SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 41
นวัตกรรมช่วยสอน บทสไลด์ (Power Point) ประกอบการเรียนการสอนแบบฝึกทักษะ  การอ่านออกเสียง ร้อยแก้วและร้อยกรอง ระดับมัธยมศึกษาต้อนต้น โดย ครูปราณี   ศาตะนิมิ กศน.ไทรน้อย ป.บัณฑิต รุ่นที่ 4
ความหมายนวัตกรรม 	นวัตกรรม หมายถึงความคิด การปฏิบัติรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อนหรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ดียิ่งขึ้นเมื่อนำนวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การทำงานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพแลประสิทธิผลสูงกว่าเดิมทั้งยังช่วยประหยัดเวลาและแรงงานได้ด้วย
ความหมาย e-learning 	ความหมาย e-learningเป็นคำใช้เรียกเทโนโลยีการศึกษาแบบใหม่ ที่ยังไม่มีชื่อภาษาไทยแน่ชัดและมีผู้นิยามความหมายหลายประการ
ความหมาย e-learning 	ผศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง ให้คำนิยาม e-learning หรือ Electronic  learningว่าหมายถึงกราเรียในรูปของสือมัลติมิเดียได้แก่ ข้อคาวมอิเลคทรอนิกส์ ภาพนิ่ง ภาพกราฟิก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติฯลฯ
ความหมาย e-learning 	คุณธิดาทิตย์ จันคนา ที่ให้ความหมายของ e-learning หมายถึงการศึกษาที่เรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เนตโดยผู้เรียนรู้จะเรียนรู้ด้วยตัวเองการเรียนรู้จะเป็นไปตามปัจจัยภานใต้ทษฎีแห่งการเรียนรู้สองประการคือ
ความหมาย e-learning 	เรียนตามความรู้บุคคลใช้ในการเรียนรู้ การเรียนจะกระทำผ่านสื่อบนเครือข่ายอินเตอร์เนตโดยผู้สอนปฎิจะนำเสนอข้อมูลความรู้ให้ผู้เรียน ได้ทำการศึกษาผ่านบริการ world wide web หรือเวปไซด์ โดยอาจให้มีปฎิสัมพันธ์(สนทนา โต้ตอบ ส่งข้าวสาร)ระหว่างกันจะมีการเรียนรู้สามรูปแบบคือ ผู้สอนกับผู้เรียนผู้เรียนกับผู้เรียนอีกคนหนึ่ง หรือผู้เรียนหนึ่งคนกับกลุ่มของผู้เรียนปฎิสัมพันธ์นี้สามารถกระทำผ่านเครื่องมือสองลักษณะคือ
	ปัจจุบันควาเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และความทันสมัย ด้านเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทำให้มีการผลิตวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ อำนวนความสะดวกสบาบมากขึ้นผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลาไม่มีข้อจำกัด นักเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดการเรียนรู้มากขึ้น ครูเป็นเพียงผู้จัดสภาพแวดล้อม คอยให้คำแนะนำ สนันสนุนช่วยเหลือ กระตุ้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตัวเอง ดังนั้น ครูผู้สอนจึงนำคอมพิวเตอร์มัลติมิเดีย หรือนำเสนอโดยโปรแกรม  microsoft office (powerpoint) สรุปการเรียนรู้ยนทุกเรื่อง นักเรียนจะได้รับความรู้สิ่งใหมๆ มองเห็นภาพพจน์ตื่นเต้นเร้าใจ ได้รับความรู้ทันต่อเหตุการณ์โลก และช่วยพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้บรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(cai) สำรับการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(cai) เป็นการสอนรายบุคคลที่ได้รับการพัฒนาและนำหลักการจากบทเรียนโปรแกรมมาออกแบบ โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อเพราะคอมพิวเตอร์สามารถแก้ไขข้อบกพร่องของบทเรียนแบบโปรแกรมได้ เช่นความเร็วในการเสนอเนื้อหา การซ่อนคำตอบ การเสริมแรง การนำคอมพิวเตอร์มาใช่เป็นเครื่องมือในการสอนโดยอธิบายเนื่อหาและบททบทวนให้นักเรียนแทนครู หรือให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด ตามลำดับขันตอนอย่างเป็นระบบ หรือการออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยยึดหลักการออกแบบซึ่งมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเรียนจากบทเรียนแล้ว ก่อให้เกิดความคิดและการเรียนรู้ตามกระบวนการที่เหมาะสม และทฤษฎีการเรียนที่เกี่ยวข้องได้นำมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบบทเรียน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ด้วยขั้นตอนการสอนที่เป็นระบบการประยุกต์ใช้ทฤษฎีเรียนรู้ดังกล่าว ย่อมทำให้แน่ใจได้ว่าคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ได้ถูกสร้างขึ้นมาจะเป็นบทเรียนที่มีประสิทธิภาพ
ในการออกแบบเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีที่สุดสามารถหลักและดัดแปลงมาจากทฤษฎีการเรียนและการสอน ๙ ขั้น ของกาเย่ (Gagne) ดังนี้ 1.เร้าความสนใจ 2.บอกวัตถุประสงค์(specify objectives) 3. ทบทวนความรู้เดิม(active prior knowledge) 4. การเสนอเนื้อหาใหม่(present newiformation) 5. ชี้แนวทางการเรียนรู้(guideleaming) 6. ควรตุ้นการตอบสนอง(eilielt responses) 7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ(provide feedbaek) 8. ทดสอบความรู้(assess perfomamee) 9. การนำความรู้ไปใช้(enhaningretentionamdtsamsfer)
การอ่านและการฝึกทักษะการอ่าน แนวคิดสำคัญ การอ่านทักษะภาษาที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการศึกษาค้นคว้าหาความรู้และความบันเทิงใจให้กับตนเอง นับว่าการอ่านจะก่อประโยชน์ให้แก่มนุษย์โดยตรงในชีวิตประจำวันโดยเฉพราะนักเรียนนักศึกษาจำเป็นจะต้องใช้การอ่านเป็นประจำเพื่อศึกษาหาความรู้จากหนังสือและจากตาราเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น ผู้ที่มีความสามารถอ่านออกเขียนได้จึงมีชีวิตที่เปรียบเทียบและสมบูรณ์แบบในการติดต่อสื่อสารทั้งเรื่องส่วนตัวและเรื่องส่วนรวมอย่างได้ผลดีกว่าผู้ที่อ่านหนังสือไม่ออกและเขียนไม่ได้
มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ไข้ปัญหาและสร้างวิสัยทัศน์ ในการดำเนินชีวิตและวินัยรักการอ่าน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ๑.อ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรองโดยสอดแทรกอารมณ์ ความรู้สึกให้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ ๒.อ่านวรรณคดี วรรณกรรมหลากหลายเลือกอ่านหนังสือได้ตามความชอบ
จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑.ด้านความรู้ ๑.บอกความหมายและสำคัญของการอ่านได้ ๒.บอกกระบวนการของการอ่าน ๓.บอกองค์ประกอบของการอ่าน ๔.บอกคุณค่าและความมุ่งหมายของการอ่านได้ ๕.บอกหลักทั่วไปในการอ่านออกเสียง ๖.บอกหลักการอ่านแบบร้อยกรองและร้อยแก้ว
๒.ด้านทักษะกระบวนการ กระบวนการเรียนรู้ ความเข้าใจ  นำไปใช้วิเคราะห์ประเมินค่า ๒. กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณฝึกวิเคราะห์ วิจารย์ ๓. กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด ๔. กระบวนการกลุ่ม ๕. กระบวนการ
๓.ด้านคุณลักษณะ ๑. เป็นผู้มีความรู้ในการใช้ภาษา และใช้ภาษาได้ถูกต้อง ๒. เป็นผู้มีวิจารณญาณ และมีเหตุผล ๓. เป็นผู้ใช้ภาษาได้สละสลวย งดงาม และเลือกใช้ถ้อยคำที่ไพเราะ ในการสื่อสาร ๔. เป็นผู้ใช้ภาษาได้ถูกต้องตามหลักภาษา ๕. เป็นมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการใช้ภาษา และสร้างสรรค์ผลงานทางภาษา
สาระการเรียนรู้ ๑.ความหมายของการอ่าน ๒.ความสำคัญของการอ่าน ๓.กระบวนการของการอ่าน ๔.องค์ประกอบของการอ่าน ๕.คุณค่าของการอ่าน ๖.ความมุ่งหมายของการอ่าน ๗.ลักษณะของการอ่านที่ดี ๘.ประเภทของการอ่าน ๙.หลักทั่วไปของการอ่านออกเสียง ๑๐.หลักการอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรอง
ก่อนอื่นให้นักเรียนศึกษาขั้นตอนดังต่อไปนี้ค่ะ….. ๑. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒. ศึกษาแนวคิดสำคัญ สาระการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ๓. เรียนเนื้อหาทีละกรอบ  ๔. ทำแบบฝึกหัดหลังเรียนเนื้อหา ๕. ทำแบบทดสอบหลังเรียน จำนวน  ๑๐ ข้อ
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง สามัคคี คำชี้แจง :   ให้นักเรียนเตรียมกระดาษคำตอบ เพื่อทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ข้อใดเป็นปัจจัยสำคัญที่สุด ที่จะทำให้ผู้อ่านอ่านสาร  ต่าง ๆ เข้าใจ ก. สุขภาพกายดี    ข.  อายุสมองปกติ    ค.  มีความสนใจที่จะอ่าน    ง.  มีความพร้อมที่จะอ่าน ๒. ทักษะการอ่านในข้อที่สูงสุด ก. จำได้     ข. อ่านได้     ค. เข้าใจได้     ง. เปรียบเทียบได้
๓. กิจกรรมใดที่มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาทักษะการอ่าน ก. ทำงานด้านพิสูจน์อักษร    ข.  ทำงานเป็นบรรณารักษ์    ค.  ชอบอ่านหนังสือทุกประเภท    ง.  สอนวิชาภาษาไทยในระดับมัธยม ๔. การอ่านแบบใดที่ใช้วิจารณญาณระดับสูง ก. การอ่านให้เข้าใจ    ข.  การอ่านให้รู้เรื่อง    ค.  การอ่านโดยละเอียด    ง.  การอ่านด้วยหลักเหตุผล
๕. การอ่านหนังสือให้เกิดภาพพจน์จะต้องอาศัยข้อใดเป็นพื้นฐาน ก. ความรู้    ข.  ความเข้าใจ    ค.  จินตนาการ    ง.  ประสบการณ์ ๖. การอ่านป้ายประกาศของโรงเรียน จัดเป็นการอ่านแบบใด ก. อ่านเพื่อการศึกษา    ข.  อานเพื่อความรอบรู้    ค.  อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน    ง.  อ่านเพื่อหาคำตอบในสิ่งที่ต้องการ
