SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 2
                                  เอกสารที่เกี่ยวของ

          ผงชูรส
          ผงชูรส เปนชื่อกลางที่ใชเรียก โมโนโซเดียมกลูตาเมต (Monosodium Glutamate) วัตถุเจือ
ปนอาหารประเภท วัตถุปรุงแตงรสอาหารที่มีการใชในอาหารกันอยางแพรหลายทั่วโลก ผงชูรสมี
ลักษณะเปนผงผลึกสีขาวไมมีกลิ่น มีคุณสมบัติในการเปนสารเพิ่มรสชาติอาหาร (Flavor Enhancer)
ทําใหอาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น เนื่องจากเมื่อผงชูรสหรือโมโนโซเดียมกลูตาเมตละลายน้ํา จะ
แตกตัวไดโซเดียมและกลูตาเมตอิสระที่มีสมบัติในการเพิ่มรสชาติอาหาร โดยชวยเพิ่มรสชาติของ
รสชาติพื้นฐาน 4 รสที่เรารูจักกันดีคือ รสหวาน รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสขม ใหเดนชัดมากขึ้น ใน
การศึกษาทางเภสัชวิทยาเกี่ยวกับรสชาติพบวาผงชูรสสามารถกระตุน Glutamate Receptor แลวทํา
ใหเกิดรสชาติเฉพาะตัวที่เรียกวารสอูมามิ (Umami) ซึ่งเปนรสที่ 5 ที่มนุษยสามารถรับรูไดและมี
เอกลักษณแตกตางจากรสชาติพื้นฐานทั้ง 4
          โมโนโซเดียมกลูตาเมตเปนสารประกอบประเภทกลูตาเมตซึ่งเปนเกลือของ กรดกลูตามิก
(Glutamic acid) อันเปนกรดอะมิโนชนิดหนึ่งที่เปนองคประกอบสําคัญของโปรตีนทั่วไป เชน
โปรตีนในเนื้อสัตว โปรตีนในนม และโปรตีนในพืช โดยกลูตาเมตจะจับอยูกับกรดอะมิโนตัวอื่นๆ
เกิดเปนโครงสรางของโปรตีน กลูตาเมตที่อยูในรูปของโปรตีนจะไมมีกลิ่นรสและไมมีคุณสมบัติ
ทําใหเกิดรสอูมามิในอาหาร แตเมื่อเกิดการยอยสลายของโปรตีน เชน เกิดกระบวนการหมัก การบม
การสุกงอมของผักและผลไม การทําใหสุกดวยความรอน จะทําใหกลูตาเมตในโปรตีนเกิดการสลาย
แยกตัวออกมาเปนกลูตาเมตอิสระ ซึ่งเปนตัวที่ทําใหเกิดรสอูมามิในอาหาร นอกจากนี้ ยังไดมีการ
คนพบวาสารที่เกิดจากการยอยสลายไรโบนิวคลีโอไทดในนิวเคลียสของเซลลสิ่งมีชีวิตซึ่งไดแก ไอ
โนซิเนต(Inosinate) และ กัวไนเลต(Guanylate)[1]ก็มีคุณสมบัติใหรสอูมามิเชนเดียวกับกลูตาเมต
อิสระ ยิ่งไปกวานั้นยังพบวาไอโนซิเนตและกัวไนเลตมีคุณสมบัติในการเสริมรสอูมามิใหเดนชัด
มากขึ้นเมื่อใชรวมกับกลูตาเมต โดยผลการเสริมกันนี้มีลักษณะแบบ Synergistic Effect
อาการไวตอผงชูรส
         ในป ค.ศ. 1968 มีรายงานในวารสาร New England Journal of Medicine บรรยายถึงกลุม
อาการที่เกิดหลังจากรับประทานอาหารจีน 15-30 นาทีหรืออาจชาถึง 2 ชั่วโมง แตหายไปเองโดยไม
มีผลระยะยาวตามมา อาการเหลานี้ไดแก "ชาตามตนคอ แลวคอยๆลามมาที่แขนสองขาง หลัง และ
มีอาการออนเพลีย ใจสั่น" ซึ่งภายหลังเรียกกลุมอาการนี้วา กลุมอาการภัตตาคารจีน (Chinese
Restaurant Syndrome; CRS)
         1.การประเมินของ JECFA (พ.ศ. 2530): ในการทดลองที่วางแผนอยางดีและการใชเทคนิด
controlled double-blind crossover พบวาไมมีความสัมพันธุระหวางกลุมอาการภัตตาคารจีนและ
การบริโภคผงชูรสแมในผูที่เขารวมการทดลองซึ่งอางวาตนเคยมีอาการดังกลาว สวนรายการจาก
การสํารวจ ที่พบวามีอาการเหลานั้น เกิดจากการออกแบบการทดลองและใชแบบสอบถามที่ไม
เหมาะสม
         2.รายงาน FASEB (พ.ศ. 2538): รายงานของ FASEB ตอสํานักงานอาหารและยาแหง
สหรัฐอเมริกา หรือ FDA ยืนยันวาการบริโภคผงชูรส ในปริมาณที่เหมาะสมนั้นทําไดโดยปลอดภัย
และยังไมพบอาการระยะยาวที่เปนอันตราย อยางไรก็ตามรายงานนี้กลาววา อาการระยะสั้น ที่เรียก
กันวา MSG Symptom Complex นั้นอาจเกิดในคนสองกลุม กลุมที่ 1 เกิดกับกลุมคนที่มีปฏิกิริยา
หลังจากทานผงชูรสในปริมาณมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งหากทานอาหารที่มีผงชูรสในขณะที่ทองวาง
โดยปริมาณมากนี้ กําหนดไวที่ 3 กรัมขึ้นไปตอมื้อ และอีกกลุมที่มีอาการที่เกิดจากผงชูรสคือคนที่มี
โรคหอบหืดประจําตัวรุนแรง อาการ MSG Symptom Complex ที่ชี้แจงโดยการศึกษานี้รวมไปถึง
อาการ ชา แสบรอน ผิวตึง ปวดแนนหนาอก ปวดหัว คลื่นใส หัวใจเตนเร็ว งวงซึม และออนแรง ใน
กรณีคนเปนโรคหอบหืดอาจจะมีอาการหายใจลําบากดวย แตการศึกษาเรื่องเฉพาะเจาะจงในกลุมนี้
ยังไมปรากฏผลที่แนนอนเชื่อถือได อยางไรก็ตาม มีผูนิยมผงชูรสวิจารณวา การทดลองของ
FASEB นี้ใหผูทดสอบรับประทานผงชูรสที่อยูในรูปแคปซูลหรือสารละลาย ซึ่งไมสามารถนํามา
เปรียบเทียบกับการบริโภคผงชูกับพรอมอาหารได
         3. รายงาน ANSFA: รายงานเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2545 พบวามีประมาณ 1 เปอรเซ็นตของ
ประชาการมีอาการผิดปกติหลังรับประทานอาหาร แตไมมีหลักฐานยืนยันวาความผิดปกติดังกลาว
นั้น มีสาเหตุมาจากผงชูรส เพราะวาในการทดลองไมไดบอกถึงปริมาณของผงชูรสที่ใชอยางไรก็
ตามรายงานนี้ยืนยันไดกวาคนที่มีอาการแพผงชูรสนั้นมีไมถึง 1 เปอรเซ็นต[28]
         4. งานวิจัยของไทย: สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ.
2526) (ภก.ศ.(พิเศษ)ดร.ภักดี โพธิศิร,ิ ยุพิน ลาวัณยประเสริฐ, ศ.นพ.วิชัย ตันไพจิตร และ ผศ.ดร.
ทรงศักดิ์ ศรีอนุชาต) รายงานในการศึกษาความสัมพันธระหวางการเกิดการตอบรับตอกลุมอาการ
“ภัตตาคารจีน” กับการบริโภคโมโซเดียมกลูตาเมต พบวาในกลุมตัวอยางคนไทยมีไมถึง 1% มีเกิด
อาการดังกลาว หลังจากรับประทานอาหารที่มีผงชูรส
         จากอดีตจนกระทั่งถึงปจจุบันนี้ยังไมมีการศึกษาวิจัยทางวิชาการใดๆ ที่แสดงใหเห็นวาการ
บริโภคผงชูรสในอาหารจะมีผลตอทางชีวเคมี หรือทางจุลกายวิภาค เชนการเกิดกลุมอาการ
ภัตตาคารจีน อยางไรก็ตามการรับประทานผงชูรสในจํานวนที่มากเกินไปอาจจะทําใหเกิดการทน
ตอสารอาหารไมได (food intolerance)ซึ่งเปนอาการที่ไมเกี่ยวของกับปฏิกิริยาทางระบบภูมิคุมกัน
แตอยางใด จึงแตกตางจากการแพ (allergy) แมวาจะมีอาการคลายคลึงกัน และมักเกิดจากหลาย
สาเหตุซึ่งบางครั้งก็ไมสามารถชี้ชัดไดวาเกิดมาไดอยางไร


