SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
แรงลอยตัว   (Buoyant Force)
แรงลอยตัว มีค่าเท่ากับน้ำหนักของของเหลวที่ถูกแทนที่ด้วยวัตถุ    
rL         เป็นความหนาแน่นของของเหลว FB      เป็น แรงลอยตัว VL        เป็น ปริมาตรวัตถุส่วนที่จมในของเหลว g       เป็นค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลก mg       เป็นน้ำหนักของวัตถุในอากาศ  ]
ศึกษาหลักของอาร์คิมีดิส จาก  Flash Animation
ในกรณีวัตถุจม                       ขนาดแรงลอยตัว     =    ขนาดน้ำหนักของเหลวที่มีปริมาตรเท่าวัตถุ ในกรณีวัตถุลอย                    ขนาดแรงลอยตัว     =   ขนาดน้ำหนักของเหลวที่มีปริมาตรเท่าวัตถุส่วนที่จมในของเหลว              
แรงลอยตัว แรงลอยตัวคือแรงที่ช่วยพยุงวัตถุไม่ให้จมลงไปในของเหลว โดยมีขนาดขึ้นอยู่กับ ความหนาแน่นของของเหลวนั้น และปริมาตรของวัตถุส่วนที่จมลงไปในของเหลว
ตัวอย่าง .. หลักของอาร์คิมีดิส วัตถุลอยในของเหลว   ** เมื่อวัตถุอยู่ในสมดุลสถิต แรงลอยตัวมีทิศขึ้นสมดุลกับ แรงโน้มถ่วงที่กระทำต่อวัตถุมีทิศลง
หลักของอาร์คิมีดีส (Archimedes’s principle) “ วัตถุจมอยู่ในของเหลวทั้งก้อนหรือบางส่วน ของไหลจะออกแรงลอยตัวดันวัตถุนั้นด้วยแรงขนาดเท่ากับน้ำหนักของของไหลที่วัตถุแทนที่ ” - ถ้าเราว่ายน้ำในสระน้ำ จะมีบางส่วนของร่างกายจุ่มอยู่ในน้ำ จะมีแรงลอยตัว  (Buoyant force) พยุงตัวเราไว้ โดยที่ - ขนาดของแรงลอยตัวจะเท่ากับน้ำหนักของน้ำที่มีปริมาตรเท่ากับส่วนของร่างกายจุ่มอยู่ในน้ำ  Buoyant Force แรงลอยตัว มีทิศขึ้นกระทำต่อวัตถุที่จมอยู่ในของเหลววัตถุอยู่ในสมดุลแรงกระทำในทิศขึ้นจะสมดุลกับแรงเนื่องจากน้ำหนักวัตถุมีทิศลงแรงลอยตัวเป็นแรงลัพธ์เนื่องจากแรงทุกแรงที่ของเหลวกระทำโดยรอบต่อ วัตถุ
ความดันที่ด้านบนของลูกบาศก์ทำให้เกิดแรงกดลง  Ft  =  Pt A ความดันที่ด้านลงของลูกบาศก์ทำให้เกิดแรงทิศขึ้น  Fb  =  PbA   แรงลอยตัวมีขนาด   F B   = ( Pb  –  Pt )  A   วัตถุอยู่ในสมดุล  F B  =  Mg ( Pb  –  Pt )  A  = Mg
ตัวอย่าง จงหาสัดส่วนที่อยู่เหนือน้ำของน้ำแข็งรูปลูกบาศก์ที่ลอยอยู่ในแก้วน้ำ น้ำหนักของน้ำแข็ง  W=  ρ  iV i   g   แรงลอยตัว  F B  =  ρ  f V f g  ให้  Vi =  ปริมาตรน้ำแข็ง   , Vf =  ปริมาตรน้ำแข็งที่อยู่ใต้ผิวน้ำ   W= F B ρ  iV ig=  ρ  f Vf  g ปริมาตรของน้ำแข็งที่จมในของเหลว   Vf   = 0.917  kg  / m 3   สัดส่วนของน้ำแข็งที่อยู่เหนือน้ำ  =   1  V  1 0.917 0.083 kg / m 3
ตัวอย่าง ตัวอย่าง ผูกชิ้นส่วนของอะลูมิเนียมกับเพดาน ถ้าให้ชิ้นส่วน อะลูมิเนียมนี้จุ่มอยู่ในน้ำทั้งก้อนดังรูป มวลของ อะลูมิเนียมเท่ากับ  1.0 kg  และความหนาแน่น เท่ากับ  2.7x103 kg/m3  จงคำนวณหาแรงตึง เชือกก่อนและหลังจุ่มอะลูมิเนียมลงในน้ำ
ตัวอย่าง พิจารณารูป   (a )  พบว่า   T1= Mg= (1.0)(9.8)= 9.8 N  เมื่อจุ่มอะลูมิเนียมลงในน้ำ จะเกิดแรงลอยตัว  F B   ดังรูป   ( ข )   จะได้ว่า  T2+ F B = Mg T2= Mg -F B   T2= Mg   -p  fv fg ตอบ  ก่อนจุ่มลงในน้ำแรงตึงเชือก   = 9.8 N หลังจุ่มลงในน้ำแรงตึงเชือก   = 6.2 N
อาร์คิมีดีส  ( Archimedes)  นักปราชญ์ชาวกรีกเป็นผู้ค้นพบธรรมชาติของแรงลอยตัวและได้เสนอหลักการเกี่ยวกับการลอยและการจมของวัตถุซึ่งเรียกว่า  หลักของอาร์คิมีดีส  ( Archimedes' principle)  ดังนี้  วัตถุที่จมในของเหลวหมดทั้งก้อนหรือจมแต่เพียงบางส่วนจะถูกแรงลอยตัวกระทำและแรงลอยตัวจะเท่ากับน้ำหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุนั้นแทนที่
จบการนำเสนอ

More Related Content

What's hot

สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
พลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหลพลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหลSatit Originator
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)wiriya kosit
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตnetzad
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลวกิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลวkrupornpana55
 
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10wachiphoke
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 

What's hot (20)

ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
พลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหลพลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหล
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลวกิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
 
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
???.??????????? ?.1 ???? 2 ???????? 10
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 

Similar to งานนำเสนอ1

Similar to งานนำเสนอ1 (6)

ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 
fluid
fluidfluid
fluid
 
ของไหล ม.5
ของไหล ม.5ของไหล ม.5
ของไหล ม.5
 
Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555Interfacial phenomena 2555
Interfacial phenomena 2555
 
ใบความรู้ 3
ใบความรู้ 3ใบความรู้ 3
ใบความรู้ 3
 

งานนำเสนอ1