเห็นของผู้บริหาร ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……………………………………………………… (ลงชื่อ) ……………………………. (…………………………..) ตำาแหน่ง ………………………………… . บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ …………………………………………………………… . …………………………….. ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………… ปัญหา / อุปสรรค ……………………………………... …………………………………………………………………
  • 25. ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……… ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………... ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……………………………………………… (ลงชื่อ) ……….............. …………….. ผู้สอน ( ………..................... ……………. ) ตำาแหน่ง……………............................ ………
  • 26. ใบความรู้ เรื่อง แผนผังจำานวนจริง จำานวนจริง จำานวนจริง จำานวนตรรกยะ จำานวนอตรรกยะ จำานวนตรรกยะ จำานวนอตรรกยะ จำานวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมซำ้า จำานวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมซำ้า จำานวนเต็มลบ ศูนย์ จำานวนเต็มบวก จำานวนเต็มลบ ศูนย์ จำานวนเต็มบวก
  • 27. แบบฝึกหัด คำาชี้แจง ให้นกเรียนนำาจำานวนต่อไปนี้ ลงในช่องว่างให้ถกต้อง 0 . 00 1 ั ู  1 0 7 - - 9 π 0.5151 0 1 2. 15111 6 5 … จำานวนจริง จำานวนจริง จำานวนตรรกยะ จำานวนอตรรกยะ จำานวนตรรกยะ จำานวนอตรรกยะ …………………… …………………… จำานวนเต็ม เศษส่วน ทศนิยมซำ้า จำานวนเต็ม เศษส่วน ทศนิยมซำ้า …………………… …………………… ………… …………………… ……………………… ……………………………… …………………… ……………………… …………………………….. …………………… ……………………… …………………… ……………………… จำานวนเต็มลบ ศูนย์ จำานวนเต็มบวก จำานวนเต็มลบ ศูนย์ จำานวนเต็มบวก ……………………… …………………… …………………………… ……………………… …………………… …………………………… ……………………… …………………… …………………………… ……………………… ………………….. …………………………
  • 28.
  • 29. แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน 2 ครูผู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ บันทึก................................. วันที่......เดือน..................... พ.ศ. ........... ครั้งที่ ........ ปีการ ศึกษา........................ รายการประเมิน สรุปผล ผ่าน ไม่ ตั้งใจตอบคำาถาม เตรียมอุปกรณ์การเรียนครบ ร่วมกิจกรรมด้วยความสนใจ ทำางานเสร็จทันเวลา ซักถามเมื่อไม่เข้าใจ รวม ผ ที่ ่่ ชื่อ - สกุล า น 4 4 4 4 4 2
  • 30. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำานวนจริง เวลา 15 ชั่วโมง แผนที่ 65 เรื่อง จำานวนจริง เวลา 1 ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้ สัมพันธ์กับมาตรฐานสาระ ค ……………………………………… . สาระสำาคัญ จำานวนเต็มสามารถเขียนให้อยูในรูปทศนิยมซำ้าและรูปเศษส่วนมีค่าเท่ากันได้ ่ ทศนิยมซำ้า สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนได้ เศษส่วน สามารถเขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมซำ้าได้ แต่ เศษส่วนบางจำานวนไม่สามารถเขียนอยู่ใน รูปจำานวนเต็มได้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1.1 ด้านความรู้ บอกความเกี่ยวข้องระหว่างจำานวนเต็ม จำานวนตรรกยะ และจำานวนอตรรกยะได้ 1.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ 1) การให้เหตุผล 2) การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำาเสนอ 3) การเชื่อมโยง 1.3 ด้านคุณลักษณะ 1) ทำางานอย่างเป็นระบบ 2) มีระเบียบวินัย 3) มีความรอบคอบ 4) มีความรับผิดชอบ 5) มีวิจารณญาณ 6) มีความเชื่อมั่นในตนเอง 7) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สาระการเรียนรู้ ความสัมพันธ์ระหว่างจำานวนเต็ม จำานวนตรรกยะ และจำานวนอตรรกยะ กระบวนการจัดการเรียนรู้ 6 1. ครูเขียนจำานวน 2 , 2 . 0 , 3 ให้นกเรียนช่วยกันวิเคราะห์ว่าจำานวนเหล่านี้มี ั ความสัมพันธ์กันอย่างไร ( จำานวนทั้งสามมีค่าเท่ากัน) 2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความสัมพันธ์ของจำานวนให้ได้ดังนี้