         อันตรายจากผงชูรส
         เตือนอันตรายผงชูรส ชี้กินมากอาจปวยเปนโรคภัตตาคารจีน ย้ําผงชูรสไมใชสิ่งจําเปนตอ
รางกายมนุษย แถมยังมีอันตรายตอสุขภาพหากกินผงชูรสปลอม
         นพ.ณรงคศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย กลาวถึงอันตรายจากการกินผงชูรสใน
ปริมาณที่มากเกินไปวา ปจจุบันผูบริโภคสวนใหญกําลังนิยมใสผงชูรสในอาหารจํานวนมากขึ้น
โดยเชื่อวาผงชูรสจะชวยเพิ่มรสชาติอาหารใหอรอย ซึ่งในความเปนจริงนั้น ผงชูรสจะละลายไขมัน
ใหผสมกลมกลืนกับน้ํา ทําใหมีรสเหมือนน้ําตมเนื้อ และกระตุนปุมปลายประสาทของลิ้นกับคอทํา
ใหอาหารมีรสหวานอรอย แตถาหากกินมากเกินไปอาจกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัยของ
ประชาชนได
         โดยเฉพาะอยางยิ่งอาการแพผงชูรสที่เรียกวา ไชนีสเรสเตอรองตซินโดรม หรือรูจักกันใน
ชื่อของโรคภัตตาคารจีน ทําใหรูสึกชาที่ปาก ลิ้น ปวดกลามเนื้อบริเวณโหนกแกม ตนคอ หนาอก
หัวใจเตนชาลง หายใจไมสะดวก ปวดทองคลื่นไส อาเจียน กระหายน้ํา นอกจากนี้ บริเวณผิวหนัง
บางสวนอาจมีผื่นแดงเนื่องจากเสนเลือดรอบนอกบางสวนขยายตัว
         และในผูที่แพผงชูรสมากๆ จะเกิดอาการชาบริเวณใบหนา หู วิงเวียน หัวใจเตนเร็ว จนอาจ
เปนอัมพาตตามแขนขาชนิดชั่วคราวได แตอาการเหลานี้จะหายเองภายในเวลา2 ชั่วโมง หากไมมี
อาการแทรกซอนอื่นๆ อีก โดยเฉพาะหญิงมีครรภไมควรกินผงชูรสเด็ดขาดเพราะอาจสงผลตอมา
รกในครรภได สําหรับทารกแรกเกิดถึง 3 เดือนนั้น หากไดกินผงชูรสเขาไปจะสงผลกระทบตอการ
เจริญเติบโตของสมองในเด็กวัยนี้อีกดวย
         นพ.ณรงคศักดิ์ กลาวตอวา จากความนิยมกินผงชูรสกันอยางแพรหลายในขณะนี้ ทําให
ผูผลิตบางรายใชสารปลอมปนในผงชูรสเพื่อลดตนทุนการผลิตและสารที่ใชมีทั้งที่เปนวัตถุไมเปน
อันตรายแกผูบริโภค ไดแก เกลือ น้ําตาล แปง สวนวัตถุที่เปนอันตราย เชน บอแรกซ ซึ่งเปนสาร
หามใชในอาหาร เพราะหากรางกายไดรับในปริมาณสูงอาจทําใหเสียชีวิตได หรือถาไดรับใน
ปริมาณนอยแตบอยครั้งจะสะสมในรางกาย กอใหเกิดอาการพิษแบบเรื้อรัง ทําใหเบื่ออาหาร
ออนเพลีย สับสน ระบบยอยอาหารถูกรบกวน ผิวหนังอักเสบ
          นอกจากนี้ยังมีสารอีกชนิดที่นิยมใสปะปนในผงชูรสคือ โซเดียมเมตาฟอสเฟต ซึ่งปกติจะ
ใชเปนน้ํายาลางหมอน้ํารถยนต เมื่อคนเรารับประทานเขาไปจะออกฤทธิ์เปนยาถายอยางแรง
          ดังนั้น เพื่อสรางความมั่นใจแกผูบริโภควาผงชูรสที่ใชนั้นปลอดภัยจากสารปลอมปน
หรือไม สามารถตรวจสอบดวยวิธีการงายๆ คือ ใหนําผงชูรสที่สงสัยประมาณครึ่งชอนชาใสลงใน
ชอนโลหะ เผาจนไหม หากเปนผงชูรสแทสารนั้นจะไหมไฟเปนถานสีดําที่ชอน แตถาเปนผงชูรสที่
มีสวนผสมของบอแรกซ หรือโซเดียมเมตาฟอตเฟตผสมอยู จะพบวามีทั้งสวนที่ไหมเปนสีดําและ
สวนที่เหลือคางเปนสีขาวที่ชอน
           “การกินผงชูรสมากเกินไปนอกจากจะเสี่ยงตออาการแพผงชูรสแลว ยังเสี่ยงตอการไดรับ
อันตรายจากผงชูรสปลอม ดังนั้น แมบานที่มีฝมือในการปรุงอาหารหรือใชน้ําเคี่ยวกระดูกสัตวอยู
แลว ผงชูรสก็ไมจําเปนตองใชในการปรุงประกอบอาหาร แตถาหากจําเปนตองใชผงชูรสจริงๆ
ผูบริโภคควรเพิ่มความพิถีพิถันในการเลือกซื้อโดยการสังเกตหีบหอหรือกระปองบรรจุ ขอบผนึก
ตองไมมีรอยตําหนิ ฉลากพิมพเปนตัวหนังสือภาษาไทยชัดเจน ไมเลอะเลือนและตองระบุชื่อ
อาหารแสดงคําวา “ผงชูรส” ตลอดจนมีเลขทะเบียนตํารับอาหาร (อย.) ระบุชื่อ ที่ตั้งของผูผลิต เดือน
ปที่ผลิต รวมทั้งน้ําหนักสุทธิอยางชัดเจน” นพ.ณรงคศักดิ์ กลาว
          ผงชูรสทุกชนิด เครื่องมือบอนทําลายมนุษยชาติ
          - อาการ เมื่อกินผงชูรส จะมีอาการปากชา ลิ้นหนา คอแหง
          - ทั้งตัวรอนวูบวาบ อยากกินแตน้ํา อาการที่
          - เปนมากๆ ปวดตามกลามเนื้อ โหนกแกม กลามเนื้อหัวใจคลายถูกบีบ
          - ลิ้นแข็ง ความรูสึกทรงตัวไมไหว
          - หายใจไมออก หนาซีด ตัวเย็นซีด ชั่ระยะหนึ่ง ผิวหนาจะตึง หมดกําลัง ออนเพลีย
          - ระบมตามกลามเนื้อตางๆ จะมีเหงื่อออกทั้งตัว ตัวเย็นซีด
          - อาการแพมากนอยอยูที่แตละคน โรคที่เกิดขึ้น
          - เบาหวานจะมากอน ปากคอ เปนแผล ทอนซฺลอักเสบ
          - มะเร็งในหลอดอาหารที่ลําคอ กระเพาะจะอักเสบ
          - หรือเปนฝที่ตับ ปอดจะเปนจุด เนื้อรายในปอดคลายๆ วัณโรค
          - หัวใจจะบวม ลิ้นหัวใจจะรั่ว ปดไมสนิท
          - ลําไสเนา ลําไสตันีด หากอวัยวะตางๆ
          - ที่กลาวถึงขางบนเสียหายแลว
          - จะเกิดเปนมะเร็งในเม็ดโลหิต
พิษภัยและอันตรายที่เกิดจากตัว "ผงชูรสแท"
           1. ทําใหเกิดอาการแพผงชูรส ซึ่งจะมีอาการชา และรอนวูบวาบที่ ปาก ลิ้น ใบหนา โหนก
แกม ตนคือ หนาอก บางคนมีผื่นแดงเกิดขึ้นตามตัว แนนหนา อก หายใจไมสะดวก เปนตน จนเปน
ที่รูจักและขนาน นามโรคแพผงชูรส วา " ไชนีสเรสทัวรองซินโดรม" (Chinese Restaurant
Syndrome ) หรือ "โรคภัตตาคารจีน" เพราะรานอาหารจีนมักใชผงชูรสกันมากนั่นเอง
           2.ทําลายสมองสวนหนาที่เรียกวา ไฮโปทาลามัส (HYPOTHALAMUS) ซึ่งเปนสวนสําคัญ
ในการควบคุมการเจริญเติบโต และระบบสืบพันธุของรางกาย ทําใหการเจริญเติบโตชา ปญญาออน
ระบบสืบพันธุผิดปกติ เปนหมัน อวัยวะสืบพันธุเล็กลงทั้งในเรื่องขนาดและน้ําหนัก ฯลฯ
           3.ทําลายระบบประสาทตา สายตาเสียหรือเกิดตาบอดได โดยเฉพาะอยางยิ่งในสัตวทดลอง
ยิ่งอายุนอยจะยิ่งเกิดผลรายมาก
           4. ทําลายกระดูกและไขกระดูก ซึ่งเปนสวนที่ผลิตเม็ดเลือดแดงในรางกาย อาจทําใหเกิด
โรคโลหิตจางได นอกเหนือจากโรคทรัพยจางเพราะตองใชเงินซื้อผงชูรสโดยไมจําเปน
           5. ทําใหไวตามินในรางกายลดลง โดยเฉพาะอยางยิ่งไวตามินบี-6 ทําใหรางกายผิดปกติและ
เปนโรคผิวหนังไดงาย (การคนพบนี้ทําใหไวตามินบี-6 แกโรคภูมิแพผงชูรสได)
           6. เกิดโรคมะเร็ง โดยเฉพาะ อยางยิ่งผงชูรสที่ผานความรอนสูงๆ เชน การปง ยาง เผา ทําให
เกิดสารกอมะเร็งในอวัยวะตางๆ ไดหลายแหง เชน ลําไสใหญ ตับ และสมอง เปนตน
           7. ทําลายระบบประสาทสวนกลาง (Central Nervous System) ทําใหเปนโรคประสาทได
งายขึ้น ในปจจุบันมีผูปวยดวยโรคประสาทกันมากขึ้นเรื่อยๆ นาศึกษาวาเกิดจากผงชูรสหรือไม
           8. เปลี่ยนแปลงโครโมโซม ทําใหรางกายเกิดวิรูปหรือผิดปกติ ปากแหวง หูแหวง จมูกวิ่น
แขนขาพิการ เปนตน
           9. ถากินมากจะผานเยื่อกั้นระหวางรกภายในรางกายของผูเปนมารดากับทารกในครรภได
ทําใหทารกในครรภไดรับผลกระทบจากผงชูรส 10. ทําให เด็กเล็กถึงตายได เด็กไทยอายุ 20 เดือน
ถึงแกความ ตาย เมื่อกินขนมครกโรยผงชูรสดวยความเขาใจผิด คิดวาเปนน้ําตาล (เรื่องนี้ รศ.ดร.
พิชัย โตวิวิชญ ระบุวา ไดสัมภาษณบิดามารดาของเด็กเอง)
           เอกสารของรศ.ดร.พิชัย ยังระบุวา "สํานักงาน อ/ย รับจางบริษัทผูผลิตผงชูรสทําการวิจัย
เรื่องผงชูรส โดยมีคณะกรรมการวิชาการระหวางประเทศที่ไดรับเงินจากผูผลิตผงชูรสเปนที่ปรึกษา
โครงการวิจัย"
           "เรื่องนี้มีหลักฐานยืนยันเปนลายลักษณอักษรได เพราะเปนเอกสารที่พิมพเผยแพรอยาง
กวาง ขวางในชวงป 2526 และพิมพแจกตอๆ กันมาอีกหลายป เรื่อง "การศึกษาความสัมพันธ
ระหวางการเกิด การตอบรับตอกลุมอาการ "ภัตตาคารจีน" กับการ บริโภคโมโนโซเดียมกลูตาเมท"
หลักฐานที่ชี้ชัดวาโครงการนี้ไดรับเงินจากบริษัทผูผลิตผงชูรสก็ตรงที่กิตติกรรมประกาศ
           ในเอกสารระบุผูที่ใหทุนอุดหนุนสําหรับการวิจัยในครั้งนี้ทั้งหมดไดแก International
Glutamate Technical Committee หรือ IGTC ซึ่งเปน ผูผลิตผงชูรสระหวางประเทศ และ
เปนที่นาสังเกตวา คณะกรรมการ IGTC นี้ นอกจากจะใหทุนอุดหนุนการวิจัยครั้งนี้ทั้งหมดแลว ยังเปนที่
ปรึกษาของโครง การนี้อีกดวย จึงไมตองแปลกใจที่ผลงานวิจัยนี้จะสรุป ออกมาวา การบริโภคผงชูรสในปริมาณ
มากไมนาหวงใย