๗. ข้อใดมิใช่สาเหตุที่ทำให้อ่านหนังสือไม่เข้าใจ ก. ไม่มีความตั้งใจ    ข.  ไม่มีพื้นความรู้เพียงพอ    ค.  ไม่ได้อ่านหนังสือบ่อย ๆ    ง.  มีปัญญาเกี่ยวกับสายตา ๘. ขั้นตอนใดของการอ่านที่ช่วยให้ผู้อ่านมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น ก. วางเป้าหมาย    ข.  สำรวจข้อมูล    ค.  ตั้งคำถามทบทวน    ง.  สังเกตส่วนประกอบ
๙. การตั้งคำถามทบทวนหลังการอ่าน  หมายถึงควรตั้งตามข้อใด ก. ใคร  ทำอะไร  ที่ไหน  เมื่อไร  ทำไม    ข.  ใคร  ทำอะไร  กับใคร  เมื่อไร  ที่ไหน    ค.  ใคร  ทำอะไร  ที่ไหน  กับใคร  ทำไม    ง.  ใคร  ทำอะไร  กับใคร  ที่ไหน  เมื่อไร ๑๐. การอ่านอย่างมีสมาธิมีผลดีอย่างไร ก. ทำให้อ่านอย่างมีจุดมุ่งหมาย  มิใช่        อ่านอย่างเคว้งคว้าง    ข.  ทำให้ความคิดซึมซาบเข้าสู่สมอง อย่างมีระบบ  และจำได้นาน    ค.  ทำให้ไม่ง่วงนอน  และเข้าใจเรื่องราว         ที่อ่านได้ดีกว่าที่เคยเป็น    ง. เพื่อจะได้บังคับสมอง และใช้ความตั้งใจ       ในการอ่านว่าควรอยู่ในระดับใด
ลำดับต่อไปให้นักเรียน ทำแบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงร้อยแก้วที่คุณครูแจกให้ค่ะ...
สาระสำคัญ การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว  เป็นการอ่านให้ผู้อื่นฟัง จึงต้องศึกษาเรื่องที่จะอ่านให้เข้าใจเสียก่อน เพื่อจะได้แบ่งประโยคของข้อความ รู้จักเน้นหรือย้ำในส่วนที่เห็นว่าสำคัญอ่านให้คล่อง  ชัดถ้อยชัดคำ  และสอดแทรกอารมณ์ความรู้สึกตามเนื้อเรื่อง  เพื่อให้ผู้ฟังได้รับรู้เนื้อหาสาระและอารมณ์ของเรื่องที่อ่าน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อ่านออกเสียงร้อยแก้ว  โดยสอดแทรกอารมณ์ให้เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง เนื้อหาสาระ ๑.   หลักการอ่านร้อยแก้ว วิธีการอ่านร้อยแก้วโดยใช้น้ำเสียงแสดงอารมณ์ความรู้สึกให้สอดคล้องกับเนื้อเรื่อง
หลักทั่วไปในการอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรอง สิ่งที่ผู้อ่านควรคำนึงถึงในการอ่านออกเสียงมีดังนี้ ๑. ความชัดเจน	        ๔. ความถูกต้อง      ๒. ความคล่องแคล่ว           ๕. การใช้น้ำเสียงได้ตามเนื้อเรื่อง      ๓. การเว้นจังหวะวรรคตอน หลักการอ่านแบบร้อยแก้ว ๑.พยายามให้เป็นเสียงพูดแบบธรรมชาติ 			๒. คำขึ้นต้นความให้ดังและให้ช้ากว่าปกติเล็กน้อย 	               ๓. พยายามหยุดหายใจที่จบวรรคหรือจบคำ 	               ๔. ต้องให้เป็นไปตามเนื้อเรื่อง
การอ่านออกเสียง จำแนกออกเป็น  ๒  ลักษณะ  คือ ๑. การอ่านออกเสียงตามปกติ คือ การออกเสียงตามปกติทั่วไป อ่านได้ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง เป็นต้นว่า การอ่านตีบท  การอ่านข่าว การอ่านประกาศ การอ่านสารคดี อ่านบทความ  หรือการอ่านข้อความประกอบภาพนิ่ง  บรรยาย ในภาพยนตร์ การอ่านลักษณะนี้มุ่งเพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจและลำดับเรื่องได้โดยตลอด อีกทั้งยังต้องการให้ผู้ฟังเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน  และมีความคิดคล้อยตาม ผู้อ่าน
ข้อปฏิบัติสำหรับผู้อ่านออกเสียงตามปกติ ๑.๑ ควรทำความเข้าใจกับเรื่องที่จะอ่านก่อนที่  จะอ่านจริง  จึงจะสามารถสอดใส่อารมณ์ หรือเน้นเสียงให้สัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง ๑.๒ ออกเสียงชัดเจน ดังพอประมาณ ๑.๓ แบ่งวรรคตอนให้ถูกต้อง ๑.๔ การเปล่งเสียงแต่ละคำขณะอ่านให้ถูกต้อง ตามอักขรวิธีของไทย  หรือภาษาอื่นที่ไทยนำ มาใช้  โดยหมั่นฝึกการอ่านคำให้ถูกต้องตาม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕
๒. หลักการอ่านทำนองเสนาะ การอ่านทำนองเสนาะ เป็นการอ่านออกเสียงอย่างหนึ่งที่นำมาใช้อ่านบทร้อยกรองโดยเฉพาะ เช่นในวรรณคดีไทยบางเรื่อง  เพื่อให้เกิดความไพเราะ น่าฟังแต่มิใช่เป็นการขับร้อง  หรือการร้องอย่างทำนองเพลงการอ่านทำนองเสนาะมุ่งที่จะให้ผู้ฟังหรือผู้อ่านเกิดความรู้สึกดื่มด่ำเสนาะหู ซาบซึ้ง มองเห็นความมีศิลปะในการใช้ถ้อยคำที่ดี  มีการส่งสัมผัสสระหรือสัมผัสอักษร  เวลาอ่านจะเกิดความไพเราะ  ทั้งเสียงและความหมายก่อให้เกิดจินตนาการและเกิดอารมณ์คล้อยตามบท ร้อยกรองนั้น ๆ อีกทั้งยังช่วยให้ผู้อ่านจดจำเนื้อความถ้อยคำที่อ่านได้ง่ายและเร็วขึ้นด้วย  ดังนั้น การอ่านทำนองเสนาะจึงมีระเบียบและหลักเกณฑ์ในการอ่านหลายประการดังนี้ 	๒.๑ ต้องรู้จักฉันทลักษณ์ของคำประพันธ์ไทยประเภทร้อยกรองทุกชนิด 	๒.๒ ต้องอ่านให้ถูกทำนองและหลักฉันทลักษณ์ของคำประพันธ์ แต่ละชนิด 	๒.๓ ควรมีน้ำเสียงดี 	๒.๔ สามารถออกเสียงถ้อยคำแต่ละคำได้อย่างถูกต้อง 	๒.๕ ต้องหมั่นฝึกฝนหัดอ่านอย่างสม่ำเสมอและเอาใจใส่ การฝึกอ่าน ออกเสียงให้มีประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องใช้เวลาฝึกนานพอสมควร  เพื่อให้เกิดทักษะ
