SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 37
Descargar para leer sin conexión
1
                                               บทที่ 1
                                               บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
        ความแพรหลายของอินเทอรเน็ต และการเติบโตของจํานวนผูใชอินเทอรเน็ตในประเทศไทยเพิ่มขึ้น
อยางมาก ทําใหผูคนนิยมจะเสพขาวจากสื่อออนไลนผานอินเทอรเน็ตเพิ่มมากขึ้น [1] จากผลการสํารวจ
ผูใชอินเทอรเน็ตป 2553 ของเว็บไซตทรูฮิต (truehits.net) พบวามียอดผูใชงานอินเทอรเน็ตในประเทศไทย
ทั้งสิ้นจํานวน 21 ลานคน และ[2]จากการสํารวจลักษณะและพฤติกรรมของกลุมผูใชอินเทอรเน็ตในประเทศ
ไทยเปนประจําป 2553 ในชวงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม 2553 จากยอดผูตอบแบบสอบถามออนไลนทั้งหมด
14,067 คนพบวากิจกรรมที่นิยมทําบนอินเทอรเน็ต คือ การติดตามขาว
        นอกจากนี้การแพรหลายของสื่อสังคมออนไลน(Social Media) ในหมูคนออนไลนของไทยมีเพิ่ม
มากขึ้นอยางกาวกระโดด ปจจุบันในประเทศไทยมีคนใช Facebook [3] ประมาณ 14,235,700 คน และมี
คนใช Twitter [4] ประมาณ720,000 คน ซึ่งเปนสื่อสังคมออนไลนที่ไดรับความนิยมมากในประเทศไทย ทํา
ใหผูบริโภคจํานวนมากหันมาบริโภคขาวสารอานออนไลนผานการแชรลิงคของเว็บไซตขาวผานทางสื่อ
สังคม
        ไมเพียงแตจํานวนผูบริโภคขาวเทานั้นที่เพิ่มปริมาณ ในดานของผูนําเสนอขาวสารก็เพิ่มมากขึ้น
เชนกัน ในที่นี้ปรากฏการณอินเทอรเน็ตและสื่อสังคมออนไลนทําใหผูนําเสนอขาวสารผานสื่อชองทางนี้
ไมไดมีเพียงสื่อกระแสหลัก (Mainstream Media) เพียงอยางเดียวอีกตอไป แตไดเปดโอกาสใหทุกคนเปน
สื่อไดทั้งสื่อพลเมือง (Citizen Journalist) และบล็อกเกอร (Blogger) โดยเฉพาะในสายขาวเทคโนโลยี
สารสนเทศ หรือ ไอที (Information and Communication Technology: IT) ที่ในปจจุบันเกิดบล็อกเกอรไอ
ที คือ บล็อกเกอรที่นําเสนอเนื้อหาขาวสารดานไอที มีการเพิ่มจํานวนมากขึ้นอยางมาก และไดรับความนิยม
ในการบริโภคขาวจากผูบริโภคเพิ่มมากขึ้น
        [8] ศุภนิตย (2552: 212-213) บอกวา บล็อกเกอร คือ “นักขาวพลเมือง” ที่ปจจุบันมีวัตถุประสงค
ในการใชงานที่หลากหลายมากขึ้น และการนําบล็อกมาเปนชองทางการเผยแพรขอมูลขาวสาร ซึ่งเปนที่
นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ในประเทศไทย นักขาวพลเมืองในปจจุบันเลือกใชสื่อออนไลนในรูปแบบ “บล็อก” เปน
ชองทางในการนําเสนอเนื้อหาขาวสารของตนเอง โดยไมตองผานการคัดเลือกกลั่นกรองจากบรรณาธิการ
ของสื่อมวลชนอีกตอไป จึงเกิดความเปลี่ยนแปลงที่สงผลกระทบตอบทบาทการเปนผูเฝาประตูขาวสารของ
ผูประกอบวิชาชีพดานสื่อมวลชน และเปนกระแสที่มาแรงมากในชวงหลายปที่ ผานมาในหลายประเทศทั่ว
2
โลกความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้สวนหนึ่งมาจากความสะดวกของเทคโนโลยีนี้เองที่ ทําใหนักขาวพลเมือง
สามารถสงขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวเกี่ยวกับขาวหรือเหตุการณตางๆ ที่ตนตองการขึ้นยังบล็อกของ
ตนเองไดทันทีทุกที่ ทุกเวลา ที่สามารถใชงานอินเทอรเน็ตไดจึงเสมือนวามีสื่อมวลชนในการเผยแพรขาวของตน
        ในชวงปพ.ศ.2554 ที่ผานมาดูเหมือนบทบาทของบล็อกเกอรถูกพูดถึงมากขึ้นในแงของการเปน
“สื่อ” ที่นําเสนอขาวสารดานไอทีไปถึงผูบริโภคขาวไอที สวนหนึ่งเปนผลมาจากการเติบโตอยางกาวกระโดด
ของธุรกิจไอทีที่มีฐานลูกคาเปนประชาชนทั่วไป (Consumers) ทําใหปริมาณขาวไอทีสําหรับผูบริโภคมีเพิ่ม
มากขึ้น ซึ่งเปดโอกาสใหบล็อกเกอรเขามามีสวนในการนําเสนอขาวสารตรงนี้ไปยังผูบริโภคดวยเชนกัน ซึ่ง
ในปที่ผานมาเริ่มมีการพูดถึงบทบาทของนักขาวกับบล็อกเกอรในแวดวงธุรกิจไอทีวามีความเหมือนหรือ
แตกตางกันอยางไรในแงของความเปน “สื่อ”
        บล็อกเกอรสายขาวเทคโนโลยี ที่สวนมากจะเปนบุคคลที่มีความรูเรื่องเทคโนโลยี มีความสนใจ และ
มีความอยากที่จะถายทอดหันมาเขียนบล็อกขาวไอที และรีวิวสินคาไอที เปนจํานวนมาก และไดรับความ
สนใจและนิยมอานจากผูอานอยางมากเชนกัน จนทําใหเจาของสินคาไอที รวมถึงบริษัทพีอาร เริ่มให
ความสําคัญกับบล็อกเกอรในฐานะ “สื่อ” (Press) โดยไดเชิญบล็อกเกอรไปในงานแถลงขาว งานแถลง
เปดตัวสินคา และสงสินคาใหทดสอบ (Review) เพื่อใหบล็อกเกอรเหลานั้นเขียน “ขาวสินคา” ลงในบล็อก
สวนตัวของพวกเขาเอง กอปรกับผูบริโภคเริ่มใหความสําคัญกับขอเขียนของบล็อกเกอรที่เขียนถึงสินคาไอที
ผูบริโภคจะเขามาอานรีวิวสินคาไอทีกอนที่จะตัดสินใจซื้อสินคา ทําใหบทบาทของบล็อกเกอรมีเพิ่มมากขึ้น
และทําใหบล็อกเกอรเกิดขึ้นราวกับดอกเห็ด เว็บบล็อกดานขาวและรีวิวสินคาไอทีเกิดขึ้นจํานวนมาก ทําให
หลายครั้งที่เกิดปญหาวาขาวที่เขียนหรือรีวิวที่เขียนนั้นเปนการ “ถูกจาง” จากเจาของสินคาใหเขียนเพื่อเชียร
สินคาของตน ทําใหผูอานที่ตองการซื้อสินคานั้นหลงเชื่อ ประกอบกับที่ผานมาเกิดการตั้งคําถามขึ้นวา
บล็อกเกอรมีสถานะเปน “สื่อ” หรือไม
        ที่ผานมาชมรมนักขาวสายเทคโนโลยีสารสนเทศ(ITPC: Information Technology Press Club) ได
เคยจัดเสวนาเรื่องนี้ขึ้น เพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางนักขาวกับพีอารและวงเสวนากับบล็อก
เกอร เรื่องบทบาทของนักขาวกับบล็อกเกอรในฐานะ “สื่อ” รวมถึงความรับผิดชอบที่ตองมีตามมา รวมถึง
ขอเสนอที่ใหบล็อกเกอรเกิดการรวมตัวกันจัดตั้งเปนกลุมที่มีการกําหนด “หลักเกณฑ” ที่จะควบคุมกันเอง
หรืออยางนอยก็เพื่อที่จะสรางใหเกิดมาตรฐานวิชาชีพบล็อกเกอรขึ้น เพราะในตางประเทศหลายประเทศ
บล็อกเกอรมีฐานะเปน “สื่อ” อยางเต็มตัวและบล็อกเกอรมีการรวมตัวกันเปนชมรม และมีกติกาในการ
ควบคุมดูแลบล็อกเกอรดวยกันเอง แตสําหรับในประเทศไทยที่บล็อกเกอรกําลังเบงบาน บล็อกเกอรเปน
3
เรื่องใหมที่ทั้งผูบริโภค นักขาวไอทีอาชีพ พีอาร และบริษัทเจาของสินคาไอที จะตองเรียนรูที่จะตอนรับ
บล็อกเกอรเขาสูระบบนิเวศของการสื่อสารขาวดานไอที และตองเรียนรูที่จะอยูรวมกัน
        แตทวาบทบาทและความสัมพันธระหวางองคประกอบตางๆ ไมชัดเจน ผูศึกษาจึงอยากจะ
ทําการศึกษาถึงบทบาทและความสําคัญของบล็อกเกอรในฐานะ “สื่อ” วาผูบริโภคมองและยอมรับวาบล็อก
เกอร คือ “สื่อ” หรือไมอยางไร


1.2 วัตถุประสงคการศึกษา
        1.2.1 เพื่อศึกษาความเห็นจากผูบริโภคมองวา “บล็อกเกอร” เปน “สื่อ” (Press) หรือไม
        1.2.2 เพื่อศึกษาวาบทบาทของ “บล็อกเกอร”และ “สื่อ” เหมือนหรือตางกันอยางไร
        1.2.3 เพื่อศึกษาความตองการ และความคาดหวังของผูบริโภคขาวไอที ที่มีตอ “บล็อกเกอร”
        1.2.4 เพื่อสรางการรับรูและกระตุนเตือนใหบล็อกเกอรทราบถึงความตองการที่แทจริงของผูบริโภค


1.3 วิธีดาเนินการศึกษา
         ํ
        การศึกษานิยาม “สื่อ” (Press) วาคือ อะไร มีองคประกอบอยางไรบาง และมีบทบาทอยางไรในการ
สื่อขาว ผูศึกษาใชระเบียบวิธีการวิจัยจากเอกสาร (Documentary Research) และการสัมภาษณ โดยใช
วิธีการประมวลและวิเคราะหเอกสารการวิจัยเอกสารเปนหลัก ไดแก ทฤษฎีการสื่อขาว, นิยาม “ผูสื่อขาว”
สัมภาษณ (Depth Interview) ผูบริโภคที่บริโภคขอมูลขาวสารของบล็อกเกอรจํานวน 12 คน และสัมภาษณ
บล็อกเกอร 6 คน
        ผูวิจัยใชวิธีการนาเสนอขอมูลดวยการพรรณนา (Descriptive) เปนหลัก โดยบรรยาย อธิบายความ
และตีความขอมูลที่ไดมาจากการคนควาและรวบรวมขอมูล


1.4. ขอบเขตการศึกษา
        1.4.1 ศึกษาทฤษฎีวาดวยการสื่อขาวเพื่อใหทราบถึงวิวัฒนาการ บทบาทและหลักการของสื่อ
        1.4.2 ศึกษาทฤษฎีวาดวยบล็อกเกอร เพื่อใหทราบถึงวิวัฒนาการ บทบาทและหลักการของบล็อกเกอร
        1.4.3 ศึกษามุมมองของผูบริโภคตอการสื่อขาวของบล็อกเกอรในฐานะ “สื่อ” (Press)
4
1.5 สมมติฐานการศึกษา
       ุ
        บล็อกเกอรเริ่มมีบทบาทในการสื่อสารขอมูลขาวสารไปยังผูบริโภคเพิ่มมากขึ้น ทําใหตัวบล็อกเกอร
คิดวาบล็อกเกอร คือ “สื่อ” ประเภทหนึ่ง แตในความเปนจริงผูบริโภคที่รับขาวสารจากบล็อกเกอรไมใชทุก
คนที่จะมองบล็อกเกอรเปน “สื่อ”


1.6 นิยามศัพท
        บล็อกเกอร คือ (จันทวรรณ ปยะวัฒน, 2548) ผูเขียนบันทึกเลาเรื่องราวประจําวันเพื่อสื่อสาร
ความรูสึกนึกคิด มุมมอง ประสบการณ ความรู และขาวสาร ในเรื่องที่สนใจโดยเฉพาะลงในบล็อก (Blog)
หรือ เว็บบล็อก (Weblog)
        สื่อมวลชน (Mass Media) คือ สงที่สามารถนําสารจากผูสงสารไปสูผูรับสารที่ประกอบดวยคน
                                    ิ่
จํานวนมากไดอยางรวดเร็วภายในเวลาเดียวกัน หรือในเวลาที่ใกลเคียงกัน ไดแก หนังสือพิมพ
วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน นิตยสาร และภาพยนตร ([15]ปรมะ สตะเวทิน, 2526, หนา 134-135)


1.7. ประโยชนที่ไดรับจากการศึกษา
        1.7.1.เพื่อสรางความรับรูและความเขาใจถึงบทบาทบล็อกเกอรในสายตาผูบริโภค
        1.7.2 กระตุนใหบล็อกเกอรรับรูถึงมุมมองของผูบริโภค
        1.7.3 เพื่อกระตุนใหบล็อกเกอรสรางกรอบกติกาและความรับผิดชอบในการนําเสนอขอมูล เพื่อ
ประโยชนแกผูอานบล็อก
5
                                               บทที่ 2
                                             ผลการศกษา
                                                     ึ

         รายงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงคในการศึกษาวา ผูบริโภคขอมูลขาวสารบนโลกออนไลนมองวา
“บล็อกเกอร” เปน “สื่อ” หรือในที่นี่ คือ “ผูสื่อขาว” (Press) และ “นักขาว”(Reporter) หรือไม เพราะอะไร
และผูบริโภคมีความเห็นตอบทบาทของ “บล็อกเกอร” และ “ผูสื่อขาว” เหมือนหรือตางกันอยางไร พวกเขามี
ความคาดหวังตอ “บล็อกเกอร” และ“ผูสื่อขาว” เหมือนหรือแตกตางกันอยางไร ทั้งนี้เพื่อสรางการรับรูและ
กระตุนเตือนให “บล็อกเกอร” รวมถึง “ผูสื่อขาว”ทราบถึงความตองการที่แทจริงของผูบริโภค
         รายงานชิ้นนี้ไดทําการวิจัยผานการสัมภาษณเชิงลึกผูบริโภคขอมูลขาวสารทั้งจาก “บล็อกเกอร”
และ “ผูสื่อขาว” อยางสม่ําเสมอ จํานวน 12 คน ตามประเด็นคําถามที่วา บล็อกเกอรเปน “สื่อ”หรือไม?
บทบาทของ “บล็อกเกอร” และ “ผูสื่อขาว”เหมือนหรือตางกันอยางไร และคาดหวังอะไรจาก “บล็อกเกอร”
และ “ผูสื่อขาว”
         รวมถึงไดสัมภาษณเชิงลึก “บล็อกเกอร”สายขาวเทคโนโลยีสารสนเทศจํานวน 6 คน ตามประเด็น
คําถามที่วา ตนเองมองวา “บล็อกเกอร” เปน “สื่อ”หรือไม? และบทบาทของ “บล็อกเกอร” และ “ผูสื่อขาว”
เหมือนหรือตางกันอยางไร
         ผลที่ไดจากการศึกษามีดังตอไปนี้