           ประโยชนจากผงชูรส
           ผงชูรสมีประโยชนทําใหอาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น โดยอาหารที่นํามาปรุงนันตองเปนอาหารที่สด
                                                                                   ้
ดวยจะไดรสชาติที่ดี โดยธรรมชาติแลวผงชูรสจะใชไดดีมากกับอาหารที่มีรสเค็มหรือเปรี้ยว การใชผงชูรสใน
อาหารตองใสในปริมาณที่เหมาะสม ประมาณรอยละ 0.1 - 0.8 โดยน้ําหนัก เชน อาหารหนัก 500 g หาก
เติมผงชูรสประมาณ 0.5 - 4 g หรือประมาณ 1 ชอนชา ก็เพียงพอจะใหรสอูมามิในอาหาร การใสมากเกินไป
จะทําใหรสชาติอาหารโดยรวมแยลง และมีรสชาติที่ผิดแปลกไปซึ่งผูบริโภคจะสามารถรับรสที่ผิดแปลกนี้ได
ทันที ซึ่งเรียกวา Self Limiting อันเปนลักษณะเชนเดียวกับ เกลือแกง ที่ใหรสเค็ม และน้ําสมสายชู ที่ใหรส
เปรี้ยวก็จะตองใชในปริมาณที่เหมาะสมเชนกัน ยิ่งไปกวานั้นอาหารที่เติมผงชูรสในปริมาณที่พอเหมาะจะชวยให
ลดปริมาณการเติมเกลือแกงในอาหารลงไดโดยที่ยังคงความอรอยของอาหารอยู ทําใหผูบริโภคที่มีความ
จําเปนตองจํากัดปริมาณโซเดียมในอาหาร เชน คนชรา สามารถบริโภคอาหารไดมากขึ้นและไดรับปริมาณ
โซเดียมนอยลงอันเปนผลดีตอสุขภาพกายและใจ



