SlideShare a Scribd company logo
1 of 98
การสอนเล่นสังคีต บางชนิด และนาฎศิลป์
ดนตรีไทย ขิม
ประวัติของขิม
ขิม เป็นเครื่องดนตรีที่อยู่ในตระกูล Hammered Dulcimer มีต้นกำาเนิด
จาก เปอร์เซียหรือดินแดน ตะวันออกกลาง ได้แก่อีหร่านในปัจจุบัน มีการ
แพร่กระจายไปยังวัฒนธรรมต่าง ๆ ได้แก่ ยุโรปตะวันออก ตะวันออก
กลาง อินเดีย และปากีสถาน มีการเรียก ชื่อเครื่องดนตรีชิ้นนี้ว่า “ซานทูร์”
(Santur) และ “คิมบาลอม” (Cymbalom) เมื่อเครื่องดนตรีชนิดนี้ไปอยู่
ในวัฒนธรรมใดก็ตาม มักถูกปรับให้มีลักษณะเฉพาะของวัฒนธรรมนั้น ๆ
นอกจากนี้ยังเรียกชื่อแตกต่างกันอีกด้วย เช่น อินเดีย เรียกว่า santur,
santour, หรือ santoor จีนเรียกว่า “หยาง ฉิน”(Yangqin หรือ Yang
Ch’in)
การเข้ามาสู่ประเทศสยามของ “ขิม” ในชั้นแรกนั้นสันนิษฐานว่ามากับการ
แสดงงิ้ว ในการแสดงงิ้ว นี้ จะต้องมีดนตรีประกอบการแสดง เครื่องดนตรี
ที่ประกอบการแสดงจะต้องมีขิมและเครื่องดนตรีอื่น ๆ อยู่ด้วย ใน
ประวัติศาสตร์ปรากฏการแสดงงิ้วในประเทศสยามตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา
ดังปรากฏหลักฐานในบันทึกจดหมายเหตุ รายวันของบาทหลวง เดอ ชัวซี
(De Choisy) ที่เข้ามาด้วยเงื่อนไขทางการฑูตในสมัยสมเด็จพระ
นารายณ์มหาราช ระบุ ว่ามีการแสดงงิ้วจีน ความว่า “…งานฉลองปิดท้าย
รายการด้วยงิ้วหรือโศกนาฏกรรมจีนมีตัวแสดงมาจากมณฑลกวางตุ้ง
คณะหนึ่ง และจากเมืองจินเจาคณะหนึ่งคณะที่มาจากเมืองจินเจานั้นแสดง
ได้เยี่ยม และเป็นระเบียบแบบแผนมากกว่า …” (สันต์ ท. โกมลบุตร, ผู้
แปล, ๒๕๑๖: ๔๑๖-๔๑๗)
ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้มีพ่อค่าชาวจีนเข้ามาทำาการค้ากับ
ประเทศไทย ได้นำาขิมเข้ามาในประเทศ ไทยด้วย และในสมัย
รัตนโกสินทร์ตอนต้นนี้ได้มีปรากฏในหมายรับสั่งงานสมโภชพระแก้ว
มรกต ระบุมโหรีไทย แขก จีน เขมร ญวน ฝรั่ง เอาไว้ แต่มิได้ระบุว่ามี
เครื่องดนตรีอะไรบ้าง ในการแสดงงิ้ว และในวงมโหรีจีน ที่กล่าวไว้ ใน
หมายรับสั่งงานครั้งนั้น น่าจะมี ”หยางฉิน” (Yang-Chin) หรือ “ขิม” ร่วม
วงบรรเลงอยู่ด้วยแล้ว โดยเฉพาะในสมัย รัชกาลที่ ๕ แห่งกรุง
รัตนโกสินทร์ มีการแสดงงิ้วกันอย่างแพร่หลาย ซึ่งในสมัยรัชกาลที่ ๕ ตรง
กับสมัยพระเจ้า กวงสูของจีน เป็นสมัยที่งิ้วแต้จิ๋ว เจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว
สาเหตุที่ไทยเราเรียกเครื่องดนตรีชนิดนี้ว่า “ขิม” ได้มีผู้ให้คำาสันนิษฐานว่า
คำาว่า “ขิม” นี้อาจจะเพี้ยนมา จากคำาว่า “คิ้ม” เพราะคำาว่า “คิ้ม” เป็นชื่อ
เรียกเครื่องดนตรีกระกูลพิณ ที่มีลักษณะเป็นกล่องไม้ กลวงภายในและขึง
ด้วยสายใช้สำาหรับดีด หรือตีให้เกิดเสียง มีเสียงกังวาน คนไทยจึงเรียก
ตามและได้เพี้ยนจากเดิมกลายมาเป็น คำาว่า “ขิม” แต่ชาวจีนยังคงเรียก
เครื่องดนตรีที่ได้มาจากเปอร์เซีย ชนิดนี้ว่า “หยางฉิน” ใช้บรรเลงรวมวง
กับ “ฮูฉิน” (Hu- Chin) “ฮูอู้”(Hu-Hu) และเครื่องประกอบจังหวะอื่นๆ คือ
กลอง“ตั่วปัง”(ฉาบใหญ่)“ซิมปอ” (เครื่องดนตรีประเภทโลหะ มีรูปลักษณะ
กลมคล้ายผ่าง)“แท่ล่อ”(เครื่องดนตรีประเภทโลหะ)เป็นวงดนตรีประกอบ
การแสดงงิ้วโบราณของจีน
เมื่อไทยเรานำาขิมมาผสมวงบรรเลงในวงเครื่องสายไทย ได้ปรับปรุง
ดัดแปลงขิมเพื่อความเหมาะสมกับระบบ เสียงของเพลงไทย โดยเฉพาะได้
ดัดแปลงส่วนประกอบต่าง ๆ ของขิมเพื่อให้มีเสียงกลมกลืนและสอดคล้อง
กับเครื่อง ดนตรีไทยชนิดอื่น ๆ ดังนี้
๑) เปลี่ยนแปลงแนวการเทียบเสียงใหม่ ซึ่งไม่เหมือน “หยางฉิน” ๒) ไม้ตี
ขิมของไทย ใช้หนังหรือสักหลาดหุ้มที่ปลายไม้ตรงส่วนที่ตีลงบนสายขิม
เพื่อให้มีกระแสเสียงนุ่มนวล มากขึ้น และมีเสียงทุ้มกว่า “หยางฉิน”
๓)ใช้สายขิมที่ทำาด้วยลวดทองเหลืองที่ผ่านกรรมวิธีการทำาสายขิม โดยใช้
ความตึงของลวดทองเหลือง ขนาด ๒๐/๑,๐๐๐ รวมทั้งหมด ๔๒ สาย
สำาหรับใช้กับขิมไทยโดยเฉพาะ ทำาให้เกิดเสียงกังวานนุ่มนวล ไพเราะน่า
ฟัง มากขึ้นและเหมาะสมกับระบบเสียงเพลงไทยมากกว่า “หยางฉิน” ของ
จีน
นอกจากนี้ คณาจารย์ทางดุริยางคศิลป์ไทย ในกรมศิลปากรยังได้
วิวัฒนาการคิดประดิษฐ์ขิมให้มี ๓ ขนาด คือขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ
ขนาดใหญ่ ให้ชื่อว่า “ขิมเถา” ได้นำาออกเผยแพร่ในต่างประเทศมาแล้ว
นอกจากขิม ๓ ขนาดดังกล่าว คณาจารย์ทางดุริยางคศิลป์ไทย ยังคิด
ประดิษฐ์ “ขิมเหล็ก” โดยการประดิษฐ์ ตามแนวขิมสายทุกประการ โดยนำา
แผ่นเหล็กขนาดเล็กมาจัดวางในลักษณะเดียวกับตำาแหน่งที่ใช้ตีของสาย
ทองเหลือง ของขิมปกติ เสียงของขิมเหล็กมีความกังวาน ให้นำ้าเสียงแตก
ต่างไปจากขิมสาย มีการนำามาผสมวงบรรเลงกันอย่าง แพร่หลาย เช่นกัน
ขิมมีบทบาทในการผสมวงบรรเลงกับวงดนตรีไทย ประเภทวงเครื่องสาย
ไทยมานาน อย่างน้อยในสมัยกรุง รัตนโกสินทร์ตอนต้น แต่การผสมวง
บรรเลงยังไม่เป็นรูปแบบนัก ต่อมาวงเครื่องสายผสมขิม ที่เป็นแบบฉบับ ได้
เกิดขึ้นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ.๒๔๖๗ ตามที่อาจารย์มนตรี ตราโมท เล่าไว้ดังนี้
“การที่ข้าพเจ้าสามารถตีขิมได้และเป็นคนขิมประจำาวังหลวงก็เพราะ คุณ
หลวงไพเราะฯ เป็นผู้ริเริ่ม ให้ แรกเริ่มนั้น จีนผู้หนึ่งได้ให้ขิมจีนอย่างเก่า
ตัวหนึ่งรูปร่างเป็น ๔ เหลี่ยมด้านบนสอบเข้า ไม่ มีลายเขียนใด ๆ แก่คุณ
หลวงไพเราะฯ พร้อมทั้งแนะนำาวิธีตีให้ด้วยคุณหลวงก็เอาขิมตัวนั้นมาให้
ข้าพเจ้าและแนะนำาวิธีตีตามที่จีนผู้นั้นบอกให้อีกต่อหนึ่ง ข้าพเจ้าได้เอามา
ฝึกหัดตีด้วยความพอใจ บังเอิญปีนั้นได้ตามเสด็จทางเรือ ข้าพเจ้ามีเวลา
ฝึกตีไปในเรือทุกวัน กว่าจะเสด็จกลับก็ตีได้ คล่องแคล่วได้ร่วมบรรเลงกับ
วงเครื่องสายในงานนอกบ่อยๆ” (มนตรี ตราโมท อ้างใน อานันท์นาคคง,
๒๕๓๕: ๒๐)
การริเริ่มนำาขิมมาบรรเลงในวงดนตรีไทยอย่างเป็นแบบแผนนั้น ได้เกิดขึ้น
เมื่อกรมมหรสพต้องมีการผสมวง เฉพาะกิจเพื่อบรรเลงถวายแด่พระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๖ เมื่อทรงพระประชวร ตามคำาแนะนำาของ
แพทย์
“…ครั้น พ.ศ.๒๔๖๗ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ทรงพระประชวร
แพทย์ถวายคำา แนะนำา ให้ ทรงฟังดนตรีบรรเลงเบา ๆ หรือนิทานในเวลา
บ่ายทุก ๆ วัน กรมมหรสพก็ต้องจัดวง เครื่องสาย
อย่างเบาไปบรรเลงถวายข้างห้องพระบรรทมที่ วังพญาไท (ปัจจุบันเป็น
โรงพยาบาลพระมงกุฎ เกล้า) เครื่องดนตรีทุกอย่างต้องห้ามเสียง ให้ได้ยิน
เหมือนบรรเลงไกล ๆ และการบรรเลงนี้ให้มี ขิมบรรเลงด้วย จึงได้ซื้อขิม
จากร้านดุริยบรรณเป็นของหลวงในครั้งแรก วงที่บรรเลงนั้นมี หลวง
ไพเราะเสียงซอ สีซอด้วง, พระสรรเพลงสรวง สีซออู้, พระเพลงไพเราะ
เป่าขลุ่ย, นายจ่าง แสงดาวเด่น ดีดจะเข้, ข้าพเจ้า ตีขิม, หลวงวิมลวังเวง
กับพระประดับดุริยกิจตีโทนรำามะนาและ หลวงเสียงเสนาะกรรณ ตีฉิ่ง จน
หายประชวรเป็นปกติ นับว่าเป็นเครื่องสายวงหลวงของกรม มหรสพมีขิม
ผสมเป็นครั้งแรก”(เล่มเดียวกัน, ๒๕๕๒: ๒๐)
สรุปได้ว่า วงเครื่องสายผสมขิม วงแรก ที่มีนักดนตรีครบวง ถือเป็นแบบ
ฉบับการผสมวงดนตรีไทย และได้ บรรเลงเป็นครั้งแรก ณ วังพญาไท ใน
คราวนั้น มีนักดนตรีดังต่อไปนี้
๑. หลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยะชีวิน) ซอด้วง
๒. พระสรรเพลงสรวง (บัว กมลวาทิน) ซออู้
๓. นายจ่าง แสงดาวเด่น จะเข้
๔. นายมนตรี ตราโมท ขิม
๕. พระเพลงไพเราะ(โสม สุวาทิต) ขลุ่ย
๖. หลวงวิมลวังเวง (ช่วง โชติวาทิน) โทน
๗. พระประดับดุริยกิจ (แหยม วีณิน) รำามะนา
๘. หลวงเสียงเสนาะกรรณ (พัน มุกตวาภัย) ฉิ่ง
จากนั้นมา เครื่องสายผสมขิมจึงได้รับความนิยมแพร่หลาย และบรรเลงใน
งานมงคลโดยทั่วไปสืบมาจนทุก วันนี้ นับว่าการผสมวงดนตรีขึ้นเฉพาะกิจ
ครั้งนั้นเป็นการนำาขิมเข้าไปบรรเลงครั้งแรกด้วยบทเพลงไทย และวิธีการ
บรรเลงที่ปรับเข้าหาดนตรีไทย เพื่อเกื้อกูลส่งเสริมคุณภาพของเสียงให้เกิด
สุนทรียภาพ อนึ่ง สิ่งที่สำาคัญที่ไม่อาจละเลย ได้ คือ นักดนตรีที่กล่าวนาม
ไว้นั้น ล้วนเป็นเอตทักคะทางดนตรีของกรุงรัตนโกสินทร์ทั้งสิ้น เมื่อนัก
ดนตรีถึงพร้อม ด้วยทฤษฎีและปฏิบัติแล้ว หากจะนำาเครื่องดนตรีชนิดใหม่
มาผสมก็ไม่ทำาให้เกิดความขัดแย้งใด ๆ กลับส่งเสริม สุนทรียภาพให้แก่ผู้
ฟังได้เป็นอย่างดี
ข้อสังเกตอย่างหนึ่งของการการนำาเครื่องดนตรีต่างชาติมาผสม หรือ
บรรเลงร่วมกับวงดนตรีไทยนั้น ควรยึด ทำานองของบทเพลงและวิธีการ
แบบดนตรีไทยเป็นหลักเสียก่อน จากนั้นจะทำาการสร้างลีลาเฉพาะอื่น ๆ
อันเป็นการ ส่งเสริมสุนทรียะตามแบบไทยนั้น เป็นสิ่งที่ความตระหนักให้
มาก มิใช่ทำาให้ทำานอง หรือเอกลักษณ์ของดนตรีไทย เพี้ยนกลายไปตาม
เครื่องดนตรีต่างชาติเสียหมด
ชนิดของขิม
ขิม 7 หย่อง ชนิดกระเป๋าแข็ง
ชื่อเรียกส่วนต่างๆของขิมแบบ “กระเป๋า”
1 ตัวขิม 2 ขอบฝาขิม 3 ไม้ตีขิม
4 ฝาขิม 5 หมุดยึดสายขิม 6 สลักกุญแจบนฝาขิม
7 สลักกุญแจบนตัวขิม 8 กระบอกเทียบเสียง 9 ช่องเสียง
10 หูหิ้ว 11 หย่องหนุนสายขิม 12 สายขิม
13 หย่องบังคับเสียง
ขิมชนิดนี้มีลักษณะแตกต่างไปจากขิม 7 หย่องแบบขิมโป๊ยเซียนคือ
นอกจากมีหย่องสำาหรับ หนุนสายขิมแถวละ 7 หย่องเหมือนกับขิม
โป๊ยเซียนแล้ว ลักษณะอื่นๆจะแตกต่างออกไปมากที เดียว ประการแรกตัว
ขิมและฝาขิมทำาเป็นรูปคล้ายกับกระเป๋าเดินทางคือทำาด้วยวัสดุแข็งทนต่อ
การขีดข่วน ช่างดนตรีไทยได้ประดิษฐ์ให้เหมาะในการนำาติดตัวไปยัง
สถานที่ต่างๆโดยทำา “หูหิ้ว” ไว้เหมือนกับกระเป๋าเดินทาง หมุดยึดสายขิมก็
ทำาเป็น “หมุดเกลียว” ใช้กระบอกที่มีก้าน สำาหรับหมุนหมุดเพื่อเทียบเสียง
แทนการใช้ฆ้อนตอก ส่วนที่ด้านในของฝาขิมทำาเป็นแถบยางยืด ไว้
สำาหรับเสียบไม้ตีขิม ตรงขอบฝาขิมติดกุญแจไว้สำาหรับล็อคฝาขิมให้ติดกับ
ตัวขิมและมีลูก กุญแจสำาหรับไขเปิดออกได้ พื้นใต้ตัวขิมติดปุ่มยางเล็กๆไว้
4 มุมเพื่อกันครูดกับพื้น ลักษณะภาย นอกนั้นบางร้านทำาเป็นรูปสี่เหลี่ยม
คางหมูซึ่งมีขอบกลมมน บางร้านก็ทำาเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ทั้งนี้แล้วแต่
รสนิยมของช่างผู้ผลิตแต่ละร้าน ขิม 7 หย่องดังที่กล่าวมานี้นิยมเรียก
ว่า”ขิมประเป๋า” ซึ่งคิดและออกแบบประดิษฐ์ขึ้นโดยช่างดนตรีของไทย
ขิมไม้รุ่นใหม่
ขิมไม้รุ่นใหม่เป็นขิม 7 หย่องที่มีรูปลักษณะเหมือนขิมโป๊ยเซียนแต่ใช้หมุด
ยึดสายขิมเป็น แบบเกลียวและใช้กระบอกที่มีก้านสำาหรับหมุนเทียบเสียง
นั้นก็มีการผลิตออกมาจำาหน่ายเช่นกัน แต่ไม่นิยมวาดลวดลายลงบนฝาขิม
เหมือนขิมโป๊ยเซียน ฝาขิมและตัวขิมจะทำาเป็นลายไม้ลงเงา เรียบๆเท่านั้น
ขิมพวกนี้ จะมี “กระเป๋าอ่อน” ซึ่งทำาด้วยผ้าใบหรือพลาสติกที่เข้ารูปกับตัว
ขิมมา ห่อหุ้มไว้เพื่อป้องกันการเสียดสีกระทบกระแทกกับของแข็งจนเป็น
รอยขีดข่วน ที่กระเป๋าจะมี ซิปสำาหรับรูดปิดเปิดเพื่อให้ใส่ขิมทั้งตัวได้
สะดวกและมีช่องสำาหรับใช้เก็บอุปกรณ์ต่างๆของขิม เช่น สายขิม แปรง
สำาหรับปัดฝุ่น กระบอกเทียบเสียง และ เหล็กแหลมที่ใช้ในการเขี่ยแคะสาย
ขิม เวลาที่จะเปลี่ยนสายขิมเป็นต้น บางร้านยังให้กระเป๋าเล็กๆ สำาหรับใส่
ของกระจุกกระจิกมาด้วย นับว่าเป็นการคิดค้นปรับปรุงและพัฒนาทางด้าน
อุปกรณ์อำานวยความสะดวกในการบรรเลงขิมที่ ดีขึ้นกว่าแต่ก่อนมากที
เดียว
ขิมแผ่น (ขิมทอง ขิมเหล็ก ขิมอะลูมิเนียม)
ชื่อเรียกส่วนต่างๆของ “ขิมแผ่น”
1 – ตัวขิม 2 – ฝาขิม 3 – ไม้ตีขิม 4 – หูหิ้ว