2.1 บล็อกเกอรเปน “สื่อ” หรือไม ?
         คนสวนใหญมีความเห็นวา “บล็อกเกอร”เปน “สื่อ” อยางหนึ่ง แตไมใช “สื่อ”ในความหมายเดียวกัน
กับคําวา “สื่อ”ในบริบทของผูสื่อขาว และองคกรขาวทุกประการ แตมีความหมายครอบคลุมไปถึงการเปน
“สื่อมวลชน” ที่มีความเปน “สวนตัว” เหตุผลที่บล็อกเกอรเปนสื่อมวลชนเพราะบล็อกเกอรมีพื้นที่ในการ
นําเสนอขาวสารเชนเดียวกับสื่อมวลชน บล็อกเกอรมีผูรับสารจํานวนหนึ่งหรือจํานวนมากเชนเดียวกับ
สื่อมวลชน
         ดังเชนที่ อภิศิลป ตรุงกานนท ผูจัดการฝายผลิตภัณฑ บริษัท อินเทอรเน็ต มารเก็ตติ้ง จํากัด
เจาของเว็บไซต พันทิปดอตคอม กลาววา “บล็อกเกอร” เปนสื่อ เพราะบล็อกเกอรมีพื้นที่ในการนําเสนอ
ขอมูลขาวสารของตนเอง และสามารถนําสนอขอมูลขาวสารออกมาใหคนอานได
         “ผมวาบล็อกเปนสื่อนะ สื่อในที่นี้คือ การสื่อสาร เพราะเขามีพื้นที่ในการนําเสนอ แตหากเทียบกับ
สื่อกระแสหลัก (Mainstream Media) บล็อกเกอรอาจเขาถึงคนจํานวนมากในคราวเดียวกันไมได แตขอมูล
6
ขาวสารจากบล็อกเกอรจะคอยๆ กระจายออกไปจากการบอกตอๆ กัน จนในที่สุดก็ทําใหเขาถึงผูรับสารได
จํานวนมากเชนกัน”
        เชนเดียวกับ ธรรณพ สมประสงค (@thanop) ผูกอตั้งเว็บไซต ไทยแวรดอทคอม (Thaiware.com)
ก็มองวาบล็อกเกอรเปนสื่อมวลชนสาขาหนึ่งที่นําเสนอขอมูลขาวสารไปสูประชาชนคนรับสาร โดยที่ขาวสาร
ที่นําเสนอไปนั้นจะประกอบดวยขาวและความคิดเห็น
        ในขณะที่ ณัฐฐา โกมลวาทิน บรรณาธิการ รายการตอบโจทย ที่นี่ไทยพีบีเอส เห็นวา บล็อกเกอร
เปนสื่อมวลชน แตไมใชบล็อกเกอรทุกคนเปนสื่อมวลชน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความนาเชื่อถือของผูเขียนบล็อกนั้น
        “ปกติอานบล็อกทั้งในและตางประเทศบล็อกที่ติดตามอานเปนประจําคือ บล็อกของคุณสิทธิชัย
หยุน และบล็อกของนักขาวตางประเทศ เลยมองวาบล็อกเกอรเปนสื่อมวลชน”
        จรียวิบูล บุญชนะโกศล Senior Public Relations Officer บริษัท ซีดีจี กรุป จํากัด ก็มีมุมมองวา
บล็อกเกอรเปนสื่อมวลชนแขนงหนึ่งที่มีความนาสนใจมาก เพราะมีความรวดเร็วในการนําเสนอขอมูล
ขาวสารสูสาธารณะ
        “บล็อกเกอรเปนการเผยแพรขาวสารสูสาธารณะ เพราะฉะนั้น บล็อกเกอรคือสื่อมวลชน”
        ซึ่งผลการศึกษาในสวนนี้สอดคลองกับความเห็นของ [7] ชาลีวาระดี(เสวนา, 10 ตุลาคม 2550) ที่
บอกวา บล็อกเปรียบเสมือนสื่อสวนตัวของเจาของบล็อกที่เจาของสามารถใสเรื่องราวใดๆ ก็ไดตามตองการ
        อยางไรก็ดี อาจารยปริวรรต องคศุลี หัวหนาภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยสยาม
มองวาบล็อกเกอรเปนพื้นที่สีเทา (Gray Area) ระหวางความเปนสื่อมวลชน (Journalism) กับ บทความที่
แสดงความคิดเห็น (Opinionated Article)
        “บล็อกเกอรมักจะใสความเห็นของตนลงไปในเนื้อขาว จนบางทีก็คลอยตาม หากเห็นตรงกับเรา”
        สวนบล็อกเกอรเองนั้นมีความคิดเห็นวา ตนนั้นเปนสื่ออยางหนึ่งเชนกัน ประหยัด โกษาแสง หรือ
@kraplam บล็อกเกอรจาก www.krapalm.com บอกวาบล็อกเกอรก็เปนสื่ออยางหนึ่ง “สื่อในความหมาย
ของผมก็คือ ชองทางในการติดตอสื่อสาร”
        สวน นันทพงศ จงประทีป หรือ @papayatop บล็อกเกอรจาก http://www.papayatop.com/บล็อก
เกอรอีกราย ใหความเห็นวา “สวนตัวคิดวาบล็อกเอรเปนสื่อ แตอาจจะไมเปนทางการเทากับนักขาวจริงๆ
และทุกคนสามารถเปนบล็อกเกอรไดตามความชอบในดานที่เราถนัด”
        ทั้งนี้มีคนอีกจํานวนหนึ่งมีความเห็นวา บล็อกเกอรไมใชสื่อมวลชน เพราะบล็อกเกอรนั้นไมมี
กระบวนการทางดานวารสารศาสตรในการผลิตชิ้นงาน เปนการเขียนจากคนๆ เดียว นอกจากนี้บางครั้งขาด
การอางอิงแหลงที่มาของขอมูล และมีการใสอารมณ ความรูสึก และความคิดเห็นเขาไปในงานเขียน ทําให
7
ขาดความเปนกลางในการนําเสนอ นอกจากนี้บล็อกเกอรยังขาดพลังแหงการชี้นําสังคม แมวาบล็อกเกอรห
ลายรายจะเปนที่รูจักหรือโดงดัง (Celebrity) อยางมากก็ตามที
        คุณสมบัติหลักที่ทําใหบล็อกเกอรไมมีสถานะเปนสื่อมวลชน คือการขาดการพิจารณาคุณคาของ
ประเด็นขาวที่สงผลกระทบตอสังคมในวงกวาง แตจะเลือกนําเสนอประเด็นจากเรื่องที่ตนสนใจเปนหลัก
อาจารยสกุลศรี ศรีสารคาม อาจารยประจําคณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต กลาววา
บล็อกเกอรไมใชสื่อมวลชนในนิยามแบบนักขาวที่สังกัดองคกรสื่อ แตบล็อกเกอรเปนกลุมคนที่มีความรู
เฉพาะเรื่อง ซึ่งบล็อกเกอรสวนใหญจะเขียนหรือนําเสนอเรื่องที่ตัวเองมีความสนใจ หรือมีความรูในเรื่องนั้นๆ
ในขณะที่นักขาว จะตองพิจารณาประเด็นเรื่องคุณคาของขาวที่นําเสนอ และเรื่องที่มีผลกระทบตอสังคม
การเลือกนําประเด็นของเนื้อหาที่จะนําเสนอของบล็อกกับนักขาวมีความแตกตางกัน
        เชนเดียวกันกับ เชลงพจนพุทธรักษา IT Lead บริษัท Johnson & Johnson Thailand กลาววา
บล็อกเกอรไมใชสื่อมวลชน แตเปนผูสงสาร ที่มีความเปนอิสระจากกระบวนการทางดานวารสารศาสตร
เพราะบล็อกเกอรสามารถใสความคิดเห็นสวนตัวเขาไปในงานเขียนที่นําเสนอได แตนักขาวทําไมได ในขณะ
ที่นักขาวตองมีการกลั่นกรองประเด็นและเนื้อหาที่จะนําเสนอรวมกับกองบรรณาธิการ แตบล็อกเกอรไมมี
บล็อกเกอรสามารถนําเสนอประเด็นที่ตัวเองสนใจ แตนักขาวจะนําเสนอประเด็นที่เปนภาพกวางที่สงผล
กระทบตอคนในจํานวนมากๆ
        จักรพงษ คงมาลัย Online Marketing Manager Mobile Marketing บริษัท ไทยซัมซุง อิเลคโทร
นิคส จํากัด มีความเห็นไปในแนวทางเดียวกันวา บล็อกเกอรไมใชสื่อมวลชน เพราะขาดองคประกอบสําคัญ
ของการเปนสื่อมวลชน นั่นคือ บล็อกเกอรขาดกระบวนการทางดานวารสารศาสตร และขาดกระบวนการ
ตรวจสอบจริยธรรม เหมือนที่สื่อมวลชนพึงจะตองมี
        “แตในฐานะของคนทําแบรนดบล็อกเกอร คือ ชองทาง หรือ สื่อ (Medium) ที่สามารถนําพาขาวสาร
หรือขอมูลที่แบรนดตองการนําเสนอไปยังผูรับสาร หรือผูบริโภคสินคาของซัมซุงได”
        เชนเดียวกับ รอยโทหญิงนิดา ยิ้มคมขํา เจาหนาที่ประจําแผนกและงบประมาณ กองงบประมาณ
หนวยบัญชาการทหารพัฒนา ที่มองวา บล็อกเกอรเปนผูนําเสนอบทความหรือความคิดเห็นสวนบุคคล
มากกวาจะเปนการนําเสอนขาวสารในฐานะสื่อมวลชน
        และ กฤษณ กิ่งโก เจาหนาที่จากสํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร ที่เห็นวา บล็อกเกอรไมใชสื่อมวลชน เพราะมีการใสความคิดเห็นลงในงานเขียน การเขียน
บล็อกสามารถใหความเห็นหรือมุมมองสวนตัวลงไปในเนื้อหาได แตถาเปนสื่อมวลชนจะนําเสนอแตความ
จริงไมมีการแทรกความเห็นสวนตัวลงไปในเนื้อหา
8
        สวน ชรัตน เพ็ชรธงไชย วิศวกรตรวจสอบซอฟทแวรอาวุโส บริษัท ทอมปสันรอยเตอรซอฟทแวร
(ประเทศไทย) จํากัด บอกวา บล็อกเกอรไมใชสื่อมวลชน เพราะบล็อกเกอรใสความคิดเห็นของตัวเองเปน
หลักในงานเขียน แตนักขาวจะนําเสนอเนื้อหาแบบเปนกลาง ไมมีการใสความคิดเห็นลงในงานขาว
        อยางไรก็ดี แมวาหลายคนจะเห็นวา บล็อกเกอรไมใชนักขาว ไมใชสื่อมวลชน แตในบางบริบท
บล็อกเกอรก็ไดรับการยอมรับเปนสื่อ แตเปนสื่อภาคประชาชน อาจารยสกุลศรี กลาววา ถาเปนการรายงาน
ขาวเหตุการณ จากสถานที่เกิดเหตุจริงของบล็อกเกอร ก็ถือวา บล็อกเกอรทําหนาที่สื่อภาคประชาชน หรือ
Citizen Journalist
        เชนเดียวกับมุมมองของพิทยากร ลีลาภัทร ผูจัดการฝายการตลาด บริษัทแคททาลิสท อัลลาย
แอนซ (ประเทศไทย) จํากัด และผูเขียนหนังสือ “ธนาคารแหงความสุข”ที่มองวา บล็อกเกอรก็เปนสื่อ
ประเภทหนึ่ง ที่เรียกวา “สื่อภาคประชาชน”และสิ่งที่บล็อกเกอรนําเสนอก็เปนบทความ ขอเขียน ความ
คิดเห็นของผูเชี่ยวชาญในดานนั้นๆ
        “โดยสวนรูสึกวาบล็อกเกอรเปนผูแสดงความเห็น นําเสนอเรื่องราวในมุมมองที่ตนตองการเสนอ
งานที่นําเสนอจึงเหมือนบทความมากกวาการรายงานขาว”
        ดังนั้น หากพิจารณาตามหลักเกณฑของวารสารศาสตรแลว ก็ถือไดวาบล็อกเกอรไมใช สื่อมวลชน
แตเปนเพียงสื่อหรือชองทางที่สามารถนําพาขอมูลขาวสารออกไปหาคนรับสารได


