SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 12
Descargar para leer sin conexión
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ

                 คณะผู้จัดทา
           นาย กฤษฎากร บุญมาพิลา
             นางสาว สุพัทธิดา สีสุข
การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ

               เมื่อต่อแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับเข้ากับสายอากาศที่
อยู่ในแนวดิ่ง ประจุไฟฟ้าในสายอากาศจะเคลื่อนที่กลับไปมาด้วย
ความเร่งในแนวดิ่ง และเนื่องจากประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ด้วยความเร่งจะ
แผ่รังสี จึงทาให้เกิดคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้ากระจายออกมาจากสายอากาศ
ทุกทิศทาง ยกเว้นทิศที่อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกับสายอากาศ การเกิด
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในทิศตั้งฉากกับสายอากาศเป็นดังรูป จากรูป แสดง
สายอากาศซึ่งเป็นแท่งโลหะ สองแท่งต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้า
กระแสสลับ ถ้าความต่างศักย์เปลี่ยนแปลงกับเวลาในรูปไซน์ จะทาให้
ประจุไฟฟ้าในสายอากาศเคลื่อนที่กลับไปมาในแท่งโลหะทั้งสองและจะ
มีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากระจายออกมาโดยรอบ
รูป2แผนภาพการเกิดคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าเนื่องจากประจุ
ไฟฟ้าเคลื่อนที่กลับไปมาใน
สายอากาศและสนามไฟฟ้า
เคลื่อนทจากสายอากาศด้วย
ความเร็วแสง (ไม่ได้แสดง
สนาม ไว้ในรูป)
เมื่อเวลา แท่งโลหะล่างได้รับประจุไฟฟ้าบวกมากที่สุด
ส่วนแท่งโลหะบนได้รับประจุไฟฟ้าลบมากที่สุดทาให้เกิดสนามไฟฟ้า ซึ่ง
มีค่ามากที่สุดและมีทิศพุ่งขึนที่จุด P (สนามไฟฟ้าแทนด้วยเวกเตอร์
                            ้
และใช้สัญลักษณ์เป็นลูกศร) เมื่อเวลาผ่านไป สนามไฟฟ้าจะลดลงทา
ให้สนามไฟฟ้าที่เกิดใกล้สายอากาศก็มีค่าลดลงด้วย ในขณะเดียวกัน
สนามไฟฟ้าทีมีค่ามากที่สุด ณ เวลา จะเคลื่อนที่จากสายอากาศด้วย
              ่
ความเร็ว เท่ากัน
ความเร็วแสงและเมื่อประจุไฟฟ้าเป็นกลาง ณ เวลา ( แทนคาบ
ซึ่งเป็นเวลาทีประจุไฟฟ้าในแท่งโลหะทังสองเคลื่อนที่กลับไปมา
              ่                      ้
ครบรอบ) ดังรูป 2 (ข) ขณะนี้สนามไฟฟ้าที่จุด P จะลดลงเป็นศูนย์เมือ  ่
เวลาผ่านไป แท่งโลหะบนจะมีประจุไฟฟ้าบวกมาก ที่สุดและแท่งโลหะ
ล่างจะมีประจุไฟฟ้าลบมากที่สุด สนามไฟฟ้าที่จุด P จึงมีค่ามากที่สุด
และมีทิศพุ่งลง ดังรูป 2 (ค) หลังจากนั้นประจุไฟฟ้าในแท่งโลหะจะลด
น้อยลงเรื่อย ๆ ในสนามไฟฟ้าที่เกิดขึ้นใกล้กับสายอากาศก็จะมีค่า
น้อยลง ๆ เช่นกัน ขณะที่สนามไฟฟ้าที่มีค่ามากที่สุด ณ เวลา จะ
เคลื่อนที่ออกจากสายอากาศด้วยอัตราเร็วเดียวกับแสง
ต่อมาเมื่อถึงเวลา ประจุไฟฟ้าในแท่งโลหะทั้งสองเป็นกลาง ทาให้
สนามไฟฟ้าใกล้กับสายอากาศเป็นศูนย์อีก ดังรูป 2 (ง) เมื่อเวลาของ
การเคลื่อนที่กลับไปมาของประจุไฟฟ้าครบรอบ คือ จะได้สนามไฟฟ้า
ดังรูป 2 (จ) สนามไฟฟ้าจะเกิดขึ้นตามกระบวนการซ้ารอย
เดิม เมื่อประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ครบรอบเสมอ สาหรับ สนามแม่เหล็ก จะ
ถูกเหนี่ยวนาให้เกิดขึ้นในทันทีที่มีสนามไฟฟ้า เกิดขึ้น สนามไฟฟ้าทั้ง
สองจะมีการ เปลี่ยนแปลงด้วยเฟสตรงกัน ถ้าสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์
สนามแม่เหล็กก็เป็นศูนย์ด้วยทิศของสนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็กจะ
ตั้งฉากซึ่งกันและกัน ขณะเดียวกันทิศของสนามทั้งสองก็ตั้งฉากกับทิศ
ของความเร็วในการเคลื่อนที่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าด้วย คลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าจึงเป็นคลื่นตามขวาง
รูป 3 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วย และ ที่ตั้งฉากกัน รูป 4 ผลคูณเชิงเวกเตอร์
   ของ และ
      รูป 3 แสดงสนามแม่เหล็ก ที่เกิดจากการเหนี่ยวนาของสนามไฟฟ้า ที่เปลี่ยนแปลง
   สนามไฟฟ้า และ
              สนามแม่เหล็กจะเคลื่อนที่ไปตามแกน x ด้วยความเร็ว เราอาจหาทิศของ โดยใช้
   ผลคูณเชิงเวกเตอร์ของ และ โดยใช้กฎมือขวา ถ้ากานิ้วทั้งสี่ของมือขวาในทิศจาก ไป ผ่าน
   มุม 90 องศา นิ้วหัวแม่มือจะชี้ทิศของ
     ดังรูป 4 อาจสรุปสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ได้ดังนี้
สนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก มีทิศตั้งฉากซึ่งกันและกันและตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของ
    คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเสมอ ดังนั้นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจึงเป็นคลื่นตามขวาง
สนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก เป็นฟังก์ชันรูปไซน์ และสนามทั้งสองจะเปลี่ยนแปลงตามเวลา
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
Love Plukkie Zaa
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
Mew Meww
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
nasanunwittayakom
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
dnavaroj
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
jirupi
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
Wijitta DevilTeacher
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
krubenjamat
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
Somporn Laothongsarn
 