5 – สลักกุญแจ 6 – กุญแจ 7 – ที่เหน็บไม้ 8 – แผ่นโลหะ
ยังมีขิมอีกประเภทหนึ่งที่มีลักษณะการเรียงเสียงคล้ายกับขิม 7 หย่อง แต่
ใช้แผ่นโลหะแทน สายขิมทำาให้เสียงแตกต่างออกไปจากขิมสายคือ เสียง
จะคล้ายกับเสียงฆ้องวงที่ใช้บรรเลงในวง ปี่พาทย์ ไม้ตีขิมก็ทำารูปร่าง
เปลี่ยนไปคือส่วนหัวทำาด้วยลูกยางกลมๆเพื่อให้เสียงดังนุ่มนวลยิ่งขึ้น แต่
เดิมคงจะเริ่มทำาด้วยโลหะเช่นเหล็กหรือทองเหลืองก่อน จึงเรียกกันว่า “ขิม
เหล็ก” หรือ “ขิม ทอง” (ย่อมาจากคำาว่าทองเหลือง) ต่อมาเมื่อมีการใช้
อะลูมิเนียมทำาก็เรียกกันว่า “ขิมอะลูมิเนียม” เมื่อเรียกกันหลายชื่อเช่นนี้จึง
เกิดชื่อรวมขึ้นคือ “ขิมแผ่น” ซึ่งหมายถึงขิมที่ใช้แผ่นโลหะแทนสาย ขิม
นั่นเอง ขิมแผ่นนี้มีรูปร่างโดยทั่วไปคล้ายกับขิมกระเป๋าคือมีวัสดุเปลือกแข็ง
หุ้มอยู่ทั้งที่ตัวขิม และฝาขิม มีกุญแจซึ่งผู้ใช้สามารถล็อคได้ มีที่สำาหรับ
เหน็บไม้ขิม แต่ไม่มีอุปกรณ์สำาหรับเทียบ เสียงขิม เพราะเสียงจะไม่เพื้ยน
เนื่องจากเป็นแผ่นโลหะที่กลึงจนได้นำ้าหนักเสียงมาพอดีแล้ว ข้อ แตกต่าง
จากขิมสายที่สำาคัญอีกประการหนึ่งคือแผ่นโลหะที่นำามาเรียงแทนสายขิม
นั้นจะมีแถวละ 8 แผ่นและเรียงเสมอกันทุกแถวไม่ได้เรียงสลับเหลื่อมกัน
เหมือนขิมสายเวลาบรรเลงก็บรรเลง เฉพาะทำานองหลัก จึงเรียกได้ว่าเป็น
“ฆ้องของวงเครื่องสาย”
ขิมแยกส่วน ขิมชนิดนี้เป็นขิม 7 หย่องชนิดอีกหนึ่ง แต่เป็นขิมลูกผสม
ระหว่างขิมกระเป๋าและขิมไม้
สามารถถอดแยกออกได้เป็น 3 ส่วนใหญ่ๆคือ ตัวขิม ฝาขิมด้านบน และ
ฝาขิมด้านล่าง ดังภาพ
ต่อไปนี้
ชื่อเรียกส่วนต่างๆของขิมแยกส่วน
1 ตัวขิม 2 ฝาขิมด้านล่าง 3 ฝาขิมด้านบน
4 หูหิ้ว 5 สลักกุญแจด้านบน 6 สลักกุญแจด้านล่าง
7 ขาตั้งสำาหรับวางตัวขิม ทำาด้วยแผ่นไม้ สามารถถอดเก็บพับได้
ในภาพจะเห็นว่าตัวขิมนั้นแยกเป็นอิสระออกจากฝาขิมและสามารถเก็บไว้
ภายในฝาขิมด้านบน และฝาขิมด้านล่างคล้ายๆกับตัวหอยซ่อนอยู่ใน
เปลือกหอย เวลาจะบรรเลงก็นำาตัวขิมออกมาวาง ไว้บนขาตั้งซึ่งผู้ผลิตทำา
มาให้เป็นพิเศษหรือจะวางซ้อนไว้บนผาขิมก็ได้ ขาตั้งนี้ถอดแยกออกได้
เป็น 3 ชิ้น ดังในภาพหมายเลข 7 ซึ่งสามารถถอดและประกอบเข้าเป็นขา
ตั้งสำาหรับรองรับตัวขิม ไว้ขาตั้งนี้จะเอนลาดลงมาหาตัวผู้บรรเลงทำาให้
สามารถตีขิมได้สะดวกยิ่งขึ้นและสามารถถอดพับหรือวางตามแบนไว้
ภายในฝาขิมได้เพราะใช้วิธีเกาะเกี่ยวกันด้วยบานพับโลหะเล็กๆที่สวมล็อค
เข้าหากันได้ ขิมแยกส่วนนี้แข็งแรงมากเนื่องจากกรอบตัวขิมทำาด้วยไม้
เนื้อแข็ง แม้ตัวจะมีขนาด เท่าขิม 7 หย่องโดยทั่วไป แต่มีนำ้าหนักมากกว่า
จนเห็นได้ชัดรูปร่างของตัวขิมก็มีลักษณะที่ “เข้า รูป” กับฝาขิม เพื่อให้
สามารถวางขิมไว้ภายในฝาได้อย่างสนิทแนบเนียน ภายในฝาขิมทั้งด้าน
บนและด้านล่างบุไว้ด้วยสักหลาดและมีขอบกันชนบุสักหลาดไว้สำาหรับ
กันตัวขิมกระแทกกับฝา ขิมด้วย นอกจากลักษณะพิเศษดังที่ได้กล่าวมา
แล้วส่วนอื่นๆก็มีลักษณะเหมือนขิมไม้ 7 หย่อง ทั่วไปแต่เสียงของขิมแบบนี้
จะ “แน่น” กว่าขิมไม้แบบอื่นๆ
ขิม 9 หย่อง
ขิม 9 หย่องนี้เป็น”วิวัฒนาการ”ในการผลิตขิมที่สำาคัญอีกก้าวหนึ่งของช่าง
ดนตรีไทยทีเดียว เพราะตัวขิมจะมีลักษณะเด่นๆที่เปลี่ยนไปจากขิม 7
หย่องอย่างเห็นได้ชัด ดังในภาพต่อไปนี้
ชื่อเรียกส่วนต่างๆของขิม 9 หย่อง
1 ตัวขิม 2 หย่องขิมมี 9 อัน 3 หมุดยึดสายเป็นเกลียว
4 ช่องเสียงอยู่ข้างใต้ตัวขิม 5 ไม้ขิม 6 หน้าขิมด้านบนเรียบ
ตัวขิมจะมีขนาดใหญ่กว่าขิมธรรมดาทั่วไป พิ้นผิวด้านบนมีลักษณะโค้ง
ลาดเล็กน้อยและไม่ได้ทำา “ช่องเสียง” ไว้เป็นรูกลมๆขิมแบบ 7 หย่องแต่ได้
ทำาเป็นร่องยาวไว้ที่ข้างใต้ตัวขิมแทน (ดูภาพ หมายเลข 4) ทำาให้ภาพตัว
ขิมด้านบนดูแปลกออกไปจากเดิม นอกจากการย้ายตำาแหน่งของ “รูช่อง
เสียง” แล้ว ขิม 9 หย่องยังได้เพิ่มจำานวนหย่องรองรับ รายขิมด้านบนขึ้น
ไปอีก 2 อันรวมเป็น 9 อัน ด้วยเหตุผลดังนี้คือ เนื่องจากขิมชนิดนี้ใช้สาย
ลวด เหล็กเสตนเลส-สตีล แทน สายทองเหลือง สายเสตนเลส-สตีลนั้นมี
ความเหนียวคงทนมากกว่า สายทองเหลืองหากต้องการให้เสียงขิมกังวาน
ดีจะต้องขึงให้มีความตึงมากๆแต่ถ้าช่วงยาวของ ขิมมีขนาดเท่าเดิมเช่น
เดียวกับขิม 7 หย่องแล้วจะไม่สามารถขึงให้ตึงมากๆได้เพราะระดับเสียง
จะสูงเกินไป คือจะสูงกว่าระดับเสียงเพียงออ ซึ่งนิยมใช้บรรเลงกันในวง
เครื่องสายของไทย ดัง นั้นผู้ผลิตขิมจึงได้เพิ่มความยาวของตัวขิมออกไป
อีกเพื่อให้สามารถเพิ่มความตึงของสายขิมได้ มากขึ้นโดยไม่ทำาให้ระดับ
เสียงสูงขึ้นแต่เมื่อเพิ่มช่วงยาวแล้วหากไม่เพิ่มทางช่วงกว้างให้สัมพันธ์ กัน
ตัวขิมจะแลดูเรียวยาวผิดส่วนไป จึงต้องเพิ่มทางส่วนกว้างออกไปอีกทำาให้
จำานวนหย่องเพิ่ม ขึ้นอีก 2 หย่อง กลายเป็นขิม 9 หย่องไป ถ้าหากจะใช้
จำานวน 7 หย่องเหมือนเดิมโดยขยายช่วง ห่างระหว่างหย่องแต่ละอันออก
ไปก็จะทำาให้ตำาแหน่งการตีสายขิมแต่ละตำาแหน่งกว้างมากเกิน ไปจะไม่
สะดวกสำาหรับผู้บรรเลงเพราะต้องเคลื่อนไหวมือเป็นระยะทางมากขึ้นทั้งใน
แนวนอน และในแนวดิ่ง การจัดวางระยะตำาแหน่งสายขิมในแนวดิ่งให้
เหมือนกับขิม 7 หย่องจึงสะดวก กว่าเพราะผู้บรรเลงจะเคลื่อนไหวมือยาว
มากกว่าเดิมเฉพาะทางด้านแนวนอนเท่านั้น นอกจากตำาแน่งของ “รูช่อง
เสียง” ที่เปลี่ยนไป จำานวน “หย่อง” ที่เพิ่มขึ้น และใช้สายลวด “เสตนเลส-
สตีล” แทนสายลวด “ทองเหลือง” แล้ว ส่วนประกอบอื่นๆของขิมแบบนี้ก็
คล้ายกับ ขิม 7 หย่องโดยทั่วไปแต่คุณภาพของเสียงนั้นดีกว่าขิมที่ใช้สาย
ลวดทองเหลืองและยังสามารถ บรรเลงในระดับเสียง “เพียงออ” ได้ด้วย
เสียงของขิม 9 หย่องนี้จะมีความคมชัดและมีความ นิ่มนวลมากกว่าขิม 7
หย่อง แต่ความดังจะด้อยกว่าเล็กน้อย ซึ่งสามารถแก้ไขได้โดยการเลือกไม้
ตีขิมที่เหมาะสม การที่มีตำาแหน่งการตีสายขิมเพิ่มขึ้นอีกแถวละ 2
ตำาแหน่งทั้ง 3 แถว ทำาให้ผู้ บรรเลงสามารถใช้เสียงได้มากขึ้น การ
บรรเลงขิมจึงมีความสะดวกและมีความไพเราะน่าฟังมาก ขึ้นด้วย นอกจาก
นั้นยังสามารถเทียบให้เข้ากับระดับเสียงของดนตรีสากลได้ด้วยเพราะเมื่อมี
สาย เพิ่มขึ้นก็สามารถจัดเสียงบางเสียงเป็น “ครึ่งเสียง” ไว้ในระหว่างเสียง
เต็ม ทำาให้สามารถ บรรเลงเพลงสากลได้ดีสิ่งที่แปลกออกไปอีกประการ
หนึ่งของขิม 9 หย่องคือ หย่องบังคับเสียง นั้นนอกจากสันด้านบนจะทำา
เป็นท่อนโลหะกลมมนสวยงามแล้ว ยังทำาเป็นเชิงยื่นเข้ามาทางด้าน ในตัว
ขิมด้วย “เชิง” หรือส่วนยื่นที่ว่านี้ใช้ประโยชน์ในการปรับเทียบเสียงขิมได้
หลากหลายยิ่ง ขึ้น โดยใช้เป็นที่สำาหรับสอดท่อนโลหะกลมๆหนุนเข้าไป
คั่นอยู่ใต้สายขิมทำาให้สามารถปรับเทียบ เสียงขิมได้มากขึ้นโดยไม่ต้อง
หมุนที่หมุดเทียบเสียง การเทียบเสียงขิมแบบนี้จะใช้ในกรณีที่ต้อง การเพิ่ม
ระดับเสียงของสายขิมตำาแหน่งใดตำาแหน่งหนึ่งให้มีระดับเสียงสูงขึ้นโดย
ไม่ทำาให้ระดับ เสียงของสายขิมด้านฝั่งตรงกันข้ามเปลี่ยนแปลงไป (เรื่องนี้
จะได้อธิบายโดยละเอียดต่อไปในบท ที่ว่าด้วยวิธีการปรับเทียบเสียงสาย
ขิม) สรุปรวมความแล้ว ขิม 9 หย่อง เป็นขิมที่ช่างดนตรีของไทยได้คิดค้น
และพัฒนาขึ้นจนมี ลักษณะแตกต่างออกไปจากขิมโป๊ยเซียนมาก ทั้งยังให้
คุณภาพเสียงที่ดีกว่า นับว่าเป็นวิวัฒนาการ ทางด้านการผลิตขิมที่สำาคัญ
ก้าวหนึ่งในวงการดนตรีของไทย
ขิม 11 หย่อง
ถัดจากขิม 9 หย่องก็มีการพัฒนาการผลิตขิมเป็นแบบชนิด 11 หย่องซึ่งมี
ลักษณะทั่วไปเหมือน กับขิมชนิด 9 หย่องทุกประการแต่มีจำานวนหย่อง
เพิ่มขึ้นเป็น 11 หย่อง ขิมแบบนี้สามารถปรับ เทียบสายขิมให้สามารถ
บรรเลงได้คล้ายกับขิม 2 ตัวในเวลาเดียวกัน คือทางด้านบนจะมีระบบ
เสียงเหมือนกับ ขิม 7 หย่อง 1 ตัว ส่วนด้านล่างก็จะมีระบบเสียงเหมือนกับ
ขิม 7 หย่องอีก 1 ตัว ทำาให้มีช่วงเสียงลึกมากกว่าขิม 9 หย่องและ 7
หย่อง แต่วิธีการบรรเลงก็ซับซ้อนตามไปด้วย ถ้าผู้บรรเลงขิมไม่มีความ
สามารถเพียงพอแล้วจะรู้สึกไม่สะดวกเวลาบรรเลง
ขิม 11 หย่อง (เสียงทุ้ม)
ยังมีขิม 11 หย่องอีกรุ่นหนึ่งที่ผู้ผลิตออกแบบมาให้มีเสียงทุ้มกังวานเป็น
พิเศษโดยได้เปลี่ยน ผังโครงสร้างภายในตัวขิมเสียใหม่และใช้สายลวดเส
ตนเลสสตีลที่มีขนาดใหญ่เป็นพิเศษทำาให้ เสียงขิมดังกังวานลึกมากขึ้นจน
น่าจะเรียกว่า “ขิมอู้” เช่นเดียวกับที่เรียก”ขลุ่ยอู้” ขิมแบบนี้มีวิธี การ
บรรเลงแตกต่างไปจากวิธีการบรรเลงขิมแบบอื่นโดยเน้นการบรรเลงใน
ลักษณะเช่นเดียวกับ “ฆ้องวงใหญ่” คือดำาเนินทำานองห่างๆไม่รวดเร็ว
เหมือนกับการบรรเลงขิมตามธรรมดาทั่วไป ตามที่ได้กล่าวมาทั้งหมดนี้เป็น
รูปแบบของขิมชนิดต่างๆที่ช่างดนตรีไทยได้ผลิตขึ้นโดยใช้ จินตนาการ
และความสามารถของตนเองเป็นวิวัฒนาการในด้านการผลิตเครื่องดนตรี
ของไทยที่ น่าสนใจยิ่งเพราะได้เพิ่ม “คุณภาพ” ของเสียงดนตรีให้น่าฟัง
มากยิ่งขึ้น แม้ว่าเราจะได้รับแบบ อย่างของขิมมาจากชาติอื่นก็จริงแต่เรา
ก็ได้นำามาประดิษฐ์คิดค้นจนเป็นแบบฉบับของไทยเราเอง ทั้งยังมีคุณภาพ
เสียงที่ดีขึ้น เมื่อเครื่องดนตรีมีคุณภาพเป็นมาตรฐานแล้ว ดนตรีไทยก็
ไพเราะน่า ฟังมากขึ้นเช่นเดียวกัน
ขิมโป๊ยเซียน
ขิมเริ่มมีบทบาทในวงดนตรีไทยจริงๆในสมัยรัชกาลที่ 6 โดย อาจารย์
มนตรี ตรโมท เป็นผู้ริเริ่มนำาขิมมาบรรเลงในวงดนตรีไทย หลังจากนั้นก็มี
ผู้นิยมบรรเลงขิมกันแพร่หลายทั่วไป ขิมจีนรุ่นแรกๆนั้นคนไทยนิยมเรียก
ว่า “ขิมโป๊ยเซียน” เป็นขิมที่สั่งเข้ามาจากประเทศจีนแผ่นดินใหญ่ ที่เรียก
ว่าขิมโป๊ยเซียนก็เพราะขิมรุ่นนั้นนิยมวาดภาพเซียนแปดองค์ของจีนไว้บน
ฝาขิมต่อมาเมื่อความต้องการซื้อขิมเพิ่มมากขึ้นประกอบกับประเทศจีน
ทำาการปิดประเทศช่างดนตรีของไทยจึงได้คิดประดิษฐ์ขิมขึ้นมาเองโดย
เปลี่ยนจากภาพเซียนแปดองค์เป็นภาพลายไทยอื่นๆเช่นลายเทพนม
เป็นต้น
1) หน้าขิม 2) ฝาขิม 3)ลิ้นชัก 4) ฆ้อนขิม 5) ไม้ขิม 6)หย่องขิม 7)หมุด
ยึดสาย
8) ช่องเสียง 9) สายขิม 10) หย่องบังคับเสียง 11) ห่วงลิ้นชัก 12) หมุด
เทียบเสียง
หมายเลข 1 “ตัวขิม”
ตัวขิมทำาด้วยไม้มีลักษณะกลวงอยู่ภายในส่วนที่เป็นกรอบโครงร่างทำาด้วย
ไม้เนื้อแข็งมีขอบ หยักโค้งกลมมนคล้ายปีกผีเสื้อ พื้นด้านล่างและด้านบน
ทำาด้วยแผ่นไม้บางๆเป็นไม้เนื้ออ่อนที่เนื้อ ไม้มีลักษณะ “พรุน” เพื่อให้เสียง
ก้องกังวานดีขึ้น ทั้ง 2 ฝั่งของตัวขิมเป็นบริเวณที่ตั้งของหมุด ยึดสายขิม
หย่องหนุนสายขิม หย่องบังคับเสียง และเป็นที่เก็บลิ้นชักสำาหรับใส่ฆ้อน
เทียบเสียง ขิมด้วย
หมายเลข 2 “ฝาขิม”
ฝาขิมทำาด้วยไม้มีขอบงุ้มลงมาโดยรอบ มีรูปร่างเข้ารูปกับตัวขิมเพื่อให้แล
ดูสวยงามเวลาที่ ปิดฝาขิม บางร้านนิยมทำา “แถบสำาหรับเสียบไม้ขิม” ติด
ไว้ทางด้านในฝาขิมเพื่อใช้สำาหรับเหน็บ ไม้ขิม ขิมโป๊ยเซียนหรือขิม 7
หย่องรุ่นเก่าๆนั้น มักจะนิยมวาดลวดลายสวยงามไว้บนฝาขิมด้าน นอก
เช่น รูปเซียนแปดองค์ มังกรคู่ หรือ ลายเทพนม เป็นต้นฯ ส่วนขิม 7 หย่อง
รุ่นปัจจุบันไม่นิยม วาดภาพหรือลวดลายไว้บนฝาขิมแต่นิยมทำาเป็นลายไม้
ลงเงาเรียบๆหรือทำาด้วยวัสดุแข็งเช่นเดียว กับที่ใช้ทำากระเป๋าเดินทาง ฝา
ขิมนั้นนอกจากจะมีไว้สำาหรับปกปิดตัวขิมด้านบนแล้วยังใช้ประโยชน์ใน
การทำาเป็น “กล่องเสียง” เพื่อขยายเสียงของขิมให้ดังก้องกังวานมากยิ่งขึ้น
โดยใช้วางรองรับตัวขิมไว้ด้าน ล่างทำาให้ตัวขิมสูงขึ้นและมีสภาพ “กลวง”
อยู่ภายใน นอกจากนั้นฝาขิมยังหนุนให้ตัวขิมมีระดับ สูงขึ้นเวลานั่ง
