SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
บทความวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วันอังคารที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2550


นำำามันแก๊สโซฮอล์

นำำามันแก๊สโซฮอล์หมายถึง นำำามันเชืำอเพลิงที่ได้จากการผสมเอทิลแอลกอฮอล์หรือเอทานอล
และนำำามันเบนซิน นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมาเป็นเวลานานในหลายประเทศ อาทิ
สหรัฐอเมริกา บราซิล สำาหรับประเทศไทย บริษัท ปตท. จำากัด (มหาชน) ได้เริ่มทดลอง
จำาหน่ายแก๊สโซฮอล์ให้แก่ประชานทั่วไปเป็นครัำงแรกเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดยจำาหน่ายผ่านทาง
สถานีบริการนำำามันสวัสดิการของกรมศุลกากร กรมวิชาการเกษตรและที่สำานักงานใหญ่ของ
บริษัท ปตท. จำากัด (มหาชน) แต่เนื่องจากว่า เอทานอลบริสุทธิ์ร้อยละ 99.5 มีต้นทุนในการ
ผลิตสูงกว่าราคานำำามันทั่วไป จึงไม่คุ้มค่าที่จะนำาเอทานอลมาใช้ทดแทนนำำามัน ทำาให้บริษัท
ปตท. จำากัด (มหาชน) ต้องหยุดการจำาหน่ายแก๊สโซฮอล์ในปี พ.ศ. 2530 ต่อมาในปี พ.ศ. 2539
รัฐบาลให้ยกเลิกการเติมสารตะกั่วในนำำามันเบนซินเพื่อแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ ส่งผลให้
โรงกลั่นนำำามันต้องนำาเข้าสารเพิ่มออกเทน (Octane) สารเพิ่มออกเทนที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย
ชนิดหนึ่งคือ MTBE (Methyl Tertiary Butyl Ether) โดยนำามาผสมในนำำามันเบนซินในสัดส่วน
ระหว่างร้อยละ 5.5–11 ปัจจุบันโรงกลั่นนำำามันในประเทศทัำงหมดต้องนำาเข้าสาร MTBE คิดเป็น
มูลค่าสูงถึงปีละ 3,000 ล้านบาท
งานทดลองผลิตภัณฑ์เชืำอเพลิงเริ่มขึำนเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๘ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เสด็จพระราชดำาเนินตรวจเยี่ยมโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา และมีพระราชดำารัสให้ศึกษา
ต้นทุนการผลิตแอลกอฮอล์ (เอทิลแอลกอฮอล์หรือเอทานอล) จากอ้อย เพราะในอนาคตอาจ
เกิดภาวะนำำามันขาดแคลนหรือราคาอ้อยตกตำ่า การนำาอ้อยมาแปรรูปเป็นเอทานอลเพื่อใช้เป็น
พลังงานทดแทน จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะแก้ปัญหานีำได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้
พระราชทานเงินทุนวิจัยใช้ในการดำาเนินงาน ๙๒๕,๕๐๐ บาท เพื่อใช้ในการจัดสร้างอาคารและ
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในขัำนต้น
วันที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตน
ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำาเนินทรงเปิดอาคารโครงการค้นคว้านำำามันเชืำอ
เพลิงและเริ่มผลิตเอทานอลจากอ้อย แต่ต้นทุนการผลิตยังสูงอยู่มาก
ในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ จึงได้มีการปรับปรุงและพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับการสนับสนุนจาก
บริษัท สุราทิพย์ จำากัด มีการปรับปรุงหอกลั่นเอทานอลให้สามารถกลั่นเอทานอลที่มีความ
บริสุทธิ์ ร้อยละ ๙๕ ได้ในอัตรา ๕ ลิตร ต่อชั่วโมง วัสดุที่ใช้หมักคือ กากนำำาตาล ซึ่ง บริษัท สุรา
ทิพย์จำากัด น้อมเกล้าฯ ถวาย
ในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา ร่วมกับบริษัท สุราทิพย์
จำากัด ได้ขยายกำาลังการผลิตเอทานอลเพื่อให้มีปริมาณเพียงพอผสมกับนำำามันเบนซิน ใน
อัตราส่วนเอทานอลต่อเบนซินเท่ากับ ๑ : ๔ เชืำอเพลิงผสมที่ได้เรียกว่า นำำามันแก๊สโซฮอล์
นำำามันแก็สโซฮอล์ที่ผลิตได้นัำน ถูกนำาไปใช้เป็นนำำามันเชืำอเพลิงสำาหรับรถยนต์ทุกคันโครงการฯ
ที่ใช้นำามันเบนซิน โครงการนีำเป็นหนึ่งในโครงการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในมหามงคลวโรกาส
เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ๕๐ ปี ของสำานักพระราชวัง
วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ
พระราชดำาเนินทรงเปิดโรงงานผลิตเอทานอลเป็นเชืำอเพลิงที่บริษัท สุราทิพย์ จำากัด (ปัจจุบันคือ
กลุ่มบริษัท 43) น้อมเกล้าฯ ถวายและดำาเนินการกลั่นตลอดมาจนถึงปัจจุบัน กำาลังการผลิตหอก
ลั่น ๒๕ ลิตรต่อชั่วโมง คิดเป็นต้นทุนการผลิตแบบธุรกิจทั่วไป ๓๒ บาทต่อลิตร ถ้าคิดต้นทุนการ
ผลิตแบบยกเว้นต้นทุนคงที่ราคา ๑๒ บาทต่อลิตร (ทำาการผลิต ๔ ครัำงต่อเดือน) ได้เอทานอล
ประมาณ ๙๐๐ ลิตร ต่อการกลั่น ๑ ครัำง ใช้กากนำำาตาลความหวานร้อยละ ๔๙ โดยนำำาหนัก ครัำง
ละ ๓,๖๔๐ กิโลกรัม นำำากากส่า (นำำาเสียจากหอกลั่น) ส่วนหนึ่งจะใช้รดกองปุ๋ยหมักที่โรงงาน
ผลิตปุ๋ยอินทรียของโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา
                ์
วันที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ การปิโตเลียมแห่งประเทศไทยได้น้อมเกล้าฯ ถวายสถานี
บริการแก๊สโซฮอล์เพื่อให้ความสะดวกกับรถยนต์ที่ใช้แก๊สโซฮอล์ในโครงการส่วนพระองค์ สวน
จิตรลดา และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำาเนินทรงเปิด
สถานีบริการแก๊สโซฮอล์ดังกล่าว
ต่อมาวันที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ โครงการส่วนพระองค์ฯ ร่วมกับการปิโตรเลี่ยมแห่ง
ประเทศไทย และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ดำาเนินการปรับปรุง
คุณภาพของเอทานอล ที่ใช้เติมรถยนต์ โดยโครงการส่วนพระองค์ฯ ส่งเอทานอลที่มีความ
บริสุทธิ์ร้อยละ ๙๕ ไปกลั่นซำำาเป็นเอทานอลที่มีความบริสุทธิร้อยละ ๙๙.๕ ที่สถาบันวิจัย
                                                           ์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยแล้วนำากลับมาผสมกับนำำามันเบนซินธรรมดาใน
อัตราส่วน ๑ : ๙ ได้แก๊สโซฮอล์ที่มีค่าออกเทนเทียบเท่านำำานัมเบนซิน ๙๕ เปิดจำาหน่ายแก่