        2.1.1 ที่มาของขอมูลขาวสาร และกระบวนการผลิตเนื้อหา
        หากพิจารณาในแงของที่มาของขอมูลขาวสารที่บล็อกเกอรนําเสนอนั้น มีความแตกตางจากนักขาว
ที่มาของขอมูลขาวสารที่บล็อกเกอรนําเสนอ มาจากมุมอง ความคิด ทัศนคติ และความรูสึกของบล็อกเกอร
เปนหลัก ทําใหรูปแบบการนําเสนอขอมูลขาวสารของบล็อกเกอรจึงออกมาในรูปแบบของการสื่อสารดวย
ภาษาพูดมากกวาภาษาเขียน โดยมีการใสความคิดเห็นสวนตัวของผูเขียนลงไปในเรื่องราวที่นําเสนอ ไม
เนนการไดมาซึ่งขอมูลจากบุคคลอื่น ในขณะที่ที่มาของขอมูลขาวสารที่นักขาวนําเสนอนั้นมาจากบุคคลอื่น
คือ ไมใชมาจากตัวนักขาวที่เขียนหรือนําเสนอเรื่องราวนั้นเอง บุคคลอื่นในที่นี้ ก็คือ แหลงขาว และ
แหลงขอมูล ไดแก รายงาน การวิจัย และผลสํารวจขององคกรที่นาเชื่อถือได หรือเปนที่รูจัก เปนตน
        และสอดคลองกับ ศุภนิตย (2552:218) ที่มองวา ในแงมุมของทักษะดานงานขาวของบล็อกเกอรใน
ฐานะบรรณาธิการที่คัดสรรประเด็นเองนั้น บางคนอาจยังไมมีประสบการณมากเทียบเทากับบรรณาธิการ
ของสื่อมวลชนที่มักเปนผูคร่ําหวอดในแวดวงสื่อมามากกวามุมมองของบรรณาธิการสมัครเลนในการ
คัดเลือกประเด็นที่จะทําขาวจึงอาจเปนเพียงประเด็นที่ตนเองอยากทําเพราะความสนใจสวนตัวเทานั้น
9
         อภิศิลป กลาววา มีในขณะที่นักขาวตองไปสัมภาษณแหลงขาว และไปรวบรวมขอมูลจากแหลง
ตางๆ เพื่อนําขอมูลมาเขียนเปนขาวหรือสารคดีเชิงขาวใหผูรับสาร แตบล็อกเกอรนั้นในบางครั้งตัวเขาคือ
ผูเชี่ยวชาญเอง ซึ่งสามารถเขียนและนําเสนอขอมูลขาวสารใหกับผูรับสารไดโดยไมตองไปสัมภาษณใคร
ตัวอยางเชน ขาวการแถลงเปดตัวสินคาใหมของ Samsung สิ่งที่นักขาวทําคือ ไปรวมงานแถลงขาว รับ
เอกสารขาว (Press Release) จากผูแถลง จากนั้นฟงการแถลง และสัมภาษณแหลงขาวเพิ่มเติม ซึ่ง
ประเด็นที่นักขาวนําเสนอสวนมากอิงตามเอกสารขาวแจก หรือเรียกกันวา “ประเด็นแถลง” อาทิ บริษัทได
เปดตัวสินคาใหม สินคานั้นคืออะไร มีขอดีของสินคาคืออะไร บริษัทคาดหวังยอดขายในสินคาตัวนี้อยางไร
กลยุทธทางการตลาดสําหรับบริษัทคืออะไร เปนตน ในขณะที่สิ่งที่บล็อกเกอรทําการสัมผัสสินคาดวยตนเอง
และนําเครื่องโทรศัพทสมารทโฟนนั้นมาลองใชงาน แลวเขียนจากประสบการณตรงวาสินคาตัวนั้นๆ มี
คุณสมบัติและความสามารถโดดเดนอยางไร มีขอดีขอเสียอยางไร
         เชนเดียวกับ จรียวิบูล ที่มองวา บล็อกเกอรนําเสนอเรื่องจากมุมมองของตัวเอง ซึ่งหลายเรื่องเปน
เรื่องที่มีความนาสนใจเพราะเปนความตองการเดียวกับผูอานหรือผูรับสาร
         “บล็อกเกอรนําเสนอสงที่เขาเห็น และรับรูแบบสดๆ ทันทีทันใด ทําใหขอมูลขาวสารนั้นมีความไว
และนาสนใจ ตางจากนักขาวที่อาจตองหาขอมูลมาประกอบจากหลายทางทําใหขาวมีเนื้อหาที่ครอบคลุม
ในหลายมิติหลายประเด็นและละเอียดกวา”
         จรียวิบูลบอกวา หากเทียบทักษะของการนําเสนอขาวสารระหวางบล็อกเกอรกับนักขาวแลว บล็อกเกอร
นั้นไมมีทักษะในการเชิงการนําเสนอขาวสารเทียบเทาสื่อมวลชนอาชีพ แตบล็อกเกอรสามารถนําเสนอเรื่อง
ไดนาสนใจกวา เพราะเรื่องที่บล็อกเกอรนํามาเสนอนั้นเปนเรื่องที่เขาสนใจซึ่งก็เปนเรื่องที่ผูคนทั่วไปสนใจ
หรือเรียกวาเปนเรื่องที่มี Human Interests ประกอบกับบล็อกเกอรสามารถใสอารมณ ความรูสึกลงไปใน
ขอมูลที่นําเสนอได ทําใหขอมูลขาวสารของบล็อกเกอรนั้นมีความไมเปนทางการในแบบฉบับของงานขาว
อยู แตเปนการนําเสนอแบบเรื่องเลาทําใหชวนติดตามและอานสนุก
         อาจกลาวไดวากระบวนการผลิตเนื้อหาของบล็อกเกอรเริ่มตนจาก ประเด็นที่บล็อกเกอรมีความ
สนใจ จากนั้นจึงหาขอมูล หรือไมก็ลงมือเขียนทันที โดยไมจําเปนตองตองยึดหลักตามกระบวนการดาน
วารสารศาสตร ซึ่ง[16] การสื่อขาว คือ การปฏิบัติงานดานวารสารศาสตร ซึ่งมีกระบวนการในการ
ปฏิบัติงาน ดังนี้
         1. การคนควาและแสวงหาขอมูล เกี่ยวกับขอเท็จจริงและเหตุการณที่เกิดขึ้น
         2. การประเมินคุณคาขาว เปนการนําขอมูลที่หามาไดและนํามาประเมินคุณคาจากองคประกอบ
ของขาว และปจจัยอื่นๆ
10
        3. การตรวจสอบความถูกตอง เพื่อปองกันขาวไมใหคลาดเคลื่อน
        [19] ซึ่งดร.มานะ ตรีรยาภิวัฒน รองคณบดี คณะนิเทศศาสตรมหาวิทยาลัยหอการคาไทย ไดเคย
ใหคํานิยาม “วารสารศาสตร” หรือ “Journalism” ไววาคือ การเลาเรื่องราว เหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้น แบบ
Storytelling สวนนักวารสารศาสตร คือ Storyteller หรือนักเลาเรื่องราว เหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้น หากเลา
เรื่องราว เหตุการณผานสื่อสิ่งพิมพยอมเรียกวา Print Journalism ถาเลาผานสื่อวิทยุโทรทัศน เปน
Broadcasting Journalism เลาผานสื่อออนไลน อินเตอรเน็ต ก็เรียกวา Online Journalism ซึ่งนักขาว คือ
นักวารสารศาสตรที่ตองมีทักษะทางวิชาชีพสําคัญๆ คือ ทักษะการสื่อขาว การคิดประเด็นขาว การรวบรวม
ขอมูลขาว การสัมภาษณ การทําขาวเชิงสืบสวน การเขียนขาว การเขียนเชิงวารสารศาสตรอื่นๆ เปนตน ซึ่ง
หมายรวมไปถึงวิชากฎหมายและจริยธรรมสื่อสารมวลชน ซึ่งเปนแกนแกนสําคัญทางวิชาชีพ [20]
เชนเดียวกับอาจารยญาณินี เพชรานันท หัวหนาภาควิชาวารสารศาสตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มองวา สิ่ง
สําคัญของวารสารศาสตร คือ ขอมูล ขอเท็จจริง ที่ใหกับสังคม
         สวนนักขาวสามารถแสวงหาขอมูลขาวจากแหลงขาวประจํา [16] เอกสารบันทึกตางๆ จาก
หองสมุดหนังสือพิมพ จากหนังสืออางอิงอื่นๆ และจากขอมูลสถิติที่ไดรับการเผยแพรสูสาธารณชน การ
แสวงหาขอมูลขาวจากแหลงขาวประจําอาจเปนการไดมาดวยการสัมภาษณแหลงขาว หรือการสังเกตของ
นักขาวเอง แลวนํามาประเมินคุณคาทางขาววาขอมูลที่ไดมานั้นมีคุณคาทางขาวมากนอยเพียงใด
นอกจากนี้นักขาวยังสามารถแสวงหาขอมูลขาวจากเอกสารบันทึก อาทิ เอกสารบันทึกจากศาล เอกสาร
บันทึกของตํารวจ เอกสารบันทึกทางธุรกิจ เอกสารบันทึกสวนบุคคล
        นอกจากนี้นักขาวยังสามารถแสวงหาขอมูลขาวจากหองสมุดหนังสือพิมพ สถานที่ที่เก็บแฟมขาวซึ่ง
บรรจุขาวสําคัญๆที่ตัดจากหนังสือพิมพตางๆ เรียกวา ขาวตัด (CLIPPING) และจากหนังสืออางอิงอื่นๆ เปน
แหลงขอมูลที่นํามาใชเสริมใหขาวของผูสื่อขาวถูกตอง ครบถวนยิ่งขึ้น เชน หนังสือสารานุกรม เปนตน
รวมถึงแสวงหาขอมูลขาวจากขอมูลสถิติ ขอมูลที่เปนสถิติผูสื่อขาวสามารถรวบรวมไดจากเอกสาร
คนควาวิจัยทางหนวยงานของรัฐบาล สถาบันการศึกษา องคการวิจัยของเอกชน สมาคม องคกรทาง
การเมือง รวมทั้งขอมูลที่นักขาวออกสํารวจวิจัยเอง เปนขอมูลที่มักนําเสนอออกมาในรูปของตัวเลข แผนภูมิ
กราฟ เปนตน


        2.1.2 รูปแบบการนําเสนอและเนื้อหา
        สําหรับรูปแบบในการนําเสนอของบล็อกเกอร นั้นสวนใหญเห็นวา บล็อกเกอรกับนักขาวมีรูปแบบ
ในการนําเสนอขอมูลขาวสารที่แตกตางกันคอนขางชัดเจน สวนใหญมองวารูปแบบการนําเสนอเนื้อหาของ
11
บล็อกเกอรนั้นคอนขางเปนการนําเสนอขอมูลพรอมแสดงความคิดเห็นสวนตัวลงไปในขอมูลนั้นดวย
ในขณะที่นักขาวมีการนําเสนอเนื้อหาขาวสารที่มีรูปแบบที่แนนอนตายตัว โดยปราศจากการใสความคิดเห็น
ใดๆ ลงไปในเนื้อหา
        การนําเสนอเนื้อหาของบล็อกเกอร สามารถนําเสนอเนื้อหาในรูปของการเลาเรื่อง เลาจาก
ประสบการณตรงที่ตนไปสัมผัสขาวจากงานแถลงขาว จากการไดทดสอบสินคาหรือผลิตภัณฑ แตการ
นําเสนอขอมูลขาวสารของนักขาวจะมีรูปแบบที่ตายตัว คือ รูปแบบของขาว ที่เปนพีรามิดหัวกลับ คือ พาด
หัวขาว โปรยขาว เนื้อหาและรายละเอียดขาว เพื่อตอบโจทยทฤษฎีการสื่อขาว 5W 1H (Who, What,
When, Where, Why, How) คือ ใคร ทําอะไร เมื่อไร ที่ไหน ทําไม และอยางไร
        [21] ซึ่งโครงสรางของขาวและการใชภาษาขาวประกอบดวยสวนสําคัญ 4 สวน คือ 1.พาดหัวขาว
(Headline) คือการนําประเด็นสําคัญของขาวมาพาดหัวหนังสือพิมพ เพื่อใหผูอานทราบวาวันนี้เกิดอะไรขึ้น
บาง 2. ความนําขาว (Leads) หรือวรรคนํา คือสาระสําคัญของเนื้อหาขาวที่เขียนโดยยอเพื่อสรางความ
เขาใจทั่วๆ ไปแกผูอาน 3. สวนเชื่อมความนําขาวกับเนื้อเรื่อง (Neck) เปนขอความสั้นๆ ที่เชื่อมระหวาง
ความนําขาวกับเนื้อเรื่อง เพื่อใหการเขียนขาวนั้นเชื่อมโยงอยางตอเนื่อง อาจจะมีหรือไมมีก็ได และ 4. เนื้อ
เรื่องหรือเนื้อขาว (Body) คือสวนที่อธิบายหรือขยายรายละเอียดของสวนประกอบอื่นๆ ขางตน เพื่อให
ผูอานทราบเรื่องราวและเขาใจลําดับความสําคัญของเหตุการณที่เกิดขึ้นอยางชัดเจน
        ในขณะที่รูปแบบการเขียนขาว หรือการนําเสนอขาวทําไดหลายรูปแบบ แตที่พบเห็นโดยทั่วไปมี 3
รูปแบบ ดังนี้
        1. แบบพีระมิดหัวกลับ (Inverted Pyramid) นิยมใชในการเขียนขาวหนังสือพิมพในปจจุบัน ผูเขียน
ขาวจะรายงานสาระสําคัญที่สุดของขาวกอน แลวจึงเขียนสวนสําคัญรองๆ ลงไป โครงสรางขาวลักษณะนี้
จะเริ่มดวยความนํา สวนเชื่อม (ถามี) และเนื้อเรื่องขาว นิยมจัดลําดับเนื้อหา 2 ลักษณะ คือ จัดลําดับตาม
ความสําคัญ และจัดลําดับตามเวลาหรือเหตุการณ
        2. แบบพีระมิดหัวตั้ง (Upright Pyramid) ไมคอยนิยมใชในปจจุบัน ผูเขียนขาวจะเรียงลําดับขอมูล
ที่มีความสําคัญจากนอยไปหามากที่สุด (climax) เพื่อใหผูอานกระหายใครรู และติดตามเนื้อหาจนจบ ดัง
ภาพตอไปนี้ และ
        3. แบบสี่เหลี่ยมผืนผาทรงยืน มักใชเขียนขาวที่ไมคอยสําคัญ ขาวสั้นๆ เริ่มจากสวนเชื่อม หรือจาก
เนื้อเรื่องขาว หลังจากพาดหัวขาวแลว ไมมีความนํา ความสําคัญของขาวมีความเทาเทียมกันตั้งแตตนจนจบ
        แตสําหรับคนที่เห็นวาบล็อกเกอรเปนสื่อมวลชนนั้นจะมองวา การนําเสนอของบล็อกเกอรเปนการ
นําเสนอขาวสารอีกรูปแบบหนึ่งที่มีความหลากหลายมากกวาการนําเสนอขาวสารของสื่อมวลชน เพราะมี
12
การใสความคิดเห็นสอดแทรกลงไปในเนื้อหาที่นําเสนอ ทําใหเนื้อหานาติดตาม และมีแงมุม และความรูสึก
และเพราะบล็อกเกอร คือ ผูที่มีความเชี่ยวชาญในเนื้อหานั้นๆ เฉพาะดาน อาทิ บล็อกเกอรดานขาวสารไอที
ที่มีความรูความเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยี ดังนั้น บล็อกเกอรสามารถใสความเห็น ใสขอมูลที่มาจากตัว
ผูเขียนบล็อกเองลงไปได โดยอาจจะไมตองสัมภาษณแหลงขาว ซึ่งตรงนี้จากนักขาวที่ไมใชผูเชี่ยวชาญ
เฉพาะดาน หรือเฉพาะสาย ทําใหเวลานําเสนอขาวสารนักขาวจําเปนตองพึ่งพาแหลงขอมูล ซึ่งก็คือ
แหลงขาวในการไดมาซึ่งเนื้อหาของขาว
          แมวาบล็อกเกอรถูกมองวาเปนสื่อมวลชน แตเปนสื่อที่สามารถแสดงความคิดเห็นในงานเขียนที่
นําเสนอผูรับสารได เพียงแตรูปแบบในการนําเสนออาจแตกตางกัน และจํานวนผูรับสารแตกตางกันหาก
เทียบกับสื่อมวลชน อภิศิลป มองวา บล็อกเกอรมีรูปแบบในการสนําเสนอขอมูลที่หลากหลายกวา
สื่อมวลชน เพราะบล็อกเกอรจะสามารถใสความคิดเห็นลงไปในเนื้อหาได ขณะที่นักขาวจะไมมีการใสความ
คิดเห็น
          “สมัยนี้หลายๆ แบรนดชอบเชิญบล็อกเกอรไปรวมงานเหมือนที่เชิญนักขาว เพราะเขาอยากให
บล็อกเกอรนําเสนอขาวเกี่ยวกับสินคาของตัวเอง ซึ่งบล็อกเกอรมีอิสระในการเขียนคอนขางมาก คือ ไมได
จํากัดแค “ขาว”เหมือนที่นักขาวรายงาน แตเปนบทความขอคิดเห็นสวนตัวก็ได”