บรรเลงจะถนัดกว่าเพราะมือของผู้บรรเลงไม่ตำ่าลงไปจนชนกับหัวเข่า
หมายเลข 3 “ลิ้นชัก”
ขิมรุ่นเก่าเช่นขิมโป๊ยเซียนจะมีลิ้นชักไม้เล็กๆอยู่ตรงกลางตัวขิมด้านที่ผู้
บรรเลงนั่งตี ลิ้นชักนี้ มีไว้สำาหรับเก็บ “ฆ้อนเทียบเสียงขิม” ซึ่งทำาด้วยทอง
เหลือง ตรงปลาย ลิ้นชักด้านนอกมี หมุด หรือ ห่วงโลหะเล็กๆ ติดไว้เพื่อให้
สามารถใช้มือดึงลิ้นชักออกมาจากตัวขิมได้สะดวกขึ้น นอกจาก ใช้เก็บ
ฆ้อนสำาหรับเทียบเสียงขิมแล้ว ยังใช้ลิ้นชักนี้หนุนรองคั่นระหว่าง ตัวขิม
และ ฝาขิม เพื่อ เพิ่มระดับความสูงของตัวขิมขึ้นไปอีกทั้งยังช่วยให้เสียง
ขิมโปร่งกังวานดีขึ้นด้วย แต่ปัจจุบันไม่ นิยมทำาลิ้นชักแบบนี้แล้วเพราะมัก
จะเกิดปัญหาเนื่องจากฆ้อนทองเหลืองพลิกตัวขัดเหลี่ยมอยู่ข้าง ในลิ้นชัก
ทำาให้ไม่สามารถจะดึงลิ้นชักออกมาได้ ขิมรุ่นใหม่ๆจึงนิยมทำาที่เก็บฆ้อน
เทียบเสียงไว้ที่ ตำาแหน่งอื่นภายนอกตัวขิม
หมายเลข 4 “ฆ้อนเทียบเสียง”
ฆ้อนเทียบเสียงขิมมักทำาด้วยทองเหลือง ตรงด้ามสำาหรับจับคว้านเป็นช่อง
สี่เหลี่ยมลึกเข้าไป เล็กน้อยขนาดพอดีที่จะใช้สวมลงไปบนหัวหมุดยึดสาย
ขิมได้ เวลาที่ต้องการเทียบเสียงก็ใช้ด้าม ฆ้อนสวมลงไปบนหัวหมุดยึดสาย
ขิมที่อยู่ทางด้านขวามือของผู้บรรเลงขิมแล้วบิดหมุนไปมาเพื่อ ปรับความ
ตึงของสายขิมตามที่ต้องการ ที่ใช้ทองเหลืองทำาฆ้อนก็เพราะจะได้มีนำ้า
หนักพอที่จะ ตอกยำ้าหมุดให้แน่นติดกับเนื้อไม้ได้ดีนั่นเอง ขิมรุ่นเก่านั้นใช้
หมุดยึดสายขิมแบบที่ตอกยำ้าได้ เวลา ที่หมุดหลวมก็จะใช้ฆ้อนนี้ตอกยำ้า
หมุดให้แน่น สายขิมจะได้ไม่คลายตัวง่าย
1 — หัวฆ้อนเทียบเสียง 4 — หมุดสำาหรับเทียบเสียง
2 — ก้านฆ้อนเทียบเสียง 5 — ปลายหมุดที่ฝังในเนื้อไม้ขิม
3 — ช่องที่ด้ามฆ้อน 6 — สายขิม
หมายเลข 5 “ไม้ตีขิม”
ไม้ตีขิมของจีนนั้นทำาด้วยไม้ไผ่เหลาให้เรียวแบนจากด้ามจนถึงปลาย ตรง
ปลายไม้ทำาเป็น สันแข็งไม่นิยมหุ้มวัสดุใดๆไว้ที่ส่วนปลายของไม้ขิม แต่ถ้า
เป็นไม้ขิมของไทยจะนิยมบุสักหลาด หรือหนังไว้ตรงปลายไม้เพื่อให้เสียง
นุ่มนวลขึ้น หากต้องการจะให้ไม้ขิมมีลักษณะโค้งงอให้ลน ตรงบริเวณที่
ต้องการงอด้วยความร้อนจากเปลวไฟพร้อมกับใช้มือดัดให้โค้งทีละน้อย
เมื่อพอใจ แล้วให้ปล่อยทิ้งไว้อย่างนั้นสักพัก เมื่อไม้ขิมเย็นลงจะโค้งงอดัง
ที่ต้องการ ไม้ตีขิมนี้จะใช้เป็น อุปกรณ์ในการเทียบเสียงขิมควบคู่กับฆ้อนท
องเหลืองกล่าวคือเวลาเทียบเสียงผู้เทียบจะใช้มือ ขวาจับฆ้อนเทียบเสียง
สวมลงไปบนหมุดยึดสายขิมเพื่อหมุนปรับความตึงของสายขิม ในเวลา
เดียวกันก็จะใช้มือซ้ายจับด้ามไม้ขิมเขี่ยหรือกรีดสายขิมเพื่อฟังเสียงไป
ด้วย ไม้ขิมนั้นมีส่วน สำาคัญต่อเสียงขิมเป็นอย่างยิ่งเพราะเสียงขิม จะดัง
หรือเบา จะแหลมหรือเสียงทุ้ม ล้วนอยู่ที่ไม้ ขิมเป็นส่วนใหญ่ การเลือกใช้
ไม้ขิมให้เหมาะกับเพลงที่บรรเลงจึงเป็นเรื่องสำาคัญที่ผู้บรรเลงต้อง คำานึง
ถึงเช่นกัน
หมายเลข 6 “หย่อง”
หย่องขิมมี 2 ชนิดคือ “หย่องหนุนสายขิม” และ “หย่องบังคับเสียงขิม”
หย่องหนุนสายขิม นั้นมี 2 ชิ้น แต่ละชิ้นมีลักษณะยาวแบนเป็นสันหนา
ส่วนล่างนิยมฉลุเป็นลวดลายโปร่ง ส่วนบน มีลักษณะคล้ายกับ “ใบเสมา” มี
7 อันด้วยกัน ทำาด้วยวัสดุแข็งเช่น กระดูกสัตว์หรืองาเพื่อให้ สามารถทน
แรงกดจากสายขิมจำานวนมากได้ ถ้าหากไม่ใช้ กระดูกสัตว์ หรืองาก็ใช้ไม้
เนื้อแข็ง หรือพลาสติกแทนได้แต่ต้องฝังแผ่นโลหะ เช่นทองเหลืองหรือ
ลวดเหล็กไว้บนสันด้านบน เพื่อ ให้แข็งพอที่จะรับแรงกดจากสายขิมได้
เป็นเวลานานๆ ขิมตัวหนึ่งจะใช้หย่องหนุนสายขิมจำานวน 2 แถว แถวทาง
ด้านซ้ายมือของผู้บรรเลงทำาให้เกิดเสียงที่สามารถบรรเลงได้ทั้ง 2 ฝั่งของ
ตัว หย่อง ส่วนแถวทางด้านขวามือของผู้บรรเลงทำาให้เกิดเสียงที่สามารถ
บรรเลงได้เฉพาะเพียง “ฝั่งซ้าย” ของหย่องเท่านั้น
ตรงส่วนที่ถัดจากแนว
ที่ตั้งของหย่องที่มีรูปร่างคล้ายกับใบเสมาลงมามักจะนิยมฉลุเป็นลาย โปร่ง
เพื่อให้แลดูสวยงาม ถ้าเป็นขิมโป๊ยเซียนก็จะฉลุเป็นลายระเบียงแบบอาคาร
จีน บางทีก็เป็นลายดอกไม้ ทั้งนี้สุดแท้แต่ช่างผู้ผลิตขิมจะเห็นสวยงาม
หย่องหนุนสายขิมทั้ง 2 อันนี้ทำาหน้าที่ถ่ายทอดแรงสะเทือนจาก สายขิม
ลงสู่พื้นไม้ด้านบนของตัวขิม ทำาให้เกิดเสียงก้องกังวาน หย่อง จึงต้องทำา
ด้วยไม้เนื้อแข็งที่ไม่มี “ตาไม้” หรือเนื้อไม้ที่จะบิดเบี้ยวได้โดยง่าย นัก
ดนตรีไทยบาง คนเรียกหย่องว่า “นม” คือเรียกตามแบบ “นมจะเข้” เพราะ
เห็นว่าใบเสมามีลักษณะหยักขึ้นลง เป็นแนวยาวเช่นเดียวกับนมจะเข้ โดย
ความจริงแล้ว นมจะเข้ไม่ได้รองรับติดอยู่กับสายของจะเข้ คือไม่ได้ทำา
หน้าที่หนุนสายจะเข้ แต่ทำาหน้าที่รองรับการกดของนิ้วมือขณะที่นักดนตรี
ดีดจะเข้ จึงไม่ได้เรียกว่าหย่อง การที่เราเรียกว่า “นมจะเข้” นั้น เพราะเดิม
จะเข้ทำาเป็นรูปตัวจระเข้ซึ่งเป็น สัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง เราจึงเรียกชิ้นไม้
เล็กๆที่เรียงรายอยู่บนตัวจะเข้ว่า “นม” ส่วนหย่อง ของจะเข้นั้นเป็นแผ่นไม้
แบนหนาด้านบนเจาะเป็นช่องในลักษณะของ “ซุ้มประตู” ตั้งอยู่ตรงด้าน
ซ้ายมือของผู้บรรเลงก่อนที่จะถึง “รางไหม” (ร่องสำาหรับสอดสายจะเข้ลง
ไปในรูที่ก้านลูกบิด) ทำาหน้าที่รองรับสายทั้ง 3 สายของจะเข้ไว้ก่อนที่จะ
ไปถึงก้านลูกบิดของจะเข้ หย่องของ “หยางฉิน” (ขิมจีน) ในปัจจุบัน บาง
แบบทำาหย่องแยกออกไปตัวๆอย่างอิสระคือ ไม่ได้เป็นชิ้นเดียวกันแต่ทำา
เป็นลักษณะคล้ายกับตัวหมากรุกมีฐานกลม ด้านบนทำาเป็นสันแข็งไว้
รองรับสายขิมเหมือนขิมทั่วไป การที่ทำาหย่องแยกเป็นอิสระจากกันนี้มีข้อดี
ในการปรับเทียบ เสียงคือ ทำาให้สะดวกในการจัดเสียงของสายขิมแต่ละ
เส้นได้อย่างอิสระแต่ก็มีข้อเสียคือแนวที่ ตั้งของหย่องอาจไม่เรียงกันเป็น
แถวอย่างสวยงามนักและไม่เหมาะสำาหรับผู้ที่เทียบเสียงเองไม่ เป็นเพราะ
ต้องเลื่อนจัดหย่องประเภทนี้อยู่บ่อยครั้ง
หมายเลข 8 “ช่องเสียง”
ช่องเสียงนี้มี 2 ช่องด้วยกัน นิยมคว้านเป็นรูกลมไว้บนพื้นไม้ด้านบนของ
ตัวขิม รูนี้มีไว้เพื่อ ช่วยให้เสียงขิมดังกังวานดีขึ้นทั้งนี้เพราะภายในตัวขิม
กลวงหากไม่เจาะช่องไว้เสียงจะอับเกิน ไปไม่น่าฟัง เมื่อเจาะเป็นช่องแล้ว
ช่างขิมจะทำาแผ่นวงกลมที่ฉลุเป็นลวดลายปิดทับรูช่องเสียงไว้ ทั้ง 2 รูเพื่อ
ให้ดูสวยงามขึ้น วัสดุที่ใช้ทำาแผ่นประดับนี้เดิมนิยมทำาด้วย งา หรือ กระดูก
สัตว์ แต่ ในปัจจุบันเนื่องจาก งา หายาก จึงเปลี่ยนไปใช้พลาสติกแทน แต่
บางร้านก็ใช้วัสดุจำาพวกโลหะ มาฉลุเป็นลวดลายก็มี แผ่นวงกลมที่นำามา
ปิดช่องเสียงนี้ไม่มีผลต่อเสียงขิมเท่าใดนัก เป็นการตก แต่งเพื่อให้แลดู
สวยงามขึ้นเท่านั้นเอง บางครั้งถ้าแผ่นวงกลมนี้ติดไม่สนิทกับเนื้อไม้จะ
ทำาให้มี เสียง “ซ่า” เวลาตีขิม ให้ลองกดแผ่นวงกลมนี้ไว้ด้วยด้ามไม้ขิม
ข้างหนึ่งในขณะที่อีกมือลองใช้ ไม้ตีสายขิมดู เสียงซ่าจะหายไป แต่ถ้า
เสียงซ่ายังไม่หายไปก็อาจจะเกิดจากสาเหตุอื่น
หมายเลข 9 “สายขิม”
สายขิมนั้นส่วนใหญ่ทำาด้วยสายทองเหลืองเนื่องจากมีเสียงกังวานดีและมี
สีสันสวยงาม เสียง ขิม 1 เสียง จะเกิดจากสายทองเหลือง 3 เส้น ซึ่งขึง
วางพาดอยู่บนตัวขิมและหย่องขิมดังรูปต่อ ไปนี้
1 – หมุดขิมฝั่งซ้าย 2 – หย่องพักสาย 3 – หย่องหนุนสาย 4 – สายขิม
5 – ตัวขิม 6 – ฝาขิม 7 – ลิ้นชักเก็บฆ้อน 8 – ช่องเก็บลิ้นชัก
9 – สันหย่องหนุนสาย (ใบเสมา) 10 – ฐานหย่องหนุนสาย (ฉลุเป็นร่อง)
สายทั้ง 3 เส้นนี้จะขึงอยู่ระหว่างหมุดยึดสายขิมทางฝั่งซ้าย และ หมุดยึด
สายทางฝั่งขวาของ ขิมโดยวางพาดอยู่บนหย่อง 3 อันด้วยกันคือ หย่อง
พักสาย (ทั้งด้านซ้ายและด้านขวา) และ หย่อง หนุนสาย อีก 1 อัน จำานวน
สายขิมทั้งหมดมี 42 เส้น ถ้าเป็นเส้นใหม่ๆจะมีสีเหลืองมันเป็นเงาสวย งาม
สามารถใช้มือบิดให้ขาดจากกันได้ง่ายด้วยการพับสายขิมให้งอไขว้กัน
แล้วใช้มือบิดโยกไป มาสักสองสามทีก็จะขาด สายทองเหลืองนี้เมื่อนาน
เข้าจะมีสีดำาคลำ้าลงเพราะมีขี้ตะกรันมาเกาะ โดยรอบสายจะแห้งเกราะและ
ขาดง่ายขึ้นแต่กลับทำาให้เสียงขิมก้องกังวานดีขึ้น ปัจจุบันผู้ผลิตขิมบาง
รายเปลี่ยนมาใช้สายลวดเหล็กที่เรียกว่า”เสตนเลส-สตีล” (Stainless
Steel) ขึงแทนสายลวดทองเหลืองซึ่งให้คุณภาพเสียงขิมดีขึ้นและสายขิม
ไม่ขาดง่ายแต่ตัวขิม จำาเป็นต้องมีขนาดใหญ่ขึ้นเพราะสายลวดเสตนเลส-
สตีลนั้นมีความเหนียวกว่าลวดทองเหลืองจึง ต้องขึงให้ตึงมากๆเสียงจึงจะ
กังวานดี(การที่เพิ่มช่วงยาวของสายขิมทำาให้ต้องหมุนสายขิมให้ ตึงมาก
ขึ้นเสียงขิมจึงจะกังวานดี)แต่ถ้าใช้สายลวด เสตนเลส-สตีลมาเปลี่ยนแทน
สายลวดทอง เหลืองโดยไม่เพิ่มช่วงยาวของตัวขิมแล้ว เสียงขิมจะไม่น่าฟัง
เพราะสายยังไม่ตึงเต็มที่หรือถ้า จะให้เสียงดังกังวานดีก็ต้องเทียบเสียงขิม
ตัวนั้นให้สูงกว่าระดับเสียงปกติที่นิยมบรรเลงกันใน วงเครื่องสาย
ไทย(เสียงที่นิยมบรรเลงกันในวงเครื่องสายคือเสียง เพียงออ)
หมายเลข 10 “หย่องพักสายขิม” (หย่องบังคับเสียง)
หย่องขิมนั้นมีสองประเภทคือ “หย่องหนุนสายขิม” และ “หย่องพักสายขิม”
(หย่องบังคับ เสียงขิม) หย่องทั้ง 2 ประเภททำาหน้าที่ต่างกันคือ หย่องหนุน
สายขิมจะทำาหน้าที่ ถ่ายทอดแรง สะเทือนจากสายขิมลงสู่พื้นไม้บนตัวขิม
เพื่อให้เกิดเสียงก้องกังวานดีขึ้นส่วนหย่องพักสายขิมนั้น นอกจากจะทำา
หน้าที่หนุนสายขิมแล้วยังทำาหน้าที่ในการบังคับระดับเสียงสูงตำ่าของสาย
ขิมด้วย เพราะหย่องพักสายขิมจะถูกวางให้เอียงทำามุมสอบเข้าหากันทาง
ด้านบนคล้ายกับรูปปิรามิด ด้วย เหตุนี้สายขิมที่พาดอยู่ระหว่างช่วงแคบ
เช่น ช่วงระยะ A – B ดังในภาพต่อไปข้างล่างจะมีความ ตึงมากกว่าสายที่
พาดอยู่ระหว่างช่วงกว้างคือระยะ C – D เสียงของสายขิมที่อยู่ทางด้านบน
จึง สูงกว่าเสียงที่อยู่ทางด้านล่าง
1 — หย่องบังคับเสียง (ด้านซ้าย) 2 — หย่องบังคับเสียง (ด้านขวา)
3 — หย่องหนุนสาย (ด้านซ้าย) 4 — หย่องหนุนสาย (ด้านขวา)
บนแนวสันของหย่องบังคับเสียงนี้ทำาด้วยวัสดุที่ “แข็งเป็นพิเศษ” เพื่อให้
สามารถรับแรงกดจาก สายขิมจำานวนมากได้และต้องมีส่วนสูงที่สัมพันธ์กับ
หย่องหนุนสายขิมด้วย ตัวหย่องนั้นทำาด้วย ไม้เนื้อแข็ง ถ้าดูทางด้านหน้า
ตัดจะมีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมคล้ายกับ “รูปปิรามิด” หย่อง บังคับเสียง
ของขิมรุ่นใหม่บางรุ่นทำาฐานแผ่แบนออกมาใช้สำาหรับสอดวางท่อนโลหะ
กลมเล็กๆ เพื่อหนุนสายขิมบางสายให้มีเสียงสูงตำ่าเป็นกรณีพิเศษโดย
เฉพาะเสียง “ที” (ซี)
การวางตำาแหน่งของปลายไม้ขิม
ขิมเป็นเครื่องดนตรีที่มีต้นกำาเนิดเสียงมาจาก “การตี” ดังนั้นตำาแหน่งที่
ปลายไม้ขิมกระทบกับสายขิมจึงมีความสำาคัญมากทั้งนี้เพราะความไพเราะ
น่าฟังเพียงของเสียงขิมขึ้นอยู่กับจุดกระทบเหล่านี้ทั้งสิ้น จากการสังเกต
และประสบการณ์ในการสอนขิมของผมเป็นเวลานานกว่า 30 ปีพบว่าส่วน
ใหญ่ ผู้ที่เริ่มฝึกหัดจะตีสายขิมในลักษณะดังแผนภูมิต่อไปนี้คือ
ในภาพหมายเลข 1 เมื่อผู้ฝึกเริ่มตีสายขิมมักจะวางไม้ขิมในแนวขนานกัน
และตีลงไปตามแนวขนานนั้น การตีแบบนี้ดูเผินๆก็น่าจะสมเหตุผลดีแต่ถ้า
ลองฟังเสียงให้ชัดๆจะพบว่าเสียงขิมจากมือซ้ายและมือขวาดังแตกต่างกัน
เพราะจุดกระทบของปลายไม้ขิมในมือซ้ายและขวาไม่ใช่ตำาแหน่งเดียวกัน
คือปลายไม้ขิมในมือซ้ายจะตกกระทบสายขิมในแนวเส้นประของอักษร
A ส่วนปลายไม้ขิมในมือขวาจะตกกระทบสายขิมในแนวเส้นประของอักษร
