SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 4
พระพุทธศาสนา
ในพระพุทธศาสนาพุทธะตามภาษาบาลีพุทฺธแปลว่า"ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน" หมายถึงบุคคลผู้ตรัสรู้อริยสัจ๔
แล้วอย่างถ่องแท้
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นพระบรมศาสดาของพระพุทธศาสนาทั้งฝ่ ายเถรวาทและมหายาน
ต่างก็นับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตนเหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกัน
ฝ่ ายเถรวาทให้ความสาคัญกับพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบันคือพระโคตมโคดมพุทธเจ้า
และกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความสาคัญเท่า
ฝ่ ายมหายานนับถือพระพุทธเจ้าของฝ่ ายเถรวาททั้งหมด
และมีการสร้างพระพุทธเจ้าเพิ่มเติมขึ้นมาจนบางองค์มีลักษณะคล้ายเทพเจ้าของศาสนาฮินดู
ตามคัมภีร์ฝ่ ายพุทธถือกันว่าพระพุทธเจ้าพระโคตมโคดมพระองค์ดารงพระชนม์ชีพอยู่ระหว่าง ๘๐ปีก่อนพุทธศักราช
จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพานตรงกับ๕๔๓ปีก่อนคริสตกาลตามตาราไทยอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทย
และปฏิทินจันทรคติไทยและ ๔๘๓ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล
ความหมายและความสาคัญของศาสนา
1. ความหมายของศาสนา
คาว่า" ศาสนา"มาจากคาในภาษาสันสกฤตว่า"ศาสน"แปลว่า" คาสอนข้อบังคับ" ตรงกับคาในภาษาบาลีว่า
"สาสน"แปลว่า" ศาสนาหรือคาสั่งสอนกับศาสดา"
คาว่า"ศาสนา"ในภาษาอังกฤษใช้คาว่า"Religion"มาจากภาษาลาตินว่า"Religare"ตรงกับคาว่า"Together"
แปลว่าการรวมเข้าด้วยกันหรือการรวมตนเองให้เป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้า ดังนั้นคาว่า
"Religion"ที่เรานามาแปลเป็นไทยว่าศาสนานั้นจึงเป็นเรื่องของความสัมพันธ์โดยศรัทธาระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า
คาว่า"ศาสนา"มาจากภาษาสันสกฤตว่า"สาสน"ถ้าเป็นภาษาบาลีว่า"สาสน"มีความหมายตามรูปศัพท์ว่า"คาสั่งสอน"
ในภาษาอังกฤษใช้คาว่า"Religion"ซึ่งมีศัพท์เดิมมาจากภาษาละตินว่าReligis
คานี้นักปราชญ์ทางภาษาศาสตร์ได้สันนิษฐานว่ามาจากคา ๒คาคือ Relegereซึ่งแปลว่าการปฏิบัติต่อ
หรือการเกี่ยวข้องด้วยความระมัดระวังและReligareซึ่งแปลว่าผูกพันเพราะฉะนั้นคาว่า Religion
จึงมีความหมายตามรูปศัพท์ว่าการปฏิบัติต่อการเกี่ยวข้องแต่อย่างไรก็ตาม
การจะพิจารณาความหมายตามรูปศัพท์เพียงอย่างเดียวอาจจะไม่สามารถครอบคลุมสารัตถะที่แท้จริงของศาสนาได้
จึงควรจะได้ศึกษาพิจารณาความหมายหรือคาจากัดความตามเนื้อหาที่นักปราชญทางศาสนาได้ให้ไว้ ซึ่งจะแตกต่างกันไป
ทั้งนี้แล้วแต่ประเด็นที่ต้องการเน้นและสภาพแวดล้อม
๑.Max Miller เน้นพุทธิปัญญา(Intellect)กล่าวว่าศาสนาคือ
ความสามารถหรืออตาจทางจิตซึ่งไม่ขึ้นแก่ความรู้สึกทางประสาทสัมผัสหรือเหตุผล
สามารถนาบุคคลให้เข้าถึงพระเจ้าภายใต้พระนามต่างๆ
๒. ImmanuelKantเน้นศีลธรรม(Moral) กล่าวว่าศาสนาคือการยอมรับรู้ถึงหน้าที่ทั้งปวงตามเทวโองการ
๓. Allen Menses เน้นการบูชา(Worship)กล่าวว่าศาสนาคือการบูชาพลังที่สูงกว่า
๔. EdwardScribnerAms เน้นสังคม(Society) กล่าวว่าศาสนาคือความรู้สึกถึงคุณค่าทางสังคมอันสูงสุด
๕. G.W.Stratton เน้นอุดมคติอันสูงส่ง(SupremeIdeal)กล่าวว่าศาสนาคือ
ความนิยมชมชอบถึงโลกและกลุ่มชนที่มองไม่เห็น
๖.Adams Brown เน้นชีวิต(Life) กล่าวว่าศาสนา
หมายถึงชีวิตของบุคคลในส่วนที่สัมพันธ์กับท่านผู้เหนือมนุษย์ธรรมดาของเขา
๗. หลวงวิจิตรวาทการเน้นองค์ประกอบของศาสนากล่าวว่า
คาสอนที่จัดเป็นศาสนานั้นต้องเป็นเรื่องที่ถือว่ามีความศักดิ์สิทธิ์มีคาสอนทางจรรยามีศาสดา
มีคณะบุคคลที่รักษาความศักดิ์สิทธิ์และคาสอนไว้ เช่นพระหรือนักบวชและมีการกวดขันเรื่องความจงรักภักดี
๘. ศ.เสถียรพันธรังสีเน้นลักษณะของศาสนากล่าวว่าลักษณะที่เรียกว่าศาสนาได้ มีหลักดังนี้คือ
ต้องเป็นเรื่องความเชื่อถือได้โดยมีความศักดิ์สิทธิ์มีคาสอนทางธรรมจรรยามีศาสดา
และมีผู้สืบต่อคาสอนที่เรียกว่าพระหรือนักบวช
๙. อาจารย์สุชีพปุญญานุภาพเน้นลักษณะคาสอนกล่าวว่าคาสอนที่นับว่าเป็นศาสนานั้นว่าด้วยเรื่องต่างๆคือ
ความเชื่อในอานาจที่มองเห็นไม่ได้ด้วยตาบางอย่างเช่นอานาจของธรรมหรือ อานาจของพระเจ้ามีหลักศีลธรรม
มีคาสอนว่าด้วยจุดมุ่งหมายสูงสุดแห่งชีวิตและมีพิธีกรรม
๑๐.พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.๒๕๒๕ ได้ให้ความหมายของศาสนาไว้ว่าศาสนาคือ
ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลักแสดงกาเนิดและสิ้นสุดของโลกเป็นต้นอันเป็นไปในง่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง
แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในง่ายศีลธรรมประการหนึ่ง
พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทาตามความเห็นหรือตามคาสั่งสอนในความเชื่อถือนั้นๆ
จากคาจากัดความและทัศนะต่างๆที่กล่าวข้างต้นพอจะสรุปเป็นทัศนะอีกทัศนะหนึ่งได้ว่า
ศาสนาคือคาสั่งสอนที่พระศาสดาได้ค้นพบหรือได้จากเทวโองการซึ่งมีลักษณะศักดิ์สิทธิ์เป็นที่พึ่งทางใจ
ได้ถูกนามาเผยแพร่ให้มวลมนุษยชาติประพฤติปฏิบัติตามและประกอบพิธีกรรม
เพื่อประสบสันติสุขในระดับศีลธรรมจรรยาและสันติภาพอันนิรันดรอันเป็นจุดหมายสูงสุดของชีวิต
พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถานพ.ศ.2525 ได้ให้นิยามคาว่า"ศาสนา"ดังนี้ ศาสนาหมายถึงลัทธิความเชื่อ
ของมนุษย์อันมีหลักคือแสดงกาเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้นอันเป็นไปในฝ่ ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง
แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ ายศีลธรรมประการหนึ่ง
พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทาตามความเห็นหรือตามคาสั่งสอนในความเชื่อถือนั้นๆ
"พระพุทธศาสนา"
คาว่าพระพุทธศาสนาประกอบด้วยคาว่าพุทธะซึ่งแปลว่าผู้รู้ กับคาว่าศาสนา ที่แปลว่าคาสั่งสอน รวมกั
นเข้าเป็น พุทธศาสนาแปลว่าคาสั่งสอนของผู้รู้ เมื่อพูดว่าพุทธศาสนาความเข้าใจก็ต้องแล่นเข้าไปถึงลัทธิปฏิบัติ
และคณะบุคลซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติในลัทธิปฏิบัตินั้นไม่ใช่มีความหมายแต่เพียงคาสั่งสอนซึ่งเป็นเสียงหรือเป็นหนังสือ
หรือเป็นเพียงตารับตาราเท่านั้นพระพุทธศาสนาที่เราทั้งหลายในบัดนี้ได้รับนับถือและปฏิบัติเนื่องมาจากอะไร
คือเราได้อะไรจากสิ่งที่เรียกว่าพระพุทธศาสนานั้นมานับถือปฏิบัติในบัดนี้เมื่อพิจารณาดูแล้วก็เห็นว่าเราได้หนังสือ
อย่างหนึ่งบุคคล อย่างหนึ่ง หนังสือนั้นก็คือตาราที่แสดงพระพุทธศาสนา
บุคคนั้นก็คือพุทธศาสนิกที่แปลว่าผู้นับถือพระพุทธศาสนาพุทธศาสนิกนี้มิใช่หมายเพียงแต่คฤหัสถ์
หมายความถึงทั้งบรรพชิตคือนักบวชและคฤหัสถ์คือผู้ซึ่งนับถือพระพุทธศาสนาพูดอีกอย่างหนึ่งได้แก่
พุทธบริษัทคือหมู่ของผู้นับถือพระพุทธเจ้าดังที่เรียกว่าภิกษุ ภิกษุณี อุบาสกอุบาสิกาแต่ในบัดนี้ภิกษุณีไม่มีแล้ว
ก็มีภิกษุกับสามเณรและอุบาสกอุบาสิกาหรือบุคคที่เรียกว่าพุทธมามกะพุทธมามิกา
ก็รวมเรียกว่าพุทธบริษัทหรือพุทธศาสนิกทั้งหมดคือในบัดนี้มีหนังสือซึ่งเป็นตาราพระพุทธศาสนา
และมีบุคคลซึ่งป็นพุทธศาสนิกหรือเป็นพุทธบริษัททั้ง๒อย่างนี้หนังสือก็มาจากบุคคลนั่นเองคือ
บุคคลที่เป็นพุทธศาสนิกหรือเป็นพุทธบริษัทได้เป็นผู้ทาหนังสือขึ้น
และบุคคลดังกล่าวนี้ก็ได้มีสืบต่อกันเรื่อยมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลและสืบต่อมาตั้งแต่จากที่เกิดของพระพุทธศาสนา
มาจนถึงในต่างประเทศของประเทศนั้นดังเช่นในประเทศไทยในบัดนี้คือว่าได้มีพุทธศาสนิกหรือพุทธบริษัทสืบต่อกันมา
จึงมาถึงเราทั้งหลายในบัดนี้และเราทั้งหลายในบัดนี้ก็ได้เป็นพุทธศาสนิกคือพุทธบริษัทในปัจจุบันและคนรุ่นต่อๆ
ไปก็จะสืบต่อไปอีก
เมื่อทราบว่าเราในบัดนี้ได้ทราบพระพุทธศาสนาจากหนังสือและจากคณะบุคคลซึ่งเป็นพุทธศาสนิก
ดั่งที่กล่าวมาโดยย่อนี้แล้วก็ควรจะทราบต่อไปว่า
เมื่อศึกษาจากหนังสือและบุคคลที่เป็นพุทธศาสนิกชนที่เป็นครูบาอาจารย์ต่อๆกันมา
จึงได้ทราบว่าต้นเดิมของพระพุทธศาสนานั้นก็คือ"พระพุทธเจ้า"
คาว่าพระพุทธะแปลว่าพระผู้รู้ ในภาษาไทยเราเติมคาว่าเจ้าเรียกว่าพระพุทธเจ้าคือเอาความรู้ของท่านมาเป็นชื่อ
ตามพุทธประวัติที่ทราบจากหนังสือทางพระพุทธศาสนาดังกล่าวนั้นพระพุทธเจ้าก็เป็นบุคคลคือเป็นมนุษย์เรานี่เอง
ซึ่งมีพระประวัติดั่งที่แสดงไว้ในพระพุทธประวัติแต่ว่าท่านได้ค้นคว้าหาความรู้ จนประสบความรู้ที่เป็นโลกุตระ
คือความรู้ที่เป็นส่วนเหนือโลกหมายความง่ายๆว่าความรู้ที่เป็นส่วนโลกิยะหรือเป็นส่วนโลกนั้น
เมื่อประมวลเข้าแล้วก็เป็นความรู้ที่เป็นในด้านสร้างบ้างในด้านธารงรักษาบ้างในด้านทาลายบ้าง
ผู้รู้เองและความรู้นั้นเองก็เป็นไปในทางคดีโลกซึ่งต้องเป็นไปตามคติธรรดาของโลกต้องแก่ ต้องเจ็บต้องตาย
เพราะต้องเกี่ยวข้องอยู่กับโลกนอกจากนี้ยังเป็นทาสของตัณหาคือความดิ้นรนทะยานอยากของใจ
ถึงจะเป็นเจ้าโลกแต่ไม่เป็นเจ้าตัณหาต้องเป็นทาสของตัณหาในใจของตนเองจึงเรียกว่ายังเป็นโลกิยะ
ยังไม่เป็นโลกุตตรคืออยู่เหนือโลกแต่ความรู้ที่จะเป็นโลกุตระ