                                    3 กลุมการทดลองตอการกินผงชูรส
งาน วิจัยของญี่ปุนฉบับที่ตีพิมพในนิว ไซแอนติสต วันที่ 26 ตุลาคม โดย ฮิโรชิ โอกูโระ
มหาวิทยาลัยฮิโรซากิ แบงหนูทดลองเปน 3 กลุม
         กลุมแรก กินผงชูรสมากๆ
         กลุมสอง กินปานกลาง
         กลุมสาม ไมกินผงชูรสเลย
         ปรากฏ วาหนูกลุมแรกมีปญหาตามองไมเห็น และเยื่อจอตาซึ่งมีหนาที่รับภาพบางลงไป
75% และผลทดสอบปฏิกิริยาตอแสงปรากฏวาหนูมองไมเห็นเลย สวนหนูที่กินผงชูรสปานกลางมี
ความเสียหายเชนกัน แตไมมากเทากลุมแรก
         งาน วิจัยชินนี้เปนชิ้นตอมาจากงานวิจัยเดิมซึ่งฉีดผงชูรสเขาตาสัตวทดลองโดย ตรง ทําให
                    ้
ประสาทตาเสียหาย สวนงานชิ้นนี้เปนชิ้นแรกที่แสดงใหเห็นวา ผงชูรสที่รับจากการกิน กอผลใหตา
บอดไดเชนเดียวกัน
         นักวิจัยอธิบาย วา ผงชูรสซึมซานเขาไปอยูในน้ําหลอเลี้ยงจอตา เกาะอยูที่นั่นและทําลายจอ
                                                                               
ตาไปในที่สุด ทั้งยังมีผลกอกวนการทํางานของเซลลที่ยังเหลืออยูในการสงสัญญาณภาพไปยัง
สมองอีกดวย เขาระบุวา อาหารที่ปริมาณ 20% ถือวาเปนสัดสวนสูง เปนอันตราย ขณะเดียวกัน แม
จะกินในปริมาณนอย มันอาจจะสะสมเปนเวลานานนับสิบป กอนออกฤทธิ์ในภายหลัง
       นายโอกูโระ กลาววา ผลวิจัยชิ้นนี้อาจอธิยายวา ทําไมคนในแถบเอเชียตะวันออกถึงเปน
โรคตอหินในอัตราสูง โดยเฉพาะวัยที่ขึ้นตนดวยเลขสี่

Más contenido relacionado

Destacado

รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1Nong Max Z Kamilia
 

Destacado (8)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
 
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
 

Similar a บทที่ 2

โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดUsableLabs
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3 -26-30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3 -26-30โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3 -26-30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3 -26-30Chanathip Loahasakthavorn
 