          ธรรณพ บอกวา เนื้อหาที่สื่อมวลชนนําเสนอคือ ขาวสารความเปนไป สวนเนื้อหาของบล็อกเกอรคือ
ขาวบวกกับความคิดเห็น เปนขาว 70 เปอรเซ็นต เปนความคิดเห็น 30 เปอรเซ็นต และขาวที่บล็อกเกอรนํา
เสนอนั้น ถือเปนขาวกึ่งประชาสัมพันธสินคา
          “อานบล็อกเพื่อตองการอานความคิดเห็นจากผูใชงาน เพื่อตองการนําเอาขอมูลมาประกอบการ
ตัดสินใจ”
          แตบางคนก็มองวา หากบล็อกเกอรที่ไมใชนักขาวไปเขียนบล็อก แลวนําเสนอขอมูลขาวสารใหกับ
บริษัท เทากับเปนการโฆษณาประชาสัมพันธดวย แมจะไมชัดเจนแตเนื้อหายอมเปนไปเพื่อการ
ประชาสัมพันธ
          “ธรรมชาติของคนตามอานบล็อกจะชอบการเขียนที่มาจากตัวตนของบล็อกเกอร ซึ่งอานๆ ไปจะ
ทราบไดทันทีวาบล็อกไหนเขียนเพื่อการโปรโมทสินคา จากการที่บล็อกเกอรใสความคิดเห็นลงไปใน
บทความหรืองานเขียนนั้นทําใหผลงานการนําเสนอเนื้อหาของบล็อกเกอรบางครั้งก็เปน “ขาวกึ่ง
ประชาสัมพันธ”
13
        สําหรับเนื้อหาของบล็อกนั้น กฤษณ มองวาเนื้อหาที่บล็อกเกอรนําเสนอสวนใหญจะคอนขางมี
ละเอียด และมีมุมมองของผูเขียน ซึ่งตอบสนองความตองการของผูอานที่อานบล็อกเพราะตองการอาน
ความคิดเห็น ตองการทราบมุมมองในเรื่องนั้นๆ
        “เปนกลางหรือไมเปนกลางในการนําเสนอเนื้อหา ไมใชประเด็น ถาหากไมมีการบิดเบือนเรื่องจริง”
กฤษณ
        ในขณะที่ ณัฐฐา มองวา ขาวสารจากบล็อกเกอรสวนใหญนําเสนอไดนาสนใจ ซึ่งความสมบูรณ
ครบถวน รอบดาน นาเชื่อถือของเนื้อหาที่บล็อกเกอรนําเสนอนั้นขึ้นอยูกับการกลั่นกรองของผูเขียนเปนหลัก
        รอยโทหญิงนิดา บอกวา รูปแบบการนําเสนอขอมูลขาวสารของบล็อกเกอรคือการนําเสนอขอมูล
และความคิดเห็น ทําใหชิ้นงานที่บล็อกเกอรนําเสนอเปนบทความหรือความคิดห็นสวนบุคคล ซึ่งหลายครั้ง
ทําใหผูอานคลอยตามและเชื่อในขอมูลที่นําเสนอ
        “บางบล็อกนําเสนอขอมูลไมครบถวน แตเนนการนําเสนอมุมมอง ความคิดเห็น ซึ่งจะตองเลือกอาน
และวิเคราะหจากขอมูลหลายๆ ที่ จากหลายๆ คนมาประกอบกัน”
        สวนอาจารยสกุลศรี มองวา บล็อกเกอรบางคนมีการสนําเสนอเนื้อดี ใหความคิดตอยอดประเด็นได
ยิ่งถาบล็อกไหนมีการอางอิงขอมูล และใสลิงค (Link) กลับไปที่ตนตอของขอมูล มีการใหขอมูลเพิ่มเติมและ
เชื่อมโยงขอมูลหรือประเด็นตอไปที่อื่นที่ใหผูอานสามารถอานเพิ่มไดจะยิ่งดี
        สวนบล็อกเกอรอยาง @krapalm ก็ยอมรับวา ภาษาทใชในการเขียนบล็อกสวนใหญจะเปนภาษา
                                                      ี่
พูด เนนอานเขาใจงาย ไมอยากรูผูอานรูสึกวาเขากําลังอานหนังสือ หรือเรียงความ อยากใหเขาไดความรูสึก
เหมือนมีคนเลาเรื่องราวใหฟง
        “สไตลในการเขียนของผม ก็เนนการเลาเรื่องราวๆ ใชภาษาที่เขาใจงาย ถาเปนคําศัพทหรือ
keyword สําคัญๆ จะเขียนเปนภาษาอังกฤษเลย ไมคอยไดแปลไทย ผมมักจะเขียนทับศัพท”
        @kraplam ยังบอกอีกวา เนื้อหาที่นําเสนอในบล็อกของเขานั้น จะเนนไปที่อัพเดทขาวสารที่ตน
สนใจและคิดวาจะมีคนอาน “ผมจะพยายามไมเขียนขาวที่ตัวเองสนใจ แตมันเปนขาวที่คนอื่นไมคอยอาน”
        สําหรับ @papayatop บอกวา สวนมากตนจะนําเสอนขาวสารดานเทคโนโลยี โดยผสมกันทั้งขาว
บทความ รีวิวสินคา และสวนใหญจะใชภาษาขาวผสมกับภาษาพูด เขียนแนวคลายกับอธิบาย ขยายความ
ใหแจมชัดขึ้น โดยจะเนนใชภาษาเขาใจงาย เหมือนนั่งคุยกับผูอาน
        เชนเดียวกับ นันทชวิชญ ชัยภาคยโสภณ หรือ @yokekung บล็อกเกอรอีกรายจาก
http://www.yokekungworld.com ที่บอกวา รูปแบบการนําเสนอของตนจะเปนการวิเคราะหเทคโนโลยีจาก
ขาว เปนบทความ และรีวิวสินคาตามความรูสึก เพื่อประโยชนที่คนอานจะไดรับ โดยมีสไตลการเขียน
14
เหมือนการโพสกระทูแนะนํา ไมทางการมาก เนนความเปนกันเอง แตพอทําบล็อกเยอะๆ เริ่มเปนทางการ
มากขึ้น สําหรับประเด็นที่นําเสนอจะเนนเรื่องแนวโนมที่กําลังจะมา มองเทคโนโลยีที่พัฒนา และมองสินคา
ปจจุบันที่สรางกระแสในตลาด “โดยสวนตัวมองวาบล็อกเกอรไมใชสื่อ แตชวยกันนําเสนอในหลายๆแงมุม”
          กลาวโดยสรุป พบวา หากจะนิยามคําวา “สื่อ”ดวยนิยามทางดานวารสารศาสตรแบบเดิม “บล็อก
เกอร”จะไมใช “สื่อ”เพราะบล็อกเกอรไมมีกระบวนการทางดานวารสารศาสตรในการผลิตชิ้นงาน บล็อก
เกอรไมจําเปนตองเลือกประเด็นขาวจากคุณคาขาว แตบล็อกเกอรจะเลือกประเด็นขาวสารตามความสนใจ
ของตนเองและผูอานของตนเปนหลัก นอกจากนี้บล็อกเกอรยังมีรูปแบบการเขียนที่ไมยึดติดกับรูปแบบการ
เขียนขาวของนักขาวที่จะตองเปนพีรามิดหัวตั้งหรือพีรามิดหัวกลับ และยังใชภาษาพูดในงานเขียน ทั้งยังใส
ความคิดเห็นในงานเขียน และที่สําคัญบล็อกเกอรไมมีการกําหนดกติกาในการทํางานรวมกัน หรือไมมีการ
กําหนดกรอบจรรยาบรรณและจริยธรรมในการรับผิดชอบตอขอมูลขาวสารที่ตนนําเสนอไป อยางเปน
รูปธรรม
15
        แตในทางกลับกัน หากพิจารณาในมิติและบริบทของการสื่อสารยุคดิจิตอลแลว ก็สามารถสรุปไดวา
“บล็อก”เปน “สื่อ”ชนิดหนึ่ง ซึ่งอาจจะเรียกวา “สื่อสวนตัว” หรือ “สื่อสวนบุคคล” ดวยเหตุผลที่วา บล็อก
เกอรมี Blog ซึ่งเปน “ชองทาง”(Channel) ในการติดตอสื่อสาร ในการนําเสนอขาวสารเพื่อไปยังกลุมคนใน
วงกวางได เชนเดียวกับ “สื่อ”(Traditional Media) บล็อกเกอรมีกลุมคนอาน หรือกลุมผูรับสารที่แนนอน
จํานวนหนึ่ง และคนอานขาวสารจากบล็อกเหลานี้ใหคุณคาของเนื้อหาที่บล็อกเกอรนําเสนอวาเปน
“ขาวสารบวกมุมมอง”ซึ่งตอบสนองตอความตองการของผูรับสารที่อานบล็อกก็เพื่อตองการอานมุมมองและ
ความคิดเห็นของผูเขียน ดังนั้นพวกเขาจึงมองวา “บล็อกเกอร”ก็คือ “สื่อ”ประเภทหนึ่ง




2.2 บทบาทของ “บล็อกเกอร” กับ “นักขาว”
        สําหรับบทบาทของบล็อกเกอรนั้นหลายคนมองวา บล็อกเกอรเปนสวนหนึ่งของกระบวนการการ
สื่อสารอยางแนนอน แตระดับของการเปนสื่อของบล็อกเกอรนั้นในบางมุมก็เหมือนกับนักขาว แตในบางมุม
ก็ตางจากนักขาวโดยสิ้นเชิง
        [6] นักวิชาการและนักวิชาชีพสื่อหลายคนไดแสดงความเห็นเกี่ยวกับบทบาทของบล็อกเกอรไว
อาทิ สฤณี อาชวานันทกุล มองวา บล็อกเกอรเปนสื่อได และสื่อมวลชนก็เปนบล็อกเกอรได เมื่อใดที่บล็อก
เกอรรายงาน “ขาว” ซึ่งเปนขอเท็จจริงหรือเหตุการณที่เปนประเด็นสาธารณะ บล็อกเกอรมีสถานะเทียบเทา
สื่อมวลชน และดังนั้นจึงตองมีทั้งสิทธิ และจรรยาบรรณเชนเดียวกับสื่ออาชีพ
16
        นอกจากนี้ [5] “นักขาว” กับ “บล็อกเกอร” นั้นมีทั้งจุดเหมือนและจุดตางในการทํางาน จุดเหมือนก็
คือทั้งสองฝายมีชองทางในการนําเสนอของตัวเอง นักขาวอาจจะมีบริษัททีวี วิทยุ หนังสือพิมพ หรือองคกร
ขาวที่ตัวเองสังกัด สวนบล็อกเกอรก็มีบล็อกของตัวเอง รวมถึง Social Media ที่ชวยใหการนําเสนอของ
ตัวเองขยายไปถึงวงกวางไดมากขึ้น
        สวนจุดตางก็คือ นักขาวนั้นบอกวาตัวเองเปนสื่อมวลชนที่จะตองมาพรอมกับจริยธรรมในวิชาชีพ
ขาว ในขณะที่บล็อกเกอรนั้นยังไมสามารถบอกไดชัดเจนวาตัวเองเปนสื่อมวลชนหรือไม ตลอดจนจริยธรรม
และความรับผิดชอบตอสังคมยังไมมีบทบัญญัติชัดเจน
        [7] เทพชัย หยอง ผูอํานวยการองคการกระจายเสียงและแพรภาพสาธารณะแหงประเทศไทย
(ส.ส.ท.) และสถานีโทรทัศนไทยพีบีเอส เคยพูดไวใน นิตยสารเนชั่นสุดสัปดาห (ในคอลัมน“จดหมายจาก
ฮารวารด”) วา ‘บล็อกเกอร’ คือ ชื่อที่ใชเรียกคนทําสื่ออิสระทางอินเทอรเน็ตที่กําลังกลายเปนทางเลือกใหม
ทางดานขาวสารใหคนอเมริกัน และการจะเปน ‘บล็อกเกอร’ นั้นไมยาก เพียงแคขอใหมีเว็บไซตของตัวเอง
และจริงจังกับการหาขอมูลขาวสารและการตรวจสอบสังคม ใครๆ ก็สามารถเลนบทบาทนี้ได แตจะเปน
‘บล็อกเกอร’ ที่นาเชื่อถือไดหรือไมนั้นก็เปนอีกเรื่องหนึ่ง ซึ่ง ‘บล็อกเกอร’ เปนปรากฏการณใหมที่ทาทายสื่อ
กระแสหลักอยางหนังสือพิมพและโทรทัศน


        2.2.1 บทบาทของ “บล็อกเกอร”
        หากจะกลาวถึงบทบาทของบล็อกเกอร จักรพงษ มองวา บทบาทของบล็อกเกอรคือ ผูนําเสนอ
ขอมูลขาวสารในมุมมองเชิงบุคคล บล็อกเกอรนําเสนอในเรื่องที่เขาคิดวาอยากนําเสนอ มีการใสอารมณ
ความรูสึกเขาไปในเนื้อหาทําใหขอมูลขาวสารจากบล็อกเกอรไมไดตั้งอยูบนขอเท็จจริงเปนหลัก บล็อกเกอร
ไมตองคํานึงถึงผลประโยชนสามาธารณะ และสามารถมีเรื่องธุรกิจ หรือเรื่องรายได คาตอบแทนจากการ
เขียนได โดยไมมีใครตําหนิ ตราบใดที่บล็อกเกอรนั้นไมไดนําเสนอขอมูลที่ละเมิดผูอื่นหรือทําผิดกฏหมาย
        “บล็อกเกอรไมไดถูกฝกมาใหคิดและทําอยางนักขาว เขาไมมีกระบวนการไดมาซึ่งขอมูล และการ
พัฒนาออกมาเปนชิ้นงานขาวดวยกระบวนการวารสารศาสตรเขาเปนเพียงคนที่มีชองทาง (Channel) ที่
สามารถสงขอมูลขาวสารออกไปหาคนไดจํานวนหนึ่งเทานั้น”
        ซึ่งเชลงพจน มองวา บล็อกเกอร คือ “สื่อสวนตัว” หรือ “สื่อบุคคล” ที่มีชองทางในการนําเสนอ
ขอมูลขาวสารจากมุมมองที่ตนเองสนใจ โดยมีตัวเองเปนแบรนด(Personal Brand) ซึ่งทําการนําเสนอ
ขอมูลขาวสารของบล็อกเกอรจะคํานึงถึงการนําเสนอตัวตนของตัวเอง ดวยการนําเสนอมุมมมองสวนตัว
รูปแบบการเขียน และภาษาที่ใช
17
        “สไตลการเขียน ภาษาที่ใชในการนําเสอของบล็อกเกอรจึงตองดูหวือหวา แรง โดน ไมเหมือนของ
นักขาวที่ตองใชภาษาเปนทางการมากกวา และมีกรอบของการนําเสนอที่ตองเปนกลางในการทําใหขอมูลมี
ความสมดุล”
        มีคนมองวาบล็อกเกอรเขียนบล็อกเพื่อแสวงหา “ความนิยม”และมี “ความนิยม”เปนตัวตั้งหรือเปน
วัตถุประสงคในการเขียน แตนักขาวมี “ความนาเชื่อถือ” เปนตัวตั้ง ฉะนั้น การนําเสนอขอมูลขาวสาร
บทบาทในการนําเสนอขอมูลขาวสารของบล็อกเกอรและนักขาวจึงมีความแตกตางกัน
        “ความนาเชื่อถือ กับความนิยมตางกัน ความนาเชื่อถือ คือ เชื่อวาขาวนี้ผานการกลั่นกรองมาแลว
ดวยกระบวนการวารสารศาสตร สวนความนิยมในตัวบล็อกเกอร คือ ความชอบและความพอใจ ในรูปแบบ
การนําเสนอและเนื้อหาที่นําเสนอมากกวาความถูกตองของขอมูลที่นําเสนอ” เชลงพจนอธิบาย
        สวนนักวิชาการจะมองวา ทั้งบล็อกเกอรและนักขาว มีบทบาทในการนําเสนอขอมูลขาวสาร
เหมือนกัน แตนักขาวจะมีกรอบจริยธรรมและกรอบจรรยาบรรณที่ชัดเจนกวาบล็อกเกอร ทําใหบทบาทที่
สามารถนําเสนอขาวสารไดเหมือนกันระหวางบล็อกเกอรกับนักขาวมีความแตกตางกัน
        “ทั้งสองเปนคนนําขอมูลขาวสารมาเลาเรื่องเหมือนกัน และเขาถึงแหลงขาวไดใกลเคียงกัน แต
บางครั้งบล็อกเกอรไมไดคํานึงถึงวาขอมูลขาวสารที่ตนนําเสนอนั้นไปกระทบกระเทือนใครหรือไม หรือมีการ
สรางสมดุลใหกับขอมูลขาวสารที่เสนออกไปแลวดีพอแลวหรือยัง ในขณะที่นักขาวตองคํานึงถึงสิ่งเหลานี้อยู
ตลอดเวลา”
        ดวยบทบาทของบล็อกเกอรของการเปนผูสื่อสารสื่อขอมูลออกไปสูคนรับสารไดเหมือนกับนักขาว
ทําใหอาจมองดูแลวเสมือนวาบล็อกเกอรเปนคูแขงของนักขาวในการนําเสนอขอมูลขาวสารสูผูรับสาร ซึ่งใน
กรณีนี้ นักวิชาการบางทานไดใหความเห็นไววา หากนักขาวไมมีการปรับตัวและพัฒนาประเด็นของขาวที่
นําเสนอใหมีความลึก รอบดาน หลากมิติ และหลายมุมมมอง บล็อกเกอรจะกลายเปนคูแขงของนักขาวใน
บทบาทของการสื่อสารขอมูลอยางแนนอน
        อยางไรก็ดี นักขาวสามารถหยิบใชขอมูลขาวสารของบล็อกเกอรมาตอยอดได โดยดึงเขามาอยูใน
การะบวนการขาวของตน หรือนําขอมูลจากบล็อกเกอรที่เปนผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานมาเปนขอมูลเสริมใน
งานขาวได
        “เอาจุดแข็งของบล็อกเกอรกับนักขาวมารวมกัน จะทําใหขาวนั้นมีความครอบคลุมมากขึ้น”
        อภิศิลปเปนอีกคนหนึ่งที่ยืนยันวาบทบาทของบล็อกเกอรตางจากบาทบาทของนักขาว บทบาทของ
บล็อกเกอร คือ สื่อที่มีความเปนตัวตน มีความเปนสวนตัว มีความเปนศิลปนสูงกวานักขาว
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"

Más contenido relacionado

La actualidad más candente (13)

ICT Trends 2010
ICT Trends 2010ICT Trends 2010
ICT Trends 2010
 
Internet 13
Internet 13Internet 13
Internet 13
 
News reporting on Facebook [Thai language]
News reporting on Facebook [Thai language]News reporting on Facebook [Thai language]
News reporting on Facebook [Thai language]
 
Twitter for Education
Twitter for EducationTwitter for Education
Twitter for Education
 
Digital Standard for Knowledge Society
Digital Standard for Knowledge SocietyDigital Standard for Knowledge Society
Digital Standard for Knowledge Society
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contents
 
T1
T1T1
T1
 
Ucofthailand
UcofthailandUcofthailand
Ucofthailand
 
การสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กรการสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กร
 
การวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อการวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อ
 
Chamo social opac
Chamo social opacChamo social opac
Chamo social opac
 

Destacado

ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงนาเดีย น่ารัก
 
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการHyings
 
Financial forecasting by time series 55660701
Financial forecasting by time series 55660701Financial forecasting by time series 55660701
Financial forecasting by time series 55660701Pongsiri Nontasak
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กPraew Pizz
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555dentalfund
 
บัญชีคำพื้นฐาน
บัญชีคำพื้นฐานบัญชีคำพื้นฐาน
บัญชีคำพื้นฐานPatcha Linsay
 

Destacado (7)

ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูงใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
 
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Financial forecasting by time series 55660701
Financial forecasting by time series 55660701Financial forecasting by time series 55660701
Financial forecasting by time series 55660701
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
 
บัญชีคำพื้นฐาน
บัญชีคำพื้นฐานบัญชีคำพื้นฐาน
บัญชีคำพื้นฐาน
 

Similar a "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องSirintip Kongchanta
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processSakulsri Srisaracam
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเราfreelance
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเราfreelance
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำKittitud SaLad
 
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้สมเกียรติ เพ็ชรมาก
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 

Similar a "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" (20)

Online community & journalism
Online community & journalismOnline community & journalism
Online community & journalism
 
2
22
2
 
2
22
2
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
Citizen Media
Citizen MediaCitizen Media
Citizen Media
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting process
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 
Social Networking For Organizations
Social Networking For OrganizationsSocial Networking For Organizations
Social Networking For Organizations
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Advertising and culture
Advertising and cultureAdvertising and culture
Advertising and culture
 
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Social network direct media
Social network direct mediaSocial network direct media
Social network direct media
 

Más de Asina Pornwasin

เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใคร
เพจหรือสื่อ  กูรู(รู้)คือใครเพจหรือสื่อ  กูรู(รู้)คือใคร
เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใครAsina Pornwasin
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมAsina Pornwasin
 
newspaper to content provider
newspaper to content provider newspaper to content provider
newspaper to content provider Asina Pornwasin
 
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าวการใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าวAsina Pornwasin
 
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...Asina Pornwasin
 
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAsina Pornwasin
 
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Asina Pornwasin
 
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนAsina Pornwasin
 
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...Asina Pornwasin
 

Más de Asina Pornwasin (20)

Social media and jr
Social media and jrSocial media and jr
Social media and jr
 
เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใคร
เพจหรือสื่อ  กูรู(รู้)คือใครเพจหรือสื่อ  กูรู(รู้)คือใคร
เพจหรือสื่อ กูรู(รู้)คือใคร
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
newspaper to content provider
newspaper to content provider newspaper to content provider
newspaper to content provider
 
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าวการใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
 
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดบริการด้านคอมพิวเตอร์ และตลาดอุปกรณ์เครื่อ...
 