วิธีฝึกการอ่านในใจ ให้มีประสิทธิภาพ ทำได้ดังนี้ อ่านข้อความง่าย ๆ ไม่มีคำศัพท์มาก ไม่ซับซ้อน  ยาวประมาณ ๓๐๐ คำ จับเวลาว่าใช้เวลาในการอ่านข้อความนั้นนานเท่าใด ตั้งคำถาม  ถามตนเองเกี่ยวกับเรื่องราว 	หรือข้อความที่อ่านนั้น ๔.    ตอบคำถามตามข้อ ๓ ได้มากน้อยเพียงใด ๕. อ่านข้อความนั้นซ้ำอีกครั้งหนึ่ง  พยายามทำเวลาในการอ่านให้น้อย ลงกว่าเดิม ๖. ตอบคำถามที่ตั้งไว้ในข้อ ๓ อีกครั้งว่า ตอบได้ดีกว่าครั้งแรก หรือไม่
แบบทดสอบหลังเรียน     (เรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรอง) คำชี้แจง : ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ                     โดยเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว ๑.  ข้อใดเป็นปัจจัยสำคัญที่สุด ที่จะทำให้ผู้อ่าน       อ่านสาร  ต่าง ๆ เข้าใจ ก. สุขภาพกายดี    ข.  อายุสมองปกติ    ค.  มีความสนใจที่จะอ่าน    ง.  มีความพร้อมที่จะอ่าน
๒. ทักษะการอ่านในข้อที่สูงสุด ก. จำได้     ข. อ่านได้     ค. เข้าใจได้     ง. เปรียบเทียบได้ ๓. กิจกรรมใดที่มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาทักษะการอ่าน ก. ทำงานด้านพิสูจน์อักษร    ข.  ทำงานเป็นบรรณารักษ์    ค.  ชอบอ่านหนังสือทุกประเภท    ง.  สอนวิชาภาษาไทยในระดับมัธยม
๔. การอ่านแบบใดที่ใช้วิจารณญาณระดับสูง ก. การอ่านให้เข้าใจ    ข.  การอ่านให้รู้เรื่อง    ค.  การอ่านโดยละเอียด    ง.  การอ่านด้วยหลักเหตุผล ๕. การอ่านหนังสือให้เกิดภาพพจน์จะต้องอาศัยข้อใดเป็นพื้นฐาน ก. ความรู้    ข.  ความเข้าใจ    ค.  จินตนาการ    ง.  ประสบการณ์
๖. การอ่านป้ายประกาศของโรงเรียน จัดเป็นการอ่านแบบใด ก. อ่านเพื่อการศึกษา    ข.  อานเพื่อความรอบรู้    ค.  อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน    ง.  อ่านเพื่อหาคำตอบในสิ่งที่ต้องการ
๗. ข้อใดมิใช่สาเหตุที่ทำให้อ่านหนังสือไม่เข้าใจ ก. ไม่มีความตั้งใจ    ข.  ไม่มีพื้นความรู้เพียงพอ    ค.  ไม่ได้อ่านหนังสือบ่อย ๆ    ง.  มีปัญญาเกี่ยวกับสายตา ๘. ขั้นตอนใดของการอ่านที่ช่วยให้ผู้อ่านมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น ก. วางเป้าหมาย    ข.  สำรวจข้อมูล    ค.  ตั้งคำถามทบทวน    ง.  สังเกตส่วนประกอบ
๙. การตั้งคำถามทบทวนหลังการอ่าน  หมายถึงควรตั้งตามข้อใด ก. ใคร  ทำอะไร  ที่ไหน  เมื่อไร  ทำไม    ข.  ใคร  ทำอะไร  กับใคร  เมื่อไร  ที่ไหน    ค.  ใคร  ทำอะไร  ที่ไหน  กับใคร  ทำไม    ง.  ใคร  ทำอะไร  กับใคร  ที่ไหน  เมื่อไร ๑๐. การอ่านอย่างมีสมาธิมีผลดีอย่างไร ก. ทำให้อ่านอย่างมีจุดมุ่งหมาย  มิใช่        อ่านอย่างเคว้งคว้าง    ข.  ทำให้ความคิดซึมซาบเข้าสู่สมอง อย่างมีระบบ  และจำได้นาน    ค.  ทำให้ไม่ง่วงนอน  และเข้าใจเรื่องราว         ที่อ่านได้ดีกว่าที่เคยเป็น    ง. เพื่อจะได้บังคับสมอง และใช้ความตั้งใจ       ในการอ่านว่าควรอยู่ในระดับใด
ลำดับต่อไปขอให้นักเรียนดูเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ได้จากเอกสารแบบเฉลยที่ครูแจกให้นะค่ะ...
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ง			๖.    ง  ง			๗.   ค ค			๘.   ค ง			๙.   ก ค			๑๐.  ข
ข้อดีและหลักการพิจารณานำนวัฒนกรรมมาใช้พัฒนาการเรียนรู้  การจะพิจารณานำนวัตภรรมมาใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้รายวิชา หรือกลุ่มสาระการเรียนรู้ใดๆ ควรยึกหลักสำคัญ ดังนี้ ตรงกับปัญหาหรือจุดพัฒนาของวิชานั้นเพียงใด มีความสอดคล้องกับธรรมชาติวิชาหรือไม่ สามารถนำไปใช้ในสถานการณ์จริงได้หรือไม่ มีหลักฐานน่าเชื่อถือ ว่าเคยใช้ได้ผลแล้วหรือไม่
ประโยชน์ของนวัฒกรรมทางการศึกษา นักเรียน เรียนรู้ได้เร็วขึ้น นักเรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม บรรยากาศการเรียน สนุกสนาน บทเรียนน่าสนใจ ลดเวลาในการสอน ประหยัดค่าใช้จ่าย
พบกันใหม่ในเรื่องต่อไปค่ะ....