คืออยู่เหนือโลกได้นั้นจะต้องเป็นความรู้ที่ทาให้หลุดพ้นจากกิเลสและกองทุกข์ดั่งกล่าวได้
พระพุทธเจ้าเป็นมนุษย์คนแรกที่ได้ปฏิญญาพระองค์ว่าเป็นผู้ตรัสรู้พระธรรมซึ่งทาให้เป็นโลกุตระคืออยู่เหนือโลก
คือทาให้ท่านผู้รู้นั้นเป็นผู้พ้นจากกิเลสและกองทุกข์ดั่งกล่าวนั้นท่านผู้ประกอบด้วยความรู้ดั่งกล่าวมานี้
และประกาศความรู้นั้นสั่งสอนได้ชื่อว่าเป็นพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นต้นเดิมของพระพุทธศาสนา
พระธรรมทีแรกก็เป็นเสียงที่ออกมาจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้า
เป็นเสียงที่ประกาศความจริงให้บุคคลทราบธรรมะที่พระองค์ได้ตรัสรู้ เพราะฉะนั้น
เสียงที่ประกาศความจริงแก่โลกนี้ก็เรียกกันว่าพระธรรมส่วนหนึ่งหรือเรียกว่าพระพุทธศาสนา
คือเป็นคาที่ออกมาจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้าเป็นคาสั่งเป็นคาสอนข้อปฏิบัติที่คาสั่งสอนนั้นชี้
ก็เป็นพระธรรมส่วนหนึ่งผลของการปฏิบัติก็เป็นพระธรรมส่วนหนึ่งเหล่านี้เรียกว่าพระธรรม
หมู่ชนได้ฟังเสียงซึ่งออกจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้าได้ความรู้พระธรรมคือความจริงที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน
จนถึงได้บรรลุโลกุตตรธรรมธรรมะที่อยู่เหนือโลกตามพระพุทธเจ้าเรียกว่าพระสงฆ์
คือหมู่ของชนที่เป็นสาวกคือผู้ฟังของพระพุทธเจ้า
ซึ่งเป็นผู้รู้พระธรรมตามพระพุทธเจ้าได้ พระสงฆ์ดังกล่าวนี้เรียกว่าพระอริยสงห์มุ่งเอาความรู้เป็นสาคัญเหมือนกัน
ไม่ได้มุ่งว่าจะต้องเป็นคฤหัสถ์หรือจะต้องเป็นบรรพชิตและเมื่อรู้พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็ประกาศตนนับถือพระพุทธเจ้า
ที่มีศรัทธาแก่กล้าก็ขอบวชตามที่ไม่ถึงกับขอบวชตามก็ประกาศตนเป็นอุบาสกอุบาสิกาจึงได้เกิดเป็นบริษัท ๔ขึ้นคือ
ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาในบริษัท ๔ นี้หมู่ของภิกษุก็เรียกว่าพระสงฆ์เหมือนกันแต่เรียกว่าสมมติสงฆ์
สงฆ์โดยสมมติเพราะว่าเป็นภิกษุตามพระวินัยด้วยวิธีอุปสมบทรับรองกันว่าเป็นอุปสัมบันหรือเป็นภิกษุขึ้น
เมื่อภิกษุหลายรูปมาประชุมกันกระทากิจของสงฆ์ก็เรียกว่า สงฆ์
พระพุทธเจ้าพระธรรมพระสงฆ์ที่เป็นอริยสงฆ์ทั้ง๓นี้
รวมเรียกว่าพระรัตนตรัยซึ่งเป็นสรณะที่พึ่งอย่างสูงสุดในพระพุทธศาสนา
ความเป็นอริยสงฆ์นั้นเป็นจาเพาะตน
ส่วนหมู่แห่งบุคคลที่ดารงพระพุทธศาสนาสืบต่อมาก็คือพุทธบริษัทหรือพุทธศาสนิกดังกล่าวมาข้างต้น
ในพุทธบริษัทเหล่านี้ก็มีภิกษุสงฆ์นี่แหละเป็นบุคคลสาคัญซึ่งเป็นผู้พลีชีวิตมาเพื่อปฏิบัติดารงรักษาพระพุทธศาสนา
นาพระพุทธศาสนาสืบๆต่อกันมาจนถึงในบัดนี้
2. ความสาคัญของการนับถือศาสนา การนับถือศาสนาทาให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสังคม
รวมไปถึงความสาคัญของการนับถือศาสนาต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ดังนี้
1. ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสังคม
ศาสนาเป็นสถาบันที่สาคัญของสังคมช่วยกล่อมเกลาพฤติกรรมของสมาชิกในสังคม
เพราะศาสนามีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อสังคมดังนี้
(1) ทาให้คนปกครองตนเองได้ในทุกสถานเพราะมีหลักธรรมช่วยพัฒนาจิตใจให้รู้จักควบคุมกายวาจาใจ
ให้ปราศจากการประทุษร้ายเบียดเบียนกัน
(2) เป็นภูมิปัญญาระดับสูงทางความคิดและมโนธรรมอันลึกซึ้งที่นาชีวิตไปสู่จุดหมายปลายทางคือสันติสุข
(3) เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย์ในการดาเนินชีวิตเมื่อมีปัญหาใดๆมากระทบใจ
ศาสนาเป็นที่พึ่งพาใจให้มนุษย์ได้
(4) ศาสนาเป็นบ่อเกิดของวัฒนธรรมของสังคมได้แก่ คติธรรมเนติธรรมสหธรรมและวัตถุธรรม
สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นคุณภาพจิตใจที่ดีงามของมนุษย์
ศาสนาเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับสังคมที่มีวิวัฒนาการไม่ใช่สังคมป่าเถื่อน
เพราะหลักสาคัญที่สุดที่ศาสนาช่วยทาให้สังคมสงบร่มเย็นคือศาสนาทุกศาสนามุ่งเน้นการทาความดีถ้าทุกคนเป็นคนดี
สังคมโดยรวมก็จะสงบเรียบร้อยประชาชนมีสันติสุขพิจารณาความสัมพันธ์ของศาสนากับสังคมได้ดังนี้
- การทาความดีของศาสนาต่างๆมีผลต่อวิถีชีวิตของสมาชิกในสังคมนั้นๆ
หลักการทาความดีของศาสนาที่สาคัญในโลกมีดังนี้
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ถือว่า การทาความดีคือการทาความดีเพื่อความดีเพื่อหน้าที่
ศาสนาพุทธ ถือว่า ควรทาความดีเพื่อความดี
ศาสนาคริสต์ ถือว่า ทาความดีเพื่อพระเจ้า
ศาสนาอิสลาม ถือว่า ทาความดีเพื่อพระเจ้า
ศาสนาสิกข์ ถือว่า ทาความดีเพื่อพระเจ้า