Sm4 pr
Sm4 prSm4 pr
Sm4 pr
 
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผลงาน 3 เดือนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...Ericsson Mobility Report  รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
Ericsson Mobility Report รายงานว่าด้วยความเคลื่อนไหวของสังคมเครือข่าย [Novem...
 
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชนผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
ผลการประชุมเครือข่ายนักวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน
 
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘  หัวข้อ “ปฏิวัติค...
สรุปจากงานสัมมนายุทธศาสตร์เพื่ออนาคตวารสารศาสตร์”ครั้งที่ ๘ หัวข้อ “ปฏิวัติค...
 
Sm4 investigativereport
Sm4 investigativereportSm4 investigativereport
Sm4 investigativereport
 
Convergence Journalism
Convergence JournalismConvergence Journalism
Convergence Journalism
 
Sm4 jr nt
Sm4 jr ntSm4 jr nt
Sm4 jr nt
 
Convergent newsroom
Convergent newsroomConvergent newsroom
Convergent newsroom
 

"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ความแพรหลายของอินเทอรเน็ต และการเติบโตของจํานวนผูใชอินเทอรเน็ตในประเทศไทยเพิ่มขึ้น อยางมาก ทําใหผูคนนิยมจะเสพขาวจากสื่อออนไลนผานอินเทอรเน็ตเพิ่มมากขึ้น [1] จากผลการสํารวจ ผูใชอินเทอรเน็ตป 2553 ของเว็บไซตทรูฮิต (truehits.net) พบวามียอดผูใชงานอินเทอรเน็ตในประเทศไทย ทั้งสิ้นจํานวน 21 ลานคน และ[2]จากการสํารวจลักษณะและพฤติกรรมของกลุมผูใชอินเทอรเน็ตในประเทศ ไทยเปนประจําป 2553 ในชวงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม 2553 จากยอดผูตอบแบบสอบถามออนไลนทั้งหมด 14,067 คนพบวากิจกรรมที่นิยมทําบนอินเทอรเน็ต คือ การติดตามขาว นอกจากนี้การแพรหลายของสื่อสังคมออนไลน(Social Media) ในหมูคนออนไลนของไทยมีเพิ่ม มากขึ้นอยางกาวกระโดด ปจจุบันในประเทศไทยมีคนใช Facebook [3] ประมาณ 14,235,700 คน และมี คนใช Twitter [4] ประมาณ720,000 คน ซึ่งเปนสื่อสังคมออนไลนที่ไดรับความนิยมมากในประเทศไทย ทํา ใหผูบริโภคจํานวนมากหันมาบริโภคขาวสารอานออนไลนผานการแชรลิงคของเว็บไซตขาวผานทางสื่อ สังคม ไมเพียงแตจํานวนผูบริโภคขาวเทานั้นที่เพิ่มปริมาณ ในดานของผูนําเสนอขาวสารก็เพิ่มมากขึ้น เชนกัน ในที่นี้ปรากฏการณอินเทอรเน็ตและสื่อสังคมออนไลนทําใหผูนําเสนอขาวสารผานสื่อชองทางนี้ ไมไดมีเพียงสื่อกระแสหลัก (Mainstream Media) เพียงอยางเดียวอีกตอไป แตไดเปดโอกาสใหทุกคนเปน สื่อไดทั้งสื่อพลเมือง (Citizen Journalist) และบล็อกเกอร (Blogger) โดยเฉพาะในสายขาวเทคโนโลยี สารสนเทศ หรือ ไอที (Information and Communication Technology: IT) ที่ในปจจุบันเกิดบล็อกเกอรไอ ที คือ บล็อกเกอรที่นําเสนอเนื้อหาขาวสารดานไอที มีการเพิ่มจํานวนมากขึ้นอยางมาก และไดรับความนิยม ในการบริโภคขาวจากผูบริโภคเพิ่มมากขึ้น [8] ศุภนิตย (2552: 212-213) บอกวา บล็อกเกอร คือ “นักขาวพลเมือง” ที่ปจจุบันมีวัตถุประสงค ในการใชงานที่หลากหลายมากขึ้น และการนําบล็อกมาเปนชองทางการเผยแพรขอมูลขาวสาร ซึ่งเปนที่ นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ในประเทศไทย นักขาวพลเมืองในปจจุบันเลือกใชสื่อออนไลนในรูปแบบ “บล็อก” เปน ชองทางในการนําเสนอเนื้อหาขาวสารของตนเอง โดยไมตองผานการคัดเลือกกลั่นกรองจากบรรณาธิการ ของสื่อมวลชนอีกตอไป จึงเกิดความเปลี่ยนแปลงที่สงผลกระทบตอบทบาทการเปนผูเฝาประตูขาวสารของ ผูประกอบวิชาชีพดานสื่อมวลชน และเปนกระแสที่มาแรงมากในชวงหลายปที่ ผานมาในหลายประเทศทั่ว
  • 2. 2 โลกความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้สวนหนึ่งมาจากความสะดวกของเทคโนโลยีนี้เองที่ ทําใหนักขาวพลเมือง สามารถสงขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวเกี่ยวกับขาวหรือเหตุการณตางๆ ที่ตนตองการขึ้นยังบล็อกของ ตนเองไดทันทีทุกที่ ทุกเวลา ที่สามารถใชงานอินเทอรเน็ตไดจึงเสมือนวามีสื่อมวลชนในการเผยแพรขาวของตน ในชวงปพ.ศ.2554 ที่ผานมาดูเหมือนบทบาทของบล็อกเกอรถูกพูดถึงมากขึ้นในแงของการเปน “สื่อ” ที่นําเสนอขาวสารดานไอทีไปถึงผูบริโภคขาวไอที สวนหนึ่งเปนผลมาจากการเติบโตอยางกาวกระโดด ของธุรกิจไอทีที่มีฐานลูกคาเปนประชาชนทั่วไป (Consumers) ทําใหปริมาณขาวไอทีสําหรับผูบริโภคมีเพิ่ม มากขึ้น ซึ่งเปดโอกาสใหบล็อกเกอรเขามามีสวนในการนําเสนอขาวสารตรงนี้ไปยังผูบริโภคดวยเชนกัน ซึ่ง ในปที่ผานมาเริ่มมีการพูดถึงบทบาทของนักขาวกับบล็อกเกอรในแวดวงธุรกิจไอทีวามีความเหมือนหรือ แตกตางกันอยางไรในแงของความเปน “สื่อ” บล็อกเกอรสายขาวเทคโนโลยี ที่สวนมากจะเปนบุคคลที่มีความรูเรื่องเทคโนโลยี มีความสนใจ และ มีความอยากที่จะถายทอดหันมาเขียนบล็อกขาวไอที และรีวิวสินคาไอที เปนจํานวนมาก และไดรับความ สนใจและนิยมอานจากผูอานอยางมากเชนกัน จนทําใหเจาของสินคาไอที รวมถึงบริษัทพีอาร เริ่มให ความสําคัญกับบล็อกเกอรในฐานะ “สื่อ” (Press) โดยไดเชิญบล็อกเกอรไปในงานแถลงขาว งานแถลง เปดตัวสินคา และสงสินคาใหทดสอบ (Review) เพื่อใหบล็อกเกอรเหลานั้นเขียน “ขาวสินคา” ลงในบล็อก สวนตัวของพวกเขาเอง กอปรกับผูบริโภคเริ่มใหความสําคัญกับขอเขียนของบล็อกเกอรที่เขียนถึงสินคาไอที ผูบริโภคจะเขามาอานรีวิวสินคาไอทีกอนที่จะตัดสินใจซื้อสินคา ทําใหบทบาทของบล็อกเกอรมีเพิ่มมากขึ้น และทําใหบล็อกเกอรเกิดขึ้นราวกับดอกเห็ด เว็บบล็อกดานขาวและรีวิวสินคาไอทีเกิดขึ้นจํานวนมาก ทําให หลายครั้งที่เกิดปญหาวาขาวที่เขียนหรือรีวิวที่เขียนนั้นเปนการ “ถูกจาง” จากเจาของสินคาใหเขียนเพื่อเชียร สินคาของตน ทําใหผูอานที่ตองการซื้อสินคานั้นหลงเชื่อ ประกอบกับที่ผานมาเกิดการตั้งคําถามขึ้นวา บล็อกเกอรมีสถานะเปน “สื่อ” หรือไม ที่ผานมาชมรมนักขาวสายเทคโนโลยีสารสนเทศ(ITPC: Information Technology Press Club) ได เคยจัดเสวนาเรื่องนี้ขึ้น เพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางนักขาวกับพีอารและวงเสวนากับบล็อก เกอร เรื่องบทบาทของนักขาวกับบล็อกเกอรในฐานะ “สื่อ” รวมถึงความรับผิดชอบที่ตองมีตามมา รวมถึง ขอเสนอที่ใหบล็อกเกอรเกิดการรวมตัวกันจัดตั้งเปนกลุมที่มีการกําหนด “หลักเกณฑ” ที่จะควบคุมกันเอง หรืออยางนอยก็เพื่อที่จะสรางใหเกิดมาตรฐานวิชาชีพบล็อกเกอรขึ้น เพราะในตางประเทศหลายประเทศ บล็อกเกอรมีฐานะเปน “สื่อ” อยางเต็มตัวและบล็อกเกอรมีการรวมตัวกันเปนชมรม และมีกติกาในการ ควบคุมดูแลบล็อกเกอรดวยกันเอง แตสําหรับในประเทศไทยที่บล็อกเกอรกําลังเบงบาน บล็อกเกอรเปน
  • 3. 3 เรื่องใหมที่ทั้งผูบริโภค นักขาวไอทีอาชีพ พีอาร และบริษัทเจาของสินคาไอที จะตองเรียนรูที่จะตอนรับ บล็อกเกอรเขาสูระบบนิเวศของการสื่อสารขาวดานไอที และตองเรียนรูที่จะอยูรวมกัน แตทวาบทบาทและความสัมพันธระหวางองคประกอบตางๆ ไมชัดเจน ผูศึกษาจึงอยากจะ ทําการศึกษาถึงบทบาทและความสําคัญของบล็อกเกอรในฐานะ “สื่อ” วาผูบริโภคมองและยอมรับวาบล็อก เกอร คือ “สื่อ” หรือไมอยางไร 1.2 วัตถุประสงคการศึกษา 1.2.1 เพื่อศึกษาความเห็นจากผูบริโภคมองวา “บล็อกเกอร” เปน “สื่อ” (Press) หรือไม 1.2.2 เพื่อศึกษาวาบทบาทของ “บล็อกเกอร”และ “สื่อ” เหมือนหรือตางกันอยางไร 1.2.3 เพื่อศึกษาความตองการ และความคาดหวังของผูบริโภคขาวไอที ที่มีตอ “บล็อกเกอร” 1.2.4 เพื่อสรางการรับรูและกระตุนเตือนใหบล็อกเกอรทราบถึงความตองการที่แทจริงของผูบริโภค 1.3 วิธีดาเนินการศึกษา ํ การศึกษานิยาม “สื่อ” (Press) วาคือ อะไร มีองคประกอบอยางไรบาง และมีบทบาทอยางไรในการ สื่อขาว ผูศึกษาใชระเบียบวิธีการวิจัยจากเอกสาร (Documentary Research) และการสัมภาษณ โดยใช วิธีการประมวลและวิเคราะหเอกสารการวิจัยเอกสารเปนหลัก ไดแก ทฤษฎีการสื่อขาว, นิยาม “ผูสื่อขาว” สัมภาษณ (Depth Interview) ผูบริโภคที่บริโภคขอมูลขาวสารของบล็อกเกอรจํานวน 12 คน และสัมภาษณ บล็อกเกอร 6 คน ผูวิจัยใชวิธีการนาเสนอขอมูลดวยการพรรณนา (Descriptive) เปนหลัก โดยบรรยาย อธิบายความ และตีความขอมูลที่ไดมาจากการคนควาและรวบรวมขอมูล 1.4. ขอบเขตการศึกษา 1.4.1 ศึกษาทฤษฎีวาดวยการสื่อขาวเพื่อใหทราบถึงวิวัฒนาการ บทบาทและหลักการของสื่อ 1.4.2 ศึกษาทฤษฎีวาดวยบล็อกเกอร เพื่อใหทราบถึงวิวัฒนาการ บทบาทและหลักการของบล็อกเกอร 1.4.3 ศึกษามุมมองของผูบริโภคตอการสื่อขาวของบล็อกเกอรในฐานะ “สื่อ” (Press)
  • 4. 4 1.5 สมมติฐานการศึกษา ุ บล็อกเกอรเริ่มมีบทบาทในการสื่อสารขอมูลขาวสารไปยังผูบริโภคเพิ่มมากขึ้น ทําใหตัวบล็อกเกอร คิดวาบล็อกเกอร คือ “สื่อ” ประเภทหนึ่ง แตในความเปนจริงผูบริโภคที่รับขาวสารจากบล็อกเกอรไมใชทุก คนที่จะมองบล็อกเกอรเปน “สื่อ” 1.6 นิยามศัพท บล็อกเกอร คือ (จันทวรรณ ปยะวัฒน, 2548) ผูเขียนบันทึกเลาเรื่องราวประจําวันเพื่อสื่อสาร ความรูสึกนึกคิด มุมมอง ประสบการณ ความรู และขาวสาร ในเรื่องที่สนใจโดยเฉพาะลงในบล็อก (Blog) หรือ เว็บบล็อก (Weblog) สื่อมวลชน (Mass Media) คือ สงที่สามารถนําสารจากผูสงสารไปสูผูรับสารที่ประกอบดวยคน ิ่ จํานวนมากไดอยางรวดเร็วภายในเวลาเดียวกัน หรือในเวลาที่ใกลเคียงกัน ไดแก หนังสือพิมพ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน นิตยสาร และภาพยนตร ([15]ปรมะ สตะเวทิน, 2526, หนา 134-135) 1.7. ประโยชนที่ไดรับจากการศึกษา 1.7.1.เพื่อสรางความรับรูและความเขาใจถึงบทบาทบล็อกเกอรในสายตาผูบริโภค 1.7.2 กระตุนใหบล็อกเกอรรับรูถึงมุมมองของผูบริโภค 1.7.3 เพื่อกระตุนใหบล็อกเกอรสรางกรอบกติกาและความรับผิดชอบในการนําเสนอขอมูล เพื่อ ประโยชนแกผูอานบล็อก