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdfโภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ Dr.Ratchaneewan Sinawat Poomsa-ad
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.25554LIFEYES
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑tommy
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน24LIFEYES
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดVorramon1
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 

Similar a บทที่ 2 (20)

โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3 -26-30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3 -26-30โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3 -26-30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3 -26-30
 
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdfโภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
 
Liver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับLiver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับ
 
06 food-additive[1]
06 food-additive[1]06 food-additive[1]
06 food-additive[1]
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
 
Xxx66666
Xxx66666Xxx66666
Xxx66666
 
Paraqaut
ParaqautParaqaut
Paraqaut
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัด
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 

บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ ผงชูรส ผงชูรส เปนชื่อกลางที่ใชเรียก โมโนโซเดียมกลูตาเมต (Monosodium Glutamate) วัตถุเจือ ปนอาหารประเภท วัตถุปรุงแตงรสอาหารที่มีการใชในอาหารกันอยางแพรหลายทั่วโลก ผงชูรสมี ลักษณะเปนผงผลึกสีขาวไมมีกลิ่น มีคุณสมบัติในการเปนสารเพิ่มรสชาติอาหาร (Flavor Enhancer) ทําใหอาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น เนื่องจากเมื่อผงชูรสหรือโมโนโซเดียมกลูตาเมตละลายน้ํา จะ แตกตัวไดโซเดียมและกลูตาเมตอิสระที่มีสมบัติในการเพิ่มรสชาติอาหาร โดยชวยเพิ่มรสชาติของ รสชาติพื้นฐาน 4 รสที่เรารูจักกันดีคือ รสหวาน รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสขม ใหเดนชัดมากขึ้น ใน การศึกษาทางเภสัชวิทยาเกี่ยวกับรสชาติพบวาผงชูรสสามารถกระตุน Glutamate Receptor แลวทํา ใหเกิดรสชาติเฉพาะตัวที่เรียกวารสอูมามิ (Umami) ซึ่งเปนรสที่ 5 ที่มนุษยสามารถรับรูไดและมี เอกลักษณแตกตางจากรสชาติพื้นฐานทั้ง 4 โมโนโซเดียมกลูตาเมตเปนสารประกอบประเภทกลูตาเมตซึ่งเปนเกลือของ กรดกลูตามิก (Glutamic acid) อันเปนกรดอะมิโนชนิดหนึ่งที่เปนองคประกอบสําคัญของโปรตีนทั่วไป เชน โปรตีนในเนื้อสัตว โปรตีนในนม และโปรตีนในพืช โดยกลูตาเมตจะจับอยูกับกรดอะมิโนตัวอื่นๆ เกิดเปนโครงสรางของโปรตีน กลูตาเมตที่อยูในรูปของโปรตีนจะไมมีกลิ่นรสและไมมีคุณสมบัติ ทําใหเกิดรสอูมามิในอาหาร แตเมื่อเกิดการยอยสลายของโปรตีน เชน เกิดกระบวนการหมัก การบม การสุกงอมของผักและผลไม การทําใหสุกดวยความรอน จะทําใหกลูตาเมตในโปรตีนเกิดการสลาย แยกตัวออกมาเปนกลูตาเมตอิสระ ซึ่งเปนตัวที่ทําใหเกิดรสอูมามิในอาหาร นอกจากนี้ ยังไดมีการ คนพบวาสารที่เกิดจากการยอยสลายไรโบนิวคลีโอไทดในนิวเคลียสของเซลลสิ่งมีชีวิตซึ่งไดแก ไอ โนซิเนต(Inosinate) และ กัวไนเลต(Guanylate)[1]ก็มีคุณสมบัติใหรสอูมามิเชนเดียวกับกลูตาเมต อิสระ ยิ่งไปกวานั้นยังพบวาไอโนซิเนตและกัวไนเลตมีคุณสมบัติในการเสริมรสอูมามิใหเดนชัด มากขึ้นเมื่อใชรวมกับกลูตาเมต โดยผลการเสริมกันนี้มีลักษณะแบบ Synergistic Effect
