SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
เครือขายแลนอีเทอรเน็ต2
 Wired LANs : Ethernet2
อีเทอร์เน็ต หรือ IEEE 802.3	
— ประวัติโดยย่อ : ผู้พัฒนาเทคโนโลยีเครือข่ายแลน
 แบบอีเทอร์เน็ต คือ Robert Metcalfe ร่วมมือกับบริษัทซีร็อกซ์
 พัฒนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1973 โดยมีรูปแบบพื้นฐานโทโพโลยี
 แบบบัส ซึ่งในช่วงแรก อีเทอร์เน็ตได้ใช้สายใช้สายเคเบิล
 เส้นเดียว เพื่อเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่อง และมี
 ความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลสูงสูดเพียง 3 Mbps
อีเทอร์เน็ตทํางานอย่างไร	
—  อีเทอรเน็ตอางอิงถึงเครือขายที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของมาตรฐาน IEEE 802.3 =
—  ขอมูลในเครือขายอีเทอรเน็ตจะถูกแบงออกเปนสวนๆ ที่เรียกวา แพ็กเก็ต=
—  ภายในแตละแพ็กเก็ตจะบรรจุแมคแอดเดรส เพื่อเปนตัวระบุตำแหนงที่อยูของ
    โหนดตางๆ บนเครือขาย=
—  ใชกระบวนการสงขอมูลแบบ CSMA/CD=
วิธีการควบคุมเพื่อเข้าถึงสื่อกลางในเครือข่าย
แบบอีเทอร์เน็ต	
—  มีอยูดวยกัน 2 แบบ คือ CSMA/CD และ Token Passing3
  4      4CSMA/CD (Carrier Sense, Multiple Access/Collision Detection) =
  P      P: เปนกลไกจัดการกับสายสงสัญญาณใหวาง โดย ในชวงเวลาหนึ่งๆ จะมี
   ขอมูลเพียงชุดเดียวเทานั้นที่สามารถสงผานสื่อกลางไปยังปลายทาง จึงตองมี
   กระบวนการจัดการเพื่อใหโหนดตางๆ บนเครือขายสามารถสงขอมูลได3
กลไกในการส่งข้อมูลแบบ CSMA/
CD3
—  การตรวจฟงสัญญาณ (Carrier Sense) 3
   Pเปนกลไกในการตรวจฟงสัญญาณภายในสาย วาสายในขณะนั้นวางหรือถูกใชงานอยู ซึ่ง
    แตละโหนดบนเครือขายจะตองตรวจฟงสัญญาณบนสื่อกลาง กอนที่จะมีการสงแพ็กเก็
    ตออกไป3
—  การใชสายสงขอมูลรวมกัน (Multiple Access)=
   Pเปนกลไกที่อนุญาตใหทุกๆ โหนดบนเครือขายสามารถใชสายสงขอมูลไดทันทีหากสายใน
    ขณะนั้นวางโดยอีเทอรเน็ตจะไมมีการใหอภิสิทธิ์กับโหนดใดๆ เปนพิเศษ โดยขอมูลที่ชน
    กันนั้นจะไมสามารถนำมาใชงานไดอีกตอไป ดังนั้นจึงตอมีกระบวนการแกไขดวยการสง
    ขอมูลรอบใหม3
กลไกในการส่งข้อมูลแบบ CSMA/
CD	
—  การตรวจสอบการชนกันของกลุมขอมูล (Collision Detection)=
   เปนกลไกการตรวจสอบการชนกันของกลุมขอมูล ซึ่งหากเกิดการชนกันของกลุมขอมูลขึ้น
   ภายในสายสง และระบบไดตรวจพบวา ไดเกิดเหตุการณชนกันของกลุมขอมูลขึ้นแลว
   แตละโหนดก็จะหยุดดำเนินการสงขอมูลทันที และมีการรอชั่วครู เพื่อใหแตละโหนดสุม
   เวลาใหแตกตางกันในการสงขอมูลรอบใหม เพื่อประกันวาจะไมเกิดการชนกันของกลุม
   ขอมูลชุดเดิมอีก3
  4การชนกันของกลุมขอมูลจะทวีมากขึ้น กรณีที่เครือขายมีขนาดใหญ รวมถึงในหนึ่งชวง
   เวลาไดมีการสงขอมูลจำนวนมากภายในสายสง เมื่อเครือขายมีขนาดใหญและมีระยะ
   ทางไกลขึ้น จึงทำใหเกิดคาหนวงเวลามากขึ้นตามไปดวย3
การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และ
บรอดแบนด์	
—  IEEE 802.3 ไดกำหนดมาตรฐานหรือเทคนิคในการสงขอมูลบนสาย ซึ่งปกติสัญญาณ
  ขอมูลที่สงภายในเครือขายจะมีอยู 2 ประเภทดวยกันคือ การสงขอมูลแบบเบสแบนด
  และการสงขอมูลแบบบรอดแบนด=
การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และ
บรอดแบนด์	
—  การสงสัญญาณแบบเบสแบนด (Baseband)=
 4Base คือ สัญญาณดิจิตอล ซึ่งในที่นี้ก็คือการเขารหัสแมนเซสเตอร ซึ่งเปนการเขารหัส
  ดวยการใชแรงดันไฟฟา โดยทาง IEEE ไดมีการแบงการสงขอมูลแบบเบสแบนดออกเปน
  ประเภทตางๆ ตามมาตรฐานดังนี้ คือ 10Base5, 10Base2, 10BaseT, 1Base5 และ
  100Base-T โดยตัวเลขขางหนาคืออัตราความเร็วในการสงขอมูล ซึ่งมีหนวยวัดเปนเมกะ
  บิตตอวินาที และสวนที่กำกับทาย เชน 5, 2, 1 หรือ T นั้นคือความยาวสูงสุดของสาย
  เคเบิลหรือชนิดของสายเคเบิล 3
การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และ
บรอดแบนด์	
—  การสงสัญญาณแบบเบสแบนด (Baseband) ตอ=
 Pการสงสัญญาณแบบเบสแบนดนั้น จะใชชองทางการสื่อสารเพียงชองทางเดียว โดย
  อุปกรณจะรับสงขอมูลบนสายเคเบิลเสนเดียวกัน ซึ่งจะมีอยู 3 สถานะคือ3
 41, 0, Idle3