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกPanda Jing
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณีsawinee37
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา solarcell2
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรsolarcell2
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครูniralai
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 

La actualidad más candente (20)

สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
พระไตรปิฏก
พระไตรปิฏกพระไตรปิฏก
พระไตรปิฏก
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณี
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครู
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 

Destacado

แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาthanaetch
 
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาleemeanshun minzstar
 
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัด
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัดท่องทั่วไทย 77 จังหวัด
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัดleemeanshun minzstar
 
ภาคกลาง เที่ยว
ภาคกลาง เที่ยวภาคกลาง เที่ยว
ภาคกลาง เที่ยวleemeanshun minzstar
 
ประตูเข้าสู่การรวมกลุ่ม
ประตูเข้าสู่การรวมกลุ่มประตูเข้าสู่การรวมกลุ่ม
ประตูเข้าสู่การรวมกลุ่มleemeanshun minzstar
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ
วันสำคัญทางศาสนาพุทธวันสำคัญทางศาสนาพุทธ
วันสำคัญทางศาสนาพุทธleemeanshun minzstar
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชleemeanshun minzstar
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docxการสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docxleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะleemeanshun minzstar
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 

Destacado (20)

แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัด
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัดท่องทั่วไทย 77 จังหวัด
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัด
 