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่าน
Thanit Lawyer
 
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
เล็ก เล็ก
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธ
khaowpun
 
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
เทพ ธรรมะ
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
Piyarerk Bunkoson
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
Namfon Wannapa
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 

La actualidad más candente (19)

ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่าน
 
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
 
NT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal TestNT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal Test
 
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้นเทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธ
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจการพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น1
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น1เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น1
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น1
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 

Similar a Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน

บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
Kanjana Pothinam
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
Waree Wera
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
กชนุช คำเวียง
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
Kaekea Bio
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
Vs'veity Sirvcn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
Vs'veity Sirvcn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
Piyatida Prayoonprom
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
tyehh
 
Research 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichaiResearch 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichai
little-pig
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 

Similar a Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน (20)

เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
1
11
1
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
การเขียนเรียงความ.pdf
การเขียนเรียงความ.pdfการเขียนเรียงความ.pdf
การเขียนเรียงความ.pdf
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
Tha203 5
Tha203 5Tha203 5
Tha203 5
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
Research 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichaiResearch 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichai
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 

Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน

  • 1. นวัตกรรมช่วยสอน บทสไลด์ (Power Point) ประกอบการเรียนการสอนแบบฝึกทักษะ การอ่านออกเสียง ร้อยแก้วและร้อยกรอง ระดับมัธยมศึกษาต้อนต้น โดย ครูปราณี ศาตะนิมิ กศน.ไทรน้อย ป.บัณฑิต รุ่นที่ 4
  • 2.
  • 3. ความหมายนวัตกรรม นวัตกรรม หมายถึงความคิด การปฏิบัติรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อนหรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ดียิ่งขึ้นเมื่อนำนวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การทำงานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพแลประสิทธิผลสูงกว่าเดิมทั้งยังช่วยประหยัดเวลาและแรงงานได้ด้วย
  • 4. ความหมาย e-learning ความหมาย e-learningเป็นคำใช้เรียกเทโนโลยีการศึกษาแบบใหม่ ที่ยังไม่มีชื่อภาษาไทยแน่ชัดและมีผู้นิยามความหมายหลายประการ
  • 5. ความหมาย e-learning ผศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง ให้คำนิยาม e-learning หรือ Electronic learningว่าหมายถึงกราเรียในรูปของสือมัลติมิเดียได้แก่ ข้อคาวมอิเลคทรอนิกส์ ภาพนิ่ง ภาพกราฟิก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติฯลฯ
  • 6. ความหมาย e-learning คุณธิดาทิตย์ จันคนา ที่ให้ความหมายของ e-learning หมายถึงการศึกษาที่เรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เนตโดยผู้เรียนรู้จะเรียนรู้ด้วยตัวเองการเรียนรู้จะเป็นไปตามปัจจัยภานใต้ทษฎีแห่งการเรียนรู้สองประการคือ
  • 7. ความหมาย e-learning เรียนตามความรู้บุคคลใช้ในการเรียนรู้ การเรียนจะกระทำผ่านสื่อบนเครือข่ายอินเตอร์เนตโดยผู้สอนปฎิจะนำเสนอข้อมูลความรู้ให้ผู้เรียน ได้ทำการศึกษาผ่านบริการ world wide web หรือเวปไซด์ โดยอาจให้มีปฎิสัมพันธ์(สนทนา โต้ตอบ ส่งข้าวสาร)ระหว่างกันจะมีการเรียนรู้สามรูปแบบคือ ผู้สอนกับผู้เรียนผู้เรียนกับผู้เรียนอีกคนหนึ่ง หรือผู้เรียนหนึ่งคนกับกลุ่มของผู้เรียนปฎิสัมพันธ์นี้สามารถกระทำผ่านเครื่องมือสองลักษณะคือ