การสงสัญญาณแบบบรอดแบนด (Broadband)	
—  การสงสัญญาณแบบบรอดแบนด (Broadband)=
 PBroad คือ สัญญาณแอนะล็อก ซึ่งในที่นี้การเขารหัส PSK โดยการสงสัญญาณแบบ3
 4บอรดแบนดนี้จะเปนการสงขอมูลแบบหลายชองทาง ขอมูลที่สงจะสงในยานความถี่ที่
  แตกตางกันบนสายสงเสนเดียว โดยทาง IEEE ไดกำหนดให 10Broad36 เปนการสง
  สัญญาณแบบบรอดแบนดเพียงชนิดเดียว3
การเชื่อมต่อเครือข่ายอีเทอร์เน็ต	
—  อีเทอรเน็ตนั้นใชวิธีการสงสัญญาณแบบเบสแบนด ตามมาตรฐาน 802.3 หรืออีเทอรเน็ต
  จะมีความเร็วในการสงขอมูลที่ 10 Mbps โดยสามารถใชสายเคเบิลหลายชนิดดวยกัน
  เพื่อการเชื่อมตอ สำหรับรูปแบบการเชื่อมตอเครือขายบนอีเทอรเน็ตแลนมีอยูหลายรูป
  แบบดวยกัน ไดแก 10Base5, 10Base2, 10Base-T และ 10Baes-F 3
10Base53
—  รูปแบบการเชื่อมตอเครือขายแบบ 10Base5 จัดเปนตนแบบดั้งเดิมของเครือขายอีเทอร
  เน็ตในชวงเริ่มตน โดยวิธีการสงขอมูลบนเครือขายจะใชวิธีการเขาถึงแบบ CSMA/CD ที่
  ทำงานอยูบนสายโคแอกเชียล RG8 คุณสมบัติของอีเทอรเน็ตแบบ 10Base5 สามารถ
  สรุปไดดังนี้3
    —  อัตราความเร็วในการสงขอมูลที่ 10 Mbps3
    —  ใชสัญญาณสงขอมูลแบบเบสแบนด3
    —  ระยะทางสูงสุด 500 เมตรตอหนึ่งเซกเมนต3
    —  ใชสายโคแอกเชียลแบบหนาหรือ RG-8 ซึ่งเปนสายสีเหลือง3
    —  แตละโหนดจะตองมีระยะหางกัน 2.5 เมตร3
10Base23
—  มีชื่อเรียกดวยกันหลายชื่อเชน Thin Ethernet, Thinnet, Cheapnet, Cheapernet หรือ
  Thin Wire Ethernet โดยใชสายเคเบิลแบบบาง คือ RG-58 ซึ่งมีขนาดเสนผานศูนยกลาง
  ที่เล็กกวา โดยมีขนาดเพียง 0.25 นิ้ว ที่สำคัญ 10Base2 นั้นมีตุนทุนและคาใชจายในการ
  ติดตั้งที่ถูกกวามากเมื่อเทียบกับ 10Base5 รวมถึงติดตั้งไดงายดวย คุณสมบัติของอีเทอร
  เน็ตแบบ 10Base2 สามารถสรุปไดดังนี้3
    —  อัตราความเร็วในการสงขอมูลอยูที่ 10 Mbps3
    —  ใชสัญญาณสงขอมูลแบบเบสแบนด3
    —  ระยะทางสูงสุด 185 เมตรตอหนึ่งเซกเมนต3
    —  ภายในหนึ่งเซกเมนตสามารถเชื่อมตอโหนดไดไมเกิน 30 เครื่อง3
    —  แตละโหนดระหางกันเทาไหรก็ได แตสายเคเบิลที่เชื่อมตอระหวางโนหดจะตองมีไมนอยกวา
       ครึ่งเมตร3
10Base-T	
—  คำวา 10Base-T บนเครือขายอีเทอรเน็ตในความเปนจริงก็คือ Star Bus Topology ซึ่ง
  แมโครงสรางทางฟสิคัลที่ดูภายนอกแลวจะเหมือนกับรูปดาว แตการทำงานภายในไมได
  แตกตางไปจากบัส แตดวยการนำสายสัญญาณมาเชื่อมตอเขากับฮับ จะชวยใหระบบมี
  ความคงทนขึ้น คุณสมบัติของอีเทอรเน็ตแบบ 10Base-T สรุปไดดังนี้3
    —  อัตราความเร็วในการสงขอมูลที่ 10 Mbps3
    —  ใชสัญญาณสงขอมูลแบบเบสแบนด3
    —  ตองใชฮับเปนศูนยกลางการเชื่อมตอทั้งหมด3
    —  ใชสาย UTP ชนิด CAT53
    —  ระยะทางของสายเคเบิลระหวางเซกเมนต กับระยะทางจากฮับไปยังโหนด สามารถเชื่อมโยง
       ไดไมเกิน 100 เมตร3
10Base-F	
—  จะใชสายเคเบิลแบบไฟเบอรออปติกในการสงขอมูลในรูปแบบของแสงแทนกระแสไฟฟา
  โดยการใชแสงสงขอมูลสงผลดี 3 ประการดวยกันคือ3
   1.  สัญญาณแสงสามารถเดินทางไดไกลเปนกิโลเมตร3
   2.  สายไฟเบอรออปติกทนทานตอสัญญาณรบกวนไดเปนอยางดี3
   3.  มีความปลอดภัยสูง เนื่องจากดักจับสัญญาณไดยาก3
   คุณสมบัติของอีเทอรเน็ตแบบ 10Base-F สามารถสรุปไดดังนี้3
   —  อัตราความเร็วในการสงขอมูลที่ 10 Mbps3
   —  ใชสัญญาณสงขอมูลแบบเบสแบนด3
   —  ระหวางโหนดและฮับสามารถเชื่อมโยงบนระยะทางสูงสุด 2 กิโลเมตร3
   —  โหนดที่เชื่อมตอไมมากเกินกวา 1024 โหนดตอฮับ3
เครือขายอีเทอรเน็ตในรูปแบบอื่นๆ3
—  สวิตซอีเทอรเน็ต =
     เครือขายอีเทอรเน็ตแบบสวิตซ เปนเครือขายที่มีการแกไขปรับปรุงประสิทธิภาพเครือขาย3
     อีเทอรเน็ตในรูปแบบ 10Base-T 3
     สวิตซสามารถนำเฟรมขอมูลจากสถานีสงไปยังสถานีปลายทางไดโดยตรง โดยจะไมไปรบกวน3
     พอรตอื่นๆ เชนเดียวกับฮับ นั่นหมายความวา สวิตซสามารถรับเฟรมขอมูลจากสถานีอื่นใน3
     ชวงเวลาเดียวกันได นอกจากนี้สวิตซยังสามารถวางเสนทางเฟรมขอมูลเพื่อสงไปยังปลายทาง3
     ที่ตองการได ซึ่งตามทฤษฎีดังกลาว ก็จะไมเกิดการชนกันของกลุมขอมูลอีกตอไป3
เครือขายอีเทอรเน็ตในรูปแบบอื่นๆ	
—  สวิตซอีเทอรเน็ต (ต่อ)	
  