  • 2. อาการไวตอผงชูรส ในป ค.ศ. 1968 มีรายงานในวารสาร New England Journal of Medicine บรรยายถึงกลุม อาการที่เกิดหลังจากรับประทานอาหารจีน 15-30 นาทีหรืออาจชาถึง 2 ชั่วโมง แตหายไปเองโดยไม มีผลระยะยาวตามมา อาการเหลานี้ไดแก "ชาตามตนคอ แลวคอยๆลามมาที่แขนสองขาง หลัง และ มีอาการออนเพลีย ใจสั่น" ซึ่งภายหลังเรียกกลุมอาการนี้วา กลุมอาการภัตตาคารจีน (Chinese Restaurant Syndrome; CRS) 1.การประเมินของ JECFA (พ.ศ. 2530): ในการทดลองที่วางแผนอยางดีและการใชเทคนิด controlled double-blind crossover พบวาไมมีความสัมพันธุระหวางกลุมอาการภัตตาคารจีนและ การบริโภคผงชูรสแมในผูที่เขารวมการทดลองซึ่งอางวาตนเคยมีอาการดังกลาว สวนรายการจาก การสํารวจ ที่พบวามีอาการเหลานั้น เกิดจากการออกแบบการทดลองและใชแบบสอบถามที่ไม เหมาะสม 2.รายงาน FASEB (พ.ศ. 2538): รายงานของ FASEB ตอสํานักงานอาหารและยาแหง สหรัฐอเมริกา หรือ FDA ยืนยันวาการบริโภคผงชูรส ในปริมาณที่เหมาะสมนั้นทําไดโดยปลอดภัย และยังไมพบอาการระยะยาวที่เปนอันตราย อยางไรก็ตามรายงานนี้กลาววา อาการระยะสั้น ที่เรียก กันวา MSG Symptom Complex นั้นอาจเกิดในคนสองกลุม กลุมที่ 1 เกิดกับกลุมคนที่มีปฏิกิริยา หลังจากทานผงชูรสในปริมาณมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งหากทานอาหารที่มีผงชูรสในขณะที่ทองวาง โดยปริมาณมากนี้ กําหนดไวที่ 3 กรัมขึ้นไปตอมื้อ และอีกกลุมที่มีอาการที่เกิดจากผงชูรสคือคนที่มี โรคหอบหืดประจําตัวรุนแรง อาการ MSG Symptom Complex ที่ชี้แจงโดยการศึกษานี้รวมไปถึง อาการ ชา แสบรอน ผิวตึง ปวดแนนหนาอก ปวดหัว คลื่นใส หัวใจเตนเร็ว งวงซึม และออนแรง ใน กรณีคนเปนโรคหอบหืดอาจจะมีอาการหายใจลําบากดวย แตการศึกษาเรื่องเฉพาะเจาะจงในกลุมนี้ ยังไมปรากฏผลที่แนนอนเชื่อถือได อยางไรก็ตาม มีผูนิยมผงชูรสวิจารณวา การทดลองของ FASEB นี้ใหผูทดสอบรับประทานผงชูรสที่อยูในรูปแคปซูลหรือสารละลาย ซึ่งไมสามารถนํามา เปรียบเทียบกับการบริโภคผงชูกับพรอมอาหารได 3. รายงาน ANSFA: รายงานเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2545 พบวามีประมาณ 1 เปอรเซ็นตของ ประชาการมีอาการผิดปกติหลังรับประทานอาหาร แตไมมีหลักฐานยืนยันวาความผิดปกติดังกลาว นั้น มีสาเหตุมาจากผงชูรส เพราะวาในการทดลองไมไดบอกถึงปริมาณของผงชูรสที่ใชอยางไรก็ ตามรายงานนี้ยืนยันไดกวาคนที่มีอาการแพผงชูรสนั้นมีไมถึง 1 เปอรเซ็นต[28] 4. งานวิจัยของไทย: สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2526) (ภก.ศ.(พิเศษ)ดร.ภักดี โพธิศิร,ิ ยุพิน ลาวัณยประเสริฐ, ศ.นพ.วิชัย ตันไพจิตร และ ผศ.ดร. ทรงศักดิ์ ศรีอนุชาต) รายงานในการศึกษาความสัมพันธระหวางการเกิดการตอบรับตอกลุมอาการ
  • 3. “ภัตตาคารจีน” กับการบริโภคโมโซเดียมกลูตาเมต พบวาในกลุมตัวอยางคนไทยมีไมถึง 1% มีเกิด อาการดังกลาว หลังจากรับประทานอาหารที่มีผงชูรส จากอดีตจนกระทั่งถึงปจจุบันนี้ยังไมมีการศึกษาวิจัยทางวิชาการใดๆ ที่แสดงใหเห็นวาการ บริโภคผงชูรสในอาหารจะมีผลตอทางชีวเคมี หรือทางจุลกายวิภาค เชนการเกิดกลุมอาการ ภัตตาคารจีน อยางไรก็ตามการรับประทานผงชูรสในจํานวนที่มากเกินไปอาจจะทําใหเกิดการทน ตอสารอาหารไมได (food intolerance)ซึ่งเปนอาการที่ไมเกี่ยวของกับปฏิกิริยาทางระบบภูมิคุมกัน แตอยางใด จึงแตกตางจากการแพ (allergy) แมวาจะมีอาการคลายคลึงกัน และมักเกิดจากหลาย สาเหตุซึ่งบางครั้งก็ไมสามารถชี้ชัดไดวาเกิดมาไดอยางไร อันตรายจากผงชูรส เตือนอันตรายผงชูรส ชี้กินมากอาจปวยเปนโรคภัตตาคารจีน ย้ําผงชูรสไมใชสิ่งจําเปนตอ รางกายมนุษย แถมยังมีอันตรายตอสุขภาพหากกินผงชูรสปลอม นพ.ณรงคศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย กลาวถึงอันตรายจากการกินผงชูรสใน ปริมาณที่มากเกินไปวา ปจจุบันผูบริโภคสวนใหญกําลังนิยมใสผงชูรสในอาหารจํานวนมากขึ้น โดยเชื่อวาผงชูรสจะชวยเพิ่มรสชาติอาหารใหอรอย ซึ่งในความเปนจริงนั้น ผงชูรสจะละลายไขมัน ใหผสมกลมกลืนกับน้ํา ทําใหมีรสเหมือนน้ําตมเนื้อ และกระตุนปุมปลายประสาทของลิ้นกับคอทํา ใหอาหารมีรสหวานอรอย แตถาหากกินมากเกินไปอาจกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัยของ ประชาชนได โดยเฉพาะอยางยิ่งอาการแพผงชูรสที่เรียกวา ไชนีสเรสเตอรองตซินโดรม หรือรูจักกันใน ชื่อของโรคภัตตาคารจีน ทําใหรูสึกชาที่ปาก ลิ้น ปวดกลามเนื้อบริเวณโหนกแกม ตนคอ หนาอก หัวใจเตนชาลง หายใจไมสะดวก ปวดทองคลื่นไส อาเจียน กระหายน้ํา นอกจากนี้ บริเวณผิวหนัง บางสวนอาจมีผื่นแดงเนื่องจากเสนเลือดรอบนอกบางสวนขยายตัว และในผูที่แพผงชูรสมากๆ จะเกิดอาการชาบริเวณใบหนา หู วิงเวียน หัวใจเตนเร็ว จนอาจ เปนอัมพาตตามแขนขาชนิดชั่วคราวได แตอาการเหลานี้จะหายเองภายในเวลา2 ชั่วโมง หากไมมี อาการแทรกซอนอื่นๆ อีก โดยเฉพาะหญิงมีครรภไมควรกินผงชูรสเด็ดขาดเพราะอาจสงผลตอมา รกในครรภได สําหรับทารกแรกเกิดถึง 3 เดือนนั้น หากไดกินผงชูรสเขาไปจะสงผลกระทบตอการ เจริญเติบโตของสมองในเด็กวัยนี้อีกดวย นพ.