La actualidad más candente (20)

แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
Physics atom
Physics atomPhysics atom
Physics atom
 
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
โรค
โรค โรค
โรค
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
 
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอมแบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
แบบทดสอบเก็บคะแนนก่อนกลางภาค เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
 
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
 

Destacado

เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
Somporn Laothongsarn
 

Destacado (9)

เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
 
เรื่อง แสง
เรื่อง  แสงเรื่อง  แสง
เรื่อง แสง
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
 

Similar a เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ

ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Nang Ka Nangnarak
 
งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11
Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Nang Ka Nangnarak
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
untika
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
Apinya Phuadsing
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
Muk52
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
Muk52
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
Muk52
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
Theerawat Duangsin
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
Kunthida Kik
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
Pongsakorn Poosankam
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
pipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 

Similar a เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ (20)

ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
Lesson16
Lesson16Lesson16
Lesson16
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 

Más de Somporn Laothongsarn

คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
Somporn Laothongsarn
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
Somporn Laothongsarn
 

Más de Somporn Laothongsarn (15)

Physical quantity and units
Physical quantity and unitsPhysical quantity and units
Physical quantity and units
 
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
Giftedfactors
GiftedfactorsGiftedfactors
Giftedfactors
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
 

เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ

  • 1. เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ คณะผู้จัดทา นาย กฤษฎากร บุญมาพิลา นางสาว สุพัทธิดา สีสุข
  • 2. การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ เมื่อต่อแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับเข้ากับสายอากาศที่ อยู่ในแนวดิ่ง ประจุไฟฟ้าในสายอากาศจะเคลื่อนที่กลับไปมาด้วย ความเร่งในแนวดิ่ง และเนื่องจากประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ด้วยความเร่งจะ แผ่รังสี จึงทาให้เกิดคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้ากระจายออกมาจากสายอากาศ ทุกทิศทาง ยกเว้นทิศที่อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกับสายอากาศ การเกิด คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในทิศตั้งฉากกับสายอากาศเป็นดังรูป จากรูป แสดง สายอากาศซึ่งเป็นแท่งโลหะ สองแท่งต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้า กระแสสลับ ถ้าความต่างศักย์เปลี่ยนแปลงกับเวลาในรูปไซน์ จะทาให้ ประจุไฟฟ้าในสายอากาศเคลื่อนที่กลับไปมาในแท่งโลหะทั้งสองและจะ มีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากระจายออกมาโดยรอบ
  • 4. เมื่อเวลา แท่งโลหะล่างได้รับประจุไฟฟ้าบวกมากที่สุด ส่วนแท่งโลหะบนได้รับประจุไฟฟ้าลบมากที่สุดทาให้เกิดสนามไฟฟ้า ซึ่ง มีค่ามากที่สุดและมีทิศพุ่งขึนที่จุด P (สนามไฟฟ้าแทนด้วยเวกเตอร์ ้ และใช้สัญลักษณ์เป็นลูกศร) เมื่อเวลาผ่านไป สนามไฟฟ้าจะลดลงทา ให้สนามไฟฟ้าที่เกิดใกล้สายอากาศก็มีค่าลดลงด้วย ในขณะเดียวกัน สนามไฟฟ้าทีมีค่ามากที่สุด ณ เวลา จะเคลื่อนที่จากสายอากาศด้วย ่ ความเร็ว เท่ากัน
  • 5. ความเร็วแสงและเมื่อประจุไฟฟ้าเป็นกลาง ณ เวลา ( แทนคาบ ซึ่งเป็นเวลาทีประจุไฟฟ้าในแท่งโลหะทังสองเคลื่อนที่กลับไปมา ่ ้ ครบรอบ) ดังรูป 2 (ข) ขณะนี้สนามไฟฟ้าที่จุด P จะลดลงเป็นศูนย์เมือ ่ เวลาผ่านไป แท่งโลหะบนจะมีประจุไฟฟ้าบวกมาก ที่สุดและแท่งโลหะ ล่างจะมีประจุไฟฟ้าลบมากที่สุด สนามไฟฟ้าที่จุด P จึงมีค่ามากที่สุด และมีทิศพุ่งลง ดังรูป 2 (ค) หลังจากนั้นประจุไฟฟ้าในแท่งโลหะจะลด น้อยลงเรื่อย ๆ ในสนามไฟฟ้าที่เกิดขึ้นใกล้กับสายอากาศก็จะมีค่า น้อยลง ๆ เช่นกัน ขณะที่สนามไฟฟ้าที่มีค่ามากที่สุด ณ เวลา จะ เคลื่อนที่ออกจากสายอากาศด้วยอัตราเร็วเดียวกับแสง
  • 6. ต่อมาเมื่อถึงเวลา ประจุไฟฟ้าในแท่งโลหะทั้งสองเป็นกลาง ทาให้ สนามไฟฟ้าใกล้กับสายอากาศเป็นศูนย์อีก ดังรูป 2 (ง) เมื่อเวลาของ การเคลื่อนที่กลับไปมาของประจุไฟฟ้าครบรอบ คือ จะได้สนามไฟฟ้า
  • 7. ดังรูป 2 (จ) สนามไฟฟ้าจะเกิดขึ้นตามกระบวนการซ้ารอย เดิม เมื่อประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ครบรอบเสมอ สาหรับ สนามแม่เหล็ก จะ ถูกเหนี่ยวนาให้เกิดขึ้นในทันทีที่มีสนามไฟฟ้า เกิดขึ้น สนามไฟฟ้าทั้ง สองจะมีการ เปลี่ยนแปลงด้วยเฟสตรงกัน ถ้าสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์ สนามแม่เหล็กก็เป็นศูนย์ด้วยทิศของสนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็กจะ ตั้งฉากซึ่งกันและกัน ขณะเดียวกันทิศของสนามทั้งสองก็ตั้งฉากกับทิศ ของความเร็วในการเคลื่อนที่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าด้วย คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าจึงเป็นคลื่นตามขวาง
  • 8.
  • 9. รูป 3 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วย และ ที่ตั้งฉากกัน รูป 4 ผลคูณเชิงเวกเตอร์ ของ และ รูป 3 แสดงสนามแม่เหล็ก ที่เกิดจากการเหนี่ยวนาของสนามไฟฟ้า ที่เปลี่ยนแปลง สนามไฟฟ้า และ สนามแม่เหล็กจะเคลื่อนที่ไปตามแกน x ด้วยความเร็ว เราอาจหาทิศของ โดยใช้ ผลคูณเชิงเวกเตอร์ของ และ โดยใช้กฎมือขวา ถ้ากานิ้วทั้งสี่ของมือขวาในทิศจาก ไป ผ่าน มุม 90 องศา นิ้วหัวแม่มือจะชี้ทิศของ ดังรูป 4 อาจสรุปสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ได้ดังนี้ สนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก มีทิศตั้งฉากซึ่งกันและกันและตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเสมอ ดังนั้นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจึงเป็นคลื่นตามขวาง สนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก เป็นฟังก์ชันรูปไซน์ และสนามทั้งสองจะเปลี่ยนแปลงตามเวลา