    การที่ไดนำสวิตซมาเชื่อมตอระหวางเครือขายทั้งสอง ทำใหเกิดเปน 2 เซกเมนต ซึ่งอยู3
    คนละ Collision Domain หรือที่เรียกวา Multiple Collision Domain ทำใหการจราจร3
    ของแตละเซกเมนตไมไดเขาไปยุงเกี่ยวกับเซกเมนตอื่นๆ ซึ่งถือเปนการลดความคับคั่ง3
    ของการจราจรบนเครือขายได ในขณะเดียวกันโหนดที่อยูคนละเซกเมนตหากตองการ3
    สื่อสารกัน ก็สามารถสื่อสารขามเครือขายไดโดยสวิตซจะเปนตัวกลางในการ3
    ดำเนินการ3
การใชสวิตซเชื่อมโยงระหวางเครือขาย สงผลใหเกิดหลาย Collision Domain=
หลักการทำงานของสวิตซที่ใชงานบนเครือขายอีเทอรเน็ต3
—  เทคโนโลยีดังกลางประกอบดวยกระบวนการทำงานอยู 5 สวนดวยกันคือ3
  41. Learning3
  42. Flooding3
  43. Filtering3
  44. Forwarding3
  45. Aging3
หลักการทำงานของสวิตซที่ใชงานบนเครือขายอีเทอรเน็ต	
—  Learning : ซึ่งในเริ่มตนสวิตซยังไมมีรายละเอียดขอมูลใดๆ ที่บันทึกไวในตาราง ดังนั้น
   จึงจำเปนตองเรียนรูเพื่อทราบขอมูลของแตละโหนดกอน3
หลักการทำงานของสวิตซที่ใชงานบนเครือขายอีเทอรเน็ต	
—  Flooding 3
หลักการทำงานของสวิตซที่ใชงานบนเครือขายอีเทอรเน็ต	
—  Forwarding3
หลักการทำงานของสวิตซที่ใชงานบนเครือขายอีเทอรเน็ต	
—  Filtering3
หลักการทำงานของสวิตซที่ใชงานบนเครือขายอีเทอรเน็ต	
—  Aging : สวิตซไดมีการบันทึกขอมูลโหนดตางๆ ไวในตาราง ซึ่งการบันทึกจำเปนตองใช
  หนวยความจำ ดังนั้นการใชหนวยความจำที่มีอยูอยางจำกัดใหมีประสิทธิภาพจึงจำเปน
  ตองมีการกำจัดขอมูลเกาออกไป โดยเมื่อมีการบันทึกขอมูลในตาราง ก็จะมีการประทับ
  เวลา (Timestamp) ลงไปทุกครั้ง สวนการพิจารณาวาจะนำขอมูลใดออกไป ก็จะมีเวลาที่
  ตั้งเอาไว 3
ฟาสตอีเทอรเน็ต (Fast Ethernet)3
—  ฟาสตอีเทอรเน็ตหรืออีเทอรเน็ตความเร็วสูง จัดเปนเวอรชั่นหนึ่งของอีเทอรเน็ตที่มี
   ความเร็ว 100 Mbps โดยยังคงรูปแบบเฟรมขอมูลเดิม รวมทั้งวิธีเขาถึงสื่อกลางแบบเดิม
   ฟาสอีเทอรเน็ตจัดอยูในมาตรฐาน IEEE 802.3u โดยเปนอีเทอรเน็ตแลนที่มีความเร็วสูง
   กวาอีเทอรเน็ตแบบเดิม 10 Mbps ถึง 10 เทา 3
โทเค็นริง หรือ IEEE802.5	
—  Token Passing : หลักการทำงานของโทเค็นจะมีการสงวนแบนดวิดธใหกับโหนด
  หนึ่งโดยเฉพาะ โดยไมอนุญาตใหโหนดอื่นๆ เขาใชงานในชวงเวลานั้นๆ หมายถึง
  จะมีเพียงโหนดเดียวในชวงเวลาหนึ่งที่มีสิทธิ์ในการสงขอมูล3
โทเค็นริง หรือ IEEE802.5
โทเค็นริง หรือ IEEE802.5
โทเค็นริง หรือ IEEE802.5
โทเค็นริง หรือ IEEE802.5
โทเค็นริง หรือ IEEE802.5
โทเค็นริง หรือ IEEE802.5	
—  เครือขายโทเค็นริงยังคงใชสายเคเบิลรวมกันในการสงขอมูล ดังนั้นหากวงแหวน
  เกิดขาดเครือขายก็จะหยุดทำงาน ซึ่งหากตองการหลีกเลี่ยงปญหากรณีดังกลาว ก็
  ยังสามารถแกไขไดดวยการใชฮับแบบวงแหวน ซึ่งเปนฮับชนิดพิเศษที่จะซอนการ
  ทำงานแบบวงแหวนไวภายใน ซึ่งฮับที่นำมาใชกับเครือขายแบบวงแหวนนี้จะเรียก
  วา MAU (Multistation Access Unit) โดยการเชื่อตอดวยอุปกรณ MAU ก็จะชวย
  ใหระบบมีความคงทนยิ่งขึ้น3
FDDI (Fiber Distributed Data Interface)	
—  เครือขาย FDDI จะมีความคลายคลึงกับเครือขายโทเค็นริง แตจะมีความเร็วสูงกวา
  โดยมีความเร็วอยูที่ 100 Mbps เชื่อมโยงระยะทางไดไกลกวา 200 กิโลเมตร และ
  สามารถเชื่อมตอสถานีหรือเวิรกสเตชั่นไดมากถึง 500 สถานี จึงทำใหเครือขาย
  FDDI มีขนาดกวางใหญมากเมื่อเทียบกับเครือขายโทเค็นริง นอกจากนี้เครือขาย
  FDDI ยังลดขอเสียของเครือขายโทเค็นริงที่หากสายเคเบิลขาด ดวยการเดินสาย
  แบบวงแหวนคู โดยมี 2 วงแหวน คือ Primary Ring และ Secondary Ring3
มาตรฐานเครือขายแลนไรสาย (Wireless LAN Standards)=
—  มาตรฐาน IEEE 802.11 ถือเปนมาตรฐานของเครือขายไรสายที่กระจายสัญญาณดวย
    คลื่นวิทยุในการสื่อสารที่หลายยานความถี่ โดยรากฐานของเทคโนโลยี 802.11 จะใช
    คลื่นวิทยุในการแพรสัญญาณบนยานความถี่ 2.5 GHz ยกเวนเพียงแตมาตรฐาน
    802.11a เทานั้นที่ใชยานความถี่ที่ 5 GHz3
—  สำหรับ WLAN ตามมาตรฐาน 802.11 ไดขยายออกมาเปนกลุมยอยตามมาตรฐานตางๆ 3
    ไดแก 802.11, 802.11a, 802.11b, 802.11g และ 802.11n3
802.113
—  เปนมาตรฐานดั้งเดิมที่ในปจจุบันคอนขางหายากแลว อุปกรณเครือขายไรสายที่ใชงาน
  บนมาตรฐาน 802.11 นั้นจะมีความเร็วสูงสุดเพียง 2 Mbps และจำกัดระยะทาง
  ประมาณ 150 ฟุต และใชยานความถี่ที่ 2.4 GHz3
802.11b3
—  มาตรฐานนี้เปดตัวเพื่อใชงานเมื่อราวป ค.ศ. 1999 โดยจัดเปนมาตรฐานที่ไดรับความ
   นิยมสูง และยอมรับไปทั่วโลก ดังนั้นจึงมีการใชงานอยางแพรหลาย มาตรฐาน 802.11b
   ถูกรับรองโดย Wi-fi โดยมีความเร็วในการรับสงขอมูลที่ 11 Mbps ที่ยานความถี่ 3
  42.4 GHz ขอดีของมาตรฐานนี้ก็คือ คลื่นความถี่ดังกลาว จะมีอุปกรณหลายชนิดดวยกัน
   ใชงานอยู และระยะทางในการรับสงขอมูลครอบคลุมคอนขางไกล ทำใหไมสิ้นเปลือง
   อุปกรณแอกเซสพอยตที่ใชเปนจุดรับสัญญาณ3
802.11a3
—  เปดตัวเพื่อใชงานเมื่อราวป ค.ศ. 2001 เปนมาตรฐานที่ใชยานความถี่ 5 GHz ขอดีของ
  มาตรฐานนี้ก็คือ มีความเร็วสูงถึง 54 Mbps สวนขอเสียก็คือปญหาเรื่องขอกฎหมายคลื่น
  ความถี่สูงในระดับ 5 GHz ซึ่งในบางประเทศอนุญาตใหใชเฉพาะคลื่นความถี่ต่ำเทานั้น
  เชนในประเทศไทยไมอนุญาตใหนำเขาและนำมาใชงาน เนื่องจากไดมีการจัดสรรคลื่น
  ความถี่ยานนี้เพื่อใชกับกิจการอื่นมากอนแลว อยางไรก็ตาม เครือขายไรสายตาม
  มาตรฐาน 802.11a นั้นจะไมสามารถใชงานรวมกันกับเครือขายไรสายตามมาตรฐาน
  802.11b และ 802.11g ได 3
802.11g3
—  เปดตัวเพื่อชานเมื่อราวป ค.ศ. 2003 เปนเทคโนโลยีที่ไดปรับปรุงความเร็วใหมีการสง
   ขอมูลสูงถึง 54 Mbps และเปนเทคโนโลยีที่สามารถนำมาใชงานรวมกันกับมาตรฐาน
   802.11b ได เนื่องจากใชคลื่นความถี่ที่ 2.4 GHz เหมือนกัน ดังนั้นจึงเปนมาตรฐานที่
   กำลังเปนที่นิยมใชในปจจุบัน3
802.11n3
—  สำหรับมาตรฐาน 802.11n นั้นไดพัฒนาความเร็วใหมีความเร็วสูงขึ้นถึง 100 Mbps ถึง
  แมวามาตรฐานนี้ยังไมเสร็จสมบูรณในเวลานี้ แตการรับสงขอมูลจะอยูในยายความถี่ 5
  GHz ดังนั้นจึงมีความเขากันไดกับมาตรฐาน 802.11a3