ณรงคศักดิ์ กลาวตอวา จากความนิยมกินผงชูรสกันอยางแพรหลายในขณะนี้ ทําให ผูผลิตบางรายใชสารปลอมปนในผงชูรสเพื่อลดตนทุนการผลิตและสารที่ใชมีทั้งที่เปนวัตถุไมเปน อันตรายแกผูบริโภค ไดแก เกลือ น้ําตาล แปง สวนวัตถุที่เปนอันตราย เชน บอแรกซ ซึ่งเปนสาร หามใชในอาหาร เพราะหากรางกายไดรับในปริมาณสูงอาจทําใหเสียชีวิตได หรือถาไดรับใน
  • 4. ปริมาณนอยแตบอยครั้งจะสะสมในรางกาย กอใหเกิดอาการพิษแบบเรื้อรัง ทําใหเบื่ออาหาร ออนเพลีย สับสน ระบบยอยอาหารถูกรบกวน ผิวหนังอักเสบ นอกจากนี้ยังมีสารอีกชนิดที่นิยมใสปะปนในผงชูรสคือ โซเดียมเมตาฟอสเฟต ซึ่งปกติจะ ใชเปนน้ํายาลางหมอน้ํารถยนต เมื่อคนเรารับประทานเขาไปจะออกฤทธิ์เปนยาถายอยางแรง ดังนั้น เพื่อสรางความมั่นใจแกผูบริโภควาผงชูรสที่ใชนั้นปลอดภัยจากสารปลอมปน หรือไม สามารถตรวจสอบดวยวิธีการงายๆ คือ ใหนําผงชูรสที่สงสัยประมาณครึ่งชอนชาใสลงใน ชอนโลหะ เผาจนไหม หากเปนผงชูรสแทสารนั้นจะไหมไฟเปนถานสีดําที่ชอน แตถาเปนผงชูรสที่ มีสวนผสมของบอแรกซ หรือโซเดียมเมตาฟอตเฟตผสมอยู จะพบวามีทั้งสวนที่ไหมเปนสีดําและ สวนที่เหลือคางเปนสีขาวที่ชอน “การกินผงชูรสมากเกินไปนอกจากจะเสี่ยงตออาการแพผงชูรสแลว ยังเสี่ยงตอการไดรับ อันตรายจากผงชูรสปลอม ดังนั้น แมบานที่มีฝมือในการปรุงอาหารหรือใชน้ําเคี่ยวกระดูกสัตวอยู แลว ผงชูรสก็ไมจําเปนตองใชในการปรุงประกอบอาหาร แตถาหากจําเปนตองใชผงชูรสจริงๆ ผูบริโภคควรเพิ่มความพิถีพิถันในการเลือกซื้อโดยการสังเกตหีบหอหรือกระปองบรรจุ ขอบผนึก ตองไมมีรอยตําหนิ ฉลากพิมพเปนตัวหนังสือภาษาไทยชัดเจน ไมเลอะเลือนและตองระบุชื่อ อาหารแสดงคําวา “ผงชูรส” ตลอดจนมีเลขทะเบียนตํารับอาหาร (อย.) ระบุชื่อ ที่ตั้งของผูผลิต เดือน ปที่ผลิต รวมทั้งน้ําหนักสุทธิอยางชัดเจน” นพ.ณรงคศักดิ์ กลาว ผงชูรสทุกชนิด เครื่องมือบอนทําลายมนุษยชาติ - อาการ เมื่อกินผงชูรส จะมีอาการปากชา ลิ้นหนา คอแหง - ทั้งตัวรอนวูบวาบ อยากกินแตน้ํา อาการที่ - เปนมากๆ ปวดตามกลามเนื้อ โหนกแกม กลามเนื้อหัวใจคลายถูกบีบ - ลิ้นแข็ง ความรูสึกทรงตัวไมไหว - หายใจไมออก หนาซีด ตัวเย็นซีด ชั่ระยะหนึ่ง ผิวหนาจะตึง หมดกําลัง ออนเพลีย - ระบมตามกลามเนื้อตางๆ จะมีเหงื่อออกทั้งตัว ตัวเย็นซีด - อาการแพมากนอยอยูที่แตละคน โรคที่เกิดขึ้น - เบาหวานจะมากอน ปากคอ เปนแผล ทอนซฺลอักเสบ - มะเร็งในหลอดอาหารที่ลําคอ กระเพาะจะอักเสบ - หรือเปนฝที่ตับ ปอดจะเปนจุด เนื้อรายในปอดคลายๆ วัณโรค - หัวใจจะบวม ลิ้นหัวใจจะรั่ว ปดไมสนิท - ลําไสเนา ลําไสตันีด หากอวัยวะตางๆ - ที่กลาวถึงขางบนเสียหายแลว - จะเกิดเปนมะเร็งในเม็ดโลหิต
  • 5. พิษภัยและอันตรายที่เกิดจากตัว "ผงชูรสแท" 1. ทําใหเกิดอาการแพผงชูรส ซึ่งจะมีอาการชา และรอนวูบวาบที่ ปาก ลิ้น ใบหนา โหนก แกม ตนคือ หนาอก บางคนมีผื่นแดงเกิดขึ้นตามตัว แนนหนา อก หายใจไมสะดวก เปนตน จนเปน ที่รูจักและขนาน นามโรคแพผงชูรส วา " ไชนีสเรสทัวรองซินโดรม" (Chinese Restaurant Syndrome ) หรือ "โรคภัตตาคารจีน" เพราะรานอาหารจีนมักใชผงชูรสกันมากนั่นเอง 2.ทําลายสมองสวนหนาที่เรียกวา ไฮโปทาลามัส (HYPOTHALAMUS) ซึ่งเปนสวนสําคัญ ในการควบคุมการเจริญเติบโต และระบบสืบพันธุของรางกาย ทําใหการเจริญเติบโตชา ปญญาออน ระบบสืบพันธุผิดปกติ เปนหมัน อวัยวะสืบพันธุเล็กลงทั้งในเรื่องขนาดและน้ําหนัก ฯลฯ 3.