ภาคกลาง เที่ยว
ภาคกลาง เที่ยวภาคกลาง เที่ยว
ภาคกลาง เที่ยว
 
Rm tqm1
Rm tqm1Rm tqm1
Rm tqm1
 
Constitution2550
Constitution2550Constitution2550
Constitution2550
 
ประตูเข้าสู่การรวมกลุ่ม
ประตูเข้าสู่การรวมกลุ่มประตูเข้าสู่การรวมกลุ่ม
ประตูเข้าสู่การรวมกลุ่ม
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ
วันสำคัญทางศาสนาพุทธวันสำคัญทางศาสนาพุทธ
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ
 
Kuamkid stamp
Kuamkid stampKuamkid stamp
Kuamkid stamp
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
Iisd
IisdIisd
Iisd
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docxการสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
การสอนสังคีตบางชนิดและนาฎศีลป์.Docx
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 

Más de leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครleemeanshun minzstar
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพleemeanshun minzstar
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)leemeanshun minzstar
 
นางสาวธัญภัทร์ พิชญกุล
นางสาวธัญภัทร์  พิชญกุลนางสาวธัญภัทร์  พิชญกุล
นางสาวธัญภัทร์ พิชญกุลleemeanshun minzstar
 

Más de leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
 
Rm tqm1.
Rm tqm1.Rm tqm1.
Rm tqm1.
 
Rm tqm
Rm tqmRm tqm
Rm tqm
 
Kms
KmsKms
Kms
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
นางสาวธัญภัทร์ พิชญกุล
นางสาวธัญภัทร์  พิชญกุลนางสาวธัญภัทร์  พิชญกุล
นางสาวธัญภัทร์ พิชญกุล
 