More Related Content

What's hot

อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
James Hulahula
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอมอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
Xioniczero
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอมอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
Xioniczero
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอมอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
kao20082543
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Tanawat Rengtian
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Tanawat Rengtian
 
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
pattarapornpiman
 
คอม 2-2558
คอม 2-2558คอม 2-2558
คอม 2-2558
PTtp WgWt
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
Toey_Wanatsanan
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาวความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
MilkSick
 

What's hot (16)

%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอมอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอมอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอมอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16 18 กลุ่มคอม
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network001
Network001Network001
Network001
 
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
เพาเวอร์พอยต์(พรพร)1
 
คอม 2-2558
คอม 2-2558คอม 2-2558
คอม 2-2558
 
สอบ.Docx
สอบ.Docxสอบ.Docx
สอบ.Docx
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาวความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตขาว
 

Similar to Week7 ethernet

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Kalib Karn
 
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
holahediix
 
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
holahediix
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Berlilng Cherbet
 
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit jullanan
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit jullananภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit jullanan
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit jullanan
Poko At Kku ComEd
 
Computer Network
Computer  NetworkComputer  Network
Computer Network
chukiat008
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
chukiat008
 
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisitภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit
Poko At Kku ComEd
 

Similar to Week7 ethernet (20)

Supichaya
SupichayaSupichaya
Supichaya
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
Network System
Network SystemNetwork System
Network System
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
pw
pwpw
pw
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
 
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit jullanan
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit jullananภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit jullanan
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit jullanan
 
Connect1
Connect1Connect1
Connect1
 
Computer Network
Computer  NetworkComputer  Network
Computer Network
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisitภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 part3 by sirisit
 

More from Kukky Krishanont (7)

04 security
04 security04 security
04 security
 
03 network
03 network03 network
03 network
 
01 basic
01 basic01 basic
01 basic
 
Network designmkp
Network designmkpNetwork designmkp
Network designmkp
 
Week5 memory management
Week5 memory managementWeek5 memory management
Week5 memory management
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Test
TestTest
Test
 