ประชาชนที่สถานีบริการนำำามัน ปตท. สาขาสำานักงานใหญ่ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ อีกครัำง
หนึ่งเมื่อปี ๒๕๔๔
ในนำำามันปิโตรเลียมซึ่งเป็นสารไฮโดรคาร์บอน เผาไหม้อย่างไรก็ไม่หมด จะมีสารที่เผาไหม้ไม่
หมด (unburnt ) เหลืออยู่จากการเผาไหม้ อาทิ คาร์บอน มอนนอกไซด์ (carbon monoxide )
ในปริมาณที่สูงซึ่งเป็นมลภาวะ แต่ในเอทานอลแม้ว่าจะมีสัดส่วนเพียงแค่ ๑๐ เปอร์เซ็นต์ ใน
แก๊สโซฮอล์ ก็สามารถลดมลภาวะได้มาก เนื่องจากในเอทานอลมีออกซิเจน (oxygen) เป็นส่วน
ประกอบ ออกซิเจนจะช่วยในการเผาไหม้ให้สมบูรณ์ซึ่งเป็นข้อได้เปรียบ เอทานอลจึงเป็นทัำง
สารช่วยในการเผาไหม้และสารเพิ่มค่าออกเทน (octane enhancer ) อีกด้วย
การผลิตนำำามันแก๊สโซฮอล์
ในการนำาเอทานอลมาใช้เป็นส่วนผสมในนำำามันเชืำอเพลิงนัำน จะต้องใช้เอทานอลที่มีส่วนผสม
ของนำำาน้อยที่สุด เนื่องจากจะก่อให้เกิดปัญหาทำาให้เครื่องยนต์น็อก ชิำนส่วนและอุปกรณ์ของ
เครื่องยนต์เกิดสนิม ซึงโดยมาตรฐานสากลแล้วควรเป็นเอทานอลที่มีความบริสุทธิระดับร้อยละ
                        ่                                                      ์
99.5 โดยปริมาตร เมื่อนำามาผสมกับนำำามันเบนซินธรรมดาในอัตราส่วน 1 : 9 จะได้แก๊สโซฮอล์ที่
มีค่าออกเทนเทียบเท่านำำามันเบนซิน 95 โดยมีขัำนตอนการผลิตตามสูตรการผสมของโครงการ
ส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ดังต่อไปนีำ
ก. นำาเอทานอลที่มีความบริสุทธิร้อยละ 99.5 โดยปริมาตร จำานวน 200 ลิตร ใส่ลงในถัง
                                ์
ข. เติมสารป้องกันการกัดกร่อน (Corrosion Inhibitor) ลงไป จำานวน 30 กรัม
ค. เติมนำำามันเบนซิน 91 ลงไปจำานวน 1,800 ลิตร เดินเครื่องสูบหมุนเวียน เพื่อให้นำามันและส่วน
ผสมเข้ากันใช้เวลาประมาณ 30–60 นาที จะได้แก๊สโซฮอล์ จำานวน 2,000 ลิตร

เขียนโดย     Popi_TaRo ที่ 23:32 0   ความคิดเห็น
   วันเสาร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2550


สีสันแห่งท้องทะเล

ส่วนนีำจัดแสดงนิทรรศการสิ่งมีชีวิตตัำงแต่ป่าชายเลน หาดทราย หาดหิน ซึงเป็นแหล่งอาศัยของ
                                                                    ่
สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ด้วยระบบแสงสีเสียง และจัดแสดงพันธุ์ปลานานาชนิด เช่น สัตว์นำาในระบบนิเวศ
ป่าชายเลน สัตว์นำาในระบบนิเวศหาดทราย - หาดหิน สัตว์นำาในแหล่งหญ้าทะเล และสัตว์นำาใน
แนวปะการังฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน

ระบบนิเวศป่าชายเลน
ป่าชายเลนเป็นกลุ่มของสังคมพืชใบกว้างที่มีใบเขียวตลอดปี ขึำนอยู่ในเขตนำำาลงตำ่าสุดและนำำาขึำน
สูงสุด บริเวณชายฝั่งทะเล ปากแม่นำา หรืออ่าว จัดเป็นเขตนำำากร่อย ดินเป็นเลนหรือโคลน ซึ่ง
เป็นบริเวณที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตหลายชนิด เป็นที่วางไข่ แหล่งอาหาร และเจริญเติบโตของ