ศาสนาพุทธ

  • 1. พระพุทธศาสนา ในพระพุทธศาสนาพุทธะตามภาษาบาลีพุทฺธแปลว่า"ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน" หมายถึงบุคคลผู้ตรัสรู้อริยสัจ๔ แล้วอย่างถ่องแท้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นพระบรมศาสดาของพระพุทธศาสนาทั้งฝ่ ายเถรวาทและมหายาน ต่างก็นับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตนเหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกัน ฝ่ ายเถรวาทให้ความสาคัญกับพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบันคือพระโคตมโคดมพุทธเจ้า และกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความสาคัญเท่า ฝ่ ายมหายานนับถือพระพุทธเจ้าของฝ่ ายเถรวาททั้งหมด และมีการสร้างพระพุทธเจ้าเพิ่มเติมขึ้นมาจนบางองค์มีลักษณะคล้ายเทพเจ้าของศาสนาฮินดู ตามคัมภีร์ฝ่ ายพุทธถือกันว่าพระพุทธเจ้าพระโคตมโคดมพระองค์ดารงพระชนม์ชีพอยู่ระหว่าง ๘๐ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพานตรงกับ๕๔๓ปีก่อนคริสตกาลตามตาราไทยอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทย และปฏิทินจันทรคติไทยและ ๔๘๓ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล ความหมายและความสาคัญของศาสนา 1. ความหมายของศาสนา คาว่า" ศาสนา"มาจากคาในภาษาสันสกฤตว่า"ศาสน"แปลว่า" คาสอนข้อบังคับ" ตรงกับคาในภาษาบาลีว่า "สาสน"แปลว่า" ศาสนาหรือคาสั่งสอนกับศาสดา" คาว่า"ศาสนา"ในภาษาอังกฤษใช้คาว่า"Religion"มาจากภาษาลาตินว่า"Religare"ตรงกับคาว่า"Together" แปลว่าการรวมเข้าด้วยกันหรือการรวมตนเองให้เป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้า ดังนั้นคาว่า "Religion"ที่เรานามาแปลเป็นไทยว่าศาสนานั้นจึงเป็นเรื่องของความสัมพันธ์โดยศรัทธาระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า คาว่า"ศาสนา"มาจากภาษาสันสกฤตว่า"สาสน"ถ้าเป็นภาษาบาลีว่า"สาสน"มีความหมายตามรูปศัพท์ว่า"คาสั่งสอน" ในภาษาอังกฤษใช้คาว่า"Religion"ซึ่งมีศัพท์เดิมมาจากภาษาละตินว่าReligis คานี้นักปราชญ์ทางภาษาศาสตร์ได้สันนิษฐานว่ามาจากคา ๒คาคือ Relegereซึ่งแปลว่าการปฏิบัติต่อ หรือการเกี่ยวข้องด้วยความระมัดระวังและReligareซึ่งแปลว่าผูกพันเพราะฉะนั้นคาว่า Religion จึงมีความหมายตามรูปศัพท์ว่าการปฏิบัติต่อการเกี่ยวข้องแต่อย่างไรก็ตาม การจะพิจารณาความหมายตามรูปศัพท์เพียงอย่างเดียวอาจจะไม่สามารถครอบคลุมสารัตถะที่แท้จริงของศาสนาได้ จึงควรจะได้ศึกษาพิจารณาความหมายหรือคาจากัดความตามเนื้อหาที่นักปราชญทางศาสนาได้ให้ไว้ ซึ่งจะแตกต่างกันไป ทั้งนี้แล้วแต่ประเด็นที่ต้องการเน้นและสภาพแวดล้อม ๑.Max Miller เน้นพุทธิปัญญา(Intellect)กล่าวว่าศาสนาคือ ความสามารถหรืออตาจทางจิตซึ่งไม่ขึ้นแก่ความรู้สึกทางประสาทสัมผัสหรือเหตุผล สามารถนาบุคคลให้เข้าถึงพระเจ้าภายใต้พระนามต่างๆ ๒. ImmanuelKantเน้นศีลธรรม(Moral) กล่าวว่าศาสนาคือการยอมรับรู้ถึงหน้าที่ทั้งปวงตามเทวโองการ ๓. Allen Menses เน้นการบูชา(Worship)กล่าวว่าศาสนาคือการบูชาพลังที่สูงกว่า ๔. EdwardScribnerAms เน้นสังคม(Society) กล่าวว่าศาสนาคือความรู้สึกถึงคุณค่าทางสังคมอันสูงสุด ๕. G.W.Stratton เน้นอุดมคติอันสูงส่ง(SupremeIdeal)กล่าวว่าศาสนาคือ ความนิยมชมชอบถึงโลกและกลุ่มชนที่มองไม่เห็น
  • 2. ๖.Adams Brown เน้นชีวิต(Life) กล่าวว่าศาสนา หมายถึงชีวิตของบุคคลในส่วนที่สัมพันธ์กับท่านผู้เหนือมนุษย์ธรรมดาของเขา ๗. หลวงวิจิตรวาทการเน้นองค์ประกอบของศาสนากล่าวว่า คาสอนที่จัดเป็นศาสนานั้นต้องเป็นเรื่องที่ถือว่ามีความศักดิ์สิทธิ์มีคาสอนทางจรรยามีศาสดา มีคณะบุคคลที่รักษาความศักดิ์สิทธิ์และคาสอนไว้ เช่นพระหรือนักบวชและมีการกวดขันเรื่องความจงรักภักดี ๘. ศ.เสถียรพันธรังสีเน้นลักษณะของศาสนากล่าวว่าลักษณะที่เรียกว่าศาสนาได้ มีหลักดังนี้คือ ต้องเป็นเรื่องความเชื่อถือได้โดยมีความศักดิ์สิทธิ์มีคาสอนทางธรรมจรรยามีศาสดา และมีผู้สืบต่อคาสอนที่เรียกว่าพระหรือนักบวช ๙. อาจารย์สุชีพปุญญานุภาพเน้นลักษณะคาสอนกล่าวว่าคาสอนที่นับว่าเป็นศาสนานั้นว่าด้วยเรื่องต่างๆคือ ความเชื่อในอานาจที่มองเห็นไม่ได้ด้วยตาบางอย่างเช่นอานาจของธรรมหรือ อานาจของพระเจ้ามีหลักศีลธรรม มีคาสอนว่าด้วยจุดมุ่งหมายสูงสุดแห่งชีวิตและมีพิธีกรรม ๑๐.พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.