Week7 ethernet

  • 2. อีเทอร์เน็ต หรือ IEEE 802.3 — ประวัติโดยย่อ : ผู้พัฒนาเทคโนโลยีเครือข่ายแลน แบบอีเทอร์เน็ต คือ Robert Metcalfe ร่วมมือกับบริษัทซีร็อกซ์ พัฒนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1973 โดยมีรูปแบบพื้นฐานโทโพโลยี แบบบัส ซึ่งในช่วงแรก อีเทอร์เน็ตได้ใช้สายใช้สายเคเบิล เส้นเดียว เพื่อเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่อง และมี ความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลสูงสูดเพียง 3 Mbps
  • 3. อีเทอร์เน็ตทํางานอย่างไร —  อีเทอรเน็ตอางอิงถึงเครือขายที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของมาตรฐาน IEEE 802.3 = —  ขอมูลในเครือขายอีเทอรเน็ตจะถูกแบงออกเปนสวนๆ ที่เรียกวา แพ็กเก็ต= —  ภายในแตละแพ็กเก็ตจะบรรจุแมคแอดเดรส เพื่อเปนตัวระบุตำแหนงที่อยูของ โหนดตางๆ บนเครือขาย= —  ใชกระบวนการสงขอมูลแบบ CSMA/CD=
  • 4. วิธีการควบคุมเพื่อเข้าถึงสื่อกลางในเครือข่าย แบบอีเทอร์เน็ต —  มีอยูดวยกัน 2 แบบ คือ CSMA/CD และ Token Passing3 4 4CSMA/CD (Carrier Sense, Multiple Access/Collision Detection) = P P: เปนกลไกจัดการกับสายสงสัญญาณใหวาง โดย ในชวงเวลาหนึ่งๆ จะมี ขอมูลเพียงชุดเดียวเทานั้นที่สามารถสงผานสื่อกลางไปยังปลายทาง จึงตองมี กระบวนการจัดการเพื่อใหโหนดตางๆ บนเครือขายสามารถสงขอมูลได3
  • 5. กลไกในการส่งข้อมูลแบบ CSMA/ CD3 —  การตรวจฟงสัญญาณ (Carrier Sense) 3 Pเปนกลไกในการตรวจฟงสัญญาณภายในสาย วาสายในขณะนั้นวางหรือถูกใชงานอยู ซึ่ง แตละโหนดบนเครือขายจะตองตรวจฟงสัญญาณบนสื่อกลาง กอนที่จะมีการสงแพ็กเก็ ตออกไป3 —  การใชสายสงขอมูลรวมกัน (Multiple Access)= Pเปนกลไกที่อนุญาตใหทุกๆ โหนดบนเครือขายสามารถใชสายสงขอมูลไดทันทีหากสายใน ขณะนั้นวางโดยอีเทอรเน็ตจะไมมีการใหอภิสิทธิ์กับโหนดใดๆ เปนพิเศษ โดยขอมูลที่ชน กันนั้นจะไมสามารถนำมาใชงานไดอีกตอไป ดังนั้นจึงตอมีกระบวนการแกไขดวยการสง ขอมูลรอบใหม3
  • 6. กลไกในการส่งข้อมูลแบบ CSMA/ CD —  การตรวจสอบการชนกันของกลุมขอมูล (Collision Detection)= เปนกลไกการตรวจสอบการชนกันของกลุมขอมูล ซึ่งหากเกิดการชนกันของกลุมขอมูลขึ้น ภายในสายสง และระบบไดตรวจพบวา ไดเกิดเหตุการณชนกันของกลุมขอมูลขึ้นแลว แตละโหนดก็จะหยุดดำเนินการสงขอมูลทันที และมีการรอชั่วครู เพื่อใหแตละโหนดสุม เวลาใหแตกตางกันในการสงขอมูลรอบใหม เพื่อประกันวาจะไมเกิดการชนกันของกลุม ขอมูลชุดเดิมอีก3 4การชนกันของกลุมขอมูลจะทวีมากขึ้น กรณีที่เครือขายมีขนาดใหญ รวมถึงในหนึ่งชวง เวลาไดมีการสงขอมูลจำนวนมากภายในสายสง เมื่อเครือขายมีขนาดใหญและมีระยะ ทางไกลขึ้น จึงทำใหเกิดคาหนวงเวลามากขึ้นตามไปดวย3
  • 7. การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และ บรอดแบนด์ —  IEEE 802.3 ไดกำหนดมาตรฐานหรือเทคนิคในการสงขอมูลบนสาย ซึ่งปกติสัญญาณ ขอมูลที่สงภายในเครือขายจะมีอยู 2 ประเภทดวยกันคือ การสงขอมูลแบบเบสแบนด และการสงขอมูลแบบบรอดแบนด=