สัตว์นำานานาชนิด และเป็นแหล่งผลิตอาหารโปรตีนที่สำาคัญ บริเวณปากแม่นำาขนาดใหญ่ช่วง
ใกล้จะออกทะเลจะมีสภาพคล้ายบึงต้นโกงกาง เป็นแหล่งอาหาร ที่หลบภัย ตลอดจนที่ขยาย
พันธุ์ของสัตว์นำานานาชนิด ในธรรมชาติท้องนำำาในบริเวณนีำจะเป็นโคลนตม ยากต่อการทรงตัว
ของต้นไม้ทั่วไป ด้วยเหตุนีำธรรมชาติของต้นโกงกางจึงต้องออกรากแตกกิ่งก้านสาขาออกไป
รอบต้นเพื่อใช้คำายันไม่ให้ลำาต้นหลุดลอยไปกับกระแสนำำา ทัศนียภาพใต้นำาของป่าโกงกางจึงดู
แปลกตาไปอีกแบบ
เป็นระบบนิเวศป่าชายเลน หาดทรายและหาดหินซึ่งเป็นบริเวณที่เชื่อมต่อกัน บริเวณดังกล่าว
เป็นบริเวณที่ได้รับผลกระทบจากนำำาจืด นำำาเสียจากอาคารบ้านเรือนที่ไหลมารวมกันบริเวณปาก
แม่นำาและป่าชายเลน จึงเป็นแหล่งรวบรวมทัำงตะกอนดิน แร่ธาตุ สารพิษและสารอาหารต่าง ๆ ที่
จำาเป็น ทำาให้มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง พรรณไม้ที่ขึำนในพืำนที่นีำ ได้แก่ โกงกางใบเล็ก
โกงกางใบใหญ่ โกงกางหัวสุม แสม ลำาพู ลำาแพน เป็นต้น
สัตว์ที่พบในบริเวณนีำ มีความหลากหลายมาก ทัำงจำานวนชนิดและความหนาแน่นของประชากร
เนื่องจากบริเวณนีำมีแหล่งที่อยู่อาศัยมากมาย เช่น
- พวกที่อาศัยอยู่ตามพืำนผิวดิน ได้แก่ ปลาตีน ปูเสฉวน หอยทะเลบางชนิด- พวกที่อยู่ตามใต้ผิว
ดิน ได้แก่ ไส้เดือนทะเล ปูแสม ปูก้ามดาบ กุ้งดีดขัน- พวกที่อยู่ในนำำา ได้แก่ กุ้งแชบ๊วย กุ้ง
กุลาดำา ปลานวลจันทร์ทะเล ปลากะพงขาว ปลาเก๋า เป็นต้น- พวกที่อาศัยอยู่ตามต้นไม้ ใบไม้
รากโกงกาง ได้แก่ หอยนางรม ทากทะเล หอยขีำนก ปูแสม เพรียงหิน แมลง นกชนิดต่าง ๆ
ตลอดจนสัตว์เลีำยงลูกด้วยนม ได้แก่ ลิงแสม ค่าง เป็นต้น
ตัวอย่าง สัตว์นำาในระบบนิเวศป่าชายเลน
สัตว์นำาในระบบนิเวศป่าชายเลน
ปลานวลจันทร์ทะเล MILKFISH : Chanos chanos รูปร่างคล้ายกระสวย ตากลมใสมี
เยื่อไขมันคลุม ครีบหลังเป็นก้านครีบอ่อนทัำงหมด เกล็ดเล็ก ลำาตัวด้านบนเป็นสีเขียวอมนำำาเงิน
และค่อย ๆ จางลงมาด้านท้องเป็นสีเงิน อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลทั่วไป วัยอ่อนอยู่ในบริเวณนำำา
กร่อย เมื่อโตขึำนจึงจะออกไปอาศัยอยู่ในทะเล ขนาดใหญ่สุด 150 เซนติเมตร นำำาหนักกว่า 10
กิโลกรัม กินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร
ปลาตะกรับเสือดาว, กระทะ, แปบลาย, เสือดาว, ตะกรับ SPOTTED SCAT,
GREEN SCAT : Scatophagus argus ลำาตัวกว้างและแบนข้างมาก ตัวสีเขียวปน
เหลืองเป็นมันแวววาว ใต้ท้องสีเงินยวงมีจุดกลมสีดำาประกระจายอยู่ทั่วไป อยูรวมเป็นฝูงใหญ่
                                                                             ่
พบตามชายฝั่งของทวีปเอเชีย แอฟริกาฝั่งมหาสมุทรอินเดีย และทางตอนเหนือของทวีป
ออสเตรเลียจนถึงชายฝั่งตะวันตกของหมู่เกาะแปซิฟิค ขนาดใหญ่สุด 35 เซนติเมตร กินสัตว์
หน้าดินและพืช เป็นปลาสวยงาม
