SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 20
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
((Reasoning)Reasoning)
ครูนิตยา น้อยนันท์ครูนิตยา น้อยนันท์
โรงเรียนกาญจนาภิเษกโรงเรียนกาญจนาภิเษก
วิทยาลัย เพชรบูรณ์วิทยาลัย เพชรบูรณ์
การให้เหตุผลการให้เหตุผล (Reasoning)(Reasoning)
มนุษย์รู้จักการใช้การให้เหตุผล เพื่อ
สนับสนุนความเชื่อ
หรือเพื่อหาความจริง หรือข้อสรุปในเรื่องใดเรื่อง
หนึ่งมาแต่ครั้งโบราณ
การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำาคัญมีอยู่ 2 วิธี
ได้แก่
1. การให้เหตุผลแบบอุปนัย
(Inductive Reasoning)
2. การให้เหตุผลแบบนิรนัย
การให้เหตุผลแบบนิรนัยการให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive(Deductive
Reasoning)Reasoning)
การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนำาความรู้พื้นฐานซึ่ง
อาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ
หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อนและยอมรับว่าเป็นจริงมา
ประกอบเพื่อนำาไปสู่ข้อสรุป เช่น
จากข้อตกลง 1) และ 2)
1) รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีด้านตรงข้าม
ขนานกันสองคู่
2) รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีด้านตรง
ข้ามขนานกัน สองคู่มีด้านแต่ละด้านยาว
เท่ากัน และไม่มีมุมใดเป็นมุมฉาก
เมื่ออ่านแล้วพบว่ารูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนมีสมบัติ
ตามข้อ 1) ครบถ้วนจึงสรุปได้เป็น
ข้อ 3)
3) รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน
การให้เหตุผลแบบนิรนัยการให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive(Deductive
Reasoning)Reasoning)
การให้เหตุผลแบบนิรนัย เป็นการให้เหตุผลที่
อ้างว่าสิ่งที่กำาหนดให้ยืนยันผลสรุป
อาศัยหลักฐานจากความรู้เดิม
ริ่มต้นจากข้ออ้างซึ่งมีลักษณะทั่วไป(universal)
ไปสู่ข้อสรุปซึ่งมีลักษณะเฉพาะ(particular)
ความน่าเชื่อถือของ
ข้อสรุปอยู่ในขั้นความ
แน่นอน (certainty)
ไม่ให้ความรู้ใหม่
โดยกำาหนดให้เหตุ (หรือข้อสมมติ) เป็นจริง หรือยอมรับว่าเ
แล้วใช้กฏเกณฑ์ต่างๆ สรุปผลจากเหตุที่กำา
การให้เหตุผลแบบนิรนัยการให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive(Deductive
Reasoning)Reasoning)
้อสรุปซึ่งมีลักษณะทั่วไป(universal)
ข้อมูล
ข้อมูล
ข้อมูล
ข้อมูล
ข้อมูล
ข้อมูล
การให้เหตุผลแบบนิรนัยการให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive(Deductive
Reasoning)Reasoning)
การให้เหตุผลแบบนิรนัยต้องยอมรับความ
จริงพื้นฐานหรือ
ความจริงบางอย่างก่อน แล้วจึงหาข้อสรุปจากสิ่ง
ที่ยอมรับแล้วนั้น
ซึ่งจะเรียกว่า ผล
การสรุปผลจะถูกต้องก็ต่อเมื่อเป็นการสรุป
ผลได้อย่าง
สมเหตุสมผล(valid)
และถ้าการสรุปผลไม่ถูกต้องก็ต่อเมื่อเป็นการ
การให้เหตุผลแบบนิรนัยการให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive(Deductive
Reasoning)Reasoning)
การตรวจสอบว่าข้อสรุปสมเหตุสมผลหรือไม่
นั้นสามารถตรวจสอบได้หลายวิธี แล้วแต่
ลักษณะของข้อความที่กำาหนดให้ วิธีการหนึ่ง
คือการวาดภาพตามสมมติฐานที่เป็นไปได้ แล้ว
พิจารณาว่าแผนภาพแต่ละกรณีแสดงผลสรุป
ตามที่สรุปไว้หรือไม่
ถ้าแผนภาพที่วาดกรณีที่เป็นไปได้ทุกกรณี
แสดงผลตามที่กำาหนด จึงกล่าวได้ว่า การสรุป
ผลนั้น สมเหตุสมผลแต่ถ้ามีแผนภาพที่ไม่แสดง
ผลตามที่สรุปไว้ การสรุปผลนั้นไม่สมเหตุสมผล
การตรวจสอบว่าข้อสรุปสมเหตุสมผลหรือไม่การตรวจสอบว่าข้อสรุปสมเหตุสมผลหรือไม่
วาดภาพ ( –แผนภาพเวนน์ ออยเลอร์(
ในทุกกรณีที่เป็นไปได้
พิจารณาความสมเหตุสมผล
การอ้างเหตุผล
สมเหตุสมผล (Valid(
การอ้างเหตุผล
ไม่สมเหตุสมผล(Invalid(
างเหตุผลโดยใช้ตรรกบทของตรรกศาสตร์ (Syllogistic lo
การใช้แผนภาพเวนน์การใช้แผนภาพเวนน์--ออยเลอร์ ในการตรวจสอบความสมออยเลอร์ ในการตรวจสอบความสม
ามที่ใช้อ้างเหตุผลมีอยู่ 4 แบบหลัก ๆ (ข้อ 1-4( และอีก 2 แ
ติม (ข้อ 5-6( ดังนี้
1.สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B
ตัวอย่างตัวอย่าง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกตัวเป็นสัตว์เล
การใช้แผนภาพเวนน์การใช้แผนภาพเวนน์--ออยเลอร์ ในการตรวจสอบความสมออยเลอร์ ในการตรวจสอบความสม
2. ไม่มีสมาชิกของ A ตัวใดเป็นสมาชิกของ B
ตัวอย่างตัวอย่าง ไม่มีงูตัวใดที่มีขา
3. มีสมาชิกของ A บางตัวเป็นสมาชิกของ B
ตัวอย่างตัวอย่าง รถโดยสารบางคันเป็นรถปรับอากาศ
4. สมาชิกของ A บางตัวไม่เป็นสมาชิกของ B
ตัวอย่างตัวอย่าง รถโดยสารบางคันไม่ได้เป็นรถปรับอา