B จึงได้เสียงขิมที่ไม่เท่ากัน เพื่อให้เข้าใจกรณีที่ผมกำาลังกล่าวนี้ได้ชัดเจน
ขึ้นขอให้ลองพิจารณาดูภาพหมายเลข 2
ในภาพหมายเลข 2 สมมติว่าเราก้มลงมองขนานไปตามแนวยาวของหย่อง
ขิมจะเห็นสายขิมทุกเส้นที่พาดอยู่บนหย่องทางด้านซ้ายทำามุมลาดลงทั้ง
สองฟากคล้ายกับพื้นผิวบนถนน ถ้าเราตีสายขิมในแนว A และ B ก็เปรียบ
เหมือนรถ 2 คันที่วิ่งกันคนละแนวคือรถคันขวาวิ่งเลียบใกล้เส้นกึ่งกลาง
ของถนนส่วนรถคันซ้ายลงไปวิ่งบนไหล่ทาง หากเป็นเรื่องของรถวิ่งบน
ถนนก็คงไม่มีผลแตกต่างอะไรกันมากนักหรอกครับแต่ถ้าเป็นการตีสายขิม
แล้วจะมีผลแตกต่างกันมากทีเดียวเพราะเสียงขิมจะไม่เหมือนกันคือ เสียง
จากมือขวาจะฟังแข็งกระด้างกว่ามือซ้ายเพราะว่าปลายไม้ขิมในมือขวาตี
ลงใกล้กับสันหย่องจึงมีความสั่นสะเทือนน้อยกว่า ส่วนเสียงจากมือซ้ายจะ
เบากว่าและก้องมากกว่าเพราะตีห่างจากหย่องมากสายขิมจึงสั่นสะเทือน
นานกว่า เมื่อเสียงของไม้
ขิมในมือซ้ายและมือขวาไม่เหมือนกันดังนี้แล้วก็อุปมาเหมือนการที่เราใส่
รองเท้าผิดคู่ คือข้างซ้ายใส่รองเท้ายางส่วนข้างขวาใส่รองเท้าหนัง เวลา
เดินคงมีเสียงที่ฟังดูแปร่งหูพิลึกๆนะ
ด้วยเหตุนี้ขอแนะนำาให้ฝึกตีสายขิมดังตัวอย่างแผนภูมิในภาพหมายเลข 3
จะดีกว่า
ภาพหมายเลข 3 เป็นการตีสายขิมโดยให้ปลายไม้ขิมตกกระทบกับสายขิม
เป็นแนวระนาบเดียวกัน วิธีการวางแนวไม้ขิมก่อนตีนั้นจะเหมือนกันคือให้
คู่ขนานกันเหมือนกับรางรถไฟ แต่เวลาที่ตีสายขิมแล้วตอนที่ยกปลายไม้
ขึ้นให้เบี่ยงปลายไม้ขิมเฉียงออกเล็กน้อยเพื่อจะได้ไม่ชนกับปลายไม้ขิมอีก
ข้างที่กำาลังตีตามลงไป ดังนั้นจุดตกกระทบของปลายไม้ขิมจึงเป็นแนว
เดียวกันโดยตลอดซึ่งก็คือแนวของ “จุด C” ดังที่ได้แสดงไว้ในภาพ
หมายเลข 3 นั่นเอง วิถีของปลายไม้ขิมขณะที่ยกขึ้นลงจึงมิได้อยู่ในแนว
ตรงหากแต่โค้งเบี่ยงออกเล็กน้อยและทำามุมเป็นรูปตัว V การตีแบบนี้เรียก
ได้ว่าเป็นการตี “ทับรอย” คล้ายกับการวางตำาแหน่งของเท้าในขณะที่เดิน
ไต่เชือกเส้นเดียวนั่นเอง การตีขิมโดยวางแนวปลายไม้แบบนี้จะได้เสียงขิม
ที่ดังชัดเท่ากันทั้งมือซ้ายและมือขวาทำาให้บรรเลงขิมได้ไพเราะน่าฟังกว่า
การตีแบบภาพหมายเลข 2 ซึ่งน่าจะเรียกว่าตีแบบ “เป็ดเดิน”คือไม้ขิม
เคลื่อนไปคนละแนวคล้ายกับการเดินของเป็ดและยังทำาให้เสียงขิมไม่เท่า
กันด้วยขอให้ฝึกตีสายขิมขึ้นลงทั้ง 3 แถวจนคล่องพร้อมทั้งกำาหนดรู้ 3
ประการไปด้วยในขณะที่ฝึกตีคือ
1) ต้องตีสายขิมให้ดังเท่ากันทั้งสองมือ
2) จังหวะการซอยสลับมือต้องสมำ่าเสมอ
3) ตีสายขิมได้แม่นยำาทั้งมือซ้ายและมือขวา
ทั้งหมดที่มานี้เป็นการฝึกขั้นพื้นฐานในการตีขิมซึ่งผู้เริ่มฝึกหัดตีขิมควร
ทราบและทำาให้ได้ก่อนที่จะเริ่มเรียนรู้การตีเป็นทำานองเพลง หากสามารถ
ตีดัง-ฟังชัด และตีได้อย่างต่อเนื่องราบเรียบและมีความแม่นยำาทั้งมือ ซ้าย-
ขวา แล้ว จะบรรเลงเพลงอะไรก็ไพเราะทั้งนั้น
ส่วนใหญ่ผู้ที่เรียนตีขิมมักจะใจร้อนและไม่เห็นความสำาคัญของการฝึกขั้น
พื้นฐานเพื่อให้สามารถตีขิมได้เสียงดังฟังชัดเสียก่อน ข้ามไปเริ่มฝึก
บรรเลงเป็นเพลงเลย จึงบรรเลงเพลงไม่ได้ไพเราะเท่าที่ควร การฝึกตีสาย
ขิมให้แม่นยำาและได้คุณภาพเสียงที่ชัดเจนก็เหมือนกับการฝึกหัดพูดนั่นแห
ล่ะ เมื่อพูดได้ชัดแล้วต่อไปจะพูดสักกี่ร้อยกี่พันคำาก็ชัดน่าฟังเหมือนกันหมด
แต่ถ้าพูดไม่ชัดแล้วถึงจะพูดกี่ร้อยกี่พันคำาก็พูดไม่ชัดทั้งนั้น นอกจากทำาให้
ผู้ฟังไม่ประทับใจแล้วยังพลอยรู้สึกรำาคาญด้วย
โน้ตเพลงตระกูลลาว
-ลาวดวงเดือน
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=thai-
music&month=11-2008&date=13&group=9&gblog=13
ลาวเสี่ยงเทียน
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=thai-
music&month=01-2009&date=03&group=9&gblog=15
ลาวจ้อย
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=thai-
music&month=01-2010&date=12&group=9&gblog=42
ลาวดำาเนินทราย
http://sarnthai.com/images/sornt_laodm.gif
ตัวอย่างรวมเพลงไทยเดิมที่เล่นกับขิม(ตระกูลลาว)
-ลาวดวงเดือน
https://www.youtube.com/watch?
v=PPF_U7I6Rhk&list=PLE56B0B4EEE74F1C8
-ลาวเสี่ยงเทียน
https://www.youtube.com/watch?
v=PiHsaXAKxT0&list=PLE56B0B4EEE74F1C8&index=2
-ลาวจ้อย
https://www.youtube.com/watch?
v=GK2rSIsjfiw&list=PLE56B0B4EEE74F1C8&index=13
-ลาวดำาเนินทราย
https://www.youtube.com/watch?
v=_AMGPf53nlo&index=5&list=PLE56B0B4EEE74F1C8
-ลาวเจริญศรี
https://www.youtube.com/watch?
v=PYhwwNrG0BQ&index=4&list=PLE56B0B4EEE74F1C8
-ลาวครวญ
https://www.youtube.com/watch?
v=Cx24_3B9z_s&index=6&list=PLE56B0B4EEE74F1C8
-ลาวลำาปางเล็ก
https://www.youtube.com/watch?
v=Ni1UvCy8yUU&list=PLE56B0B4EEE74F1C8&index=7
-ลาวล่องน่าน
https://www.youtube.com/watch?
v=Ni1UvCy8yUU&index=7&list=PLE56B0B4EEE74F1C8
-ลาวเจ้าชู
https://www.youtube.com/watch?
v=keP0cKa7tWU&index=9&list=PLE56B0B4EEE74F1C8
-ลาวกระแตเล็ก
https://www.youtube.com/watch?
v=08rycJMb4AA&list=PLE56B0B4EEE74F1C8&index=10
-ลาวกระทบไม้
https://www.youtube.com/watch?v=kvWkoaXRJOk
-ลาวม่านแก้ว
https://www.youtube.com/watch?v=dG64MTBFfvk
-ลาวคำาหอม
https://www.youtube.com/watch?v=UPpFupdLNRI
-ลาวแพน
https://www.youtube.com/watch?v=J08vOmpQ0UA
ระนาด
ระนาด เป็นเครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่ง จัดเป็นเครื่องดนตรีชนิด
เครื่องตี ประกอบด้วย ลูกระนาด ร้อยด้วยเชือก เรียกว่า "ผืน" แขวนไว้
กับ ราง ซึ่งทำาหน้าที่รองรับลูกระนาด (แขวนลอย ไม่ได้วางรายกับราง)
และทำาหน้าที่เป็นกล่องเสียงด้วย ผู้เล่นจะใช้ ไม้ตี จำานวน 2 อัน สำาหรับตี
ลูกระนาดให้เกิดเป็นท่วงทำานอง
ไม้ตีระนาด มีด้วยกัน 2 แบบ คือ ไม้นวม จะให้เสียงทีฟังแล้วรู้สึกได้
ถึงความไพเราะ นุ่มนวลที่หัวของไม้ จะใช้ผ้าพันให้เป็นนวมก่อนจากนั้น
จะใช้เส้นได้พันทับอีกที ไม้ตีระนาดชนิดนี้นิยมใช้เล่นบรรเลงในวงมโหรี,
วงปี่พาทย์ไม้นวม และ ไม้แข็ง ซึ่งจะให้เสียงที่ฟังแล้วรู้สึกถึงความมี
อำานาจ และแข็งแกร่ง ลักษณะของไม้จะพันเช่นเดียวกันกับไม้นวม เพียง
แต่จะชุบด้วย "รัก" เป็นระยะ และที่ชั้นนอกสุด แล้วจึงพันอีกครั้งด้วยผ้าดิบ
บาง ๆ เป็นอันเสร็จ ทำาให้ได้หัวไม้ที่แข็ง และสังเกตได้ง่าย ๆ ที่สีของหัวไม้
ซึ่งจะดำาสนิท
ระนาดของไทยนั้น มีด้วยกัน 4 ชนิด ดังนี้
• ระนาดทุ้ม
• ระนาดทุ้มเหล็ก
• ระนาดเอก
• ระนาดเอกเหล็ก
แหล่งข้อมูลอื่น
• ส่วนประกอบของระนาด
ระนาดทุ้ม
INCLUDEPICTURE
"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/c/ca/Ranat_thum.jpg/220px-Ranat_thum.jpg" *
MERGEFORMATINET
ระนาดทุ้ม
ระนาดทุ้ม เป็นเครื่องดนตรีที่สร้างขึ้นมาในรัชกาลที่ 3 แห่งกรุง
รัตนโกสินทร์ เป็นการสร้างเลียนแบบระนาดเอก ใช้ไม้ชนิดเดียว กันกับ
ระนาดเอก ลูกระนาดทุ้มมีจำานวน 17 หรือ 18 ลูก ลูกต้นยาวประมาณ 42
ซม กว้าง 6 ซม และลดหลั่นลงมาจนถึงลูกยอด ที่มีขนาดยาว 34 ซม
กว้าง 5 ซม รางระนาดทุ้มนั้นประดิษฐ์ให้มีรูปร่างคล้ายหีบไม้ แต่เว้าตรง
กลางให้โค้ง โขนปิดหัวท้ายเพื่อ เป็นที่แขวนผืนระนาดนั้น ถ้าหากวัดจาก
โขนด้านหนึ่งไปยังโขนอีกด้านหนึ่ง รางระนาดทุ้มจะมีขนาดยาวประมาณ
124 ซม ปาก รางกว้างประมาณ 22 ซม มีเท้าเตี้ย รองไว้ 4 มุมราง
หน้าที่ในวงของระนาดทุ้มนั้น ทำาหน้าที่เดินทำานองรอง ในทางของ
ตนเองซึ่งจะมีจังหวะโยน ล้อ ขัด ที่ทำาให้เกิดความไพเราะและเติมเต็มช่อง
ว่างของเสียง อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของระนาดทุ้ม
ระนาดทุ้มเหล็ก
ระนาดทุ้มเหล็ก
ระนาดทุ้มเหล็ก เป็นเครื่องดนตรีที่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้า
อยู่หัว ในรัชกาลที่ 4 มีพระราชดำาริให้สร้างขึ้น ลูกระนาดทำาอย่างเดียวกับ
ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุ้มเหล็กมีจำานวน 16 หรือ 17 ลูก ลูกต้นยาว
ประมาณ 35 ซม กว้างประมาณ 6 ซมและลดหลั่นลงไปจนถึงลูกยอดซึ่ง
ยาวประมาณ 29 ซม กว้างประมาณ 5.5 ซม ตัวรางระนาดยาวประมาณ
1 เมตร ปากราง กว้างประมาณ 20 ซม มีชานยื่นออกไปสองข้างราง ถ้า
นับส่วนกว้างรวมทั้งชานทั้งสองข้างด้วย รางระนาดทุ้มเหล็กจะกว้าง
ประมาณ 36 ซม มีเท้ารองติดลูกล้อ 4 เท้า เพื่อให้เคลื่อนที่ไปมาได้สะดวก
ตัวรางสูงจากพื้นถึงขอบบนประมาณ 26 ซมระนาด ทุกชนิดที่กล่าวมานั้น
จะใช้ไม้ตี 2 อัน
ระนาดทุ้มเหล็กทำาหน้าที่เดินทำานองคล้ายฆ้องวงใหญ่ เพียงแต่เดิน
ทำานองห่างกว่า
ระนาดเอก
ระนาดเอก
ระนาดเอกเป็นเครื่องตีชนิดหนึ่ง ที่วิวัฒนาการมาจากกรับ แต่เดิมคง
ใช้กรับสองอันตีเป็นจังหวะ ต่อมาก็เกิดความคิดว่า ถ้าเอากรับหลาย ๆ อัน
วางเรียงราดลงไป แล้วแก้ไขประดิษฐ์ให้มีขนาดลดหลั่นกัน แล้วทำาราง
รองอุ้มเสียง และใช้เชือกร้อยไม้กรับขนาดต่าง ๆ กันนั้นให้ติดกัน และขึง
ไว้บนรางใช้ไม้ตีให้เกิดเสียง นำาตะกั่วผสมกับขี้ผึ้งมาถ่วงเสียงโดยนำามา
ติดหัวท้ายของไม้กรับนั้น ให้เกิดเสียงไพเราะยิ่งขึ้น เรียกไม้กรับที่ประดิษฐ์
เป็นขนาดต่างๆกันนั้นว่า ลูกระนาดเรียกลูกระนาดที่ผูกติดกันเป็นแผ่น
เดียวกันว่า ผืน ระนาดเอกใช้ในงานมงคล เป็นเครื่องดนตรีเป็นมงคลใน
บ้าน บรรเลงในวงปี่พาทย์และวงมโหรี โดยทำาหน้าที่เป็นผู้นำาวง
ลักษณะทั่วไป
ส่วนประกอบของระนาดเอก มี 3 ส่วน ได้แก่ ผืน ราง และไม้ตี
ผืน ประกอบด้วยลูกระนาด ซึ่งทำาด้วยไม้ชิงชัน หรือไม้ไผ่ ผืนระนาด
ไม้เนื้อนุ่ม เสียงจะหอม อิ่ม และดังคมชัดเหมาะสำาหรับบรรเลงในวงปี่
พาทย์ไม้แข็ง ส่วนผืนระนาดที่ทำาจากไม้ไผ่จะให้เสียงที่นุ่มนวล เหมาะ
สำาหรับวงปี่พาทย์ไม้นวมและวงปี่พาทย์ผสมเครื่องสาย ลูกระนาดมีทั้งหมด
23-22 ลูก โดยลูกที่ 22 มีชื่อเรียกว่า ลูกหลีก หรือ ลูกหลิบ ที่ท้องของลูก
ระนาดจะคว้านและใช้ขี้ผึ้งผสมกับตะกั่วถ่วงเพื่อให้เกิดความแตกต่าง
ระหว่างเสียง โดยเสียงจากผืนระนาดขึ้นอยู่กับส่วนประกอบ 3 ส่วนด้วย
กันคือ ส่วนแรก ขึ้นอยู่กับขนาดใหญ่-เล็ก ของไม้ที่ใช้ทำา ส่วนที่สอง ขึ้น
อยู่กับการคว้านท้องไม้ลูกระนาดว่ามาก-น้อยเพียงใด ส่วนที่สามขึ้นกับ
ปริมาณมาก-น้อยของตะกั่วที่ถ่วงใต้ลูกระนาดแต่ละลูก ลูกระนาดทั้งหมด
จะถูกเจาะรูเพื่อร้อยเชือก และแขวนบนรางระนาด
ราง เป็นส่วนที่เป็นกล่องเสียงของระนาด ทำาให้หน้าที่อุ้มเสียง นิยมทำา
ด้วยไม้สักและทาด้วยนำ้ามันขัดเงา ปัจจุบันการใช้ระนาดที่ทำาด้วยไม้และ
ทาด้วยนำ้ามันลดความนิยมลง นักดนตรีนิยมใช้รางระนาดที่แกะสลัก
ลวดลายไทยและลงรักปิดทองเพื่อความสวยงาม บางโอกาส อาจมีการฝัง
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
หนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติenoomtoe
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลYosiri
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูkruthai40
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)niralai
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากลTua Acoustic
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงNawamin Wongchai
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลChavalit Deeudomwongsa
 
ประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยUsername700
 
ศัพท์ที่หมอใช้บ่อยๆ
ศัพท์ที่หมอใช้บ่อยๆศัพท์ที่หมอใช้บ่อยๆ
ศัพท์ที่หมอใช้บ่อยๆItnog Kamix
 
การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงการบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงKrupreecha Krubaannok
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
หนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากล
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียง
 
ไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรงไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง
 
Thai music10
Thai music10Thai music10
Thai music10
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
ประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทย
 
การใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทยการใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทย
 
ศัพท์ที่หมอใช้บ่อยๆ
ศัพท์ที่หมอใช้บ่อยๆศัพท์ที่หมอใช้บ่อยๆ
ศัพท์ที่หมอใช้บ่อยๆ
 
การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงการบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
 
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
ใบความรู้  หนังตะลุง ม52ใบความรู้  หนังตะลุง ม52
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
โขน
โขนโขน
โขน
 

Similar to การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx

มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษาengtivaporn
 
Robkongfire
RobkongfireRobkongfire
Robkongfirepoomarin
 
ศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจPata_tuo
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนwarintorntip
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลPasit Suwanichkul
 
งานคอมเครื่องดนตรีไทย
งานคอมเครื่องดนตรีไทยงานคอมเครื่องดนตรีไทย
งานคอมเครื่องดนตรีไทยChattharika Kongkom
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากลmanoprd
 

Similar to การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx (20)

วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 
05 mf
05 mf05 mf
05 mf
 
Robkongfire
RobkongfireRobkongfire
Robkongfire
 
ยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทยยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทย
 
ศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจ
 
Music
MusicMusic
Music
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
Generation
GenerationGeneration
Generation
 
TeST
TeSTTeST
TeST
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
งานคอมเครื่องดนตรีไทย
งานคอมเครื่องดนตรีไทยงานคอมเครื่องดนตรีไทย
งานคอมเครื่องดนตรีไทย
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากล
 
ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครleemeanshun minzstar
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชleemeanshun minzstar
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพleemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 

การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx

  • 1. การสอนเล่นสังคีต บางชนิด และนาฎศิลป์ ดนตรีไทย ขิม ประวัติของขิม ขิม เป็นเครื่องดนตรีที่อยู่ในตระกูล Hammered Dulcimer มีต้นกำาเนิด จาก เปอร์เซียหรือดินแดน ตะวันออกกลาง ได้แก่อีหร่านในปัจจุบัน มีการ แพร่กระจายไปยังวัฒนธรรมต่าง ๆ ได้แก่ ยุโรปตะวันออก ตะวันออก กลาง อินเดีย และปากีสถาน มีการเรียก ชื่อเครื่องดนตรีชิ้นนี้ว่า “ซานทูร์” (Santur) และ “คิมบาลอม” (Cymbalom) เมื่อเครื่องดนตรีชนิดนี้ไปอยู่ ในวัฒนธรรมใดก็ตาม มักถูกปรับให้มีลักษณะเฉพาะของวัฒนธรรมนั้น ๆ นอกจากนี้ยังเรียกชื่อแตกต่างกันอีกด้วย เช่น อินเดีย เรียกว่า santur, santour, หรือ santoor จีนเรียกว่า “หยาง ฉิน”(Yangqin หรือ Yang Ch’in) การเข้ามาสู่ประเทศสยามของ “ขิม” ในชั้นแรกนั้นสันนิษฐานว่ามากับการ แสดงงิ้ว ในการแสดงงิ้ว นี้ จะต้องมีดนตรีประกอบการแสดง เครื่องดนตรี ที่ประกอบการแสดงจะต้องมีขิมและเครื่องดนตรีอื่น ๆ อยู่ด้วย ใน ประวัติศาสตร์ปรากฏการแสดงงิ้วในประเทศสยามตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ดังปรากฏหลักฐานในบันทึกจดหมายเหตุ รายวันของบาทหลวง เดอ ชัวซี (De Choisy) ที่เข้ามาด้วยเงื่อนไขทางการฑูตในสมัยสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช ระบุ ว่ามีการแสดงงิ้วจีน ความว่า “…งานฉลองปิดท้าย รายการด้วยงิ้วหรือโศกนาฏกรรมจีนมีตัวแสดงมาจากมณฑลกวางตุ้ง คณะหนึ่ง และจากเมืองจินเจาคณะหนึ่งคณะที่มาจากเมืองจินเจานั้นแสดง ได้เยี่ยม และเป็นระเบียบแบบแผนมากกว่า …” (สันต์ ท. โกมลบุตร, ผู้ แปล, ๒๕๑๖: ๔๑๖-๔๑๗) ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้มีพ่อค่าชาวจีนเข้ามาทำาการค้ากับ ประเทศไทย ได้นำาขิมเข้ามาในประเทศ ไทยด้วย และในสมัย รัตนโกสินทร์ตอนต้นนี้ได้มีปรากฏในหมายรับสั่งงานสมโภชพระแก้ว มรกต ระบุมโหรีไทย แขก จีน เขมร ญวน ฝรั่ง เอาไว้ แต่มิได้ระบุว่ามี เครื่องดนตรีอะไรบ้าง ในการแสดงงิ้ว และในวงมโหรีจีน ที่กล่าวไว้ ใน
  • 2. หมายรับสั่งงานครั้งนั้น น่าจะมี ”หยางฉิน” (Yang-Chin) หรือ “ขิม” ร่วม วงบรรเลงอยู่ด้วยแล้ว โดยเฉพาะในสมัย รัชกาลที่ ๕ แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ มีการแสดงงิ้วกันอย่างแพร่หลาย ซึ่งในสมัยรัชกาลที่ ๕ ตรง กับสมัยพระเจ้า กวงสูของจีน เป็นสมัยที่งิ้วแต้จิ๋ว เจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว สาเหตุที่ไทยเราเรียกเครื่องดนตรีชนิดนี้ว่า “ขิม” ได้มีผู้ให้คำาสันนิษฐานว่า คำาว่า “ขิม” นี้อาจจะเพี้ยนมา จากคำาว่า “คิ้ม” เพราะคำาว่า “คิ้ม” เป็นชื่อ เรียกเครื่องดนตรีกระกูลพิณ ที่มีลักษณะเป็นกล่องไม้ กลวงภายในและขึง ด้วยสายใช้สำาหรับดีด หรือตีให้เกิดเสียง มีเสียงกังวาน คนไทยจึงเรียก ตามและได้เพี้ยนจากเดิมกลายมาเป็น คำาว่า “ขิม” แต่ชาวจีนยังคงเรียก เครื่องดนตรีที่ได้มาจากเปอร์เซีย ชนิดนี้ว่า “หยางฉิน” ใช้บรรเลงรวมวง กับ “ฮูฉิน” (Hu- Chin) “ฮูอู้”(Hu-Hu) และเครื่องประกอบจังหวะอื่นๆ คือ กลอง“ตั่วปัง”(ฉาบใหญ่)“ซิมปอ” (เครื่องดนตรีประเภทโลหะ มีรูปลักษณะ กลมคล้ายผ่าง)“แท่ล่อ”(เครื่องดนตรีประเภทโลหะ)เป็นวงดนตรีประกอบ การแสดงงิ้วโบราณของจีน เมื่อไทยเรานำาขิมมาผสมวงบรรเลงในวงเครื่องสายไทย ได้ปรับปรุง ดัดแปลงขิมเพื่อความเหมาะสมกับระบบ เสียงของเพลงไทย โดยเฉพาะได้ ดัดแปลงส่วนประกอบต่าง ๆ ของขิมเพื่อให้มีเสียงกลมกลืนและสอดคล้อง กับเครื่อง ดนตรีไทยชนิดอื่น ๆ ดังนี้ ๑) เปลี่ยนแปลงแนวการเทียบเสียงใหม่ ซึ่งไม่เหมือน “หยางฉิน” ๒) ไม้ตี ขิมของไทย ใช้หนังหรือสักหลาดหุ้มที่ปลายไม้ตรงส่วนที่ตีลงบนสายขิม เพื่อให้มีกระแสเสียงนุ่มนวล มากขึ้น และมีเสียงทุ้มกว่า “หยางฉิน” ๓)ใช้สายขิมที่ทำาด้วยลวดทองเหลืองที่ผ่านกรรมวิธีการทำาสายขิม โดยใช้ ความตึงของลวดทองเหลือง ขนาด ๒๐/๑,๐๐๐ รวมทั้งหมด ๔๒ สาย สำาหรับใช้กับขิมไทยโดยเฉพาะ ทำาให้เกิดเสียงกังวานนุ่มนวล ไพเราะน่า ฟัง มากขึ้นและเหมาะสมกับระบบเสียงเพลงไทยมากกว่า “หยางฉิน” ของ จีน นอกจากนี้ คณาจารย์ทางดุริยางคศิลป์ไทย ในกรมศิลปากรยังได้ วิวัฒนาการคิดประดิษฐ์ขิมให้มี ๓ ขนาด คือขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ่ ให้ชื่อว่า “ขิมเถา” ได้นำาออกเผยแพร่ในต่างประเทศมาแล้ว นอกจากขิม ๓ ขนาดดังกล่าว คณาจารย์ทางดุริยางคศิลป์ไทย ยังคิด ประดิษฐ์ “ขิมเหล็ก” โดยการประดิษฐ์ ตามแนวขิมสายทุกประการ โดยนำา
  • 3. แผ่นเหล็กขนาดเล็กมาจัดวางในลักษณะเดียวกับตำาแหน่งที่ใช้ตีของสาย ทองเหลือง ของขิมปกติ เสียงของขิมเหล็กมีความกังวาน ให้นำ้าเสียงแตก ต่างไปจากขิมสาย มีการนำามาผสมวงบรรเลงกันอย่าง แพร่หลาย เช่นกัน ขิมมีบทบาทในการผสมวงบรรเลงกับวงดนตรีไทย ประเภทวงเครื่องสาย ไทยมานาน อย่างน้อยในสมัยกรุง รัตนโกสินทร์ตอนต้น แต่การผสมวง บรรเลงยังไม่เป็นรูปแบบนัก ต่อมาวงเครื่องสายผสมขิม ที่เป็นแบบฉบับ ได้ เกิดขึ้นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ.๒๔๖๗ ตามที่อาจารย์มนตรี ตราโมท เล่าไว้ดังนี้ “การที่ข้าพเจ้าสามารถตีขิมได้และเป็นคนขิมประจำาวังหลวงก็เพราะ คุณ หลวงไพเราะฯ เป็นผู้ริเริ่ม ให้ แรกเริ่มนั้น จีนผู้หนึ่งได้ให้ขิมจีนอย่างเก่า ตัวหนึ่งรูปร่างเป็น ๔ เหลี่ยมด้านบนสอบเข้า ไม่ มีลายเขียนใด ๆ แก่คุณ หลวงไพเราะฯ พร้อมทั้งแนะนำาวิธีตีให้ด้วยคุณหลวงก็เอาขิมตัวนั้นมาให้ ข้าพเจ้าและแนะนำาวิธีตีตามที่จีนผู้นั้นบอกให้อีกต่อหนึ่ง ข้าพเจ้าได้เอามา ฝึกหัดตีด้วยความพอใจ บังเอิญปีนั้นได้ตามเสด็จทางเรือ ข้าพเจ้ามีเวลา ฝึกตีไปในเรือทุกวัน กว่าจะเสด็จกลับก็ตีได้ คล่องแคล่วได้ร่วมบรรเลงกับ วงเครื่องสายในงานนอกบ่อยๆ” (มนตรี ตราโมท อ้างใน อานันท์นาคคง, ๒๕๓๕: ๒๐) การริเริ่มนำาขิมมาบรรเลงในวงดนตรีไทยอย่างเป็นแบบแผนนั้น ได้เกิดขึ้น เมื่อกรมมหรสพต้องมีการผสมวง เฉพาะกิจเพื่อบรรเลงถวายแด่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๖ เมื่อทรงพระประชวร ตามคำาแนะนำาของ แพทย์ “…ครั้น พ.ศ.๒๔๖๗ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ทรงพระประชวร แพทย์ถวายคำา แนะนำา ให้ ทรงฟังดนตรีบรรเลงเบา ๆ หรือนิทานในเวลา บ่ายทุก ๆ วัน กรมมหรสพก็ต้องจัดวง เครื่องสาย อย่างเบาไปบรรเลงถวายข้างห้องพระบรรทมที่ วังพญาไท (ปัจจุบันเป็น โรงพยาบาลพระมงกุฎ เกล้า) เครื่องดนตรีทุกอย่างต้องห้ามเสียง ให้ได้ยิน เหมือนบรรเลงไกล ๆ และการบรรเลงนี้ให้มี ขิมบรรเลงด้วย จึงได้ซื้อขิม จากร้านดุริยบรรณเป็นของหลวงในครั้งแรก วงที่บรรเลงนั้นมี หลวง ไพเราะเสียงซอ สีซอด้วง, พระสรรเพลงสรวง สีซออู้, พระเพลงไพเราะ เป่าขลุ่ย, นายจ่าง แสงดาวเด่น ดีดจะเข้, ข้าพเจ้า ตีขิม, หลวงวิมลวังเวง กับพระประดับดุริยกิจตีโทนรำามะนาและ หลวงเสียงเสนาะกรรณ ตีฉิ่ง จน หายประชวรเป็นปกติ นับว่าเป็นเครื่องสายวงหลวงของกรม มหรสพมีขิม
  • 4. ผสมเป็นครั้งแรก”(เล่มเดียวกัน, ๒๕๕๒: ๒๐) สรุปได้ว่า วงเครื่องสายผสมขิม วงแรก ที่มีนักดนตรีครบวง ถือเป็นแบบ ฉบับการผสมวงดนตรีไทย และได้ บรรเลงเป็นครั้งแรก ณ วังพญาไท ใน คราวนั้น มีนักดนตรีดังต่อไปนี้ ๑. หลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยะชีวิน) ซอด้วง ๒. พระสรรเพลงสรวง (บัว กมลวาทิน) ซออู้ ๓. นายจ่าง แสงดาวเด่น จะเข้ ๔. นายมนตรี ตราโมท ขิม ๕. พระเพลงไพเราะ(โสม สุวาทิต) ขลุ่ย ๖. หลวงวิมลวังเวง (ช่วง โชติวาทิน) โทน ๗. พระประดับดุริยกิจ (แหยม วีณิน) รำามะนา ๘. หลวงเสียงเสนาะกรรณ (พัน มุกตวาภัย) ฉิ่ง จากนั้นมา เครื่องสายผสมขิมจึงได้รับความนิยมแพร่หลาย และบรรเลงใน งานมงคลโดยทั่วไปสืบมาจนทุก วันนี้ นับว่าการผสมวงดนตรีขึ้นเฉพาะกิจ ครั้งนั้นเป็นการนำาขิมเข้าไปบรรเลงครั้งแรกด้วยบทเพลงไทย และวิธีการ บรรเลงที่ปรับเข้าหาดนตรีไทย เพื่อเกื้อกูลส่งเสริมคุณภาพของเสียงให้เกิด สุนทรียภาพ อนึ่ง สิ่งที่สำาคัญที่ไม่อาจละเลย ได้ คือ นักดนตรีที่กล่าวนาม ไว้นั้น ล้วนเป็นเอตทักคะทางดนตรีของกรุงรัตนโกสินทร์ทั้งสิ้น เมื่อนัก ดนตรีถึงพร้อม ด้วยทฤษฎีและปฏิบัติแล้ว หากจะนำาเครื่องดนตรีชนิดใหม่ มาผสมก็ไม่ทำาให้เกิดความขัดแย้งใด ๆ กลับส่งเสริม สุนทรียภาพให้แก่ผู้ ฟังได้เป็นอย่างดี ข้อสังเกตอย่างหนึ่งของการการนำาเครื่องดนตรีต่างชาติมาผสม หรือ บรรเลงร่วมกับวงดนตรีไทยนั้น ควรยึด ทำานองของบทเพลงและวิธีการ แบบดนตรีไทยเป็นหลักเสียก่อน จากนั้นจะทำาการสร้างลีลาเฉพาะอื่น ๆ อันเป็นการ ส่งเสริมสุนทรียะตามแบบไทยนั้น เป็นสิ่งที่ความตระหนักให้ มาก มิใช่ทำาให้ทำานอง หรือเอกลักษณ์ของดนตรีไทย เพี้ยนกลายไปตาม เครื่องดนตรีต่างชาติเสียหมด ชนิดของขิม
  • 5. ขิม 7 หย่อง ชนิดกระเป๋าแข็ง ชื่อเรียกส่วนต่างๆของขิมแบบ “กระเป๋า” 1 ตัวขิม 2 ขอบฝาขิม 3 ไม้ตีขิม 4 ฝาขิม 5 หมุดยึดสายขิม 6 สลักกุญแจบนฝาขิม 7 สลักกุญแจบนตัวขิม 8 กระบอกเทียบเสียง 9 ช่องเสียง 10 หูหิ้ว 11 หย่องหนุนสายขิม 12 สายขิม 13 หย่องบังคับเสียง ขิมชนิดนี้มีลักษณะแตกต่างไปจากขิม 7 หย่องแบบขิมโป๊ยเซียนคือ นอกจากมีหย่องสำาหรับ หนุนสายขิมแถวละ 7 หย่องเหมือนกับขิม โป๊ยเซียนแล้ว ลักษณะอื่นๆจะแตกต่างออกไปมากที เดียว ประการแรกตัว ขิมและฝาขิมทำาเป็นรูปคล้ายกับกระเป๋าเดินทางคือทำาด้วยวัสดุแข็งทนต่อ การขีดข่วน ช่างดนตรีไทยได้ประดิษฐ์ให้เหมาะในการนำาติดตัวไปยัง สถานที่ต่างๆโดยทำา “หูหิ้ว” ไว้เหมือนกับกระเป๋าเดินทาง หมุดยึดสายขิมก็ ทำาเป็น “หมุดเกลียว” ใช้กระบอกที่มีก้าน สำาหรับหมุนหมุดเพื่อเทียบเสียง แทนการใช้ฆ้อนตอก ส่วนที่ด้านในของฝาขิมทำาเป็นแถบยางยืด ไว้ สำาหรับเสียบไม้ตีขิม ตรงขอบฝาขิมติดกุญแจไว้สำาหรับล็อคฝาขิมให้ติดกับ
  • 6. ตัวขิมและมีลูก กุญแจสำาหรับไขเปิดออกได้ พื้นใต้ตัวขิมติดปุ่มยางเล็กๆไว้ 4 มุมเพื่อกันครูดกับพื้น ลักษณะภาย นอกนั้นบางร้านทำาเป็นรูปสี่เหลี่ยม คางหมูซึ่งมีขอบกลมมน บางร้านก็ทำาเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ทั้งนี้แล้วแต่ รสนิยมของช่างผู้ผลิตแต่ละร้าน ขิม 7 หย่องดังที่กล่าวมานี้นิยมเรียก ว่า”ขิมประเป๋า” ซึ่งคิดและออกแบบประดิษฐ์ขึ้นโดยช่างดนตรีของไทย ขิมไม้รุ่นใหม่ ขิมไม้รุ่นใหม่เป็นขิม 7 หย่องที่มีรูปลักษณะเหมือนขิมโป๊ยเซียนแต่ใช้หมุด ยึดสายขิมเป็น แบบเกลียวและใช้กระบอกที่มีก้านสำาหรับหมุนเทียบเสียง นั้นก็มีการผลิตออกมาจำาหน่ายเช่นกัน แต่ไม่นิยมวาดลวดลายลงบนฝาขิม เหมือนขิมโป๊ยเซียน ฝาขิมและตัวขิมจะทำาเป็นลายไม้ลงเงา เรียบๆเท่านั้น ขิมพวกนี้ จะมี “กระเป๋าอ่อน” ซึ่งทำาด้วยผ้าใบหรือพลาสติกที่เข้ารูปกับตัว ขิมมา ห่อหุ้มไว้เพื่อป้องกันการเสียดสีกระทบกระแทกกับของแข็งจนเป็น รอยขีดข่วน ที่กระเป๋าจะมี ซิปสำาหรับรูดปิดเปิดเพื่อให้ใส่ขิมทั้งตัวได้ สะดวกและมีช่องสำาหรับใช้เก็บอุปกรณ์ต่างๆของขิม เช่น สายขิม แปรง สำาหรับปัดฝุ่น กระบอกเทียบเสียง และ เหล็กแหลมที่ใช้ในการเขี่ยแคะสาย ขิม เวลาที่จะเปลี่ยนสายขิมเป็นต้น บางร้านยังให้กระเป๋าเล็กๆ สำาหรับใส่ ของกระจุกกระจิกมาด้วย นับว่าเป็นการคิดค้นปรับปรุงและพัฒนาทางด้าน อุปกรณ์อำานวยความสะดวกในการบรรเลงขิมที่ ดีขึ้นกว่าแต่ก่อนมากที เดียว ขิมแผ่น (ขิมทอง ขิมเหล็ก ขิมอะลูมิเนียม)
  • 7. ชื่อเรียกส่วนต่างๆของ “ขิมแผ่น” 1 – ตัวขิม 2 – ฝาขิม 3 – ไม้ตีขิม 4 – หูหิ้ว 5 – สลักกุญแจ 6 – กุญแจ 7 – ที่เหน็บไม้ 8 – แผ่นโลหะ ยังมีขิมอีกประเภทหนึ่งที่มีลักษณะการเรียงเสียงคล้ายกับขิม 7 หย่อง แต่ ใช้แผ่นโลหะแทน สายขิมทำาให้เสียงแตกต่างออกไปจากขิมสายคือ เสียง จะคล้ายกับเสียงฆ้องวงที่ใช้บรรเลงในวง ปี่พาทย์ ไม้ตีขิมก็ทำารูปร่าง เปลี่ยนไปคือส่วนหัวทำาด้วยลูกยางกลมๆเพื่อให้เสียงดังนุ่มนวลยิ่งขึ้น แต่ เดิมคงจะเริ่มทำาด้วยโลหะเช่นเหล็กหรือทองเหลืองก่อน จึงเรียกกันว่า “ขิม เหล็ก” หรือ “ขิม ทอง” (ย่อมาจากคำาว่าทองเหลือง) ต่อมาเมื่อมีการใช้ อะลูมิเนียมทำาก็เรียกกันว่า “ขิมอะลูมิเนียม” เมื่อเรียกกันหลายชื่อเช่นนี้จึง เกิดชื่อรวมขึ้นคือ “ขิมแผ่น” ซึ่งหมายถึงขิมที่ใช้แผ่นโลหะแทนสาย ขิม นั่นเอง ขิมแผ่นนี้มีรูปร่างโดยทั่วไปคล้ายกับขิมกระเป๋าคือมีวัสดุเปลือกแข็ง หุ้มอยู่ทั้งที่ตัวขิม และฝาขิม มีกุญแจซึ่งผู้ใช้สามารถล็อคได้ มีที่สำาหรับ เหน็บไม้ขิม แต่ไม่มีอุปกรณ์สำาหรับเทียบ เสียงขิม เพราะเสียงจะไม่เพื้ยน เนื่องจากเป็นแผ่นโลหะที่กลึงจนได้นำ้าหนักเสียงมาพอดีแล้ว ข้อ แตกต่าง จากขิมสายที่สำาคัญอีกประการหนึ่งคือแผ่นโลหะที่นำามาเรียงแทนสายขิม นั้นจะมีแถวละ 8 แผ่นและเรียงเสมอกันทุกแถวไม่ได้เรียงสลับเหลื่อมกัน เหมือนขิมสายเวลาบรรเลงก็บรรเลง เฉพาะทำานองหลัก จึงเรียกได้ว่าเป็น
  • 8. “ฆ้องของวงเครื่องสาย” ขิมแยกส่วน ขิมชนิดนี้เป็นขิม 7 หย่องชนิดอีกหนึ่ง แต่เป็นขิมลูกผสม ระหว่างขิมกระเป๋าและขิมไม้ สามารถถอดแยกออกได้เป็น 3 ส่วนใหญ่ๆคือ ตัวขิม ฝาขิมด้านบน และ ฝาขิมด้านล่าง ดังภาพ ต่อไปนี้ ชื่อเรียกส่วนต่างๆของขิมแยกส่วน 1 ตัวขิม 2 ฝาขิมด้านล่าง 3 ฝาขิมด้านบน 4 หูหิ้ว 5 สลักกุญแจด้านบน 6 สลักกุญแจด้านล่าง 7 ขาตั้งสำาหรับวางตัวขิม ทำาด้วยแผ่นไม้ สามารถถอดเก็บพับได้ ในภาพจะเห็นว่าตัวขิมนั้นแยกเป็นอิสระออกจากฝาขิมและสามารถเก็บไว้ ภายในฝาขิมด้านบน และฝาขิมด้านล่างคล้ายๆกับตัวหอยซ่อนอยู่ใน เปลือกหอย เวลาจะบรรเลงก็นำาตัวขิมออกมาวาง ไว้บนขาตั้งซึ่งผู้ผลิตทำา มาให้เป็นพิเศษหรือจะวางซ้อนไว้บนผาขิมก็ได้ ขาตั้งนี้ถอดแยกออกได้ เป็น 3 ชิ้น ดังในภาพหมายเลข 7 ซึ่งสามารถถอดและประกอบเข้าเป็นขา ตั้งสำาหรับรองรับตัวขิม ไว้ขาตั้งนี้จะเอนลาดลงมาหาตัวผู้บรรเลงทำาให้ สามารถตีขิมได้สะดวกยิ่งขึ้นและสามารถถอดพับหรือวางตามแบนไว้ ภายในฝาขิมได้เพราะใช้วิธีเกาะเกี่ยวกันด้วยบานพับโลหะเล็กๆที่สวมล็อค เข้าหากันได้ ขิมแยกส่วนนี้แข็งแรงมากเนื่องจากกรอบตัวขิมทำาด้วยไม้ เนื้อแข็ง แม้ตัวจะมีขนาด เท่าขิม 7 หย่องโดยทั่วไป แต่มีนำ้าหนักมากกว่า จนเห็นได้ชัดรูปร่างของตัวขิมก็มีลักษณะที่ “เข้า รูป” กับฝาขิม เพื่อให้ สามารถวางขิมไว้ภายในฝาได้อย่างสนิทแนบเนียน ภายในฝาขิมทั้งด้าน บนและด้านล่างบุไว้ด้วยสักหลาดและมีขอบกันชนบุสักหลาดไว้สำาหรับ