ปลาเฉี่ยว ผีเสืำอเงิน หรือสะโหร่งแขก MALAYAN ANGEL, SILVER
BATFISH : Monodactylus argenteus ลำาตัวป้อมสัำนเป็นรูปสี่เหลี่ยม ครีบหลังและครีบ
ก้นยื่นยาว ตัวสีเงินเหลือบเป็นประกาย ครีบหลังสีเหลืองมีลายคาดตามขวางผ่านตา และบริเวณ
ขอบแผ่นปิดเหงือก พบบริเวณปากแม่นำา ป่าชายเลน และแนวปะการัง มีขนาด 8 - 12
เซนติเมตร กินพวกสัตว์นำาขนาดเล็ก เป็นปลาสวยงาม
ปลากะบอก GREEN BACKED : Liza tade ลำาตัวกลมเรียว แนวสันหลังเกือบเป็นเส้น
ตรง ตาโต เกล็ดใหญ่ ครีบหลังแยกเป็นสองตอน ลำาตัวด้านหลังสีเทาอมดำา ด้านท้องสีขาว
บริเวณปลายหางมีสีดำาเรื่อ มักอยูรวมกันเป็นฝูง อาศัยอยู่ตามริมชายฝั่งที่เป็นพืำนโคลนและ
                                  ่
บริเวณปากแม่นำา ป่าชายเลน มีขนาด 20 เซนติเมตร กินแพลงก์ตอนและตะไคร่นำา เป็นอาหาร

ระบบนิเวศหาดทราย - หาดหิน
หาดหิน เป็นบริเวณที่ทะเลและแผ่นดินบรรจบกัน คลื่นที่เกิดจากพายุสามารถกัดเซาะชายฝั่งที่มี
ความลาดเอียงจนกระทั่งส่วนบนของมันพังลงมา และถูกคลื่นชะลงมาจากหน้าผาริมทะเลกลาย
เป็นหาดหิน หาดหินถูกคลื่นที่เกิดจากพายุปะทะ และเมื่อนำำาขึำนจะจมอยู่ใต้นำา บริเวณหาดหินยัง
มีแอ่งนำำาเล็ก ๆ เป็นที่อยู่อาศัย แหล่งอาหาร และที่หลบภัยให้กับสัตว์นานาชนิด เช่น กุ้ง ปู ดาว
ทะเล และปลาขนาดเล็ก หาดทราย มีลักษณะเป็นชายทะเลที่มีชัำนบาง ๆ ของก้อนกรวดและหิน
ซึ่งแตกมาจากชายฝั่งที่เป็นหินและถูกคลื่นซัด ขีดสีจนเรียบ คลื่นที่เคลื่อนตัวเข้าสู่ฝั่ง จะพัดพา
เม็ดกรวดและทรายไปตามชายฝั่ง มีการคัดขนาดและตกลงมาในบริเวณที่คลื่นและทะเลเงียบ
สงบ กรวดและทรายเหล่านีำจะสะสมจนเกิดเป็นหาด และมีรปร่างแตกต่างกันไป ตามสภาพ
                                                         ู
ภูมประเทศ
    ิ
หาดหินและหาดทรายเป็นบริเวณที่ไม่เหมาะกับการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตในทะเลทั่วไปนัก
เพราะโดยทั่วไปจะมีสภาพแวดล้อมรุนแรง ซึ่งทำาให้สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ต้องปรับตัวให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อม การที่มคลื่นซัดอยู่ตลอดเวลาและความร้อนจากแสงแดด ก็เป็นตัวการจำากัดที่
                        ี
สำาคัญของพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ จึงเป็นบริเวณที่มีสิ่งมีชีวิตน้อยชนิดที่สามารถอาศัยอยู่ได้
ตัวอย่าง สัตว์นำาในระบบนิเวศหาดทราย - หาดหิน
สัตว์นำาในระบบนิเวศหาดทราย - หาดหิน
ปูหนุมาน ( ปูลาย) BEACH CRAB : Matuta planipes กระดองเป็นรูปโค้งกลมและมี
หนามยื่นออกไปทางด้านข้าง ขาเดินคู่แรกและคู่สุดท้ายเป็นกรรเชียง พืำนผิวกระดองทางด้านบน
มีสีเหลืองอ่อน และมีจุดสีแดงเล็ก ๆ เรียงตัวกันเป็นวงและลายเส้นกระจายอยู่ทั่วไป ด้านล่าง
ของลำาตัวค่อนข้างแบนและมีพืำนสีขาว ก้ามหนีบแข็งแรง อยูตามชายหาดทรายใต้ระดับนำำาลงตำ่า