5. มีสมาชิกของ A หนึ่งตัว ที่เป็นสมาชิกของ B
ตัวอย่างตัวอย่าง สุนัขของฉันเป็นสุนัขพันธ์ไทยแท
6. มีสมาชิกของ A หนึ่งตัว ที่ไม่เป็นสมาชิกของ B
ตัวอย่างตัวอย่าง สุนัขของพิมไม่ใช่สุนัขพันธุ์ไทยแท
ย่างที่ 1 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าสมเหตุสมผลหรือไ
เหตุ 1.คนไทยทุกคนเป็นคนดี
2.เจ้าจุก เป็นคนไทย
ผล เจ้าจุก เป็นคนดี
เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ได้ดังนี้
งนั้น ข้อสรุปที่กล่าวว่าเจ้าจุกเป็นคนดี สมเหตุสมผล
ย่างที่ 2 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าสมเหตุสมผลหรือไม
เหตุ 1. นักกีฬาทุกคนมีสุขภาพดี
2. ตุ๊กตาสุขภาพดี
ผล ตุ๊กตาเป็นนักกีฬา
กำาหนดให้ H แทนเซตของคนที่มีสุขภาพดี
S แทนเซตของนักกีฬา
เขียนแผนภาพแทนนักกีฬาทุกคนที่มีสุขภาพดีได้ดังนี้
ขียนแผนภาพเพื่อแสดงว่า ตุ๊กตามีสุขภาพดีได้ดังนี้
แผนภาพ มีกรณีที่ตุ๊กตาไม่ได้เป็นนักกีฬา แต่มีสุขภาพดี
น ผลที่ได้ไม่สมเหตุสมผล
ย่างที่ 3 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าสมเหตุสมผลหรือไม
เหตุ 1. ผลไม้บางชนิดเปรี้ยว
2. สิ่งที่เปรี้ยวทำาให้ปวดท้อง
ผล ผลไม้บางชนิดทำาให้ปวดท้อง
เขียนแผนภาพเวนน์ - ออยเลอร์ได้ดังนี้
ตดูทั้ง 2 กรณี มีผลไม้ที่เป็นสาเหตุของการปวดท้องจริง
การให้เหตุผลนี้สมเหตุสมผล
ตัวอย่างที่ 4 จงพิจารณาข้อความต่อ
ไปนี้ว่าสมเหตุสมผลหรือไม่
เหตุ 1. นกทุกตัวเป็นสัตว์มี
ปีก
2. เป็ดทุกตัวเป็นสัตว์
มีปีก
ผล นกทุกตัวเป็นเป็ดชนิด
หนึ่ง
4 กรณีข้างต้น จะเห็นว่า นกและเป็ดต่างก็เป็นสัตว์ปีก แต่เราสรุปไม่ไ
นว่า นกเป็นเป็ดชนิดหนึ่งดังนั้น ข้อสรุปนี้ไม่สมเหตุสมผล
Easy Mathematics ^.^Easy Mathematics ^.^

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผลKruGift Girlz
 
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์K.s. Mam
 
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)Rank Saharath
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)kulwadee
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์Krupol Phato
 
How to write a dissertation proposal .. part 1
How to write a dissertation proposal .. part 1How to write a dissertation proposal .. part 1
How to write a dissertation proposal .. part 1DrDanai Thienphut
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นchantana17
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็นKrukomnuan
 
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นKrutom Nyschool
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อะลิ้ตเติ้ล นก
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)Aommii Honestly
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Janova Kknd
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical groupED-TA-ro
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAon Narinchoti
 
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงานใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงานPraphaphun Kaewmuan
 

La actualidad más candente (19)

การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
 
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
5กระบวนการวิทยาศาสตร์(สมเกียรติ วิชาการ)
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
How to write a dissertation proposal .. part 1
How to write a dissertation proposal .. part 1How to write a dissertation proposal .. part 1
How to write a dissertation proposal .. part 1
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
 
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
Test
TestTest
Test
 
5 statistic
5 statistic5 statistic
5 statistic
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงานใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
 

Destacado

การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์IamPloy JunSeop
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะsasithorn woralee
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์kingkarn somchit
 

Destacado (7)

ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะ
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 

นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)