ทําลายระบบประสาทตา สายตาเสียหรือเกิดตาบอดได โดยเฉพาะอยางยิ่งในสัตวทดลอง ยิ่งอายุนอยจะยิ่งเกิดผลรายมาก 4. ทําลายกระดูกและไขกระดูก ซึ่งเปนสวนที่ผลิตเม็ดเลือดแดงในรางกาย อาจทําใหเกิด โรคโลหิตจางได นอกเหนือจากโรคทรัพยจางเพราะตองใชเงินซื้อผงชูรสโดยไมจําเปน 5. ทําใหไวตามินในรางกายลดลง โดยเฉพาะอยางยิ่งไวตามินบี-6 ทําใหรางกายผิดปกติและ เปนโรคผิวหนังไดงาย (การคนพบนี้ทําใหไวตามินบี-6 แกโรคภูมิแพผงชูรสได) 6. เกิดโรคมะเร็ง โดยเฉพาะ อยางยิ่งผงชูรสที่ผานความรอนสูงๆ เชน การปง ยาง เผา ทําให เกิดสารกอมะเร็งในอวัยวะตางๆ ไดหลายแหง เชน ลําไสใหญ ตับ และสมอง เปนตน 7. ทําลายระบบประสาทสวนกลาง (Central Nervous System) ทําใหเปนโรคประสาทได งายขึ้น ในปจจุบันมีผูปวยดวยโรคประสาทกันมากขึ้นเรื่อยๆ นาศึกษาวาเกิดจากผงชูรสหรือไม 8. เปลี่ยนแปลงโครโมโซม ทําใหรางกายเกิดวิรูปหรือผิดปกติ ปากแหวง หูแหวง จมูกวิ่น แขนขาพิการ เปนตน 9. ถากินมากจะผานเยื่อกั้นระหวางรกภายในรางกายของผูเปนมารดากับทารกในครรภได ทําใหทารกในครรภไดรับผลกระทบจากผงชูรส 10. ทําให เด็กเล็กถึงตายได เด็กไทยอายุ 20 เดือน ถึงแกความ ตาย เมื่อกินขนมครกโรยผงชูรสดวยความเขาใจผิด คิดวาเปนน้ําตาล (เรื่องนี้ รศ.ดร. พิชัย โตวิวิชญ ระบุวา ไดสัมภาษณบิดามารดาของเด็กเอง) เอกสารของรศ.ดร.พิชัย ยังระบุวา "สํานักงาน อ/ย รับจางบริษัทผูผลิตผงชูรสทําการวิจัย เรื่องผงชูรส โดยมีคณะกรรมการวิชาการระหวางประเทศที่ไดรับเงินจากผูผลิตผงชูรสเปนที่ปรึกษา โครงการวิจัย" "เรื่องนี้มีหลักฐานยืนยันเปนลายลักษณอักษรได เพราะเปนเอกสารที่พิมพเผยแพรอยาง กวาง ขวางในชวงป 2526 และพิมพแจกตอๆ กันมาอีกหลายป เรื่อง "การศึกษาความสัมพันธ ระหวางการเกิด การตอบรับตอกลุมอาการ "ภัตตาคารจีน" กับการ บริโภคโมโนโซเดียมกลูตาเมท"
  • 6. หลักฐานที่ชี้ชัดวาโครงการนี้ไดรับเงินจากบริษัทผูผลิตผงชูรสก็ตรงที่กิตติกรรมประกาศ ในเอกสารระบุผูที่ใหทุนอุดหนุนสําหรับการวิจัยในครั้งนี้ทั้งหมดไดแก International Glutamate Technical Committee หรือ IGTC ซึ่งเปน ผูผลิตผงชูรสระหวางประเทศ และ เปนที่นาสังเกตวา คณะกรรมการ IGTC นี้ นอกจากจะใหทุนอุดหนุนการวิจัยครั้งนี้ทั้งหมดแลว ยังเปนที่ ปรึกษาของโครง การนี้อีกดวย จึงไมตองแปลกใจที่ผลงานวิจัยนี้จะสรุป ออกมาวา การบริโภคผงชูรสในปริมาณ มากไมนาหวงใย ประโยชนจากผงชูรส ผงชูรสมีประโยชนทําใหอาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น โดยอาหารที่นํามาปรุงนันตองเปนอาหารที่สด ้ ดวยจะไดรสชาติที่ดี โดยธรรมชาติแลวผงชูรสจะใชไดดีมากกับอาหารที่มีรสเค็มหรือเปรี้ยว การใชผงชูรสใน อาหารตองใสในปริมาณที่เหมาะสม ประมาณรอยละ 0.1 - 0.8 โดยน้ําหนัก เชน อาหารหนัก 500 g หาก เติมผงชูรสประมาณ 0.5 - 4 g หรือประมาณ 1 ชอนชา ก็เพียงพอจะใหรสอูมามิในอาหาร การใสมากเกินไป จะทําใหรสชาติอาหารโดยรวมแยลง และมีรสชาติที่ผิดแปลกไปซึ่งผูบริโภคจะสามารถรับรสที่ผิดแปลกนี้ได ทันที ซึ่งเรียกวา Self Limiting อันเปนลักษณะเชนเดียวกับ เกลือแกง ที่ใหรสเค็ม และน้ําสมสายชู ที่ใหรส เปรี้ยวก็จะตองใชในปริมาณที่เหมาะสมเชนกัน ยิ่งไปกวานั้นอาหารที่เติมผงชูรสในปริมาณที่พอเหมาะจะชวยให ลดปริมาณการเติมเกลือแกงในอาหารลงไดโดยที่ยังคงความอรอยของอาหารอยู ทําใหผูบริโภคที่มีความ จําเปนตองจํากัดปริมาณโซเดียมในอาหาร เชน คนชรา สามารถบริโภคอาหารไดมากขึ้นและไดรับปริมาณ โซเดียมนอยลงอันเปนผลดีตอสุขภาพกายและใจ 3 กลุมการทดลองตอการกินผงชูรส งาน วิจัยของญี่ปุนฉบับที่ตีพิมพในนิว ไซแอนติสต วันที่ 26 ตุลาคม โดย ฮิโรชิ โอกูโระ มหาวิทยาลัยฮิโรซากิ แบงหนูทดลองเปน 3 กลุม กลุมแรก กินผงชูรสมากๆ กลุมสอง กินปานกลาง กลุมสาม ไมกินผงชูรสเลย ปรากฏ วาหนูกลุมแรกมีปญหาตามองไมเห็น และเยื่อจอตาซึ่งมีหนาที่รับภาพบางลงไป 75% และผลทดสอบปฏิกิริยาตอแสงปรากฏวาหนูมองไมเห็นเลย สวนหนูที่กินผงชูรสปานกลางมี ความเสียหายเชนกัน แตไมมากเทากลุมแรก งาน วิจัยชินนี้เปนชิ้นตอมาจากงานวิจัยเดิมซึ่งฉีดผงชูรสเขาตาสัตวทดลองโดย ตรง ทําให ้ ประสาทตาเสียหาย สวนงานชิ้นนี้เปนชิ้นแรกที่แสดงใหเห็นวา ผงชูรสที่รับจากการกิน กอผลใหตา บอดไดเชนเดียวกัน นักวิจัยอธิบาย วา ผงชูรสซึมซานเขาไปอยูในน้ําหลอเลี้ยงจอตา เกาะอยูที่นั่นและทําลายจอ  ตาไปในที่สุด ทั้งยังมีผลกอกวนการทํางานของเซลลที่ยังเหลืออยูในการสงสัญญาณภาพไปยัง
  • 7. สมองอีกดวย เขาระบุวา อาหารที่ปริมาณ 20% ถือวาเปนสัดสวนสูง เปนอันตราย ขณะเดียวกัน แม จะกินในปริมาณนอย มันอาจจะสะสมเปนเวลานานนับสิบป กอนออกฤทธิ์ในภายหลัง นายโอกูโระ กลาววา ผลวิจัยชิ้นนี้อาจอธิยายวา ทําไมคนในแถบเอเชียตะวันออกถึงเปน โรคตอหินในอัตราสูง โดยเฉพาะวัยที่ขึ้นตนดวยเลขสี่