                                                              ่
สุด มีขนาด 5 เซนติเมตร กินสัตว์หน้าดินและซากสัตว์
เหรียญทะเล หรือ อีแปะทะเล SAND DOLLAR : Arachoides placenta ลำาตัว
มีเปลือกแบนคล้ายเหรียญ เปลือกแข็ง ด้านบนซึ่งอยู่ตรงข้ามปากนูนเล็กน้อย บริเวณที่มีเท้าท่อ
เป็นรูปกลีบดอกไม้ที่ไม่บรรจบกันเหมือนเม่นหัวใจ ด้านล่างซึ่งเป็นปากมีร่องของบริเวณเท้าท่อ
ชัดเจน ปากเล็กและยุบลง ทวารหนักอยู่ทางด้านตรงข้ามกับปาก และมีร่องทอดออกไปทาง
ขอบเปลือก ตัวสีนำาตาลเข้ม อาศัยตามพืำนทะเลที่เป็นดินทรายหรือทรายปนโคลน พบทัำงในอ่าว
ไทยและทะเลอันดามัน มีขนาด 4 เซนติเมตร กินอินทรียสารในทราย ใช้ทำาเครื่องประดับ
แมงดาทะเล HORSE SHOE CRAB / KING CRAB ส่วนหัวและอกเชื่อมรวมกันเป็น
รูปเกือกม้า ส่วนท้องกว้างไม่แบ่งเป็นปล้อง และมีระยางค์ 6 คู่ เป็นแผ่นแบน โดยมีส่วนเชื่อมต่อ
กันตรงกลาง คูแรกเป็นแผ่นปิดเหงือก ส่วนอีก 5 คู่หลังเป็นเหงือก ด้านบนกระดองมีตารวมและ
                ่
ตาเดียวอย่างละคู่ ในน่านนำำาไทยมี 2 ชนิดคือ แมงดาถ้วยและแมงดาจาน แมงดาถ้วยอาศัยอยู่
      ่
ตามพืำนทะเลที่เป็นทรายปนโคลน ส่วนแมงดาจานอยู่ตามพืำนทราย มีขนาด 20 - 30 เซนติเมตร
กินหนอนทะเล สัตว์หน้าดิน เป็นอาหาร
ปลากระบอกหูดำา, กระบอกท่อนใต้ SQUARETAIL MULLET : Ellodclon va
igiensis รูปร่างกลมเรียวยาว หัวกว้างใหญ่และแบน ตาเล็กไม่มีเยื่อไขมันปิด เกล็ดใหญ่ ลำาตัว
ด้านบนมีสีนำาตาลปนเทา ครีบทุกครีบมีสีนำาตาลอมดำา หรือสีนำาตาลไหม้ ชอบอยูรวมกันเป็นฝูง
                                                                                ่
บริเวณชายฝั่งทะเลและปากแม่นำา มีขนาด 19 - 40 เซนติเมตร กินอินทรียสาร และสัตว์ขนาด
เล็ก เป็นปลาเศรษฐกิจ
ปลาทะเลเศรษฐกิจของไทย
ปลากะพงข้างปาน, ปลากระพงปานข้างลาย RUSSELL’S SNAPPER :
Lutjanus russelli ลำาตัวแบนข้าง ครีบหางเกือบตัดตรง ตัวสีเหลืองอมนำำาตาล และมีจุดสีดำา
อยู่บริเวณสีข้างเหนือเส้นข้างลำาตัว 1 จุดชัดเจนในปลาขนาดเล็ก แต่จุดนีำจะค่อย ๆ จางลงใน
ปลาที่โตเต็มวัย อาศัยอยู่ใกล้พืำนทะเลริมชายฝั่งและบริเวณปากแม่นำา พบทัำงในอ่าวไทยและ
ทะเลอันดามัน มีขนาด 30 เซนติเมตร กินลูกปลา ลูกกุ้ง และสัตว์นำาขนาดเล็ก ใช้เป็นอาหาร
ปลาสร้อยนกเขาทะเล, ข้างตะเภา, ขีำนก PAINTED SWEETLIP :
Diagramma pictum ลำาตัวแบนข้าง ปากเล็กริมปากหนา ใต้คางมีรูพรุน 6 รู เกล็ดเล็ก ปลา
ขนาดเล็กลำาตัวมีสีขาว ส่วนหัวด้านบนสีเหลือง และมีแถบสีนำาตาลเข้ม 5 แถบพาดไปตามความ
ยาวลำาตัว เมื่อมีโตขึำนแถบสีจะจางหายไป และมีจดสีนำาตาลปนดำาปรากฏขึำนมาแทน อาศัยอยู่
                                                 ุ
ตามหน้าดินหรือแนวปะการัง พบทั่วไปบริเวณชายฝั่งทะเลทัำงอ่าวไทยและทะเลอันดามัน พบ