  • 8. การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และ บรอดแบนด์ —  การสงสัญญาณแบบเบสแบนด (Baseband)= 4Base คือ สัญญาณดิจิตอล ซึ่งในที่นี้ก็คือการเขารหัสแมนเซสเตอร ซึ่งเปนการเขารหัส ดวยการใชแรงดันไฟฟา โดยทาง IEEE ไดมีการแบงการสงขอมูลแบบเบสแบนดออกเปน ประเภทตางๆ ตามมาตรฐานดังนี้ คือ 10Base5, 10Base2, 10BaseT, 1Base5 และ 100Base-T โดยตัวเลขขางหนาคืออัตราความเร็วในการสงขอมูล ซึ่งมีหนวยวัดเปนเมกะ บิตตอวินาที และสวนที่กำกับทาย เชน 5, 2, 1 หรือ T นั้นคือความยาวสูงสุดของสาย เคเบิลหรือชนิดของสายเคเบิล 3
  • 9. การส่งข้อมูลแบบเบสแบนด์และ บรอดแบนด์ —  การสงสัญญาณแบบเบสแบนด (Baseband) ตอ= Pการสงสัญญาณแบบเบสแบนดนั้น จะใชชองทางการสื่อสารเพียงชองทางเดียว โดย อุปกรณจะรับสงขอมูลบนสายเคเบิลเสนเดียวกัน ซึ่งจะมีอยู 3 สถานะคือ3 41, 0, Idle3
  • 10. การสงสัญญาณแบบบรอดแบนด (Broadband) —  การสงสัญญาณแบบบรอดแบนด (Broadband)= PBroad คือ สัญญาณแอนะล็อก ซึ่งในที่นี้การเขารหัส PSK โดยการสงสัญญาณแบบ3 4บอรดแบนดนี้จะเปนการสงขอมูลแบบหลายชองทาง ขอมูลที่สงจะสงในยานความถี่ที่ แตกตางกันบนสายสงเสนเดียว โดยทาง IEEE ไดกำหนดให 10Broad36 เปนการสง สัญญาณแบบบรอดแบนดเพียงชนิดเดียว3
  • 11. การเชื่อมต่อเครือข่ายอีเทอร์เน็ต —  อีเทอรเน็ตนั้นใชวิธีการสงสัญญาณแบบเบสแบนด ตามมาตรฐาน 802.3 หรืออีเทอรเน็ต จะมีความเร็วในการสงขอมูลที่ 10 Mbps โดยสามารถใชสายเคเบิลหลายชนิดดวยกัน เพื่อการเชื่อมตอ สำหรับรูปแบบการเชื่อมตอเครือขายบนอีเทอรเน็ตแลนมีอยูหลายรูป แบบดวยกัน ไดแก 10Base5, 10Base2, 10Base-T และ 10Baes-F 3
  • 12. 10Base53 —  รูปแบบการเชื่อมตอเครือขายแบบ 10Base5 จัดเปนตนแบบดั้งเดิมของเครือขายอีเทอร เน็ตในชวงเริ่มตน โดยวิธีการสงขอมูลบนเครือขายจะใชวิธีการเขาถึงแบบ CSMA/CD ที่ ทำงานอยูบนสายโคแอกเชียล RG8 คุณสมบัติของอีเทอรเน็ตแบบ 10Base5 สามารถ สรุปไดดังนี้3 —  อัตราความเร็วในการสงขอมูลที่ 10 Mbps3 —  ใชสัญญาณสงขอมูลแบบเบสแบนด3 —  ระยะทางสูงสุด 500 เมตรตอหนึ่งเซกเมนต3 —  ใชสายโคแอกเชียลแบบหนาหรือ RG-8 ซึ่งเปนสายสีเหลือง3 —  แตละโหนดจะตองมีระยะหางกัน 2.5 เมตร3
  • 13. 10Base23 —  มีชื่อเรียกดวยกันหลายชื่อเชน Thin Ethernet, Thinnet, Cheapnet, Cheapernet หรือ Thin Wire Ethernet โดยใชสายเคเบิลแบบบาง คือ RG-58 ซึ่งมีขนาดเสนผานศูนยกลาง ที่เล็กกวา โดยมีขนาดเพียง 0.25 นิ้ว ที่สำคัญ 10Base2 นั้นมีตุนทุนและคาใชจายในการ ติดตั้งที่ถูกกวามากเมื่อเทียบกับ 10Base5 รวมถึงติดตั้งไดงายดวย คุณสมบัติของอีเทอร เน็ตแบบ 10Base2 สามารถสรุปไดดังนี้3 —  อัตราความเร็วในการสงขอมูลอยูที่ 10 Mbps3 —  ใชสัญญาณสงขอมูลแบบเบสแบนด3 —  ระยะทางสูงสุด 185 เมตรตอหนึ่งเซกเมนต3 —  ภายในหนึ่งเซกเมนตสามารถเชื่อมตอโหนดไดไมเกิน 30 เครื่อง3 —  แตละโหนดระหางกันเทาไหรก็ได แตสายเคเบิลที่เชื่อมตอระหวางโนหดจะตองมีไมนอยกวา ครึ่งเมตร3
  • 14. 10Base-T —  คำวา 10Base-T บนเครือขายอีเทอรเน็ตในความเปนจริงก็คือ Star Bus Topology ซึ่ง แมโครงสรางทางฟสิคัลที่ดูภายนอกแลวจะเหมือนกับรูปดาว แตการทำงานภายในไมได แตกตางไปจากบัส แตดวยการนำสายสัญญาณมาเชื่อมตอเขากับฮับ จะชวยใหระบบมี ความคงทนขึ้น คุณสมบัติของอีเทอรเน็ตแบบ 10Base-T สรุปไดดังนี้3 —  อัตราความเร็วในการสงขอมูลที่ 10 Mbps3 —  ใชสัญญาณสงขอมูลแบบเบสแบนด3 —  ตองใชฮับเปนศูนยกลางการเชื่อมตอทั้งหมด3 —  ใชสาย UTP ชนิด CAT53 —  ระยะทางของสายเคเบิลระหวางเซกเมนต กับระยะทางจากฮับไปยังโหนด สามารถเชื่อมโยง ไดไมเกิน 100 เมตร3
