SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 17
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES
AND EDUCATIONAL MEDIA
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เสนอ
อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร
อ.ดร.จารุณี ซามาตย์
โดย
นางสาวรชยา ราศรี 55305030093-8
นางสาวลภัสรดา ภาราสิริสกุล 55305095-4
นางสาวจุฑารัตน์ ตั้งสัตยาวิรุฬห์ 553050279-4
นางสาวพิมพ์สุภา วุ่นเหลี่ยม 553050307-5
นักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากร
ภารกิจที่ 1
ภารกิจที่ 2
ภารกิจที่ 3
ภารกิจที่ 4
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
สรุปสาระสาคัญเกี่ยวกับ ความหมายของเทคโนโลยี และ
สื่อการศึกษา พร้อมทั้งเปรียบเทียบพัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการ
ศึกษาในช่วงยุคต่างๆ
ภารกิจที่ 1
เทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technology) เป็นกระบวนการที่มี
การบูรณาการอย่างซับซ้อน เกี่ยวกับบุคคลกรรมวิธี แนวคิด เครื่องมือ และ
องค์กรเพื่อนาไปใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา สร้างประยุกต์ใช้ประเมินผล และ
จัดการแก้ปัญหาต่างๆดังกล่าวที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของมนุษย์ในทุก
ลักษณะ
เปรียบเทียบพัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ
ยุคเริ่มแรกถึงค.ศ.1700 การศึกษามีการพัฒนาที่ช้ามาก การจัดการเรียนการสอน
อยู่ในกลุ่มคนเล็กๆ การสื่อสารยังไม่เจริญ
ยุคที่ 2 ปีค.ศ. 1700-1900 การเรียนการสอน ครูจะสอนโดยเรียกนักเรียนที่ละคน
หรือหลายคนมาที่โต๊ะ เพื่อให้นักเรียนอ่านออกเสียง ในยุคนี้มีปัญหาเรื่องประชากร
อ่านออกเสียงไม่ได้บวกกับเป็นช่วงการเปลี่ยนแปลงระบบบ้านเมืองจึงเกิดระบบแล
นคสาสเตอร์ขึ้นมาเพื่อจัดการศึกษาแบบมวลชน
ยุคที่ 3 ปีค.ศ. 1900-ปัจจุบัน ได้เริ่มมีผู้นาวิธีการทาวิทยาศาสตร์เข้ามาใช้การสอน
ห้องเรียนเป็นห้องปฎิบัติการทดลอง วิทยาศาสตร์เชิงพฤติกรรมที่แท้และทฤษฎีการ
เรียนรู้โดยเฉพาะได้เริ่มเข้ามาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีการสอนในช่วงนี้
ภารกิจที่ 2
จาแนกองค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการศึกษาว่ามี
ความสาคัญต่อการจัดการศึกษาในยุคปัจจุบันอย่างไร
ความสัมพันธ์ระหว่างขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ทฤษฎี
การปฏิบัติ
การออกแบบ
การพัฒนา
การใช้
การจัดการ
การประเมินผล
เป็นการเชื่อมโยงระหว่าง
หลักการและทฤษฎีพื้นฐาน
ต่างๆที่นาไปสร้างและ
พัฒนางานทางด้าน
เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
อย่างเป็นรูปธรรม
เป็นขอบข่ายของการสร้าง
ผลิตภัณฑ์ในรูปแบบของสื่อ
ต่างๆ โดยนาพื้นฐานที่ได้ออกมา
พัฒนาเป็นสื่อ ที่อาศัยคุณลักษะ
ของสื่อต่างๆ คือเทคโนโลยี
สิ่งพิมพ์เทคโนโลยีด้านโสต
ทัศน์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
และเทคโนโลยีบูรณาการ
เป็นขอบข่ายเกี่ยวกับรูปแบบ การ
นาสื่อที่พัฒนาแล้วไปใช้อย่างมี
ประสิทธิภาพซึ่งจะต้องคานึงถึง
ความง่ายในการใช้งานระหว่าง
ผู้เรียนและสื่อการเรียนการสอน
หรือระบบที่เกี่ยวข้อง
การพัฒนา
Development
การใช้
Utilization
การออกแบบ
Design
ทฤษฎีการปฏิบัติ
เป็นขอบข่ายหลักสาคัญของสาขาเทคโนโลยี
การศึกษาเพราะจะต้องเกี่ยวข้องกับหารบริหาร
จัดการแหล่งการเรียนรู้ที่จะต้องนาไปสนับสนุน
ในทุกๆขอบข่ายซึ่งจะต้องมีการจัดระเบียบและ
แนะนาประกอบด้วยด่านต่างๆ คือ การจัดการ
โครงการ ทรัพยากร ระบบขนส่งและสาระ
สนเทศ
ขอบข่ายด้านนี้จะเกี่ยวข้องกับการประเมิน
เพื่อปรับปรุง (Formative Evalution) ในการ