  • 31. จำานวนเต็มสามารถเขียนให้อยูในรูปทศนิยมซำ้าและรูปเศษส่วนมีค่าเท่ากันได้ ่ ทศนิยมซำ้า สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนได้ เศษส่วน สามารถเขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมซำ้าได้ แต่ เศษส่วนบางจำานวนไม่สามารถเขียนอยู่ในรูปจำานวนเต็มได้ 3. ครูให้นักเรียนจับคู่และชี้แจงว่าจะให้นักเรียนเล่นเกม ให้นักเรียนแต่ละคู่ส่งตัวแทนออกมา รับบัตรจำานวนจริงจากครูคู่ละ 1 แผ่น 4. เมื่อนักเรียนทุกคู่ได้บัตรจำานวนจริงแล้ว ครูบอกกติกาว่าจะให้นักเรียนแต่ละคู่แข่งกันหา จำานวนที่เท่ากันในบัตรนั้นให้ได้มากที่สุดและเร็วที่สุดภายในเวลา 2 นาที (ซึ่งอาจอยูในรูปในรูป ่ จำานวนเต็มบวก จำานวนเต็มลบ ทศนิยมซำ้า เศษส่วน จำานวนศูนย์ หรือจำานวนอตรรกยะก็ได้ 5. เมื่อนักเรียนทุกคู่เข้าใจกติกาดีแล้ว ครูเริ่มจับเวลา ขณะที่นักเรียนกำาลังช่วยกันคิด ครูคอยสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนไปด้วย จากนั้นเมื่อหมดเวลาครูให้นักเรียนแต่ละคูออกมา ่ นำา เสนอผลการคิดคำานวณของตนหน้าห้องเรียน โดยเพื่อนคนอื่น ๆ ช่วยกันตรวจคำาตอบไปด้วย 6. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย และอธิบายจนนักเรียนเข้าใจมากขึ้น 7. ครูให้นักเรียนสรุปบทเรียนเรื่องจำานวนจริง โดยศึกษาจากหนังสือเรียนคณิตศาสตร์อีกครั้ง 8. ครูให้นักเรียนอาสาสมัครแจกแบบฝึกหัด ให้นกเรียนฝึกทักษะ ั 9. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด 10. ให้นักเรียนกลับไปทำาแบบฝึกหัดในหนังสือเพิ่มเติมเป็นการบ้าน สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. บัตรจำานวน 2. แบบฝึกหัด 3. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ 4. ใบงาน กระบวนการวัดผลประเมินผล การวัดผล 1. วิธีการวัดผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน 1.2 สังเกตจากการตอบคำาถามและร่วมกิจกรรม 1.3 ตรวจแบบฝึกหัด 2. เครื่องมือวัดผล 2.1 แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน 2.2 แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ การประเมินผล 1. เกณฑ์ผ่านการประเมินแบบฝึกหัด ใบงาน หรือใบกิจกรรมได้คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป 2. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน 4 = ดีมาก 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ผ่าน 0 = ปรับปรุง กิจกรรมเสนอแนะ
  • 32. ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……………………………………………………………… ความคิดเห็นของผู้บริหาร ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………… (ลงชื่อ) ……………………………. (…………………………..) . ตำาแหน่ง ………………………………… บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ……………………………………………………………. …………………………….. ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………… ……………………………………………………………. …………………………….. ………………………………………………………………… …………………………………………………………………
  • 33. ………………………………………………………………… ………………… ……………………………………………………………. …………………………….. ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………… ปัญหา / อุปสรรค ……………………………………... ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ……………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………... ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………… (ลงชื่อ) ……….............. …………….. ผู้สอน ( ………..................... ……………. ) ตำาแหน่ง…………… ............................ ………
  • 34. ตัวอย่างบัตรจำานวน 6 1 4 3  7 29 2.0 11 16 7 45 2  0.82 1  3 . 21 0 3 0 . 121121112 ...
  • 35. แบบฝึกหัด คำาชี้แจง ให้นกเรียนเติมคำาตอบลงในช่องว่างในแผนผังจำานวนจริงทีกำาหนดให้ ั ่ …………… …………… ……….. ……….. …………… …………… …………… …………… ……….. ……….. ……….. ……….. ……… ……… ……… ……… ……… ……… ……… ……… ……… ……… ……… ……… …….. …….. …….. …….. …….. …….. ……… ……… …… …… ………… ………… ……… ……… …… …… ………… ………… …….. …….. …… …… .. .. …… …… .. ..
  • 36. แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน 2 ครูผู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ บันทึก................................. วันที่......เดือน..................... พ.ศ. ........... ครั้งที่ ........ ปีการ ศึกษา........................ รายการประเมิน สรุปผล ผ่าน ไม่ ตั้งใจตอบคำาถาม เตรียมอุปกรณ์การเรียนครบ ร่วมกิจกรรมด้วยความสนใจ ทำางานเสร็จทันเวลา ซักถามเมื่อไม่เข้าใจ รวม ผ ที่ ่่ ชื่อ - สกุล า น 4 4 4 4 4 2