  • 15. 10Base-F —  จะใชสายเคเบิลแบบไฟเบอรออปติกในการสงขอมูลในรูปแบบของแสงแทนกระแสไฟฟา โดยการใชแสงสงขอมูลสงผลดี 3 ประการดวยกันคือ3 1.  สัญญาณแสงสามารถเดินทางไดไกลเปนกิโลเมตร3 2.  สายไฟเบอรออปติกทนทานตอสัญญาณรบกวนไดเปนอยางดี3 3.  มีความปลอดภัยสูง เนื่องจากดักจับสัญญาณไดยาก3 คุณสมบัติของอีเทอรเน็ตแบบ 10Base-F สามารถสรุปไดดังนี้3 —  อัตราความเร็วในการสงขอมูลที่ 10 Mbps3 —  ใชสัญญาณสงขอมูลแบบเบสแบนด3 —  ระหวางโหนดและฮับสามารถเชื่อมโยงบนระยะทางสูงสุด 2 กิโลเมตร3 —  โหนดที่เชื่อมตอไมมากเกินกวา 1024 โหนดตอฮับ3
  • 16. เครือขายอีเทอรเน็ตในรูปแบบอื่นๆ3 —  สวิตซอีเทอรเน็ต = เครือขายอีเทอรเน็ตแบบสวิตซ เปนเครือขายที่มีการแกไขปรับปรุงประสิทธิภาพเครือขาย3 อีเทอรเน็ตในรูปแบบ 10Base-T 3 สวิตซสามารถนำเฟรมขอมูลจากสถานีสงไปยังสถานีปลายทางไดโดยตรง โดยจะไมไปรบกวน3 พอรตอื่นๆ เชนเดียวกับฮับ นั่นหมายความวา สวิตซสามารถรับเฟรมขอมูลจากสถานีอื่นใน3 ชวงเวลาเดียวกันได นอกจากนี้สวิตซยังสามารถวางเสนทางเฟรมขอมูลเพื่อสงไปยังปลายทาง3 ที่ตองการได ซึ่งตามทฤษฎีดังกลาว ก็จะไมเกิดการชนกันของกลุมขอมูลอีกตอไป3
  • 17. เครือขายอีเทอรเน็ตในรูปแบบอื่นๆ —  สวิตซอีเทอรเน็ต (ต่อ)   การที่ไดนำสวิตซมาเชื่อมตอระหวางเครือขายทั้งสอง ทำใหเกิดเปน 2 เซกเมนต ซึ่งอยู3 คนละ Collision Domain หรือที่เรียกวา Multiple Collision Domain ทำใหการจราจร3 ของแตละเซกเมนตไมไดเขาไปยุงเกี่ยวกับเซกเมนตอื่นๆ ซึ่งถือเปนการลดความคับคั่ง3 ของการจราจรบนเครือขายได ในขณะเดียวกันโหนดที่อยูคนละเซกเมนตหากตองการ3 สื่อสารกัน ก็สามารถสื่อสารขามเครือขายไดโดยสวิตซจะเปนตัวกลางในการ3 ดำเนินการ3
  • 20. หลักการทำงานของสวิตซที่ใชงานบนเครือขายอีเทอรเน็ต —  Learning : ซึ่งในเริ่มตนสวิตซยังไมมีรายละเอียดขอมูลใดๆ ที่บันทึกไวในตาราง ดังนั้น จึงจำเปนตองเรียนรูเพื่อทราบขอมูลของแตละโหนดกอน3
  • 24. หลักการทำงานของสวิตซที่ใชงานบนเครือขายอีเทอรเน็ต —  Aging : สวิตซไดมีการบันทึกขอมูลโหนดตางๆ ไวในตาราง ซึ่งการบันทึกจำเปนตองใช หนวยความจำ ดังนั้นการใชหนวยความจำที่มีอยูอยางจำกัดใหมีประสิทธิภาพจึงจำเปน ตองมีการกำจัดขอมูลเกาออกไป โดยเมื่อมีการบันทึกขอมูลในตาราง ก็จะมีการประทับ เวลา (Timestamp) ลงไปทุกครั้ง สวนการพิจารณาวาจะนำขอมูลใดออกไป ก็จะมีเวลาที่ ตั้งเอาไว 3
  • 25. ฟาสตอีเทอรเน็ต (Fast Ethernet)3 —  ฟาสตอีเทอรเน็ตหรืออีเทอรเน็ตความเร็วสูง จัดเปนเวอรชั่นหนึ่งของอีเทอรเน็ตที่มี ความเร็ว 100 Mbps โดยยังคงรูปแบบเฟรมขอมูลเดิม รวมทั้งวิธีเขาถึงสื่อกลางแบบเดิม ฟาสอีเทอรเน็ตจัดอยูในมาตรฐาน IEEE 802.3u โดยเปนอีเทอรเน็ตแลนที่มีความเร็วสูง กวาอีเทอรเน็ตแบบเดิม 10 Mbps ถึง 10 เทา 3
  • 26. โทเค็นริง หรือ IEEE802.5 —  Token Passing : หลักการทำงานของโทเค็นจะมีการสงวนแบนดวิดธใหกับโหนด หนึ่งโดยเฉพาะ โดยไมอนุญาตใหโหนดอื่นๆ เขาใชงานในชวงเวลานั้นๆ หมายถึง จะมีเพียงโหนดเดียวในชวงเวลาหนึ่งที่มีสิทธิ์ในการสงขอมูล3