  • 8. ปัจจุบันควาเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และความทันสมัย ด้านเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทำให้มีการผลิตวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ อำนวนความสะดวกสบาบมากขึ้นผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลาไม่มีข้อจำกัด นักเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดการเรียนรู้มากขึ้น ครูเป็นเพียงผู้จัดสภาพแวดล้อม คอยให้คำแนะนำ สนันสนุนช่วยเหลือ กระตุ้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตัวเอง ดังนั้น ครูผู้สอนจึงนำคอมพิวเตอร์มัลติมิเดีย หรือนำเสนอโดยโปรแกรม microsoft office (powerpoint) สรุปการเรียนรู้ยนทุกเรื่อง นักเรียนจะได้รับความรู้สิ่งใหมๆ มองเห็นภาพพจน์ตื่นเต้นเร้าใจ ได้รับความรู้ทันต่อเหตุการณ์โลก และช่วยพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้บรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 9. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(cai) สำรับการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(cai) เป็นการสอนรายบุคคลที่ได้รับการพัฒนาและนำหลักการจากบทเรียนโปรแกรมมาออกแบบ โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อเพราะคอมพิวเตอร์สามารถแก้ไขข้อบกพร่องของบทเรียนแบบโปรแกรมได้ เช่นความเร็วในการเสนอเนื้อหา การซ่อนคำตอบ การเสริมแรง การนำคอมพิวเตอร์มาใช่เป็นเครื่องมือในการสอนโดยอธิบายเนื่อหาและบททบทวนให้นักเรียนแทนครู หรือให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด ตามลำดับขันตอนอย่างเป็นระบบ หรือการออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยยึดหลักการออกแบบซึ่งมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเรียนจากบทเรียนแล้ว ก่อให้เกิดความคิดและการเรียนรู้ตามกระบวนการที่เหมาะสม และทฤษฎีการเรียนที่เกี่ยวข้องได้นำมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบบทเรียน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ด้วยขั้นตอนการสอนที่เป็นระบบการประยุกต์ใช้ทฤษฎีเรียนรู้ดังกล่าว ย่อมทำให้แน่ใจได้ว่าคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ได้ถูกสร้างขึ้นมาจะเป็นบทเรียนที่มีประสิทธิภาพ
  • 10. ในการออกแบบเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีที่สุดสามารถหลักและดัดแปลงมาจากทฤษฎีการเรียนและการสอน ๙ ขั้น ของกาเย่ (Gagne) ดังนี้ 1.เร้าความสนใจ 2.บอกวัตถุประสงค์(specify objectives) 3. ทบทวนความรู้เดิม(active prior knowledge) 4. การเสนอเนื้อหาใหม่(present newiformation) 5. ชี้แนวทางการเรียนรู้(guideleaming) 6. ควรตุ้นการตอบสนอง(eilielt responses) 7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ(provide feedbaek) 8. ทดสอบความรู้(assess perfomamee) 9. การนำความรู้ไปใช้(enhaningretentionamdtsamsfer)
  • 11. การอ่านและการฝึกทักษะการอ่าน แนวคิดสำคัญ การอ่านทักษะภาษาที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการศึกษาค้นคว้าหาความรู้และความบันเทิงใจให้กับตนเอง นับว่าการอ่านจะก่อประโยชน์ให้แก่มนุษย์โดยตรงในชีวิตประจำวันโดยเฉพราะนักเรียนนักศึกษาจำเป็นจะต้องใช้การอ่านเป็นประจำเพื่อศึกษาหาความรู้จากหนังสือและจากตาราเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น ผู้ที่มีความสามารถอ่านออกเขียนได้จึงมีชีวิตที่เปรียบเทียบและสมบูรณ์แบบในการติดต่อสื่อสารทั้งเรื่องส่วนตัวและเรื่องส่วนรวมอย่างได้ผลดีกว่าผู้ที่อ่านหนังสือไม่ออกและเขียนไม่ได้
  • 12. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ไข้ปัญหาและสร้างวิสัยทัศน์ ในการดำเนินชีวิตและวินัยรักการอ่าน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ๑.อ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรองโดยสอดแทรกอารมณ์ ความรู้สึกให้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ ๒.อ่านวรรณคดี วรรณกรรมหลากหลายเลือกอ่านหนังสือได้ตามความชอบ
  • 13. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑.ด้านความรู้ ๑.บอกความหมายและสำคัญของการอ่านได้ ๒.บอกกระบวนการของการอ่าน ๓.บอกองค์ประกอบของการอ่าน ๔.บอกคุณค่าและความมุ่งหมายของการอ่านได้ ๕.บอกหลักทั่วไปในการอ่านออกเสียง ๖.บอกหลักการอ่านแบบร้อยกรองและร้อยแก้ว
  • 14. ๒.ด้านทักษะกระบวนการ กระบวนการเรียนรู้ ความเข้าใจ นำไปใช้วิเคราะห์ประเมินค่า ๒. กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณฝึกวิเคราะห์ วิจารย์ ๓. กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด ๔. กระบวนการกลุ่ม ๕. กระบวนการ
  • 15. ๓.ด้านคุณลักษณะ ๑. เป็นผู้มีความรู้ในการใช้ภาษา และใช้ภาษาได้ถูกต้อง ๒. เป็นผู้มีวิจารณญาณ และมีเหตุผล ๓. เป็นผู้ใช้ภาษาได้สละสลวย งดงาม และเลือกใช้ถ้อยคำที่ไพเราะ ในการสื่อสาร ๔. เป็นผู้ใช้ภาษาได้ถูกต้องตามหลักภาษา ๕. เป็นมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการใช้ภาษา และสร้างสรรค์ผลงานทางภาษา