  • 5. 5 บทที่ 2 ผลการศกษา ึ รายงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงคในการศึกษาวา ผูบริโภคขอมูลขาวสารบนโลกออนไลนมองวา “บล็อกเกอร” เปน “สื่อ” หรือในที่นี่ คือ “ผูสื่อขาว” (Press) และ “นักขาว”(Reporter) หรือไม เพราะอะไร และผูบริโภคมีความเห็นตอบทบาทของ “บล็อกเกอร” และ “ผูสื่อขาว” เหมือนหรือตางกันอยางไร พวกเขามี ความคาดหวังตอ “บล็อกเกอร” และ“ผูสื่อขาว” เหมือนหรือแตกตางกันอยางไร ทั้งนี้เพื่อสรางการรับรูและ กระตุนเตือนให “บล็อกเกอร” รวมถึง “ผูสื่อขาว”ทราบถึงความตองการที่แทจริงของผูบริโภค รายงานชิ้นนี้ไดทําการวิจัยผานการสัมภาษณเชิงลึกผูบริโภคขอมูลขาวสารทั้งจาก “บล็อกเกอร” และ “ผูสื่อขาว” อยางสม่ําเสมอ จํานวน 12 คน ตามประเด็นคําถามที่วา บล็อกเกอรเปน “สื่อ”หรือไม? บทบาทของ “บล็อกเกอร” และ “ผูสื่อขาว”เหมือนหรือตางกันอยางไร และคาดหวังอะไรจาก “บล็อกเกอร” และ “ผูสื่อขาว” รวมถึงไดสัมภาษณเชิงลึก “บล็อกเกอร”สายขาวเทคโนโลยีสารสนเทศจํานวน 6 คน ตามประเด็น คําถามที่วา ตนเองมองวา “บล็อกเกอร” เปน “สื่อ”หรือไม? และบทบาทของ “บล็อกเกอร” และ “ผูสื่อขาว” เหมือนหรือตางกันอยางไร ผลที่ไดจากการศึกษามีดังตอไปนี้ 2.1 บล็อกเกอรเปน “สื่อ” หรือไม ? คนสวนใหญมีความเห็นวา “บล็อกเกอร”เปน “สื่อ” อยางหนึ่ง แตไมใช “สื่อ”ในความหมายเดียวกัน กับคําวา “สื่อ”ในบริบทของผูสื่อขาว และองคกรขาวทุกประการ แตมีความหมายครอบคลุมไปถึงการเปน “สื่อมวลชน” ที่มีความเปน “สวนตัว” เหตุผลที่บล็อกเกอรเปนสื่อมวลชนเพราะบล็อกเกอรมีพื้นที่ในการ นําเสนอขาวสารเชนเดียวกับสื่อมวลชน บล็อกเกอรมีผูรับสารจํานวนหนึ่งหรือจํานวนมากเชนเดียวกับ สื่อมวลชน ดังเชนที่ อภิศิลป ตรุงกานนท ผูจัดการฝายผลิตภัณฑ บริษัท อินเทอรเน็ต มารเก็ตติ้ง จํากัด เจาของเว็บไซต พันทิปดอตคอม กลาววา “บล็อกเกอร” เปนสื่อ เพราะบล็อกเกอรมีพื้นที่ในการนําเสนอ ขอมูลขาวสารของตนเอง และสามารถนําสนอขอมูลขาวสารออกมาใหคนอานได “ผมวาบล็อกเปนสื่อนะ สื่อในที่นี้คือ การสื่อสาร เพราะเขามีพื้นที่ในการนําเสนอ แตหากเทียบกับ สื่อกระแสหลัก (Mainstream Media) บล็อกเกอรอาจเขาถึงคนจํานวนมากในคราวเดียวกันไมได แตขอมูล
  • 6. 6 ขาวสารจากบล็อกเกอรจะคอยๆ กระจายออกไปจากการบอกตอๆ กัน จนในที่สุดก็ทําใหเขาถึงผูรับสารได จํานวนมากเชนกัน” เชนเดียวกับ ธรรณพ สมประสงค (@thanop) ผูกอตั้งเว็บไซต ไทยแวรดอทคอม (Thaiware.com) ก็มองวาบล็อกเกอรเปนสื่อมวลชนสาขาหนึ่งที่นําเสนอขอมูลขาวสารไปสูประชาชนคนรับสาร โดยที่ขาวสาร ที่นําเสนอไปนั้นจะประกอบดวยขาวและความคิดเห็น ในขณะที่ ณัฐฐา โกมลวาทิน บรรณาธิการ รายการตอบโจทย ที่นี่ไทยพีบีเอส เห็นวา บล็อกเกอร เปนสื่อมวลชน แตไมใชบล็อกเกอรทุกคนเปนสื่อมวลชน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความนาเชื่อถือของผูเขียนบล็อกนั้น “ปกติอานบล็อกทั้งในและตางประเทศบล็อกที่ติดตามอานเปนประจําคือ บล็อกของคุณสิทธิชัย หยุน และบล็อกของนักขาวตางประเทศ เลยมองวาบล็อกเกอรเปนสื่อมวลชน” จรียวิบูล บุญชนะโกศล Senior Public Relations Officer บริษัท ซีดีจี กรุป จํากัด ก็มีมุมมองวา บล็อกเกอรเปนสื่อมวลชนแขนงหนึ่งที่มีความนาสนใจมาก เพราะมีความรวดเร็วในการนําเสนอขอมูล ขาวสารสูสาธารณะ “บล็อกเกอรเปนการเผยแพรขาวสารสูสาธารณะ เพราะฉะนั้น บล็อกเกอรคือสื่อมวลชน” ซึ่งผลการศึกษาในสวนนี้สอดคลองกับความเห็นของ [7] ชาลีวาระดี(เสวนา, 10 ตุลาคม 2550) ที่ บอกวา บล็อกเปรียบเสมือนสื่อสวนตัวของเจาของบล็อกที่เจาของสามารถใสเรื่องราวใดๆ ก็ไดตามตองการ อยางไรก็ดี อาจารยปริวรรต องคศุลี หัวหนาภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยสยาม มองวาบล็อกเกอรเปนพื้นที่สีเทา (Gray Area) ระหวางความเปนสื่อมวลชน (Journalism) กับ บทความที่ แสดงความคิดเห็น (Opinionated Article) “บล็อกเกอรมักจะใสความเห็นของตนลงไปในเนื้อขาว จนบางทีก็คลอยตาม หากเห็นตรงกับเรา” สวนบล็อกเกอรเองนั้นมีความคิดเห็นวา ตนนั้นเปนสื่ออยางหนึ่งเชนกัน ประหยัด โกษาแสง หรือ @kraplam บล็อกเกอรจาก www.krapalm.com บอกวาบล็อกเกอรก็เปนสื่ออยางหนึ่ง “สื่อในความหมาย ของผมก็คือ ชองทางในการติดตอสื่อสาร” สวน นันทพงศ จงประทีป หรือ @papayatop บล็อกเกอรจาก http://www.papayatop.com/บล็อก เกอรอีกราย ใหความเห็นวา “สวนตัวคิดวาบล็อกเอรเปนสื่อ แตอาจจะไมเปนทางการเทากับนักขาวจริงๆ และทุกคนสามารถเปนบล็อกเกอรไดตามความชอบในดานที่เราถนัด” ทั้งนี้มีคนอีกจํานวนหนึ่งมีความเห็นวา บล็อกเกอรไมใชสื่อมวลชน เพราะบล็อกเกอรนั้นไมมี กระบวนการทางดานวารสารศาสตรในการผลิตชิ้นงาน เปนการเขียนจากคนๆ เดียว นอกจากนี้บางครั้งขาด การอางอิงแหลงที่มาของขอมูล และมีการใสอารมณ ความรูสึก และความคิดเห็นเขาไปในงานเขียน ทําให
  • 7. 7 ขาดความเปนกลางในการนําเสนอ นอกจากนี้บล็อกเกอรยังขาดพลังแหงการชี้นําสังคม แมวาบล็อกเกอรห ลายรายจะเปนที่รูจักหรือโดงดัง (Celebrity) อยางมากก็ตามที คุณสมบัติหลักที่ทําใหบล็อกเกอรไมมีสถานะเปนสื่อมวลชน คือการขาดการพิจารณาคุณคาของ ประเด็นขาวที่สงผลกระทบตอสังคมในวงกวาง แตจะเลือกนําเสนอประเด็นจากเรื่องที่ตนสนใจเปนหลัก อาจารยสกุลศรี ศรีสารคาม อาจารยประจําคณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต กลาววา บล็อกเกอรไมใชสื่อมวลชนในนิยามแบบนักขาวที่สังกัดองคกรสื่อ แตบล็อกเกอรเปนกลุมคนที่มีความรู เฉพาะเรื่อง ซึ่งบล็อกเกอรสวนใหญจะเขียนหรือนําเสนอเรื่องที่ตัวเองมีความสนใจ หรือมีความรูในเรื่องนั้นๆ ในขณะที่นักขาว จะตองพิจารณาประเด็นเรื่องคุณคาของขาวที่นําเสนอ และเรื่องที่มีผลกระทบตอสังคม การเลือกนําประเด็นของเนื้อหาที่จะนําเสนอของบล็อกกับนักขาวมีความแตกตางกัน เชนเดียวกันกับ เชลงพจนพุทธรักษา IT Lead บริษัท Johnson & Johnson Thailand กลาววา บล็อกเกอรไมใชสื่อมวลชน แตเปนผูสงสาร ที่มีความเปนอิสระจากกระบวนการทางดานวารสารศาสตร เพราะบล็อกเกอรสามารถใสความคิดเห็นสวนตัวเขาไปในงานเขียนที่นําเสนอได แตนักขาวทําไมได ในขณะ ที่นักขาวตองมีการกลั่นกรองประเด็นและเนื้อหาที่จะนําเสนอรวมกับกองบรรณาธิการ แตบล็อกเกอรไมมี บล็อกเกอรสามารถนําเสนอประเด็นที่ตัวเองสนใจ แตนักขาวจะนําเสนอประเด็นที่เปนภาพกวางที่สงผล กระทบตอคนในจํานวนมากๆ จักรพงษ คงมาลัย Online Marketing Manager Mobile Marketing บริษัท ไทยซัมซุง อิเลคโทร นิคส จํากัด มีความเห็นไปในแนวทางเดียวกันวา บล็อกเกอรไมใชสื่อมวลชน เพราะขาดองคประกอบสําคัญ ของการเปนสื่อมวลชน นั่นคือ บล็อกเกอรขาดกระบวนการทางดานวารสารศาสตร และขาดกระบวนการ ตรวจสอบจริยธรรม เหมือนที่สื่อมวลชนพึงจะตองมี “แตในฐานะของคนทําแบรนดบล็อกเกอร คือ ชองทาง หรือ สื่อ (Medium) ที่สามารถนําพาขาวสาร หรือขอมูลที่แบรนดตองการนําเสนอไปยังผูรับสาร หรือผูบริโภคสินคาของซัมซุงได” เชนเดียวกับ รอยโทหญิงนิดา ยิ้มคมขํา เจาหนาที่ประจําแผนกและงบประมาณ กองงบประมาณ หนวยบัญชาการทหารพัฒนา ที่มองวา บล็อกเกอรเปนผูนําเสนอบทความหรือความคิดเห็นสวนบุคคล มากกวาจะเปนการนําเสอนขาวสารในฐานะสื่อมวลชน และ กฤษณ กิ่งโก เจาหนาที่จากสํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ที่เห็นวา บล็อกเกอรไมใชสื่อมวลชน เพราะมีการใสความคิดเห็นลงในงานเขียน การเขียน บล็อกสามารถใหความเห็นหรือมุมมองสวนตัวลงไปในเนื้อหาได แตถาเปนสื่อมวลชนจะนําเสนอแตความ จริงไมมีการแทรกความเห็นสวนตัวลงไปในเนื้อหา
  • 8. 8 สวน ชรัตน เพ็ชรธงไชย วิศวกรตรวจสอบซอฟทแวรอาวุโส บริษัท ทอมปสันรอยเตอรซอฟทแวร (ประเทศไทย) จํากัด บอกวา บล็อกเกอรไมใชสื่อมวลชน เพราะบล็อกเกอรใสความคิดเห็นของตัวเองเปน หลักในงานเขียน แตนักขาวจะนําเสนอเนื้อหาแบบเปนกลาง ไมมีการใสความคิดเห็นลงในงานขาว อยางไรก็ดี แมวาหลายคนจะเห็นวา บล็อกเกอรไมใชนักขาว ไมใชสื่อมวลชน แตในบางบริบท บล็อกเกอรก็ไดรับการยอมรับเปนสื่อ แตเปนสื่อภาคประชาชน อาจารยสกุลศรี กลาววา ถาเปนการรายงาน ขาวเหตุการณ จากสถานที่เกิดเหตุจริงของบล็อกเกอร ก็ถือวา บล็อกเกอรทําหนาที่สื่อภาคประชาชน หรือ Citizen Journalist เชนเดียวกับมุมมองของพิทยากร ลีลาภัทร ผูจัดการฝายการตลาด บริษัทแคททาลิสท อัลลาย แอนซ (ประเทศไทย) จํากัด และผูเขียนหนังสือ “ธนาคารแหงความสุข”ที่มองวา บล็อกเกอรก็เปนสื่อ ประเภทหนึ่ง ที่เรียกวา “สื่อภาคประชาชน”และสิ่งที่บล็อกเกอรนําเสนอก็เปนบทความ ขอเขียน ความ คิดเห็นของผูเชี่ยวชาญในดานนั้นๆ “โดยสวนรูสึกวาบล็อกเกอรเปนผูแสดงความเห็น นําเสนอเรื่องราวในมุมมองที่ตนตองการเสนอ งานที่นําเสนอจึงเหมือนบทความมากกวาการรายงานขาว” ดังนั้น หากพิจารณาตามหลักเกณฑของวารสารศาสตรแลว ก็ถือไดวาบล็อกเกอรไมใช สื่อมวลชน แตเปนเพียงสื่อหรือชองทางที่สามารถนําพาขอมูลขาวสารออกไปหาคนรับสารได 2.1.1 ที่มาของขอมูลขาวสาร และกระบวนการผลิตเนื้อหา หากพิจารณาในแงของที่มาของขอมูลขาวสารที่บล็อกเกอรนําเสนอนั้น มีความแตกตางจากนักขาว ที่มาของขอมูลขาวสารที่บล็อกเกอรนําเสนอ มาจากมุมอง ความคิด ทัศนคติ และความรูสึกของบล็อกเกอร เปนหลัก ทําใหรูปแบบการนําเสนอขอมูลขาวสารของบล็อกเกอรจึงออกมาในรูปแบบของการสื่อสารดวย ภาษาพูดมากกวาภาษาเขียน โดยมีการใสความคิดเห็นสวนตัวของผูเขียนลงไปในเรื่องราวที่นําเสนอ ไม เนนการไดมาซึ่งขอมูลจากบุคคลอื่น ในขณะที่ที่มาของขอมูลขาวสารที่นักขาวนําเสนอนั้นมาจากบุคคลอื่น คือ ไมใชมาจากตัวนักขาวที่เขียนหรือนําเสนอเรื่องราวนั้นเอง บุคคลอื่นในที่นี้ ก็คือ แหลงขาว และ แหลงขอมูล ไดแก รายงาน การวิจัย และผลสํารวจขององคกรที่นาเชื่อถือได หรือเปนที่รูจัก เปนตน และสอดคลองกับ ศุภนิตย (2552:218) ที่มองวา ในแงมุมของทักษะดานงานขาวของบล็อกเกอรใน ฐานะบรรณาธิการที่คัดสรรประเด็นเองนั้น บางคนอาจยังไมมีประสบการณมากเทียบเทากับบรรณาธิการ ของสื่อมวลชนที่มักเปนผูคร่ําหวอดในแวดวงสื่อมามากกวามุมมองของบรรณาธิการสมัครเลนในการ คัดเลือกประเด็นที่จะทําขาวจึงอาจเปนเพียงประเด็นที่ตนเองอยากทําเพราะความสนใจสวนตัวเทานั้น