  • 9. กันตัวขิมกระแทกกับฝา ขิมด้วย นอกจากลักษณะพิเศษดังที่ได้กล่าวมา แล้วส่วนอื่นๆก็มีลักษณะเหมือนขิมไม้ 7 หย่อง ทั่วไปแต่เสียงของขิมแบบนี้ จะ “แน่น” กว่าขิมไม้แบบอื่นๆ ขิม 9 หย่อง ขิม 9 หย่องนี้เป็น”วิวัฒนาการ”ในการผลิตขิมที่สำาคัญอีกก้าวหนึ่งของช่าง ดนตรีไทยทีเดียว เพราะตัวขิมจะมีลักษณะเด่นๆที่เปลี่ยนไปจากขิม 7 หย่องอย่างเห็นได้ชัด ดังในภาพต่อไปนี้ ชื่อเรียกส่วนต่างๆของขิม 9 หย่อง 1 ตัวขิม 2 หย่องขิมมี 9 อัน 3 หมุดยึดสายเป็นเกลียว 4 ช่องเสียงอยู่ข้างใต้ตัวขิม 5 ไม้ขิม 6 หน้าขิมด้านบนเรียบ ตัวขิมจะมีขนาดใหญ่กว่าขิมธรรมดาทั่วไป พิ้นผิวด้านบนมีลักษณะโค้ง ลาดเล็กน้อยและไม่ได้ทำา “ช่องเสียง” ไว้เป็นรูกลมๆขิมแบบ 7 หย่องแต่ได้ ทำาเป็นร่องยาวไว้ที่ข้างใต้ตัวขิมแทน (ดูภาพ หมายเลข 4) ทำาให้ภาพตัว ขิมด้านบนดูแปลกออกไปจากเดิม นอกจากการย้ายตำาแหน่งของ “รูช่อง เสียง” แล้ว ขิม 9 หย่องยังได้เพิ่มจำานวนหย่องรองรับ รายขิมด้านบนขึ้น ไปอีก 2 อันรวมเป็น 9 อัน ด้วยเหตุผลดังนี้คือ เนื่องจากขิมชนิดนี้ใช้สาย ลวด เหล็กเสตนเลส-สตีล แทน สายทองเหลือง สายเสตนเลส-สตีลนั้นมี ความเหนียวคงทนมากกว่า สายทองเหลืองหากต้องการให้เสียงขิมกังวาน ดีจะต้องขึงให้มีความตึงมากๆแต่ถ้าช่วงยาวของ ขิมมีขนาดเท่าเดิมเช่น เดียวกับขิม 7 หย่องแล้วจะไม่สามารถขึงให้ตึงมากๆได้เพราะระดับเสียง
  • 10. จะสูงเกินไป คือจะสูงกว่าระดับเสียงเพียงออ ซึ่งนิยมใช้บรรเลงกันในวง เครื่องสายของไทย ดัง นั้นผู้ผลิตขิมจึงได้เพิ่มความยาวของตัวขิมออกไป อีกเพื่อให้สามารถเพิ่มความตึงของสายขิมได้ มากขึ้นโดยไม่ทำาให้ระดับ เสียงสูงขึ้นแต่เมื่อเพิ่มช่วงยาวแล้วหากไม่เพิ่มทางช่วงกว้างให้สัมพันธ์ กัน ตัวขิมจะแลดูเรียวยาวผิดส่วนไป จึงต้องเพิ่มทางส่วนกว้างออกไปอีกทำาให้ จำานวนหย่องเพิ่ม ขึ้นอีก 2 หย่อง กลายเป็นขิม 9 หย่องไป ถ้าหากจะใช้ จำานวน 7 หย่องเหมือนเดิมโดยขยายช่วง ห่างระหว่างหย่องแต่ละอันออก ไปก็จะทำาให้ตำาแหน่งการตีสายขิมแต่ละตำาแหน่งกว้างมากเกิน ไปจะไม่ สะดวกสำาหรับผู้บรรเลงเพราะต้องเคลื่อนไหวมือเป็นระยะทางมากขึ้นทั้งใน แนวนอน และในแนวดิ่ง การจัดวางระยะตำาแหน่งสายขิมในแนวดิ่งให้ เหมือนกับขิม 7 หย่องจึงสะดวก กว่าเพราะผู้บรรเลงจะเคลื่อนไหวมือยาว มากกว่าเดิมเฉพาะทางด้านแนวนอนเท่านั้น นอกจากตำาแน่งของ “รูช่อง เสียง” ที่เปลี่ยนไป จำานวน “หย่อง” ที่เพิ่มขึ้น และใช้สายลวด “เสตนเลส- สตีล” แทนสายลวด “ทองเหลือง” แล้ว ส่วนประกอบอื่นๆของขิมแบบนี้ก็ คล้ายกับ ขิม 7 หย่องโดยทั่วไปแต่คุณภาพของเสียงนั้นดีกว่าขิมที่ใช้สาย ลวดทองเหลืองและยังสามารถ บรรเลงในระดับเสียง “เพียงออ” ได้ด้วย เสียงของขิม 9 หย่องนี้จะมีความคมชัดและมีความ นิ่มนวลมากกว่าขิม 7 หย่อง แต่ความดังจะด้อยกว่าเล็กน้อย ซึ่งสามารถแก้ไขได้โดยการเลือกไม้ ตีขิมที่เหมาะสม การที่มีตำาแหน่งการตีสายขิมเพิ่มขึ้นอีกแถวละ 2 ตำาแหน่งทั้ง 3 แถว ทำาให้ผู้ บรรเลงสามารถใช้เสียงได้มากขึ้น การ บรรเลงขิมจึงมีความสะดวกและมีความไพเราะน่าฟังมาก ขึ้นด้วย นอกจาก นั้นยังสามารถเทียบให้เข้ากับระดับเสียงของดนตรีสากลได้ด้วยเพราะเมื่อมี สาย เพิ่มขึ้นก็สามารถจัดเสียงบางเสียงเป็น “ครึ่งเสียง” ไว้ในระหว่างเสียง เต็ม ทำาให้สามารถ บรรเลงเพลงสากลได้ดีสิ่งที่แปลกออกไปอีกประการ หนึ่งของขิม 9 หย่องคือ หย่องบังคับเสียง นั้นนอกจากสันด้านบนจะทำา เป็นท่อนโลหะกลมมนสวยงามแล้ว ยังทำาเป็นเชิงยื่นเข้ามาทางด้าน ในตัว ขิมด้วย “เชิง” หรือส่วนยื่นที่ว่านี้ใช้ประโยชน์ในการปรับเทียบเสียงขิมได้ หลากหลายยิ่ง ขึ้น โดยใช้เป็นที่สำาหรับสอดท่อนโลหะกลมๆหนุนเข้าไป คั่นอยู่ใต้สายขิมทำาให้สามารถปรับเทียบ เสียงขิมได้มากขึ้นโดยไม่ต้อง หมุนที่หมุดเทียบเสียง การเทียบเสียงขิมแบบนี้จะใช้ในกรณีที่ต้อง การเพิ่ม ระดับเสียงของสายขิมตำาแหน่งใดตำาแหน่งหนึ่งให้มีระดับเสียงสูงขึ้นโดย
  • 11. ไม่ทำาให้ระดับ เสียงของสายขิมด้านฝั่งตรงกันข้ามเปลี่ยนแปลงไป (เรื่องนี้ จะได้อธิบายโดยละเอียดต่อไปในบท ที่ว่าด้วยวิธีการปรับเทียบเสียงสาย ขิม) สรุปรวมความแล้ว ขิม 9 หย่อง เป็นขิมที่ช่างดนตรีของไทยได้คิดค้น และพัฒนาขึ้นจนมี ลักษณะแตกต่างออกไปจากขิมโป๊ยเซียนมาก ทั้งยังให้ คุณภาพเสียงที่ดีกว่า นับว่าเป็นวิวัฒนาการ ทางด้านการผลิตขิมที่สำาคัญ ก้าวหนึ่งในวงการดนตรีของไทย ขิม 11 หย่อง ถัดจากขิม 9 หย่องก็มีการพัฒนาการผลิตขิมเป็นแบบชนิด 11 หย่องซึ่งมี ลักษณะทั่วไปเหมือน กับขิมชนิด 9 หย่องทุกประการแต่มีจำานวนหย่อง เพิ่มขึ้นเป็น 11 หย่อง ขิมแบบนี้สามารถปรับ เทียบสายขิมให้สามารถ บรรเลงได้คล้ายกับขิม 2 ตัวในเวลาเดียวกัน คือทางด้านบนจะมีระบบ เสียงเหมือนกับ ขิม 7 หย่อง 1 ตัว ส่วนด้านล่างก็จะมีระบบเสียงเหมือนกับ ขิม 7 หย่องอีก 1 ตัว ทำาให้มีช่วงเสียงลึกมากกว่าขิม 9 หย่องและ 7 หย่อง แต่วิธีการบรรเลงก็ซับซ้อนตามไปด้วย ถ้าผู้บรรเลงขิมไม่มีความ สามารถเพียงพอแล้วจะรู้สึกไม่สะดวกเวลาบรรเลง ขิม 11 หย่อง (เสียงทุ้ม)
  • 12. ยังมีขิม 11 หย่องอีกรุ่นหนึ่งที่ผู้ผลิตออกแบบมาให้มีเสียงทุ้มกังวานเป็น พิเศษโดยได้เปลี่ยน ผังโครงสร้างภายในตัวขิมเสียใหม่และใช้สายลวดเส ตนเลสสตีลที่มีขนาดใหญ่เป็นพิเศษทำาให้ เสียงขิมดังกังวานลึกมากขึ้นจน น่าจะเรียกว่า “ขิมอู้” เช่นเดียวกับที่เรียก”ขลุ่ยอู้” ขิมแบบนี้มีวิธี การ บรรเลงแตกต่างไปจากวิธีการบรรเลงขิมแบบอื่นโดยเน้นการบรรเลงใน ลักษณะเช่นเดียวกับ “ฆ้องวงใหญ่” คือดำาเนินทำานองห่างๆไม่รวดเร็ว เหมือนกับการบรรเลงขิมตามธรรมดาทั่วไป ตามที่ได้กล่าวมาทั้งหมดนี้เป็น รูปแบบของขิมชนิดต่างๆที่ช่างดนตรีไทยได้ผลิตขึ้นโดยใช้ จินตนาการ และความสามารถของตนเองเป็นวิวัฒนาการในด้านการผลิตเครื่องดนตรี ของไทยที่ น่าสนใจยิ่งเพราะได้เพิ่ม “คุณภาพ” ของเสียงดนตรีให้น่าฟัง มากยิ่งขึ้น แม้ว่าเราจะได้รับแบบ อย่างของขิมมาจากชาติอื่นก็จริงแต่เรา ก็ได้นำามาประดิษฐ์คิดค้นจนเป็นแบบฉบับของไทยเราเอง ทั้งยังมีคุณภาพ เสียงที่ดีขึ้น เมื่อเครื่องดนตรีมีคุณภาพเป็นมาตรฐานแล้ว ดนตรีไทยก็ ไพเราะน่า ฟังมากขึ้นเช่นเดียวกัน ขิมโป๊ยเซียน ขิมเริ่มมีบทบาทในวงดนตรีไทยจริงๆในสมัยรัชกาลที่ 6 โดย อาจารย์ มนตรี ตรโมท เป็นผู้ริเริ่มนำาขิมมาบรรเลงในวงดนตรีไทย หลังจากนั้นก็มี ผู้นิยมบรรเลงขิมกันแพร่หลายทั่วไป ขิมจีนรุ่นแรกๆนั้นคนไทยนิยมเรียก ว่า “ขิมโป๊ยเซียน” เป็นขิมที่สั่งเข้ามาจากประเทศจีนแผ่นดินใหญ่ ที่เรียก ว่าขิมโป๊ยเซียนก็เพราะขิมรุ่นนั้นนิยมวาดภาพเซียนแปดองค์ของจีนไว้บน
  • 13. ฝาขิมต่อมาเมื่อความต้องการซื้อขิมเพิ่มมากขึ้นประกอบกับประเทศจีน ทำาการปิดประเทศช่างดนตรีของไทยจึงได้คิดประดิษฐ์ขิมขึ้นมาเองโดย เปลี่ยนจากภาพเซียนแปดองค์เป็นภาพลายไทยอื่นๆเช่นลายเทพนม เป็นต้น 1) หน้าขิม 2) ฝาขิม 3)ลิ้นชัก 4) ฆ้อนขิม 5) ไม้ขิม 6)หย่องขิม 7)หมุด ยึดสาย 8) ช่องเสียง 9) สายขิม 10) หย่องบังคับเสียง 11) ห่วงลิ้นชัก 12) หมุด เทียบเสียง หมายเลข 1 “ตัวขิม” ตัวขิมทำาด้วยไม้มีลักษณะกลวงอยู่ภายในส่วนที่เป็นกรอบโครงร่างทำาด้วย ไม้เนื้อแข็งมีขอบ หยักโค้งกลมมนคล้ายปีกผีเสื้อ พื้นด้านล่างและด้านบน ทำาด้วยแผ่นไม้บางๆเป็นไม้เนื้ออ่อนที่เนื้อ ไม้มีลักษณะ “พรุน” เพื่อให้เสียง ก้องกังวานดีขึ้น ทั้ง 2 ฝั่งของตัวขิมเป็นบริเวณที่ตั้งของหมุด ยึดสายขิม หย่องหนุนสายขิม หย่องบังคับเสียง และเป็นที่เก็บลิ้นชักสำาหรับใส่ฆ้อน เทียบเสียง ขิมด้วย หมายเลข 2 “ฝาขิม”
  • 14. ฝาขิมทำาด้วยไม้มีขอบงุ้มลงมาโดยรอบ มีรูปร่างเข้ารูปกับตัวขิมเพื่อให้แล ดูสวยงามเวลาที่ ปิดฝาขิม บางร้านนิยมทำา “แถบสำาหรับเสียบไม้ขิม” ติด ไว้ทางด้านในฝาขิมเพื่อใช้สำาหรับเหน็บ ไม้ขิม ขิมโป๊ยเซียนหรือขิม 7 หย่องรุ่นเก่าๆนั้น มักจะนิยมวาดลวดลายสวยงามไว้บนฝาขิมด้าน นอก เช่น รูปเซียนแปดองค์ มังกรคู่ หรือ ลายเทพนม เป็นต้นฯ ส่วนขิม 7 หย่อง รุ่นปัจจุบันไม่นิยม วาดภาพหรือลวดลายไว้บนฝาขิมแต่นิยมทำาเป็นลายไม้ ลงเงาเรียบๆหรือทำาด้วยวัสดุแข็งเช่นเดียว กับที่ใช้ทำากระเป๋าเดินทาง ฝา ขิมนั้นนอกจากจะมีไว้สำาหรับปกปิดตัวขิมด้านบนแล้วยังใช้ประโยชน์ใน การทำาเป็น “กล่องเสียง” เพื่อขยายเสียงของขิมให้ดังก้องกังวานมากยิ่งขึ้น โดยใช้วางรองรับตัวขิมไว้ด้าน ล่างทำาให้ตัวขิมสูงขึ้นและมีสภาพ “กลวง” อยู่ภายใน นอกจากนั้นฝาขิมยังหนุนให้ตัวขิมมีระดับ สูงขึ้นเวลานั่ง บรรเลงจะถนัดกว่าเพราะมือของผู้บรรเลงไม่ตำ่าลงไปจนชนกับหัวเข่า หมายเลข 3 “ลิ้นชัก” ขิมรุ่นเก่าเช่นขิมโป๊ยเซียนจะมีลิ้นชักไม้เล็กๆอยู่ตรงกลางตัวขิมด้านที่ผู้ บรรเลงนั่งตี ลิ้นชักนี้ มีไว้สำาหรับเก็บ “ฆ้อนเทียบเสียงขิม” ซึ่งทำาด้วยทอง เหลือง ตรงปลาย ลิ้นชักด้านนอกมี หมุด หรือ ห่วงโลหะเล็กๆ ติดไว้เพื่อให้ สามารถใช้มือดึงลิ้นชักออกมาจากตัวขิมได้สะดวกขึ้น นอกจาก ใช้เก็บ ฆ้อนสำาหรับเทียบเสียงขิมแล้ว ยังใช้ลิ้นชักนี้หนุนรองคั่นระหว่าง ตัวขิม และ ฝาขิม เพื่อ เพิ่มระดับความสูงของตัวขิมขึ้นไปอีกทั้งยังช่วยให้เสียง ขิมโปร่งกังวานดีขึ้นด้วย แต่ปัจจุบันไม่ นิยมทำาลิ้นชักแบบนี้แล้วเพราะมัก จะเกิดปัญหาเนื่องจากฆ้อนทองเหลืองพลิกตัวขัดเหลี่ยมอยู่ข้าง ในลิ้นชัก ทำาให้ไม่สามารถจะดึงลิ้นชักออกมาได้ ขิมรุ่นใหม่ๆจึงนิยมทำาที่เก็บฆ้อน เทียบเสียงไว้ที่ ตำาแหน่งอื่นภายนอกตัวขิม หมายเลข 4 “ฆ้อนเทียบเสียง” ฆ้อนเทียบเสียงขิมมักทำาด้วยทองเหลือง ตรงด้ามสำาหรับจับคว้านเป็นช่อง สี่เหลี่ยมลึกเข้าไป เล็กน้อยขนาดพอดีที่จะใช้สวมลงไปบนหัวหมุดยึดสาย ขิมได้ เวลาที่ต้องการเทียบเสียงก็ใช้ด้าม ฆ้อนสวมลงไปบนหัวหมุดยึดสาย ขิมที่อยู่ทางด้านขวามือของผู้บรรเลงขิมแล้วบิดหมุนไปมาเพื่อ ปรับความ ตึงของสายขิมตามที่ต้องการ ที่ใช้ทองเหลืองทำาฆ้อนก็เพราะจะได้มีนำ้า หนักพอที่จะ ตอกยำ้าหมุดให้แน่นติดกับเนื้อไม้ได้ดีนั่นเอง ขิมรุ่นเก่านั้นใช้ หมุดยึดสายขิมแบบที่ตอกยำ้าได้ เวลา ที่หมุดหลวมก็จะใช้ฆ้อนนี้ตอกยำ้า
  • 15. หมุดให้แน่น สายขิมจะได้ไม่คลายตัวง่าย 1 — หัวฆ้อนเทียบเสียง 4 — หมุดสำาหรับเทียบเสียง 2 — ก้านฆ้อนเทียบเสียง 5 — ปลายหมุดที่ฝังในเนื้อไม้ขิม 3 — ช่องที่ด้ามฆ้อน 6 — สายขิม หมายเลข 5 “ไม้ตีขิม” ไม้ตีขิมของจีนนั้นทำาด้วยไม้ไผ่เหลาให้เรียวแบนจากด้ามจนถึงปลาย ตรง ปลายไม้ทำาเป็น สันแข็งไม่นิยมหุ้มวัสดุใดๆไว้ที่ส่วนปลายของไม้ขิม แต่ถ้า เป็นไม้ขิมของไทยจะนิยมบุสักหลาด หรือหนังไว้ตรงปลายไม้เพื่อให้เสียง นุ่มนวลขึ้น หากต้องการจะให้ไม้ขิมมีลักษณะโค้งงอให้ลน ตรงบริเวณที่ ต้องการงอด้วยความร้อนจากเปลวไฟพร้อมกับใช้มือดัดให้โค้งทีละน้อย เมื่อพอใจ แล้วให้ปล่อยทิ้งไว้อย่างนั้นสักพัก เมื่อไม้ขิมเย็นลงจะโค้งงอดัง ที่ต้องการ ไม้ตีขิมนี้จะใช้เป็น อุปกรณ์ในการเทียบเสียงขิมควบคู่กับฆ้อนท องเหลืองกล่าวคือเวลาเทียบเสียงผู้เทียบจะใช้มือ ขวาจับฆ้อนเทียบเสียง สวมลงไปบนหมุดยึดสายขิมเพื่อหมุนปรับความตึงของสายขิม ในเวลา เดียวกันก็จะใช้มือซ้ายจับด้ามไม้ขิมเขี่ยหรือกรีดสายขิมเพื่อฟังเสียงไป ด้วย ไม้ขิมนั้นมีส่วน สำาคัญต่อเสียงขิมเป็นอย่างยิ่งเพราะเสียงขิม จะดัง หรือเบา จะแหลมหรือเสียงทุ้ม ล้วนอยู่ที่ไม้ ขิมเป็นส่วนใหญ่ การเลือกใช้ ไม้ขิมให้เหมาะกับเพลงที่บรรเลงจึงเป็นเรื่องสำาคัญที่ผู้บรรเลงต้อง คำานึง ถึงเช่นกัน หมายเลข 6 “หย่อง” หย่องขิมมี 2 ชนิดคือ “หย่องหนุนสายขิม” และ “หย่องบังคับเสียงขิม” หย่องหนุนสายขิม นั้นมี 2 ชิ้น แต่ละชิ้นมีลักษณะยาวแบนเป็นสันหนา
  • 16. ส่วนล่างนิยมฉลุเป็นลวดลายโปร่ง ส่วนบน มีลักษณะคล้ายกับ “ใบเสมา” มี 7 อันด้วยกัน ทำาด้วยวัสดุแข็งเช่น กระดูกสัตว์หรืองาเพื่อให้ สามารถทน แรงกดจากสายขิมจำานวนมากได้ ถ้าหากไม่ใช้ กระดูกสัตว์ หรืองาก็ใช้ไม้ เนื้อแข็ง หรือพลาสติกแทนได้แต่ต้องฝังแผ่นโลหะ เช่นทองเหลืองหรือ ลวดเหล็กไว้บนสันด้านบน เพื่อ ให้แข็งพอที่จะรับแรงกดจากสายขิมได้ เป็นเวลานานๆ ขิมตัวหนึ่งจะใช้หย่องหนุนสายขิมจำานวน 2 แถว แถวทาง ด้านซ้ายมือของผู้บรรเลงทำาให้เกิดเสียงที่สามารถบรรเลงได้ทั้ง 2 ฝั่งของ ตัว หย่อง ส่วนแถวทางด้านขวามือของผู้บรรเลงทำาให้เกิดเสียงที่สามารถ บรรเลงได้เฉพาะเพียง “ฝั่งซ้าย” ของหย่องเท่านั้น ตรงส่วนที่ถัดจากแนว ที่ตั้งของหย่องที่มีรูปร่างคล้ายกับใบเสมาลงมามักจะนิยมฉลุเป็นลาย โปร่ง เพื่อให้แลดูสวยงาม ถ้าเป็นขิมโป๊ยเซียนก็จะฉลุเป็นลายระเบียงแบบอาคาร จีน บางทีก็เป็นลายดอกไม้ ทั้งนี้สุดแท้แต่ช่างผู้ผลิตขิมจะเห็นสวยงาม หย่องหนุนสายขิมทั้ง 2 อันนี้ทำาหน้าที่ถ่ายทอดแรงสะเทือนจาก สายขิม ลงสู่พื้นไม้ด้านบนของตัวขิม ทำาให้เกิดเสียงก้องกังวาน หย่อง จึงต้องทำา ด้วยไม้เนื้อแข็งที่ไม่มี “ตาไม้” หรือเนื้อไม้ที่จะบิดเบี้ยวได้โดยง่าย นัก ดนตรีไทยบาง คนเรียกหย่องว่า “นม” คือเรียกตามแบบ “นมจะเข้” เพราะ
  • 17. เห็นว่าใบเสมามีลักษณะหยักขึ้นลง เป็นแนวยาวเช่นเดียวกับนมจะเข้ โดย ความจริงแล้ว นมจะเข้ไม่ได้รองรับติดอยู่กับสายของจะเข้ คือไม่ได้ทำา หน้าที่หนุนสายจะเข้ แต่ทำาหน้าที่รองรับการกดของนิ้วมือขณะที่นักดนตรี ดีดจะเข้ จึงไม่ได้เรียกว่าหย่อง การที่เราเรียกว่า “นมจะเข้” นั้น เพราะเดิม จะเข้ทำาเป็นรูปตัวจระเข้ซึ่งเป็น สัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง เราจึงเรียกชิ้นไม้ เล็กๆที่เรียงรายอยู่บนตัวจะเข้ว่า “นม” ส่วนหย่อง ของจะเข้นั้นเป็นแผ่นไม้ แบนหนาด้านบนเจาะเป็นช่องในลักษณะของ “ซุ้มประตู” ตั้งอยู่ตรงด้าน ซ้ายมือของผู้บรรเลงก่อนที่จะถึง “รางไหม” (ร่องสำาหรับสอดสายจะเข้ลง ไปในรูที่ก้านลูกบิด) ทำาหน้าที่รองรับสายทั้ง 3 สายของจะเข้ไว้ก่อนที่จะ ไปถึงก้านลูกบิดของจะเข้ หย่องของ “หยางฉิน” (ขิมจีน) ในปัจจุบัน บาง แบบทำาหย่องแยกออกไปตัวๆอย่างอิสระคือ ไม่ได้เป็นชิ้นเดียวกันแต่ทำา เป็นลักษณะคล้ายกับตัวหมากรุกมีฐานกลม ด้านบนทำาเป็นสันแข็งไว้ รองรับสายขิมเหมือนขิมทั่วไป การที่ทำาหย่องแยกเป็นอิสระจากกันนี้มีข้อดี ในการปรับเทียบ เสียงคือ ทำาให้สะดวกในการจัดเสียงของสายขิมแต่ละ เส้นได้อย่างอิสระแต่ก็มีข้อเสียคือแนวที่ ตั้งของหย่องอาจไม่เรียงกันเป็น แถวอย่างสวยงามนักและไม่เหมาะสำาหรับผู้ที่เทียบเสียงเองไม่ เป็นเพราะ ต้องเลื่อนจัดหย่องประเภทนี้อยู่บ่อยครั้ง หมายเลข 8 “ช่องเสียง” ช่องเสียงนี้มี 2 ช่องด้วยกัน นิยมคว้านเป็นรูกลมไว้บนพื้นไม้ด้านบนของ ตัวขิม รูนี้มีไว้เพื่อ ช่วยให้เสียงขิมดังกังวานดีขึ้นทั้งนี้เพราะภายในตัวขิม กลวงหากไม่เจาะช่องไว้เสียงจะอับเกิน ไปไม่น่าฟัง เมื่อเจาะเป็นช่องแล้ว ช่างขิมจะทำาแผ่นวงกลมที่ฉลุเป็นลวดลายปิดทับรูช่องเสียงไว้ ทั้ง 2 รูเพื่อ ให้ดูสวยงามขึ้น วัสดุที่ใช้ทำาแผ่นประดับนี้เดิมนิยมทำาด้วย งา หรือ กระดูก สัตว์ แต่ ในปัจจุบันเนื่องจาก งา หายาก จึงเปลี่ยนไปใช้พลาสติกแทน แต่