  • 16. สาระการเรียนรู้ ๑.ความหมายของการอ่าน ๒.ความสำคัญของการอ่าน ๓.กระบวนการของการอ่าน ๔.องค์ประกอบของการอ่าน ๕.คุณค่าของการอ่าน ๖.ความมุ่งหมายของการอ่าน ๗.ลักษณะของการอ่านที่ดี ๘.ประเภทของการอ่าน ๙.หลักทั่วไปของการอ่านออกเสียง ๑๐.หลักการอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรอง
  • 17. ก่อนอื่นให้นักเรียนศึกษาขั้นตอนดังต่อไปนี้ค่ะ….. ๑. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒. ศึกษาแนวคิดสำคัญ สาระการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ๓. เรียนเนื้อหาทีละกรอบ ๔. ทำแบบฝึกหัดหลังเรียนเนื้อหา ๕. ทำแบบทดสอบหลังเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ
  • 18. แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง สามัคคี คำชี้แจง : ให้นักเรียนเตรียมกระดาษคำตอบ เพื่อทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ข้อใดเป็นปัจจัยสำคัญที่สุด ที่จะทำให้ผู้อ่านอ่านสาร ต่าง ๆ เข้าใจ ก. สุขภาพกายดี ข. อายุสมองปกติ ค. มีความสนใจที่จะอ่าน ง. มีความพร้อมที่จะอ่าน ๒. ทักษะการอ่านในข้อที่สูงสุด ก. จำได้ ข. อ่านได้ ค. เข้าใจได้ ง. เปรียบเทียบได้
  • 19. ๓. กิจกรรมใดที่มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาทักษะการอ่าน ก. ทำงานด้านพิสูจน์อักษร ข. ทำงานเป็นบรรณารักษ์ ค. ชอบอ่านหนังสือทุกประเภท ง. สอนวิชาภาษาไทยในระดับมัธยม ๔. การอ่านแบบใดที่ใช้วิจารณญาณระดับสูง ก. การอ่านให้เข้าใจ ข. การอ่านให้รู้เรื่อง ค. การอ่านโดยละเอียด ง. การอ่านด้วยหลักเหตุผล
  • 20. ๕. การอ่านหนังสือให้เกิดภาพพจน์จะต้องอาศัยข้อใดเป็นพื้นฐาน ก. ความรู้ ข. ความเข้าใจ ค. จินตนาการ ง. ประสบการณ์ ๖. การอ่านป้ายประกาศของโรงเรียน จัดเป็นการอ่านแบบใด ก. อ่านเพื่อการศึกษา ข. อานเพื่อความรอบรู้ ค. อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน ง. อ่านเพื่อหาคำตอบในสิ่งที่ต้องการ
  • 21. ๗. ข้อใดมิใช่สาเหตุที่ทำให้อ่านหนังสือไม่เข้าใจ ก. ไม่มีความตั้งใจ ข. ไม่มีพื้นความรู้เพียงพอ ค. ไม่ได้อ่านหนังสือบ่อย ๆ ง. มีปัญญาเกี่ยวกับสายตา ๘. ขั้นตอนใดของการอ่านที่ช่วยให้ผู้อ่านมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น ก. วางเป้าหมาย ข. สำรวจข้อมูล ค. ตั้งคำถามทบทวน ง. สังเกตส่วนประกอบ
  • 22. ๙. การตั้งคำถามทบทวนหลังการอ่าน หมายถึงควรตั้งตามข้อใด ก. ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทำไม ข. ใคร ทำอะไร กับใคร เมื่อไร ที่ไหน ค. ใคร ทำอะไร ที่ไหน กับใคร ทำไม ง. ใคร ทำอะไร กับใคร ที่ไหน เมื่อไร ๑๐. การอ่านอย่างมีสมาธิมีผลดีอย่างไร ก. ทำให้อ่านอย่างมีจุดมุ่งหมาย มิใช่ อ่านอย่างเคว้งคว้าง ข. ทำให้ความคิดซึมซาบเข้าสู่สมอง อย่างมีระบบ และจำได้นาน ค. ทำให้ไม่ง่วงนอน และเข้าใจเรื่องราว ที่อ่านได้ดีกว่าที่เคยเป็น ง. เพื่อจะได้บังคับสมอง และใช้ความตั้งใจ ในการอ่านว่าควรอยู่ในระดับใด
  • 24. สาระสำคัญ การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว เป็นการอ่านให้ผู้อื่นฟัง จึงต้องศึกษาเรื่องที่จะอ่านให้เข้าใจเสียก่อน เพื่อจะได้แบ่งประโยคของข้อความ รู้จักเน้นหรือย้ำในส่วนที่เห็นว่าสำคัญอ่านให้คล่อง ชัดถ้อยชัดคำ และสอดแทรกอารมณ์ความรู้สึกตามเนื้อเรื่อง เพื่อให้ผู้ฟังได้รับรู้เนื้อหาสาระและอารมณ์ของเรื่องที่อ่าน
  • 25. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อ่านออกเสียงร้อยแก้ว โดยสอดแทรกอารมณ์ให้เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง เนื้อหาสาระ ๑. หลักการอ่านร้อยแก้ว วิธีการอ่านร้อยแก้วโดยใช้น้ำเสียงแสดงอารมณ์ความรู้สึกให้สอดคล้องกับเนื้อเรื่อง
  • 26. หลักทั่วไปในการอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรอง สิ่งที่ผู้อ่านควรคำนึงถึงในการอ่านออกเสียงมีดังนี้ ๑. ความชัดเจน ๔. ความถูกต้อง ๒. ความคล่องแคล่ว ๕. การใช้น้ำเสียงได้ตามเนื้อเรื่อง ๓. การเว้นจังหวะวรรคตอน หลักการอ่านแบบร้อยแก้ว ๑.พยายามให้เป็นเสียงพูดแบบธรรมชาติ ๒. คำขึ้นต้นความให้ดังและให้ช้ากว่าปกติเล็กน้อย ๓. พยายามหยุดหายใจที่จบวรรคหรือจบคำ ๔. ต้องให้เป็นไปตามเนื้อเรื่อง
  • 27. การอ่านออกเสียง จำแนกออกเป็น ๒ ลักษณะ คือ ๑. การอ่านออกเสียงตามปกติ คือ การออกเสียงตามปกติทั่วไป อ่านได้ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง เป็นต้นว่า การอ่านตีบท การอ่านข่าว การอ่านประกาศ การอ่านสารคดี อ่านบทความ หรือการอ่านข้อความประกอบภาพนิ่ง บรรยาย ในภาพยนตร์ การอ่านลักษณะนี้มุ่งเพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจและลำดับเรื่องได้โดยตลอด อีกทั้งยังต้องการให้ผู้ฟังเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และมีความคิดคล้อยตาม ผู้อ่าน