ทั่วไป 35 เซนติเมตร ขนาดใหญ่สุด 60 เซนติเมตร กินปลาและสัตว์หน้าดิน ใช้เป็นอาหาร
ปลาริวกิว GIANT CATFISH : Netuma thalasinus รูปร่างคล้ายกับพวกปลาสวาย
แต่มีครีบก้นเล็กกว่า ลำาตัวเพรียวและค่อนข้างกลม ผิวด้านบนหัวเป็นกระดูกแข็ง มีหนวด 3 คู่
ครีบหางเว้าลึก ตัวสีนำาตาลปนเทา ท้องสีจาง ครีบสีคลำำา ครีบไขมันสีดำา อาศัยอยู่ตามหน้าดิน
บางครัำงพบในบริเวณปากแม่นำา พบในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน มีขนาด 30 - 40 เซนติเมตร
กินปลาและสัตว์หน้าดิน ใช้เป็นอาหาร
ปลาดุกทะเล STRIPED CATFISH : Plotosus lineatus รูปร่างเรียวยาวแบนข้าง มี
หนวด 4 คู่ ครีบหลังและครีบอกมีก้านครีบแข็ง ครีบหลังตอนท้าย ครีบก้นและครีบหางติดต่อกัน
มีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจ คือ dendritic organ อยู่ที่รูก้น ด้านหลังลำาตัวมีสีดำาปนนำำาตาล
ด้านท้องสีขาว อาศัยอยู่ทัำงนำำากร่อยและนำำาจืด แพร่กระจายทั่วน่านนำำาไทย มีขนาดใหญ่สุดถึง
1.2 เมตร กินทัำงพืชและสัตว์ ใช้เป็นอาหาร
ปลาทะเลที่มีพิษ
ปลาสิงโตปีกเข็ม WHITE- LINED LIONFISH : Pterois radiata ลำาตัวแบนข้าง
หัวใหญ่ ปากกว้าง บนหัวมีหนวดยาว 1 คู่ ครีบหลังมีก้านครีบแข็งยาวมาก ครีบอกแผ่กว้างมากมี
ก้านครีบแข็งยื่นยาวออกไป และมีเยื่อยึดระหว่างก้านครีบ ครีบหางโค้งกลม ตัวสีนำาตาลอ่อน
และมีลวดลายสีนำาตาลแดง โดยมีเส้นหนึ่งพาดผ่านตาพอดี มีจุดสีดำาแต้มบนเยื่อยึดระหว่างก้าน
ของครีบอก อาศัยอยู่ตามซอกหินและแนวปะการังทางฝั่งทะเลอันดามัน มีขนาด 25 เซนติเมตร
กินกุ้งและปลา เป็นปลาสวยงามที่ก้านครีบแข็งมีพิษ หากถูกตำาจะได้รับความเจ็บปวดมาก
ปลาปักเป้าหนามทุเรียน PORCUPINE FISH : Diodon nithemerus หัวใหญ่ลำา
ตัวเรียวเล็กลงไปทางหาง มีฟันเชื่อมต่อกัน ครีบอกใหญ่คล้ายพัด ผิวลำาตัวเป็นหนังย่นและมี
หนามแข็งพับลู่ไปทางหาง จะตัำงขึำนเมื่อตกใจหรือถูกรบกวนและพองตัวได้ ตัวสีเทา มีลายด่างสี
ดำาเป็นปื้นใต้ตา ใต้คาง บนหัวข้างแก้มและบนหลัง อาศัยอยู่ใกล้พืำนทะเลริมชายฝั่งทั่วไปในอ่าว
ไทย มีขนาด 30 เซนติเมตร กินกุ้ง หอย ปู สัตว์นำาเล็ก ๆ นิยมสตัฟฟ์เป็นเครื่องประดับ ทำาโคม
ไฟ เนืำอและเครื่องในมีสาร Tetraodotoxin ทีบริโภคแล้วเกิดพิษถึงชีวิต
                                              ่
ปลากะรังหัวโขน STONE FISH : Synanceja horrida ส่วนหัวใหญ่และเรียวเล็กลง
ไปทางหาง ปากกว้าง ตาเล็ก ครีบหลังมีก้านแข็งแหลมคมและสัำน ครีบอกเป็นแผ่นหนา ตัวสี
นำำาตาลแดง และมีรอยด่างแต้มเป็นจุดบริเวณหัว อาศัยในแนวปะการังในภาคใต้และตะวันออก มี
ขนาด 25 เซนติเมตร กินปลา กุ้ง และปูนำามาเป็นอาหารได้ แต่มีก้านครีบแข็งที่มีพิษร้ายแรง นับ
เป็นปลาที่มีพิษรุนแรงที่สุดในโลกชนิดหนึ่ง การรักษาคือ แช่บริเวณที่ถูกตำาลงในนำำาร้อนที่
อุณหภูมิสูงเท่าที่จะทนได้(ไม่เกิน 50 ?C) ประมาณ 1 – 2 ชั่วโมง และควรไปพบแพทย์ทันที