ประเมินนั้นจะมุ่งเน้นการประเมิน ทั้ง
กระบวนการและผลิตภัณฑ์เพื่อแสดงให้
เห็นถึงประสิทธิภาพ ตลอดทั้งคุณภาพของ
สื่อที่ออกแบบขึ้นมา
การประเมินผล
Evaluation
การจัดการ
Management
ต่อไป
เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์
เป็นแนวทางในการผลิตหรือขนส่งเนื้อหาไปยังผู้เรียน เช่น หนังสือและ
ภาพนิ่งต่างๆ เป็นต้น ในการพัฒนาสื่อประเภทนี้จะต้องพิจารณาถึงคุณลักษณะ
ของสื่อที่เป็นตัวอักษร ภาพนิ่งและมีความคงที่(stability) ที่ผู้อ่านสามารถพลิก
กลับไปอ่านซ้าได้ตลอดเวลา เป็นต้น หลักการทฤษฎีที่เกี่ยวกับการรับรู้ทางการ
มองเห็น การอ่าน และกระบวนกรประมวลสารสนเทศของมนุษย์ซึ่งหมายถึง
ทฤษฎีการเรียนรู้
ถอยกลับ
เทคโนโลยีโสตทัศน์
เป็นแนวทางในการผลิตหรือขนส่งเนื้อหาไปยังผู้เรียนโดยใช้เครื่องมือกลไก
อิเล็กทรอนิกส์ในการนาเสนอสารทั้งเสียงและภาพ เช่น วีดิทัศน์ โทรทัศน์
ภาพยนตร์ เป็นต้น ข้อดีของเทคโนโลยีด้านนี้คือ การได้เห็นความเป็นสภาพจริง
บริบทในการเรียนรู้ แต่ยังมุ่งเน้นครูเป็นหลักในการถ่ายทอด
ถอยกลับ
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เป็นแนวทางการผลิตหรือขนส่งเนื้อหาไปยังผู้เรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์
เป็นฐาน ที่มีการนาคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน
เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่งที่ผ่านมาอาศัยพื้นฐานทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรม
นิยมและการสอนแบบโปรแกรม แต่ในปัจจุบันนี้ได้เปลี่ยนมาใช้พื้นฐาน
ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพุทธิปัญญานิยม และ คอนสตรัคติวิสต์มากขึ้น
ถอยกลับ
เทคโนโลยีบูรณาการ
เป็นแนวทางการผลิตหรือขนส่งเนื้อหาไปยังผู้เรียนโดยใช้คุณลักษณะของสื่อหลายชนิด
ภายใต้การควบคุมโดยคอมพิวเตอร์
ถอยกลับ
ภารกิจที่ 3
Educational Technology และ Instructional Technology มีความ
เหมือน ความแตกต่างหรือสัมพันธ์กันอย่างไร
เทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technology) เป็นกระบวนการที่มีการบูรณาการ
อย่างซับซ้อน เกี่ยวกับบุคคลกรรมวิธี แนวคิด เครื่องมือ และองค์กรเพื่อนาไปใช้ในการ
วิเคราะห์ปัญหา สร้างประยุกต์ใช้ประเมินผล และจัดการแก้ปัญหาต่างๆดังกล่าวที่
เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของมนุษย์ในทุกลักษณะ
ส่วนเทคโนโลยีการสอน (InstructionalTechnology) คือทฤษฎี และการปฏิบัติ
เกี่ยวกับ การออกแบบ การพัฒนา การใช้การจัดการ และการประเมินของกระบวนการ
และแหล่งเรียนรู้ สาหรับการเรียนรู้ จะเห็นได้ว่าไม่มีขอบเขตของสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับ
การออกแบบหรือผลิตสื่อการสอนเท่านั้น แต่ยังมีขอบเขตที่กว้างขวางที่ครอบคลุมถึงการ
นาเทคนิค วิธีการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
ภารกิจที่ 4
การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้แก้ปัญหา
เกี่ยวกับการเรียนรู้ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรมได้อย่างไร
ใช้เทคโนโลยีการศึกษาผ่านนวัตกรรมการศึกษาซึ่งคือ การทาสิ่งใหม่ๆซึ่งอาจจะ
เป็นความคิดหรือการกระทา หรือสิ่งประดิษฐ์ (รูปธรรม) ขึ้น โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎีที่
ได้ผ่านการทดลองวิจัยจนเชื่อถือได้เข้ามาใช้ในการศึกษาเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพของ
การเรียนรู้และการเรียนการสอน
จบการนาเสนอ
ขอบคุณค่ะ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
Noom Theerayut
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
Thakhantha
 
สรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนสรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อน
AomJi Math-ed
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
Thakhantha
 

La actualidad más candente (18)

การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
STEM Education KMUTNB
STEM Education KMUTNBSTEM Education KMUTNB
STEM Education KMUTNB
 
241203 chapter03
241203 chapter03241203 chapter03
241203 chapter03
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
นวัตกรรม Chapter 2
นวัตกรรม Chapter 2นวัตกรรม Chapter 2
นวัตกรรม Chapter 2
 
เปิดประตูสู่ดวงจันทร์กับยานอะพอลโล11
เปิดประตูสู่ดวงจันทร์กับยานอะพอลโล11เปิดประตูสู่ดวงจันทร์กับยานอะพอลโล11
เปิดประตูสู่ดวงจันทร์กับยานอะพอลโล11
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
งานนวัตกรรม Chapter 9
งานนวัตกรรม Chapter 9งานนวัตกรรม Chapter 9
งานนวัตกรรม Chapter 9
 
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
 
สรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนสรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อน
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 (แก้)
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 

Similar a Introduction to technologies and educational media.

เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
Markker Promma
 
Past 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPast 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational media
Pimploy Sornchai
 
เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)
Uraiwan Chankan
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
T'Rak Daip
 
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะงานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
Oopip' Orranicha
 
บทที่ 6 sec 1
บทที่ 6 sec 1บทที่ 6 sec 1
บทที่ 6 sec 1
yaowalakMathEd
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
Tar Bt
 
Learning media by math ed kku sec 2
Learning media by math ed kku sec 2Learning media by math ed kku sec 2
Learning media by math ed kku sec 2
chatruedi
 
Learning media by math ed kku sec 2 new
Learning media by math ed kku sec 2 newLearning media by math ed kku sec 2 new
Learning media by math ed kku sec 2 new
chatruedi
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 

Similar a Introduction to technologies and educational media. (20)

เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
Past 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational mediaPast 1 Introduction to technologies and educational media
Past 1 Introduction to technologies and educational media
 
เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)เอกสารแปล (Week 1)
เอกสารแปล (Week 1)
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะงานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
 
241203 ed-math
241203 ed-math241203 ed-math
241203 ed-math
 
บทที่ 6 sec 1
บทที่ 6 sec 1บทที่ 6 sec 1
บทที่ 6 sec 1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2
การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2
การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่2
 
Lession5
Lession5Lession5
Lession5
 
Learning media by math ed kku sec 2
Learning media by math ed kku sec 2Learning media by math ed kku sec 2
Learning media by math ed kku sec 2
 
Learning media by math ed kku sec 2 new
Learning media by math ed kku sec 2 newLearning media by math ed kku sec 2 new
Learning media by math ed kku sec 2 new
 
cai
cai cai
cai
 
Innovation (1)
Innovation (1)Innovation (1)
Innovation (1)
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 

Introduction to technologies and educational media.