  • 28. ข้อปฏิบัติสำหรับผู้อ่านออกเสียงตามปกติ ๑.๑ ควรทำความเข้าใจกับเรื่องที่จะอ่านก่อนที่ จะอ่านจริง จึงจะสามารถสอดใส่อารมณ์ หรือเน้นเสียงให้สัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง ๑.๒ ออกเสียงชัดเจน ดังพอประมาณ ๑.๓ แบ่งวรรคตอนให้ถูกต้อง ๑.๔ การเปล่งเสียงแต่ละคำขณะอ่านให้ถูกต้อง ตามอักขรวิธีของไทย หรือภาษาอื่นที่ไทยนำ มาใช้ โดยหมั่นฝึกการอ่านคำให้ถูกต้องตาม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕
  • 29. ๒. หลักการอ่านทำนองเสนาะ การอ่านทำนองเสนาะ เป็นการอ่านออกเสียงอย่างหนึ่งที่นำมาใช้อ่านบทร้อยกรองโดยเฉพาะ เช่นในวรรณคดีไทยบางเรื่อง เพื่อให้เกิดความไพเราะ น่าฟังแต่มิใช่เป็นการขับร้อง หรือการร้องอย่างทำนองเพลงการอ่านทำนองเสนาะมุ่งที่จะให้ผู้ฟังหรือผู้อ่านเกิดความรู้สึกดื่มด่ำเสนาะหู ซาบซึ้ง มองเห็นความมีศิลปะในการใช้ถ้อยคำที่ดี มีการส่งสัมผัสสระหรือสัมผัสอักษร เวลาอ่านจะเกิดความไพเราะ ทั้งเสียงและความหมายก่อให้เกิดจินตนาการและเกิดอารมณ์คล้อยตามบท ร้อยกรองนั้น ๆ อีกทั้งยังช่วยให้ผู้อ่านจดจำเนื้อความถ้อยคำที่อ่านได้ง่ายและเร็วขึ้นด้วย ดังนั้น การอ่านทำนองเสนาะจึงมีระเบียบและหลักเกณฑ์ในการอ่านหลายประการดังนี้ ๒.๑ ต้องรู้จักฉันทลักษณ์ของคำประพันธ์ไทยประเภทร้อยกรองทุกชนิด ๒.๒ ต้องอ่านให้ถูกทำนองและหลักฉันทลักษณ์ของคำประพันธ์ แต่ละชนิด ๒.๓ ควรมีน้ำเสียงดี ๒.๔ สามารถออกเสียงถ้อยคำแต่ละคำได้อย่างถูกต้อง ๒.๕ ต้องหมั่นฝึกฝนหัดอ่านอย่างสม่ำเสมอและเอาใจใส่ การฝึกอ่าน ออกเสียงให้มีประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องใช้เวลาฝึกนานพอสมควร เพื่อให้เกิดทักษะ
  • 30. วิธีฝึกการอ่านในใจ ให้มีประสิทธิภาพ ทำได้ดังนี้ อ่านข้อความง่าย ๆ ไม่มีคำศัพท์มาก ไม่ซับซ้อน ยาวประมาณ ๓๐๐ คำ จับเวลาว่าใช้เวลาในการอ่านข้อความนั้นนานเท่าใด ตั้งคำถาม ถามตนเองเกี่ยวกับเรื่องราว หรือข้อความที่อ่านนั้น ๔. ตอบคำถามตามข้อ ๓ ได้มากน้อยเพียงใด ๕. อ่านข้อความนั้นซ้ำอีกครั้งหนึ่ง พยายามทำเวลาในการอ่านให้น้อย ลงกว่าเดิม ๖. ตอบคำถามที่ตั้งไว้ในข้อ ๓ อีกครั้งว่า ตอบได้ดีกว่าครั้งแรก หรือไม่
  • 31. แบบทดสอบหลังเรียน (เรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรอง) คำชี้แจง : ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ โดยเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว ๑. ข้อใดเป็นปัจจัยสำคัญที่สุด ที่จะทำให้ผู้อ่าน อ่านสาร ต่าง ๆ เข้าใจ ก. สุขภาพกายดี ข. อายุสมองปกติ ค. มีความสนใจที่จะอ่าน ง. มีความพร้อมที่จะอ่าน
  • 32. ๒. ทักษะการอ่านในข้อที่สูงสุด ก. จำได้ ข. อ่านได้ ค. เข้าใจได้ ง. เปรียบเทียบได้ ๓. กิจกรรมใดที่มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาทักษะการอ่าน ก. ทำงานด้านพิสูจน์อักษร ข. ทำงานเป็นบรรณารักษ์ ค. ชอบอ่านหนังสือทุกประเภท ง. สอนวิชาภาษาไทยในระดับมัธยม
  • 33. ๔. การอ่านแบบใดที่ใช้วิจารณญาณระดับสูง ก. การอ่านให้เข้าใจ ข. การอ่านให้รู้เรื่อง ค. การอ่านโดยละเอียด ง. การอ่านด้วยหลักเหตุผล ๕. การอ่านหนังสือให้เกิดภาพพจน์จะต้องอาศัยข้อใดเป็นพื้นฐาน ก. ความรู้ ข. ความเข้าใจ ค. จินตนาการ ง. ประสบการณ์
  • 34. ๖. การอ่านป้ายประกาศของโรงเรียน จัดเป็นการอ่านแบบใด ก. อ่านเพื่อการศึกษา ข. อานเพื่อความรอบรู้ ค. อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน ง. อ่านเพื่อหาคำตอบในสิ่งที่ต้องการ
  • 35. ๗. ข้อใดมิใช่สาเหตุที่ทำให้อ่านหนังสือไม่เข้าใจ ก. ไม่มีความตั้งใจ ข. ไม่มีพื้นความรู้เพียงพอ ค. ไม่ได้อ่านหนังสือบ่อย ๆ ง. มีปัญญาเกี่ยวกับสายตา ๘. ขั้นตอนใดของการอ่านที่ช่วยให้ผู้อ่านมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น ก. วางเป้าหมาย ข. สำรวจข้อมูล ค. ตั้งคำถามทบทวน ง. สังเกตส่วนประกอบ
  • 36. ๙. การตั้งคำถามทบทวนหลังการอ่าน หมายถึงควรตั้งตามข้อใด ก. ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทำไม ข. ใคร ทำอะไร กับใคร เมื่อไร ที่ไหน ค. ใคร ทำอะไร ที่ไหน กับใคร ทำไม ง. ใคร ทำอะไร กับใคร ที่ไหน เมื่อไร ๑๐. การอ่านอย่างมีสมาธิมีผลดีอย่างไร ก. ทำให้อ่านอย่างมีจุดมุ่งหมาย มิใช่ อ่านอย่างเคว้งคว้าง ข. ทำให้ความคิดซึมซาบเข้าสู่สมอง อย่างมีระบบ และจำได้นาน ค. ทำให้ไม่ง่วงนอน และเข้าใจเรื่องราว ที่อ่านได้ดีกว่าที่เคยเป็น ง. เพื่อจะได้บังคับสมอง และใช้ความตั้งใจ ในการอ่านว่าควรอยู่ในระดับใด
  • 38. เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ง ๖. ง ง ๗. ค ค ๘. ค ง ๙. ก ค ๑๐. ข
  • 39. ข้อดีและหลักการพิจารณานำนวัฒนกรรมมาใช้พัฒนาการเรียนรู้ การจะพิจารณานำนวัตภรรมมาใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้รายวิชา หรือกลุ่มสาระการเรียนรู้ใดๆ ควรยึกหลักสำคัญ ดังนี้ ตรงกับปัญหาหรือจุดพัฒนาของวิชานั้นเพียงใด มีความสอดคล้องกับธรรมชาติวิชาหรือไม่ สามารถนำไปใช้ในสถานการณ์จริงได้หรือไม่ มีหลักฐานน่าเชื่อถือ ว่าเคยใช้ได้ผลแล้วหรือไม่
  • 40. ประโยชน์ของนวัฒกรรมทางการศึกษา นักเรียน เรียนรู้ได้เร็วขึ้น นักเรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม บรรยากาศการเรียน สนุกสนาน บทเรียนน่าสนใจ ลดเวลาในการสอน ประหยัดค่าใช้จ่าย