  • 32. โทเค็นริง หรือ IEEE802.5 —  เครือขายโทเค็นริงยังคงใชสายเคเบิลรวมกันในการสงขอมูล ดังนั้นหากวงแหวน เกิดขาดเครือขายก็จะหยุดทำงาน ซึ่งหากตองการหลีกเลี่ยงปญหากรณีดังกลาว ก็ ยังสามารถแกไขไดดวยการใชฮับแบบวงแหวน ซึ่งเปนฮับชนิดพิเศษที่จะซอนการ ทำงานแบบวงแหวนไวภายใน ซึ่งฮับที่นำมาใชกับเครือขายแบบวงแหวนนี้จะเรียก วา MAU (Multistation Access Unit) โดยการเชื่อตอดวยอุปกรณ MAU ก็จะชวย ใหระบบมีความคงทนยิ่งขึ้น3
  • 33. FDDI (Fiber Distributed Data Interface) —  เครือขาย FDDI จะมีความคลายคลึงกับเครือขายโทเค็นริง แตจะมีความเร็วสูงกวา โดยมีความเร็วอยูที่ 100 Mbps เชื่อมโยงระยะทางไดไกลกวา 200 กิโลเมตร และ สามารถเชื่อมตอสถานีหรือเวิรกสเตชั่นไดมากถึง 500 สถานี จึงทำใหเครือขาย FDDI มีขนาดกวางใหญมากเมื่อเทียบกับเครือขายโทเค็นริง นอกจากนี้เครือขาย FDDI ยังลดขอเสียของเครือขายโทเค็นริงที่หากสายเคเบิลขาด ดวยการเดินสาย แบบวงแหวนคู โดยมี 2 วงแหวน คือ Primary Ring และ Secondary Ring3
  • 34. มาตรฐานเครือขายแลนไรสาย (Wireless LAN Standards)= —  มาตรฐาน IEEE 802.11 ถือเปนมาตรฐานของเครือขายไรสายที่กระจายสัญญาณดวย คลื่นวิทยุในการสื่อสารที่หลายยานความถี่ โดยรากฐานของเทคโนโลยี 802.11 จะใช คลื่นวิทยุในการแพรสัญญาณบนยานความถี่ 2.5 GHz ยกเวนเพียงแตมาตรฐาน 802.11a เทานั้นที่ใชยานความถี่ที่ 5 GHz3 —  สำหรับ WLAN ตามมาตรฐาน 802.11 ไดขยายออกมาเปนกลุมยอยตามมาตรฐานตางๆ 3 ไดแก 802.11, 802.11a, 802.11b, 802.11g และ 802.11n3
  • 35. 802.113 —  เปนมาตรฐานดั้งเดิมที่ในปจจุบันคอนขางหายากแลว อุปกรณเครือขายไรสายที่ใชงาน บนมาตรฐาน 802.11 นั้นจะมีความเร็วสูงสุดเพียง 2 Mbps และจำกัดระยะทาง ประมาณ 150 ฟุต และใชยานความถี่ที่ 2.4 GHz3
  • 36. 802.11b3 —  มาตรฐานนี้เปดตัวเพื่อใชงานเมื่อราวป ค.ศ. 1999 โดยจัดเปนมาตรฐานที่ไดรับความ นิยมสูง และยอมรับไปทั่วโลก ดังนั้นจึงมีการใชงานอยางแพรหลาย มาตรฐาน 802.11b ถูกรับรองโดย Wi-fi โดยมีความเร็วในการรับสงขอมูลที่ 11 Mbps ที่ยานความถี่ 3 42.4 GHz ขอดีของมาตรฐานนี้ก็คือ คลื่นความถี่ดังกลาว จะมีอุปกรณหลายชนิดดวยกัน ใชงานอยู และระยะทางในการรับสงขอมูลครอบคลุมคอนขางไกล ทำใหไมสิ้นเปลือง อุปกรณแอกเซสพอยตที่ใชเปนจุดรับสัญญาณ3
  • 37. 802.11a3 —  เปดตัวเพื่อใชงานเมื่อราวป ค.ศ. 2001 เปนมาตรฐานที่ใชยานความถี่ 5 GHz ขอดีของ มาตรฐานนี้ก็คือ มีความเร็วสูงถึง 54 Mbps สวนขอเสียก็คือปญหาเรื่องขอกฎหมายคลื่น ความถี่สูงในระดับ 5 GHz ซึ่งในบางประเทศอนุญาตใหใชเฉพาะคลื่นความถี่ต่ำเทานั้น เชนในประเทศไทยไมอนุญาตใหนำเขาและนำมาใชงาน เนื่องจากไดมีการจัดสรรคลื่น ความถี่ยานนี้เพื่อใชกับกิจการอื่นมากอนแลว อยางไรก็ตาม เครือขายไรสายตาม มาตรฐาน 802.11a นั้นจะไมสามารถใชงานรวมกันกับเครือขายไรสายตามมาตรฐาน 802.11b และ 802.11g ได 3
  • 38. 802.11g3 —  เปดตัวเพื่อชานเมื่อราวป ค.ศ. 2003 เปนเทคโนโลยีที่ไดปรับปรุงความเร็วใหมีการสง ขอมูลสูงถึง 54 Mbps และเปนเทคโนโลยีที่สามารถนำมาใชงานรวมกันกับมาตรฐาน 802.11b ได เนื่องจากใชคลื่นความถี่ที่ 2.4 GHz เหมือนกัน ดังนั้นจึงเปนมาตรฐานที่ กำลังเปนที่นิยมใชในปจจุบัน3
  • 39. 802.11n3 —  สำหรับมาตรฐาน 802.11n นั้นไดพัฒนาความเร็วใหมีความเร็วสูงขึ้นถึง 100 Mbps ถึง แมวามาตรฐานนี้ยังไมเสร็จสมบูรณในเวลานี้ แตการรับสงขอมูลจะอยูในยายความถี่ 5 GHz ดังนั้นจึงมีความเขากันไดกับมาตรฐาน 802.11a3