  • 9. 9 อภิศิลป กลาววา มีในขณะที่นักขาวตองไปสัมภาษณแหลงขาว และไปรวบรวมขอมูลจากแหลง ตางๆ เพื่อนําขอมูลมาเขียนเปนขาวหรือสารคดีเชิงขาวใหผูรับสาร แตบล็อกเกอรนั้นในบางครั้งตัวเขาคือ ผูเชี่ยวชาญเอง ซึ่งสามารถเขียนและนําเสนอขอมูลขาวสารใหกับผูรับสารไดโดยไมตองไปสัมภาษณใคร ตัวอยางเชน ขาวการแถลงเปดตัวสินคาใหมของ Samsung สิ่งที่นักขาวทําคือ ไปรวมงานแถลงขาว รับ เอกสารขาว (Press Release) จากผูแถลง จากนั้นฟงการแถลง และสัมภาษณแหลงขาวเพิ่มเติม ซึ่ง ประเด็นที่นักขาวนําเสนอสวนมากอิงตามเอกสารขาวแจก หรือเรียกกันวา “ประเด็นแถลง” อาทิ บริษัทได เปดตัวสินคาใหม สินคานั้นคืออะไร มีขอดีของสินคาคืออะไร บริษัทคาดหวังยอดขายในสินคาตัวนี้อยางไร กลยุทธทางการตลาดสําหรับบริษัทคืออะไร เปนตน ในขณะที่สิ่งที่บล็อกเกอรทําการสัมผัสสินคาดวยตนเอง และนําเครื่องโทรศัพทสมารทโฟนนั้นมาลองใชงาน แลวเขียนจากประสบการณตรงวาสินคาตัวนั้นๆ มี คุณสมบัติและความสามารถโดดเดนอยางไร มีขอดีขอเสียอยางไร เชนเดียวกับ จรียวิบูล ที่มองวา บล็อกเกอรนําเสนอเรื่องจากมุมมองของตัวเอง ซึ่งหลายเรื่องเปน เรื่องที่มีความนาสนใจเพราะเปนความตองการเดียวกับผูอานหรือผูรับสาร “บล็อกเกอรนําเสนอสงที่เขาเห็น และรับรูแบบสดๆ ทันทีทันใด ทําใหขอมูลขาวสารนั้นมีความไว และนาสนใจ ตางจากนักขาวที่อาจตองหาขอมูลมาประกอบจากหลายทางทําใหขาวมีเนื้อหาที่ครอบคลุม ในหลายมิติหลายประเด็นและละเอียดกวา” จรียวิบูลบอกวา หากเทียบทักษะของการนําเสนอขาวสารระหวางบล็อกเกอรกับนักขาวแลว บล็อกเกอร นั้นไมมีทักษะในการเชิงการนําเสนอขาวสารเทียบเทาสื่อมวลชนอาชีพ แตบล็อกเกอรสามารถนําเสนอเรื่อง ไดนาสนใจกวา เพราะเรื่องที่บล็อกเกอรนํามาเสนอนั้นเปนเรื่องที่เขาสนใจซึ่งก็เปนเรื่องที่ผูคนทั่วไปสนใจ หรือเรียกวาเปนเรื่องที่มี Human Interests ประกอบกับบล็อกเกอรสามารถใสอารมณ ความรูสึกลงไปใน ขอมูลที่นําเสนอได ทําใหขอมูลขาวสารของบล็อกเกอรนั้นมีความไมเปนทางการในแบบฉบับของงานขาว อยู แตเปนการนําเสนอแบบเรื่องเลาทําใหชวนติดตามและอานสนุก อาจกลาวไดวากระบวนการผลิตเนื้อหาของบล็อกเกอรเริ่มตนจาก ประเด็นที่บล็อกเกอรมีความ สนใจ จากนั้นจึงหาขอมูล หรือไมก็ลงมือเขียนทันที โดยไมจําเปนตองตองยึดหลักตามกระบวนการดาน วารสารศาสตร ซึ่ง[16] การสื่อขาว คือ การปฏิบัติงานดานวารสารศาสตร ซึ่งมีกระบวนการในการ ปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. การคนควาและแสวงหาขอมูล เกี่ยวกับขอเท็จจริงและเหตุการณที่เกิดขึ้น 2. การประเมินคุณคาขาว เปนการนําขอมูลที่หามาไดและนํามาประเมินคุณคาจากองคประกอบ ของขาว และปจจัยอื่นๆ
  • 10. 10 3. การตรวจสอบความถูกตอง เพื่อปองกันขาวไมใหคลาดเคลื่อน [19] ซึ่งดร.มานะ ตรีรยาภิวัฒน รองคณบดี คณะนิเทศศาสตรมหาวิทยาลัยหอการคาไทย ไดเคย ใหคํานิยาม “วารสารศาสตร” หรือ “Journalism” ไววาคือ การเลาเรื่องราว เหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้น แบบ Storytelling สวนนักวารสารศาสตร คือ Storyteller หรือนักเลาเรื่องราว เหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้น หากเลา เรื่องราว เหตุการณผานสื่อสิ่งพิมพยอมเรียกวา Print Journalism ถาเลาผานสื่อวิทยุโทรทัศน เปน Broadcasting Journalism เลาผานสื่อออนไลน อินเตอรเน็ต ก็เรียกวา Online Journalism ซึ่งนักขาว คือ นักวารสารศาสตรที่ตองมีทักษะทางวิชาชีพสําคัญๆ คือ ทักษะการสื่อขาว การคิดประเด็นขาว การรวบรวม ขอมูลขาว การสัมภาษณ การทําขาวเชิงสืบสวน การเขียนขาว การเขียนเชิงวารสารศาสตรอื่นๆ เปนตน ซึ่ง หมายรวมไปถึงวิชากฎหมายและจริยธรรมสื่อสารมวลชน ซึ่งเปนแกนแกนสําคัญทางวิชาชีพ [20] เชนเดียวกับอาจารยญาณินี เพชรานันท หัวหนาภาควิชาวารสารศาสตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มองวา สิ่ง สําคัญของวารสารศาสตร คือ ขอมูล ขอเท็จจริง ที่ใหกับสังคม สวนนักขาวสามารถแสวงหาขอมูลขาวจากแหลงขาวประจํา [16] เอกสารบันทึกตางๆ จาก หองสมุดหนังสือพิมพ จากหนังสืออางอิงอื่นๆ และจากขอมูลสถิติที่ไดรับการเผยแพรสูสาธารณชน การ แสวงหาขอมูลขาวจากแหลงขาวประจําอาจเปนการไดมาดวยการสัมภาษณแหลงขาว หรือการสังเกตของ นักขาวเอง แลวนํามาประเมินคุณคาทางขาววาขอมูลที่ไดมานั้นมีคุณคาทางขาวมากนอยเพียงใด นอกจากนี้นักขาวยังสามารถแสวงหาขอมูลขาวจากเอกสารบันทึก อาทิ เอกสารบันทึกจากศาล เอกสาร บันทึกของตํารวจ เอกสารบันทึกทางธุรกิจ เอกสารบันทึกสวนบุคคล นอกจากนี้นักขาวยังสามารถแสวงหาขอมูลขาวจากหองสมุดหนังสือพิมพ สถานที่ที่เก็บแฟมขาวซึ่ง บรรจุขาวสําคัญๆที่ตัดจากหนังสือพิมพตางๆ เรียกวา ขาวตัด (CLIPPING) และจากหนังสืออางอิงอื่นๆ เปน แหลงขอมูลที่นํามาใชเสริมใหขาวของผูสื่อขาวถูกตอง ครบถวนยิ่งขึ้น เชน หนังสือสารานุกรม เปนตน รวมถึงแสวงหาขอมูลขาวจากขอมูลสถิติ ขอมูลที่เปนสถิติผูสื่อขาวสามารถรวบรวมไดจากเอกสาร คนควาวิจัยทางหนวยงานของรัฐบาล สถาบันการศึกษา องคการวิจัยของเอกชน สมาคม องคกรทาง การเมือง รวมทั้งขอมูลที่นักขาวออกสํารวจวิจัยเอง เปนขอมูลที่มักนําเสนอออกมาในรูปของตัวเลข แผนภูมิ กราฟ เปนตน 2.1.2 รูปแบบการนําเสนอและเนื้อหา สําหรับรูปแบบในการนําเสนอของบล็อกเกอร นั้นสวนใหญเห็นวา บล็อกเกอรกับนักขาวมีรูปแบบ ในการนําเสนอขอมูลขาวสารที่แตกตางกันคอนขางชัดเจน สวนใหญมองวารูปแบบการนําเสนอเนื้อหาของ
  • 11. 11 บล็อกเกอรนั้นคอนขางเปนการนําเสนอขอมูลพรอมแสดงความคิดเห็นสวนตัวลงไปในขอมูลนั้นดวย ในขณะที่นักขาวมีการนําเสนอเนื้อหาขาวสารที่มีรูปแบบที่แนนอนตายตัว โดยปราศจากการใสความคิดเห็น ใดๆ ลงไปในเนื้อหา การนําเสนอเนื้อหาของบล็อกเกอร สามารถนําเสนอเนื้อหาในรูปของการเลาเรื่อง เลาจาก ประสบการณตรงที่ตนไปสัมผัสขาวจากงานแถลงขาว จากการไดทดสอบสินคาหรือผลิตภัณฑ แตการ นําเสนอขอมูลขาวสารของนักขาวจะมีรูปแบบที่ตายตัว คือ รูปแบบของขาว ที่เปนพีรามิดหัวกลับ คือ พาด หัวขาว โปรยขาว เนื้อหาและรายละเอียดขาว เพื่อตอบโจทยทฤษฎีการสื่อขาว 5W 1H (Who, What, When, Where, Why, How) คือ ใคร ทําอะไร เมื่อไร ที่ไหน ทําไม และอยางไร [21] ซึ่งโครงสรางของขาวและการใชภาษาขาวประกอบดวยสวนสําคัญ 4 สวน คือ 1.พาดหัวขาว (Headline) คือการนําประเด็นสําคัญของขาวมาพาดหัวหนังสือพิมพ เพื่อใหผูอานทราบวาวันนี้เกิดอะไรขึ้น บาง 2. ความนําขาว (Leads) หรือวรรคนํา คือสาระสําคัญของเนื้อหาขาวที่เขียนโดยยอเพื่อสรางความ เขาใจทั่วๆ ไปแกผูอาน 3. สวนเชื่อมความนําขาวกับเนื้อเรื่อง (Neck) เปนขอความสั้นๆ ที่เชื่อมระหวาง ความนําขาวกับเนื้อเรื่อง เพื่อใหการเขียนขาวนั้นเชื่อมโยงอยางตอเนื่อง อาจจะมีหรือไมมีก็ได และ 4. เนื้อ เรื่องหรือเนื้อขาว (Body) คือสวนที่อธิบายหรือขยายรายละเอียดของสวนประกอบอื่นๆ ขางตน เพื่อให ผูอานทราบเรื่องราวและเขาใจลําดับความสําคัญของเหตุการณที่เกิดขึ้นอยางชัดเจน ในขณะที่รูปแบบการเขียนขาว หรือการนําเสนอขาวทําไดหลายรูปแบบ แตที่พบเห็นโดยทั่วไปมี 3 รูปแบบ ดังนี้ 1. แบบพีระมิดหัวกลับ (Inverted Pyramid) นิยมใชในการเขียนขาวหนังสือพิมพในปจจุบัน ผูเขียน ขาวจะรายงานสาระสําคัญที่สุดของขาวกอน แลวจึงเขียนสวนสําคัญรองๆ ลงไป โครงสรางขาวลักษณะนี้ จะเริ่มดวยความนํา สวนเชื่อม (ถามี) และเนื้อเรื่องขาว นิยมจัดลําดับเนื้อหา 2 ลักษณะ คือ จัดลําดับตาม ความสําคัญ และจัดลําดับตามเวลาหรือเหตุการณ 2. แบบพีระมิดหัวตั้ง (Upright Pyramid) ไมคอยนิยมใชในปจจุบัน ผูเขียนขาวจะเรียงลําดับขอมูล ที่มีความสําคัญจากนอยไปหามากที่สุด (climax) เพื่อใหผูอานกระหายใครรู และติดตามเนื้อหาจนจบ ดัง ภาพตอไปนี้ และ 3. แบบสี่เหลี่ยมผืนผาทรงยืน มักใชเขียนขาวที่ไมคอยสําคัญ ขาวสั้นๆ เริ่มจากสวนเชื่อม หรือจาก เนื้อเรื่องขาว หลังจากพาดหัวขาวแลว ไมมีความนํา ความสําคัญของขาวมีความเทาเทียมกันตั้งแตตนจนจบ แตสําหรับคนที่เห็นวาบล็อกเกอรเปนสื่อมวลชนนั้นจะมองวา การนําเสนอของบล็อกเกอรเปนการ นําเสนอขาวสารอีกรูปแบบหนึ่งที่มีความหลากหลายมากกวาการนําเสนอขาวสารของสื่อมวลชน เพราะมี
  • 12. 12 การใสความคิดเห็นสอดแทรกลงไปในเนื้อหาที่นําเสนอ ทําใหเนื้อหานาติดตาม และมีแงมุม และความรูสึก และเพราะบล็อกเกอร คือ ผูที่มีความเชี่ยวชาญในเนื้อหานั้นๆ เฉพาะดาน อาทิ บล็อกเกอรดานขาวสารไอที ที่มีความรูความเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยี ดังนั้น บล็อกเกอรสามารถใสความเห็น ใสขอมูลที่มาจากตัว ผูเขียนบล็อกเองลงไปได โดยอาจจะไมตองสัมภาษณแหลงขาว ซึ่งตรงนี้จากนักขาวที่ไมใชผูเชี่ยวชาญ เฉพาะดาน หรือเฉพาะสาย ทําใหเวลานําเสนอขาวสารนักขาวจําเปนตองพึ่งพาแหลงขอมูล ซึ่งก็คือ แหลงขาวในการไดมาซึ่งเนื้อหาของขาว แมวาบล็อกเกอรถูกมองวาเปนสื่อมวลชน แตเปนสื่อที่สามารถแสดงความคิดเห็นในงานเขียนที่ นําเสนอผูรับสารได เพียงแตรูปแบบในการนําเสนออาจแตกตางกัน และจํานวนผูรับสารแตกตางกันหาก เทียบกับสื่อมวลชน อภิศิลป มองวา บล็อกเกอรมีรูปแบบในการสนําเสนอขอมูลที่หลากหลายกวา สื่อมวลชน เพราะบล็อกเกอรจะสามารถใสความคิดเห็นลงไปในเนื้อหาได ขณะที่นักขาวจะไมมีการใสความ คิดเห็น “สมัยนี้หลายๆ แบรนดชอบเชิญบล็อกเกอรไปรวมงานเหมือนที่เชิญนักขาว เพราะเขาอยากให บล็อกเกอรนําเสนอขาวเกี่ยวกับสินคาของตัวเอง ซึ่งบล็อกเกอรมีอิสระในการเขียนคอนขางมาก คือ ไมได จํากัดแค “ขาว”เหมือนที่นักขาวรายงาน แตเปนบทความขอคิดเห็นสวนตัวก็ได” ธรรณพ บอกวา เนื้อหาที่สื่อมวลชนนําเสนอคือ ขาวสารความเปนไป สวนเนื้อหาของบล็อกเกอรคือ ขาวบวกกับความคิดเห็น เปนขาว 70 เปอรเซ็นต เปนความคิดเห็น 30 เปอรเซ็นต และขาวที่บล็อกเกอรนํา เสนอนั้น ถือเปนขาวกึ่งประชาสัมพันธสินคา “อานบล็อกเพื่อตองการอานความคิดเห็นจากผูใชงาน เพื่อตองการนําเอาขอมูลมาประกอบการ ตัดสินใจ” แตบางคนก็มองวา หากบล็อกเกอรที่ไมใชนักขาวไปเขียนบล็อก แลวนําเสนอขอมูลขาวสารใหกับ บริษัท เทากับเปนการโฆษณาประชาสัมพันธดวย แมจะไมชัดเจนแตเนื้อหายอมเปนไปเพื่อการ ประชาสัมพันธ “ธรรมชาติของคนตามอานบล็อกจะชอบการเขียนที่มาจากตัวตนของบล็อกเกอร ซึ่งอานๆ ไปจะ ทราบไดทันทีวาบล็อกไหนเขียนเพื่อการโปรโมทสินคา จากการที่บล็อกเกอรใสความคิดเห็นลงไปใน บทความหรืองานเขียนนั้นทําใหผลงานการนําเสนอเนื้อหาของบล็อกเกอรบางครั้งก็เปน “ขาวกึ่ง ประชาสัมพันธ”