๒๕๒๕ ได้ให้ความหมายของศาสนาไว้ว่าศาสนาคือ ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลักแสดงกาเนิดและสิ้นสุดของโลกเป็นต้นอันเป็นไปในง่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในง่ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทาตามความเห็นหรือตามคาสั่งสอนในความเชื่อถือนั้นๆ จากคาจากัดความและทัศนะต่างๆที่กล่าวข้างต้นพอจะสรุปเป็นทัศนะอีกทัศนะหนึ่งได้ว่า ศาสนาคือคาสั่งสอนที่พระศาสดาได้ค้นพบหรือได้จากเทวโองการซึ่งมีลักษณะศักดิ์สิทธิ์เป็นที่พึ่งทางใจ ได้ถูกนามาเผยแพร่ให้มวลมนุษยชาติประพฤติปฏิบัติตามและประกอบพิธีกรรม เพื่อประสบสันติสุขในระดับศีลธรรมจรรยาและสันติภาพอันนิรันดรอันเป็นจุดหมายสูงสุดของชีวิต พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถานพ.ศ.2525 ได้ให้นิยามคาว่า"ศาสนา"ดังนี้ ศาสนาหมายถึงลัทธิความเชื่อ ของมนุษย์อันมีหลักคือแสดงกาเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้นอันเป็นไปในฝ่ ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทาตามความเห็นหรือตามคาสั่งสอนในความเชื่อถือนั้นๆ "พระพุทธศาสนา" คาว่าพระพุทธศาสนาประกอบด้วยคาว่าพุทธะซึ่งแปลว่าผู้รู้ กับคาว่าศาสนา ที่แปลว่าคาสั่งสอน รวมกั นเข้าเป็น พุทธศาสนาแปลว่าคาสั่งสอนของผู้รู้ เมื่อพูดว่าพุทธศาสนาความเข้าใจก็ต้องแล่นเข้าไปถึงลัทธิปฏิบัติ และคณะบุคลซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติในลัทธิปฏิบัตินั้นไม่ใช่มีความหมายแต่เพียงคาสั่งสอนซึ่งเป็นเสียงหรือเป็นหนังสือ หรือเป็นเพียงตารับตาราเท่านั้นพระพุทธศาสนาที่เราทั้งหลายในบัดนี้ได้รับนับถือและปฏิบัติเนื่องมาจากอะไร คือเราได้อะไรจากสิ่งที่เรียกว่าพระพุทธศาสนานั้นมานับถือปฏิบัติในบัดนี้เมื่อพิจารณาดูแล้วก็เห็นว่าเราได้หนังสือ อย่างหนึ่งบุคคล อย่างหนึ่ง หนังสือนั้นก็คือตาราที่แสดงพระพุทธศาสนา บุคคนั้นก็คือพุทธศาสนิกที่แปลว่าผู้นับถือพระพุทธศาสนาพุทธศาสนิกนี้มิใช่หมายเพียงแต่คฤหัสถ์ หมายความถึงทั้งบรรพชิตคือนักบวชและคฤหัสถ์คือผู้ซึ่งนับถือพระพุทธศาสนาพูดอีกอย่างหนึ่งได้แก่ พุทธบริษัทคือหมู่ของผู้นับถือพระพุทธเจ้าดังที่เรียกว่าภิกษุ ภิกษุณี อุบาสกอุบาสิกาแต่ในบัดนี้ภิกษุณีไม่มีแล้ว ก็มีภิกษุกับสามเณรและอุบาสกอุบาสิกาหรือบุคคที่เรียกว่าพุทธมามกะพุทธมามิกา ก็รวมเรียกว่าพุทธบริษัทหรือพุทธศาสนิกทั้งหมดคือในบัดนี้มีหนังสือซึ่งเป็นตาราพระพุทธศาสนา
  • 3. และมีบุคคลซึ่งป็นพุทธศาสนิกหรือเป็นพุทธบริษัททั้ง๒อย่างนี้หนังสือก็มาจากบุคคลนั่นเองคือ บุคคลที่เป็นพุทธศาสนิกหรือเป็นพุทธบริษัทได้เป็นผู้ทาหนังสือขึ้น และบุคคลดังกล่าวนี้ก็ได้มีสืบต่อกันเรื่อยมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลและสืบต่อมาตั้งแต่จากที่เกิดของพระพุทธศาสนา มาจนถึงในต่างประเทศของประเทศนั้นดังเช่นในประเทศไทยในบัดนี้คือว่าได้มีพุทธศาสนิกหรือพุทธบริษัทสืบต่อกันมา จึงมาถึงเราทั้งหลายในบัดนี้และเราทั้งหลายในบัดนี้ก็ได้เป็นพุทธศาสนิกคือพุทธบริษัทในปัจจุบันและคนรุ่นต่อๆ ไปก็จะสืบต่อไปอีก เมื่อทราบว่าเราในบัดนี้ได้ทราบพระพุทธศาสนาจากหนังสือและจากคณะบุคคลซึ่งเป็นพุทธศาสนิก ดั่งที่กล่าวมาโดยย่อนี้แล้วก็ควรจะทราบต่อไปว่า เมื่อศึกษาจากหนังสือและบุคคลที่เป็นพุทธศาสนิกชนที่เป็นครูบาอาจารย์ต่อๆกันมา จึงได้ทราบว่าต้นเดิมของพระพุทธศาสนานั้นก็คือ"พระพุทธเจ้า" คาว่าพระพุทธะแปลว่าพระผู้รู้ ในภาษาไทยเราเติมคาว่าเจ้าเรียกว่าพระพุทธเจ้าคือเอาความรู้ของท่านมาเป็นชื่อ ตามพุทธประวัติที่ทราบจากหนังสือทางพระพุทธศาสนาดังกล่าวนั้นพระพุทธเจ้าก็เป็นบุคคลคือเป็นมนุษย์เรานี่เอง ซึ่งมีพระประวัติดั่งที่แสดงไว้ในพระพุทธประวัติแต่ว่าท่านได้ค้นคว้าหาความรู้ จนประสบความรู้ที่เป็นโลกุตระ คือความรู้ที่เป็นส่วนเหนือโลกหมายความง่ายๆว่าความรู้ที่เป็นส่วนโลกิยะหรือเป็นส่วนโลกนั้น เมื่อประมวลเข้าแล้วก็เป็นความรู้ที่เป็นในด้านสร้างบ้างในด้านธารงรักษาบ้างในด้านทาลายบ้าง ผู้รู้เองและความรู้นั้นเองก็เป็นไปในทางคดีโลกซึ่งต้องเป็นไปตามคติธรรดาของโลกต้องแก่ ต้องเจ็บต้องตาย เพราะต้องเกี่ยวข้องอยู่กับโลกนอกจากนี้ยังเป็นทาสของตัณหาคือความดิ้นรนทะยานอยากของใจ ถึงจะเป็นเจ้าโลกแต่ไม่เป็นเจ้าตัณหาต้องเป็นทาสของตัณหาในใจของตนเองจึงเรียกว่ายังเป็นโลกิยะ ยังไม่เป็นโลกุตตรคืออยู่เหนือโลกแต่ความรู้ที่จะเป็นโลกุตระ คืออยู่เหนือโลกได้นั้นจะต้องเป็นความรู้ที่ทาให้หลุดพ้นจากกิเลสและกองทุกข์ดั่งกล่าวได้ พระพุทธเจ้าเป็นมนุษย์คนแรกที่ได้ปฏิญญาพระองค์ว่าเป็นผู้ตรัสรู้พระธรรมซึ่งทาให้เป็นโลกุตระคืออยู่เหนือโลก คือทาให้ท่านผู้รู้นั้นเป็นผู้พ้นจากกิเลสและกองทุกข์ดั่งกล่าวนั้นท่านผู้ประกอบด้วยความรู้ดั่งกล่าวมานี้ และประกาศความรู้นั้นสั่งสอนได้ชื่อว่าเป็นพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นต้นเดิมของพระพุทธศาสนา พระธรรมทีแรกก็เป็นเสียงที่ออกมาจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้า เป็นเสียงที่ประกาศความจริงให้บุคคลทราบธรรมะที่พระองค์ได้ตรัสรู้ เพราะฉะนั้น เสียงที่ประกาศความจริงแก่โลกนี้ก็เรียกกันว่าพระธรรมส่วนหนึ่งหรือเรียกว่าพระพุทธศาสนา คือเป็นคาที่ออกมาจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้าเป็นคาสั่งเป็นคาสอนข้อปฏิบัติที่คาสั่งสอนนั้นชี้ ก็เป็นพระธรรมส่วนหนึ่งผลของการปฏิบัติก็เป็นพระธรรมส่วนหนึ่งเหล่านี้เรียกว่าพระธรรม หมู่ชนได้ฟังเสียงซึ่งออกจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้าได้ความรู้พระธรรมคือความจริงที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน จนถึงได้บรรลุโลกุตตรธรรมธรรมะที่อยู่เหนือโลกตามพระพุทธเจ้าเรียกว่าพระสงฆ์ คือหมู่ของชนที่เป็นสาวกคือผู้ฟังของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้รู้พระธรรมตามพระพุทธเจ้าได้ พระสงฆ์ดังกล่าวนี้เรียกว่าพระอริยสงห์มุ่งเอาความรู้เป็นสาคัญเหมือนกัน ไม่ได้มุ่งว่าจะต้องเป็นคฤหัสถ์หรือจะต้องเป็นบรรพชิตและเมื่อรู้พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็ประกาศตนนับถือพระพุทธเจ้า ที่มีศรัทธาแก่กล้าก็ขอบวชตามที่ไม่ถึงกับขอบวชตามก็ประกาศตนเป็นอุบาสกอุบาสิกาจึงได้เกิดเป็นบริษัท ๔ขึ้นคือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาในบริษัท ๔ นี้หมู่ของภิกษุก็เรียกว่าพระสงฆ์เหมือนกันแต่เรียกว่าสมมติสงฆ์ สงฆ์โดยสมมติเพราะว่าเป็นภิกษุตามพระวินัยด้วยวิธีอุปสมบทรับรองกันว่าเป็นอุปสัมบันหรือเป็นภิกษุขึ้น เมื่อภิกษุหลายรูปมาประชุมกันกระทากิจของสงฆ์ก็เรียกว่า สงฆ์
  • 4. พระพุทธเจ้าพระธรรมพระสงฆ์ที่เป็นอริยสงฆ์ทั้ง๓นี้ รวมเรียกว่าพระรัตนตรัยซึ่งเป็นสรณะที่พึ่งอย่างสูงสุดในพระพุทธศาสนา ความเป็นอริยสงฆ์นั้นเป็นจาเพาะตน ส่วนหมู่แห่งบุคคลที่ดารงพระพุทธศาสนาสืบต่อมาก็คือพุทธบริษัทหรือพุทธศาสนิกดังกล่าวมาข้างต้น ในพุทธบริษัทเหล่านี้ก็มีภิกษุสงฆ์นี่แหละเป็นบุคคลสาคัญซึ่งเป็นผู้พลีชีวิตมาเพื่อปฏิบัติดารงรักษาพระพุทธศาสนา นาพระพุทธศาสนาสืบๆต่อกันมาจนถึงในบัดนี้ 2. ความสาคัญของการนับถือศาสนา การนับถือศาสนาทาให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสังคม รวมไปถึงความสาคัญของการนับถือศาสนาต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ดังนี้ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสังคม ศาสนาเป็นสถาบันที่สาคัญของสังคมช่วยกล่อมเกลาพฤติกรรมของสมาชิกในสังคม เพราะศาสนามีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อสังคมดังนี้ (1) ทาให้คนปกครองตนเองได้ในทุกสถานเพราะมีหลักธรรมช่วยพัฒนาจิตใจให้รู้จักควบคุมกายวาจาใจ ให้ปราศจากการประทุษร้ายเบียดเบียนกัน (2) เป็นภูมิปัญญาระดับสูงทางความคิดและมโนธรรมอันลึกซึ้งที่นาชีวิตไปสู่จุดหมายปลายทางคือสันติสุข (3) เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย์ในการดาเนินชีวิตเมื่อมีปัญหาใดๆมากระทบใจ ศาสนาเป็นที่พึ่งพาใจให้มนุษย์ได้ (4) ศาสนาเป็นบ่อเกิดของวัฒนธรรมของสังคมได้แก่ คติธรรมเนติธรรมสหธรรมและวัตถุธรรม สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นคุณภาพจิตใจที่ดีงามของมนุษย์ ศาสนาเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับสังคมที่มีวิวัฒนาการไม่ใช่สังคมป่าเถื่อน เพราะหลักสาคัญที่สุดที่ศาสนาช่วยทาให้สังคมสงบร่มเย็นคือศาสนาทุกศาสนามุ่งเน้นการทาความดีถ้าทุกคนเป็นคนดี สังคมโดยรวมก็จะสงบเรียบร้อยประชาชนมีสันติสุขพิจารณาความสัมพันธ์ของศาสนากับสังคมได้ดังนี้ - การทาความดีของศาสนาต่างๆมีผลต่อวิถีชีวิตของสมาชิกในสังคมนั้นๆ หลักการทาความดีของศาสนาที่สาคัญในโลกมีดังนี้ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ถือว่า การทาความดีคือการทาความดีเพื่อความดีเพื่อหน้าที่ ศาสนาพุทธ ถือว่า ควรทาความดีเพื่อความดี ศาสนาคริสต์ ถือว่า ทาความดีเพื่อพระเจ้า ศาสนาอิสลาม ถือว่า ทาความดีเพื่อพระเจ้า ศาสนาสิกข์ ถือว่า ทาความดีเพื่อพระเจ้า