  • 18. บางร้านก็ใช้วัสดุจำาพวกโลหะ มาฉลุเป็นลวดลายก็มี แผ่นวงกลมที่นำามา ปิดช่องเสียงนี้ไม่มีผลต่อเสียงขิมเท่าใดนัก เป็นการตก แต่งเพื่อให้แลดู สวยงามขึ้นเท่านั้นเอง บางครั้งถ้าแผ่นวงกลมนี้ติดไม่สนิทกับเนื้อไม้จะ ทำาให้มี เสียง “ซ่า” เวลาตีขิม ให้ลองกดแผ่นวงกลมนี้ไว้ด้วยด้ามไม้ขิม ข้างหนึ่งในขณะที่อีกมือลองใช้ ไม้ตีสายขิมดู เสียงซ่าจะหายไป แต่ถ้า เสียงซ่ายังไม่หายไปก็อาจจะเกิดจากสาเหตุอื่น หมายเลข 9 “สายขิม” สายขิมนั้นส่วนใหญ่ทำาด้วยสายทองเหลืองเนื่องจากมีเสียงกังวานดีและมี สีสันสวยงาม เสียง ขิม 1 เสียง จะเกิดจากสายทองเหลือง 3 เส้น ซึ่งขึง วางพาดอยู่บนตัวขิมและหย่องขิมดังรูปต่อ ไปนี้ 1 – หมุดขิมฝั่งซ้าย 2 – หย่องพักสาย 3 – หย่องหนุนสาย 4 – สายขิม 5 – ตัวขิม 6 – ฝาขิม 7 – ลิ้นชักเก็บฆ้อน 8 – ช่องเก็บลิ้นชัก 9 – สันหย่องหนุนสาย (ใบเสมา) 10 – ฐานหย่องหนุนสาย (ฉลุเป็นร่อง) สายทั้ง 3 เส้นนี้จะขึงอยู่ระหว่างหมุดยึดสายขิมทางฝั่งซ้าย และ หมุดยึด สายทางฝั่งขวาของ ขิมโดยวางพาดอยู่บนหย่อง 3 อันด้วยกันคือ หย่อง พักสาย (ทั้งด้านซ้ายและด้านขวา) และ หย่อง หนุนสาย อีก 1 อัน จำานวน สายขิมทั้งหมดมี 42 เส้น ถ้าเป็นเส้นใหม่ๆจะมีสีเหลืองมันเป็นเงาสวย งาม สามารถใช้มือบิดให้ขาดจากกันได้ง่ายด้วยการพับสายขิมให้งอไขว้กัน แล้วใช้มือบิดโยกไป มาสักสองสามทีก็จะขาด สายทองเหลืองนี้เมื่อนาน เข้าจะมีสีดำาคลำ้าลงเพราะมีขี้ตะกรันมาเกาะ โดยรอบสายจะแห้งเกราะและ ขาดง่ายขึ้นแต่กลับทำาให้เสียงขิมก้องกังวานดีขึ้น ปัจจุบันผู้ผลิตขิมบาง รายเปลี่ยนมาใช้สายลวดเหล็กที่เรียกว่า”เสตนเลส-สตีล” (Stainless Steel) ขึงแทนสายลวดทองเหลืองซึ่งให้คุณภาพเสียงขิมดีขึ้นและสายขิม ไม่ขาดง่ายแต่ตัวขิม จำาเป็นต้องมีขนาดใหญ่ขึ้นเพราะสายลวดเสตนเลส- สตีลนั้นมีความเหนียวกว่าลวดทองเหลืองจึง ต้องขึงให้ตึงมากๆเสียงจึงจะ กังวานดี(การที่เพิ่มช่วงยาวของสายขิมทำาให้ต้องหมุนสายขิมให้ ตึงมาก ขึ้นเสียงขิมจึงจะกังวานดี)แต่ถ้าใช้สายลวด เสตนเลส-สตีลมาเปลี่ยนแทน สายลวดทอง เหลืองโดยไม่เพิ่มช่วงยาวของตัวขิมแล้ว เสียงขิมจะไม่น่าฟัง เพราะสายยังไม่ตึงเต็มที่หรือถ้า จะให้เสียงดังกังวานดีก็ต้องเทียบเสียงขิม ตัวนั้นให้สูงกว่าระดับเสียงปกติที่นิยมบรรเลงกันใน วงเครื่องสาย ไทย(เสียงที่นิยมบรรเลงกันในวงเครื่องสายคือเสียง เพียงออ)
  • 19. หมายเลข 10 “หย่องพักสายขิม” (หย่องบังคับเสียง) หย่องขิมนั้นมีสองประเภทคือ “หย่องหนุนสายขิม” และ “หย่องพักสายขิม” (หย่องบังคับ เสียงขิม) หย่องทั้ง 2 ประเภททำาหน้าที่ต่างกันคือ หย่องหนุน สายขิมจะทำาหน้าที่ ถ่ายทอดแรง สะเทือนจากสายขิมลงสู่พื้นไม้บนตัวขิม เพื่อให้เกิดเสียงก้องกังวานดีขึ้นส่วนหย่องพักสายขิมนั้น นอกจากจะทำา หน้าที่หนุนสายขิมแล้วยังทำาหน้าที่ในการบังคับระดับเสียงสูงตำ่าของสาย ขิมด้วย เพราะหย่องพักสายขิมจะถูกวางให้เอียงทำามุมสอบเข้าหากันทาง ด้านบนคล้ายกับรูปปิรามิด ด้วย เหตุนี้สายขิมที่พาดอยู่ระหว่างช่วงแคบ เช่น ช่วงระยะ A – B ดังในภาพต่อไปข้างล่างจะมีความ ตึงมากกว่าสายที่ พาดอยู่ระหว่างช่วงกว้างคือระยะ C – D เสียงของสายขิมที่อยู่ทางด้านบน จึง สูงกว่าเสียงที่อยู่ทางด้านล่าง 1 — หย่องบังคับเสียง (ด้านซ้าย) 2 — หย่องบังคับเสียง (ด้านขวา) 3 — หย่องหนุนสาย (ด้านซ้าย) 4 — หย่องหนุนสาย (ด้านขวา) บนแนวสันของหย่องบังคับเสียงนี้ทำาด้วยวัสดุที่ “แข็งเป็นพิเศษ” เพื่อให้ สามารถรับแรงกดจาก สายขิมจำานวนมากได้และต้องมีส่วนสูงที่สัมพันธ์กับ หย่องหนุนสายขิมด้วย ตัวหย่องนั้นทำาด้วย ไม้เนื้อแข็ง ถ้าดูทางด้านหน้า ตัดจะมีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมคล้ายกับ “รูปปิรามิด” หย่อง บังคับเสียง ของขิมรุ่นใหม่บางรุ่นทำาฐานแผ่แบนออกมาใช้สำาหรับสอดวางท่อนโลหะ กลมเล็กๆ เพื่อหนุนสายขิมบางสายให้มีเสียงสูงตำ่าเป็นกรณีพิเศษโดย เฉพาะเสียง “ที” (ซี) การวางตำาแหน่งของปลายไม้ขิม
  • 20. ขิมเป็นเครื่องดนตรีที่มีต้นกำาเนิดเสียงมาจาก “การตี” ดังนั้นตำาแหน่งที่ ปลายไม้ขิมกระทบกับสายขิมจึงมีความสำาคัญมากทั้งนี้เพราะความไพเราะ น่าฟังเพียงของเสียงขิมขึ้นอยู่กับจุดกระทบเหล่านี้ทั้งสิ้น จากการสังเกต และประสบการณ์ในการสอนขิมของผมเป็นเวลานานกว่า 30 ปีพบว่าส่วน ใหญ่ ผู้ที่เริ่มฝึกหัดจะตีสายขิมในลักษณะดังแผนภูมิต่อไปนี้คือ ในภาพหมายเลข 1 เมื่อผู้ฝึกเริ่มตีสายขิมมักจะวางไม้ขิมในแนวขนานกัน และตีลงไปตามแนวขนานนั้น การตีแบบนี้ดูเผินๆก็น่าจะสมเหตุผลดีแต่ถ้า ลองฟังเสียงให้ชัดๆจะพบว่าเสียงขิมจากมือซ้ายและมือขวาดังแตกต่างกัน เพราะจุดกระทบของปลายไม้ขิมในมือซ้ายและขวาไม่ใช่ตำาแหน่งเดียวกัน คือปลายไม้ขิมในมือซ้ายจะตกกระทบสายขิมในแนวเส้นประของอักษร A ส่วนปลายไม้ขิมในมือขวาจะตกกระทบสายขิมในแนวเส้นประของอักษร B จึงได้เสียงขิมที่ไม่เท่ากัน เพื่อให้เข้าใจกรณีที่ผมกำาลังกล่าวนี้ได้ชัดเจน ขึ้นขอให้ลองพิจารณาดูภาพหมายเลข 2 ในภาพหมายเลข 2 สมมติว่าเราก้มลงมองขนานไปตามแนวยาวของหย่อง ขิมจะเห็นสายขิมทุกเส้นที่พาดอยู่บนหย่องทางด้านซ้ายทำามุมลาดลงทั้ง สองฟากคล้ายกับพื้นผิวบนถนน ถ้าเราตีสายขิมในแนว A และ B ก็เปรียบ เหมือนรถ 2 คันที่วิ่งกันคนละแนวคือรถคันขวาวิ่งเลียบใกล้เส้นกึ่งกลาง ของถนนส่วนรถคันซ้ายลงไปวิ่งบนไหล่ทาง หากเป็นเรื่องของรถวิ่งบน ถนนก็คงไม่มีผลแตกต่างอะไรกันมากนักหรอกครับแต่ถ้าเป็นการตีสายขิม แล้วจะมีผลแตกต่างกันมากทีเดียวเพราะเสียงขิมจะไม่เหมือนกันคือ เสียง จากมือขวาจะฟังแข็งกระด้างกว่ามือซ้ายเพราะว่าปลายไม้ขิมในมือขวาตี ลงใกล้กับสันหย่องจึงมีความสั่นสะเทือนน้อยกว่า ส่วนเสียงจากมือซ้ายจะ
  • 21. เบากว่าและก้องมากกว่าเพราะตีห่างจากหย่องมากสายขิมจึงสั่นสะเทือน นานกว่า เมื่อเสียงของไม้ ขิมในมือซ้ายและมือขวาไม่เหมือนกันดังนี้แล้วก็อุปมาเหมือนการที่เราใส่ รองเท้าผิดคู่ คือข้างซ้ายใส่รองเท้ายางส่วนข้างขวาใส่รองเท้าหนัง เวลา เดินคงมีเสียงที่ฟังดูแปร่งหูพิลึกๆนะ ด้วยเหตุนี้ขอแนะนำาให้ฝึกตีสายขิมดังตัวอย่างแผนภูมิในภาพหมายเลข 3 จะดีกว่า ภาพหมายเลข 3 เป็นการตีสายขิมโดยให้ปลายไม้ขิมตกกระทบกับสายขิม เป็นแนวระนาบเดียวกัน วิธีการวางแนวไม้ขิมก่อนตีนั้นจะเหมือนกันคือให้ คู่ขนานกันเหมือนกับรางรถไฟ แต่เวลาที่ตีสายขิมแล้วตอนที่ยกปลายไม้ ขึ้นให้เบี่ยงปลายไม้ขิมเฉียงออกเล็กน้อยเพื่อจะได้ไม่ชนกับปลายไม้ขิมอีก ข้างที่กำาลังตีตามลงไป ดังนั้นจุดตกกระทบของปลายไม้ขิมจึงเป็นแนว เดียวกันโดยตลอดซึ่งก็คือแนวของ “จุด C” ดังที่ได้แสดงไว้ในภาพ หมายเลข 3 นั่นเอง วิถีของปลายไม้ขิมขณะที่ยกขึ้นลงจึงมิได้อยู่ในแนว ตรงหากแต่โค้งเบี่ยงออกเล็กน้อยและทำามุมเป็นรูปตัว V การตีแบบนี้เรียก ได้ว่าเป็นการตี “ทับรอย” คล้ายกับการวางตำาแหน่งของเท้าในขณะที่เดิน ไต่เชือกเส้นเดียวนั่นเอง การตีขิมโดยวางแนวปลายไม้แบบนี้จะได้เสียงขิม ที่ดังชัดเท่ากันทั้งมือซ้ายและมือขวาทำาให้บรรเลงขิมได้ไพเราะน่าฟังกว่า การตีแบบภาพหมายเลข 2 ซึ่งน่าจะเรียกว่าตีแบบ “เป็ดเดิน”คือไม้ขิม เคลื่อนไปคนละแนวคล้ายกับการเดินของเป็ดและยังทำาให้เสียงขิมไม่เท่า กันด้วยขอให้ฝึกตีสายขิมขึ้นลงทั้ง 3 แถวจนคล่องพร้อมทั้งกำาหนดรู้ 3 ประการไปด้วยในขณะที่ฝึกตีคือ 1) ต้องตีสายขิมให้ดังเท่ากันทั้งสองมือ 2) จังหวะการซอยสลับมือต้องสมำ่าเสมอ 3) ตีสายขิมได้แม่นยำาทั้งมือซ้ายและมือขวา ทั้งหมดที่มานี้เป็นการฝึกขั้นพื้นฐานในการตีขิมซึ่งผู้เริ่มฝึกหัดตีขิมควร ทราบและทำาให้ได้ก่อนที่จะเริ่มเรียนรู้การตีเป็นทำานองเพลง หากสามารถ ตีดัง-ฟังชัด และตีได้อย่างต่อเนื่องราบเรียบและมีความแม่นยำาทั้งมือ ซ้าย- ขวา แล้ว จะบรรเลงเพลงอะไรก็ไพเราะทั้งนั้น ส่วนใหญ่ผู้ที่เรียนตีขิมมักจะใจร้อนและไม่เห็นความสำาคัญของการฝึกขั้น พื้นฐานเพื่อให้สามารถตีขิมได้เสียงดังฟังชัดเสียก่อน ข้ามไปเริ่มฝึก บรรเลงเป็นเพลงเลย จึงบรรเลงเพลงไม่ได้ไพเราะเท่าที่ควร การฝึกตีสาย ขิมให้แม่นยำาและได้คุณภาพเสียงที่ชัดเจนก็เหมือนกับการฝึกหัดพูดนั่นแห ล่ะ เมื่อพูดได้ชัดแล้วต่อไปจะพูดสักกี่ร้อยกี่พันคำาก็ชัดน่าฟังเหมือนกันหมด
  • 22. แต่ถ้าพูดไม่ชัดแล้วถึงจะพูดกี่ร้อยกี่พันคำาก็พูดไม่ชัดทั้งนั้น นอกจากทำาให้ ผู้ฟังไม่ประทับใจแล้วยังพลอยรู้สึกรำาคาญด้วย โน้ตเพลงตระกูลลาว -ลาวดวงเดือน http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=thai- music&month=11-2008&date=13&group=9&gblog=13 ลาวเสี่ยงเทียน http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=thai- music&month=01-2009&date=03&group=9&gblog=15 ลาวจ้อย http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=thai- music&month=01-2010&date=12&group=9&gblog=42 ลาวดำาเนินทราย http://sarnthai.com/images/sornt_laodm.gif ตัวอย่างรวมเพลงไทยเดิมที่เล่นกับขิม(ตระกูลลาว) -ลาวดวงเดือน https://www.youtube.com/watch? v=PPF_U7I6Rhk&list=PLE56B0B4EEE74F1C8 -ลาวเสี่ยงเทียน https://www.youtube.com/watch? v=PiHsaXAKxT0&list=PLE56B0B4EEE74F1C8&index=2 -ลาวจ้อย https://www.youtube.com/watch? v=GK2rSIsjfiw&list=PLE56B0B4EEE74F1C8&index=13 -ลาวดำาเนินทราย https://www.youtube.com/watch? v=_AMGPf53nlo&index=5&list=PLE56B0B4EEE74F1C8 -ลาวเจริญศรี https://www.youtube.com/watch? v=PYhwwNrG0BQ&index=4&list=PLE56B0B4EEE74F1C8 -ลาวครวญ
  • 23. https://www.youtube.com/watch? v=Cx24_3B9z_s&index=6&list=PLE56B0B4EEE74F1C8 -ลาวลำาปางเล็ก https://www.youtube.com/watch? v=Ni1UvCy8yUU&list=PLE56B0B4EEE74F1C8&index=7 -ลาวล่องน่าน https://www.youtube.com/watch? v=Ni1UvCy8yUU&index=7&list=PLE56B0B4EEE74F1C8 -ลาวเจ้าชู https://www.youtube.com/watch? v=keP0cKa7tWU&index=9&list=PLE56B0B4EEE74F1C8 -ลาวกระแตเล็ก https://www.youtube.com/watch? v=08rycJMb4AA&list=PLE56B0B4EEE74F1C8&index=10 -ลาวกระทบไม้ https://www.youtube.com/watch?v=kvWkoaXRJOk -ลาวม่านแก้ว https://www.youtube.com/watch?v=dG64MTBFfvk -ลาวคำาหอม https://www.youtube.com/watch?v=UPpFupdLNRI -ลาวแพน https://www.youtube.com/watch?v=J08vOmpQ0UA ระนาด ระนาด เป็นเครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่ง จัดเป็นเครื่องดนตรีชนิด เครื่องตี ประกอบด้วย ลูกระนาด ร้อยด้วยเชือก เรียกว่า "ผืน" แขวนไว้ กับ ราง ซึ่งทำาหน้าที่รองรับลูกระนาด (แขวนลอย ไม่ได้วางรายกับราง) และทำาหน้าที่เป็นกล่องเสียงด้วย ผู้เล่นจะใช้ ไม้ตี จำานวน 2 อัน สำาหรับตี ลูกระนาดให้เกิดเป็นท่วงทำานอง ไม้ตีระนาด มีด้วยกัน 2 แบบ คือ ไม้นวม จะให้เสียงทีฟังแล้วรู้สึกได้ ถึงความไพเราะ นุ่มนวลที่หัวของไม้ จะใช้ผ้าพันให้เป็นนวมก่อนจากนั้น จะใช้เส้นได้พันทับอีกที ไม้ตีระนาดชนิดนี้นิยมใช้เล่นบรรเลงในวงมโหรี, วงปี่พาทย์ไม้นวม และ ไม้แข็ง ซึ่งจะให้เสียงที่ฟังแล้วรู้สึกถึงความมี อำานาจ และแข็งแกร่ง ลักษณะของไม้จะพันเช่นเดียวกันกับไม้นวม เพียง
  • 24. แต่จะชุบด้วย "รัก" เป็นระยะ และที่ชั้นนอกสุด แล้วจึงพันอีกครั้งด้วยผ้าดิบ บาง ๆ เป็นอันเสร็จ ทำาให้ได้หัวไม้ที่แข็ง และสังเกตได้ง่าย ๆ ที่สีของหัวไม้ ซึ่งจะดำาสนิท ระนาดของไทยนั้น มีด้วยกัน 4 ชนิด ดังนี้ • ระนาดทุ้ม • ระนาดทุ้มเหล็ก • ระนาดเอก • ระนาดเอกเหล็ก แหล่งข้อมูลอื่น • ส่วนประกอบของระนาด ระนาดทุ้ม INCLUDEPICTURE "https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/c/ca/Ranat_thum.jpg/220px-Ranat_thum.jpg" * MERGEFORMATINET ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้ม เป็นเครื่องดนตรีที่สร้างขึ้นมาในรัชกาลที่ 3 แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ เป็นการสร้างเลียนแบบระนาดเอก ใช้ไม้ชนิดเดียว กันกับ ระนาดเอก ลูกระนาดทุ้มมีจำานวน 17 หรือ 18 ลูก ลูกต้นยาวประมาณ 42 ซม กว้าง 6 ซม และลดหลั่นลงมาจนถึงลูกยอด ที่มีขนาดยาว 34 ซม กว้าง 5 ซม รางระนาดทุ้มนั้นประดิษฐ์ให้มีรูปร่างคล้ายหีบไม้ แต่เว้าตรง กลางให้โค้ง โขนปิดหัวท้ายเพื่อ เป็นที่แขวนผืนระนาดนั้น ถ้าหากวัดจาก โขนด้านหนึ่งไปยังโขนอีกด้านหนึ่ง รางระนาดทุ้มจะมีขนาดยาวประมาณ 124 ซม ปาก รางกว้างประมาณ 22 ซม มีเท้าเตี้ย รองไว้ 4 มุมราง
  • 25. หน้าที่ในวงของระนาดทุ้มนั้น ทำาหน้าที่เดินทำานองรอง ในทางของ ตนเองซึ่งจะมีจังหวะโยน ล้อ ขัด ที่ทำาให้เกิดความไพเราะและเติมเต็มช่อง ว่างของเสียง อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มเหล็ก ระนาดทุ้มเหล็ก ระนาดทุ้มเหล็ก เป็นเครื่องดนตรีที่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้า อยู่หัว ในรัชกาลที่ 4 มีพระราชดำาริให้สร้างขึ้น ลูกระนาดทำาอย่างเดียวกับ ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุ้มเหล็กมีจำานวน 16 หรือ 17 ลูก ลูกต้นยาว ประมาณ 35 ซม กว้างประมาณ 6 ซมและลดหลั่นลงไปจนถึงลูกยอดซึ่ง ยาวประมาณ 29 ซม กว้างประมาณ 5.5 ซม ตัวรางระนาดยาวประมาณ 1 เมตร ปากราง กว้างประมาณ 20 ซม มีชานยื่นออกไปสองข้างราง ถ้า นับส่วนกว้างรวมทั้งชานทั้งสองข้างด้วย รางระนาดทุ้มเหล็กจะกว้าง ประมาณ 36 ซม มีเท้ารองติดลูกล้อ 4 เท้า เพื่อให้เคลื่อนที่ไปมาได้สะดวก ตัวรางสูงจากพื้นถึงขอบบนประมาณ 26 ซมระนาด ทุกชนิดที่กล่าวมานั้น จะใช้ไม้ตี 2 อัน ระนาดทุ้มเหล็กทำาหน้าที่เดินทำานองคล้ายฆ้องวงใหญ่ เพียงแต่เดิน ทำานองห่างกว่า ระนาดเอก ระนาดเอก
  • 26. ระนาดเอกเป็นเครื่องตีชนิดหนึ่ง ที่วิวัฒนาการมาจากกรับ แต่เดิมคง ใช้กรับสองอันตีเป็นจังหวะ ต่อมาก็เกิดความคิดว่า ถ้าเอากรับหลาย ๆ อัน วางเรียงราดลงไป แล้วแก้ไขประดิษฐ์ให้มีขนาดลดหลั่นกัน แล้วทำาราง รองอุ้มเสียง และใช้เชือกร้อยไม้กรับขนาดต่าง ๆ กันนั้นให้ติดกัน และขึง ไว้บนรางใช้ไม้ตีให้เกิดเสียง นำาตะกั่วผสมกับขี้ผึ้งมาถ่วงเสียงโดยนำามา ติดหัวท้ายของไม้กรับนั้น ให้เกิดเสียงไพเราะยิ่งขึ้น เรียกไม้กรับที่ประดิษฐ์ เป็นขนาดต่างๆกันนั้นว่า ลูกระนาดเรียกลูกระนาดที่ผูกติดกันเป็นแผ่น เดียวกันว่า ผืน ระนาดเอกใช้ในงานมงคล เป็นเครื่องดนตรีเป็นมงคลใน บ้าน บรรเลงในวงปี่พาทย์และวงมโหรี โดยทำาหน้าที่เป็นผู้นำาวง ลักษณะทั่วไป ส่วนประกอบของระนาดเอก มี 3 ส่วน ได้แก่ ผืน ราง และไม้ตี ผืน ประกอบด้วยลูกระนาด ซึ่งทำาด้วยไม้ชิงชัน หรือไม้ไผ่ ผืนระนาด ไม้เนื้อนุ่ม เสียงจะหอม อิ่ม และดังคมชัดเหมาะสำาหรับบรรเลงในวงปี่ พาทย์ไม้แข็ง ส่วนผืนระนาดที่ทำาจากไม้ไผ่จะให้เสียงที่นุ่มนวล เหมาะ สำาหรับวงปี่พาทย์ไม้นวมและวงปี่พาทย์ผสมเครื่องสาย ลูกระนาดมีทั้งหมด 23-22 ลูก โดยลูกที่ 22 มีชื่อเรียกว่า ลูกหลีก หรือ ลูกหลิบ ที่ท้องของลูก ระนาดจะคว้านและใช้ขี้ผึ้งผสมกับตะกั่วถ่วงเพื่อให้เกิดความแตกต่าง ระหว่างเสียง โดยเสียงจากผืนระนาดขึ้นอยู่กับส่วนประกอบ 3 ส่วนด้วย กันคือ ส่วนแรก ขึ้นอยู่กับขนาดใหญ่-เล็ก ของไม้ที่ใช้ทำา ส่วนที่สอง ขึ้น อยู่กับการคว้านท้องไม้ลูกระนาดว่ามาก-น้อยเพียงใด ส่วนที่สามขึ้นกับ ปริมาณมาก-น้อยของตะกั่วที่ถ่วงใต้ลูกระนาดแต่ละลูก ลูกระนาดทั้งหมด จะถูกเจาะรูเพื่อร้อยเชือก และแขวนบนรางระนาด ราง เป็นส่วนที่เป็นกล่องเสียงของระนาด ทำาให้หน้าที่อุ้มเสียง นิยมทำา ด้วยไม้สักและทาด้วยนำ้ามันขัดเงา ปัจจุบันการใช้ระนาดที่ทำาด้วยไม้และ ทาด้วยนำ้ามันลดความนิยมลง นักดนตรีนิยมใช้รางระนาดที่แกะสลัก ลวดลายไทยและลงรักปิดทองเพื่อความสวยงาม บางโอกาส อาจมีการฝัง