  • 13. 13 สําหรับเนื้อหาของบล็อกนั้น กฤษณ มองวาเนื้อหาที่บล็อกเกอรนําเสนอสวนใหญจะคอนขางมี ละเอียด และมีมุมมองของผูเขียน ซึ่งตอบสนองความตองการของผูอานที่อานบล็อกเพราะตองการอาน ความคิดเห็น ตองการทราบมุมมองในเรื่องนั้นๆ “เปนกลางหรือไมเปนกลางในการนําเสนอเนื้อหา ไมใชประเด็น ถาหากไมมีการบิดเบือนเรื่องจริง” กฤษณ ในขณะที่ ณัฐฐา มองวา ขาวสารจากบล็อกเกอรสวนใหญนําเสนอไดนาสนใจ ซึ่งความสมบูรณ ครบถวน รอบดาน นาเชื่อถือของเนื้อหาที่บล็อกเกอรนําเสนอนั้นขึ้นอยูกับการกลั่นกรองของผูเขียนเปนหลัก รอยโทหญิงนิดา บอกวา รูปแบบการนําเสนอขอมูลขาวสารของบล็อกเกอรคือการนําเสนอขอมูล และความคิดเห็น ทําใหชิ้นงานที่บล็อกเกอรนําเสนอเปนบทความหรือความคิดห็นสวนบุคคล ซึ่งหลายครั้ง ทําใหผูอานคลอยตามและเชื่อในขอมูลที่นําเสนอ “บางบล็อกนําเสนอขอมูลไมครบถวน แตเนนการนําเสนอมุมมอง ความคิดเห็น ซึ่งจะตองเลือกอาน และวิเคราะหจากขอมูลหลายๆ ที่ จากหลายๆ คนมาประกอบกัน” สวนอาจารยสกุลศรี มองวา บล็อกเกอรบางคนมีการสนําเสนอเนื้อดี ใหความคิดตอยอดประเด็นได ยิ่งถาบล็อกไหนมีการอางอิงขอมูล และใสลิงค (Link) กลับไปที่ตนตอของขอมูล มีการใหขอมูลเพิ่มเติมและ เชื่อมโยงขอมูลหรือประเด็นตอไปที่อื่นที่ใหผูอานสามารถอานเพิ่มไดจะยิ่งดี สวนบล็อกเกอรอยาง @krapalm ก็ยอมรับวา ภาษาทใชในการเขียนบล็อกสวนใหญจะเปนภาษา ี่ พูด เนนอานเขาใจงาย ไมอยากรูผูอานรูสึกวาเขากําลังอานหนังสือ หรือเรียงความ อยากใหเขาไดความรูสึก เหมือนมีคนเลาเรื่องราวใหฟง “สไตลในการเขียนของผม ก็เนนการเลาเรื่องราวๆ ใชภาษาที่เขาใจงาย ถาเปนคําศัพทหรือ keyword สําคัญๆ จะเขียนเปนภาษาอังกฤษเลย ไมคอยไดแปลไทย ผมมักจะเขียนทับศัพท” @kraplam ยังบอกอีกวา เนื้อหาที่นําเสนอในบล็อกของเขานั้น จะเนนไปที่อัพเดทขาวสารที่ตน สนใจและคิดวาจะมีคนอาน “ผมจะพยายามไมเขียนขาวที่ตัวเองสนใจ แตมันเปนขาวที่คนอื่นไมคอยอาน” สําหรับ @papayatop บอกวา สวนมากตนจะนําเสอนขาวสารดานเทคโนโลยี โดยผสมกันทั้งขาว บทความ รีวิวสินคา และสวนใหญจะใชภาษาขาวผสมกับภาษาพูด เขียนแนวคลายกับอธิบาย ขยายความ ใหแจมชัดขึ้น โดยจะเนนใชภาษาเขาใจงาย เหมือนนั่งคุยกับผูอาน เชนเดียวกับ นันทชวิชญ ชัยภาคยโสภณ หรือ @yokekung บล็อกเกอรอีกรายจาก http://www.yokekungworld.com ที่บอกวา รูปแบบการนําเสนอของตนจะเปนการวิเคราะหเทคโนโลยีจาก ขาว เปนบทความ และรีวิวสินคาตามความรูสึก เพื่อประโยชนที่คนอานจะไดรับ โดยมีสไตลการเขียน
  • 14. 14 เหมือนการโพสกระทูแนะนํา ไมทางการมาก เนนความเปนกันเอง แตพอทําบล็อกเยอะๆ เริ่มเปนทางการ มากขึ้น สําหรับประเด็นที่นําเสนอจะเนนเรื่องแนวโนมที่กําลังจะมา มองเทคโนโลยีที่พัฒนา และมองสินคา ปจจุบันที่สรางกระแสในตลาด “โดยสวนตัวมองวาบล็อกเกอรไมใชสื่อ แตชวยกันนําเสนอในหลายๆแงมุม” กลาวโดยสรุป พบวา หากจะนิยามคําวา “สื่อ”ดวยนิยามทางดานวารสารศาสตรแบบเดิม “บล็อก เกอร”จะไมใช “สื่อ”เพราะบล็อกเกอรไมมีกระบวนการทางดานวารสารศาสตรในการผลิตชิ้นงาน บล็อก เกอรไมจําเปนตองเลือกประเด็นขาวจากคุณคาขาว แตบล็อกเกอรจะเลือกประเด็นขาวสารตามความสนใจ ของตนเองและผูอานของตนเปนหลัก นอกจากนี้บล็อกเกอรยังมีรูปแบบการเขียนที่ไมยึดติดกับรูปแบบการ เขียนขาวของนักขาวที่จะตองเปนพีรามิดหัวตั้งหรือพีรามิดหัวกลับ และยังใชภาษาพูดในงานเขียน ทั้งยังใส ความคิดเห็นในงานเขียน และที่สําคัญบล็อกเกอรไมมีการกําหนดกติกาในการทํางานรวมกัน หรือไมมีการ กําหนดกรอบจรรยาบรรณและจริยธรรมในการรับผิดชอบตอขอมูลขาวสารที่ตนนําเสนอไป อยางเปน รูปธรรม
  • 15. 15 แตในทางกลับกัน หากพิจารณาในมิติและบริบทของการสื่อสารยุคดิจิตอลแลว ก็สามารถสรุปไดวา “บล็อก”เปน “สื่อ”ชนิดหนึ่ง ซึ่งอาจจะเรียกวา “สื่อสวนตัว” หรือ “สื่อสวนบุคคล” ดวยเหตุผลที่วา บล็อก เกอรมี Blog ซึ่งเปน “ชองทาง”(Channel) ในการติดตอสื่อสาร ในการนําเสนอขาวสารเพื่อไปยังกลุมคนใน วงกวางได เชนเดียวกับ “สื่อ”(Traditional Media) บล็อกเกอรมีกลุมคนอาน หรือกลุมผูรับสารที่แนนอน จํานวนหนึ่ง และคนอานขาวสารจากบล็อกเหลานี้ใหคุณคาของเนื้อหาที่บล็อกเกอรนําเสนอวาเปน “ขาวสารบวกมุมมอง”ซึ่งตอบสนองตอความตองการของผูรับสารที่อานบล็อกก็เพื่อตองการอานมุมมองและ ความคิดเห็นของผูเขียน ดังนั้นพวกเขาจึงมองวา “บล็อกเกอร”ก็คือ “สื่อ”ประเภทหนึ่ง 2.2 บทบาทของ “บล็อกเกอร” กับ “นักขาว” สําหรับบทบาทของบล็อกเกอรนั้นหลายคนมองวา บล็อกเกอรเปนสวนหนึ่งของกระบวนการการ สื่อสารอยางแนนอน แตระดับของการเปนสื่อของบล็อกเกอรนั้นในบางมุมก็เหมือนกับนักขาว แตในบางมุม ก็ตางจากนักขาวโดยสิ้นเชิง [6] นักวิชาการและนักวิชาชีพสื่อหลายคนไดแสดงความเห็นเกี่ยวกับบทบาทของบล็อกเกอรไว อาทิ สฤณี อาชวานันทกุล มองวา บล็อกเกอรเปนสื่อได และสื่อมวลชนก็เปนบล็อกเกอรได เมื่อใดที่บล็อก เกอรรายงาน “ขาว” ซึ่งเปนขอเท็จจริงหรือเหตุการณที่เปนประเด็นสาธารณะ บล็อกเกอรมีสถานะเทียบเทา สื่อมวลชน และดังนั้นจึงตองมีทั้งสิทธิ และจรรยาบรรณเชนเดียวกับสื่ออาชีพ
  • 16. 16 นอกจากนี้ [5] “นักขาว” กับ “บล็อกเกอร” นั้นมีทั้งจุดเหมือนและจุดตางในการทํางาน จุดเหมือนก็ คือทั้งสองฝายมีชองทางในการนําเสนอของตัวเอง นักขาวอาจจะมีบริษัททีวี วิทยุ หนังสือพิมพ หรือองคกร ขาวที่ตัวเองสังกัด สวนบล็อกเกอรก็มีบล็อกของตัวเอง รวมถึง Social Media ที่ชวยใหการนําเสนอของ ตัวเองขยายไปถึงวงกวางไดมากขึ้น สวนจุดตางก็คือ นักขาวนั้นบอกวาตัวเองเปนสื่อมวลชนที่จะตองมาพรอมกับจริยธรรมในวิชาชีพ ขาว ในขณะที่บล็อกเกอรนั้นยังไมสามารถบอกไดชัดเจนวาตัวเองเปนสื่อมวลชนหรือไม ตลอดจนจริยธรรม และความรับผิดชอบตอสังคมยังไมมีบทบัญญัติชัดเจน [7] เทพชัย หยอง ผูอํานวยการองคการกระจายเสียงและแพรภาพสาธารณะแหงประเทศไทย (ส.ส.ท.) และสถานีโทรทัศนไทยพีบีเอส เคยพูดไวใน นิตยสารเนชั่นสุดสัปดาห (ในคอลัมน“จดหมายจาก ฮารวารด”) วา ‘บล็อกเกอร’ คือ ชื่อที่ใชเรียกคนทําสื่ออิสระทางอินเทอรเน็ตที่กําลังกลายเปนทางเลือกใหม ทางดานขาวสารใหคนอเมริกัน และการจะเปน ‘บล็อกเกอร’ นั้นไมยาก เพียงแคขอใหมีเว็บไซตของตัวเอง และจริงจังกับการหาขอมูลขาวสารและการตรวจสอบสังคม ใครๆ ก็สามารถเลนบทบาทนี้ได แตจะเปน ‘บล็อกเกอร’ ที่นาเชื่อถือไดหรือไมนั้นก็เปนอีกเรื่องหนึ่ง ซึ่ง ‘บล็อกเกอร’ เปนปรากฏการณใหมที่ทาทายสื่อ กระแสหลักอยางหนังสือพิมพและโทรทัศน 2.2.1 บทบาทของ “บล็อกเกอร” หากจะกลาวถึงบทบาทของบล็อกเกอร จักรพงษ มองวา บทบาทของบล็อกเกอรคือ ผูนําเสนอ ขอมูลขาวสารในมุมมองเชิงบุคคล บล็อกเกอรนําเสนอในเรื่องที่เขาคิดวาอยากนําเสนอ มีการใสอารมณ ความรูสึกเขาไปในเนื้อหาทําใหขอมูลขาวสารจากบล็อกเกอรไมไดตั้งอยูบนขอเท็จจริงเปนหลัก บล็อกเกอร ไมตองคํานึงถึงผลประโยชนสามาธารณะ และสามารถมีเรื่องธุรกิจ หรือเรื่องรายได คาตอบแทนจากการ เขียนได โดยไมมีใครตําหนิ ตราบใดที่บล็อกเกอรนั้นไมไดนําเสนอขอมูลที่ละเมิดผูอื่นหรือทําผิดกฏหมาย “บล็อกเกอรไมไดถูกฝกมาใหคิดและทําอยางนักขาว เขาไมมีกระบวนการไดมาซึ่งขอมูล และการ พัฒนาออกมาเปนชิ้นงานขาวดวยกระบวนการวารสารศาสตรเขาเปนเพียงคนที่มีชองทาง (Channel) ที่ สามารถสงขอมูลขาวสารออกไปหาคนไดจํานวนหนึ่งเทานั้น” ซึ่งเชลงพจน มองวา บล็อกเกอร คือ “สื่อสวนตัว” หรือ “สื่อบุคคล” ที่มีชองทางในการนําเสนอ ขอมูลขาวสารจากมุมมองที่ตนเองสนใจ โดยมีตัวเองเปนแบรนด(Personal Brand) ซึ่งทําการนําเสนอ ขอมูลขาวสารของบล็อกเกอรจะคํานึงถึงการนําเสนอตัวตนของตัวเอง ดวยการนําเสนอมุมมมองสวนตัว รูปแบบการเขียน และภาษาที่ใช
  • 17. 17 “สไตลการเขียน ภาษาที่ใชในการนําเสอของบล็อกเกอรจึงตองดูหวือหวา แรง โดน ไมเหมือนของ นักขาวที่ตองใชภาษาเปนทางการมากกวา และมีกรอบของการนําเสนอที่ตองเปนกลางในการทําใหขอมูลมี ความสมดุล” มีคนมองวาบล็อกเกอรเขียนบล็อกเพื่อแสวงหา “ความนิยม”และมี “ความนิยม”เปนตัวตั้งหรือเปน วัตถุประสงคในการเขียน แตนักขาวมี “ความนาเชื่อถือ” เปนตัวตั้ง ฉะนั้น การนําเสนอขอมูลขาวสาร บทบาทในการนําเสนอขอมูลขาวสารของบล็อกเกอรและนักขาวจึงมีความแตกตางกัน “ความนาเชื่อถือ กับความนิยมตางกัน ความนาเชื่อถือ คือ เชื่อวาขาวนี้ผานการกลั่นกรองมาแลว ดวยกระบวนการวารสารศาสตร สวนความนิยมในตัวบล็อกเกอร คือ ความชอบและความพอใจ ในรูปแบบ การนําเสนอและเนื้อหาที่นําเสนอมากกวาความถูกตองของขอมูลที่นําเสนอ” เชลงพจนอธิบาย สวนนักวิชาการจะมองวา ทั้งบล็อกเกอรและนักขาว มีบทบาทในการนําเสนอขอมูลขาวสาร เหมือนกัน แตนักขาวจะมีกรอบจริยธรรมและกรอบจรรยาบรรณที่ชัดเจนกวาบล็อกเกอร ทําใหบทบาทที่ สามารถนําเสนอขาวสารไดเหมือนกันระหวางบล็อกเกอรกับนักขาวมีความแตกตางกัน “ทั้งสองเปนคนนําขอมูลขาวสารมาเลาเรื่องเหมือนกัน และเขาถึงแหลงขาวไดใกลเคียงกัน แต บางครั้งบล็อกเกอรไมไดคํานึงถึงวาขอมูลขาวสารที่ตนนําเสนอนั้นไปกระทบกระเทือนใครหรือไม หรือมีการ สรางสมดุลใหกับขอมูลขาวสารที่เสนออกไปแลวดีพอแลวหรือยัง ในขณะที่นักขาวตองคํานึงถึงสิ่งเหลานี้อยู ตลอดเวลา” ดวยบทบาทของบล็อกเกอรของการเปนผูสื่อสารสื่อขอมูลออกไปสูคนรับสารไดเหมือนกับนักขาว ทําใหอาจมองดูแลวเสมือนวาบล็อกเกอรเปนคูแขงของนักขาวในการนําเสนอขอมูลขาวสารสูผูรับสาร ซึ่งใน กรณีนี้ นักวิชาการบางทานไดใหความเห็นไววา หากนักขาวไมมีการปรับตัวและพัฒนาประเด็นของขาวที่ นําเสนอใหมีความลึก รอบดาน หลากมิติ และหลายมุมมมอง บล็อกเกอรจะกลายเปนคูแขงของนักขาวใน บทบาทของการสื่อสารขอมูลอยางแนนอน อยางไรก็ดี นักขาวสามารถหยิบใชขอมูลขาวสารของบล็อกเกอรมาตอยอดได โดยดึงเขามาอยูใน การะบวนการขาวของตน หรือนําขอมูลจากบล็อกเกอรที่เปนผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานมาเปนขอมูลเสริมใน งานขาวได “เอาจุดแข็งของบล็อกเกอรกับนักขาวมารวมกัน จะทําใหขาวนั้นมีความครอบคลุมมากขึ้น” อภิศิลปเปนอีกคนหนึ่งที่ยืนยันวาบทบาทของบล็อกเกอรตางจากบาทบาทของนักขาว บทบาทของ บล็อกเกอร คือ สื่อที่มีความเปนตัวตน มีความเปนสวนตัว มีความเปนศิลปนสูงกวานักขาว