ปลาสลิดทะเลจุดขาว WHITE – SPOTTED SPINEFOOT : Siganus canali
culatus ลำาตัวแบนข้างเป็นรูปไข่ หัวเล็ก ตาโต ครีบหลังและครีบก้นมีก้านครีบแข็ง ตัวสีเหลือง
อมนำำาตาล ด้านท้องสีจาง และมีจุดสีขาวแต้มประทั่วตัว อาศัยตามพืำนทะเลทั่วไป ที่เป็นพืำน
ทราย พบทั่วไปในน่านนำำาไทย มีขนาด 20 เซนติเมตร กินสาหร่ายและหญ้าทะเล เนืำอใช้เป็น
อาหารได้ แต่มีก้านครีบแข็งที่มีพิษแรงปานกลาง
สัตว์ทะเลทีเป็นอันตราย
            ่
ปลาไหลมอเรย์ลายหินอ่อน LACED MORAY : Gymnothorak favagineus ลำา
ตัวเรียวยาวคล้ายงู ไม่มีเกล็ด ไม่มีครีบอก ครีบหลังเชื่อมต่อกับครีบก้นและครีบหาง มีฟัน
แหลมคม มีลวดลายสีนำาตาลจาง ๆ บริเวณลำาตัว ชอบซ่อนตัวอยู่ตามซอกหินในแนวปะการัง มี
ขนาด 1 – 1.5 เมตร กินปลา กุ้ง และหมึกสาย เป็นปลาสวยงามที่เป็นอันตรายอาจกัดคนที่จับ
ตัวมัน หรือเอามือล้วงไปในโพรงที่ปลานีำอาศัยอยู่
ปลาไหลมอเร่ย์ยักษ์ GIANT MOREY : Gymnothorax javanicus ลำาตัวเรียว พืำน
สีเหลืองอมนำำาตาลแต้มด้วยจุดและลายสีนำาตาลไหม้อยู่ทั่วไป ด้านข้างลำาตัวบริเวณคอมีจุดสีดำา
เด่นชัด 1 แห่ง ชอบซ่อนตัวอยู่ตามซอกหินในแนวปะการัง ตามปกติไม่ดุร้าย มีขนาด 1.5 เมตร
กินปลา กุ้ง และหมึกสาย เป็นปลาสวยงามที่เป็นอันตรายอาจกัดคนที่จับตัวมัน หรือเอามือล้วง
ไปในโพรงที่ปลานีำอาศัยอยู่
เม่นทะเลหนามยาว DIADEMA URCHIN : Diadema setosum หนามมีสีดำามีลาย
สีขาวยาวประมาณ 30 เซนติเมตร ทวารเปิดล้อมรอบด้วยวงแหวนสีแดงหรือสีส้ม อาศัยตามพืำน
ทรายในแนวปะการัง มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 9 เซนติเมตร กินอินทรียสาร ไข่เม่นปรุงเป็นอาหารได้
มีหนามแหลมคมและมีพิษ
ดาวมงกุฎหนาม CROWN – OF – THORNS SEA STAR : Acanthaster
planci จำานวนแขนมีแตกต่างกันตัำงแต่ 15 - 23 แขน ลำาตัวมีหนามยาวคล้ายหนามเม่นยื่นออก
มาจำานวนมาก สีของลำาตัวและหนามมีความผันแปรแตกต่างกัน บางตัวมีหนามสีเทาหรือสีส้ม
บางตัวมีหนามสีม่วง เท้าท่อยื่นยาวได้มาก ตรงปลายมีปุ่มดูดที่แข็งแรง เป็นสัตว์ที่ทำาลายแนว
ปะการังเพราะชอบกินโพลิปปะการังเป็นอาหาร พบอยู่ตามแนวปะการังทั่วไปในน่านนำำาไทย มี
เส้นผ่าศูนย์กลาง 50 เซนติเมตร มีหนามแหลมคมและมีพิษทำาให้เกิดแผลเรืำอรัง
ปลาที่อาศัยอยูบริเวณกองหิน
               ่
ปลากะรังส้ม BLACKTIP GROUPER : Epinephelus fasciatus มีสีสมแดงออก               ้
ซีด บางทีพบสีเหลืองส้มหรือทอง มีจุดสีแดงหรือเหลืองที่ส่วนหัว ขอบด้านหลังของครีบหางมี
สีนำาเงินซีดและเส้นสีดำาจาง ๆ ส่วนหลังและครีบก้นมีขอบสีนำาเงินซีดอยู่ด้วย อาศัยอยู่ตามกลุ่ม
ปะการังและโขดหินระดับความลึก 20 – 250 เมตร พบในแถบอินโดแปซิฟิก มีขนาดใหญ่สุด 60
เซนติเมตร กินปลาเล็ก ๆ และสัตว์หน้าดิน เป็นสัตว์เศรษฐกิจ
ปลากะรังหางซ้อน, กะรังจุดฟ้า DUSKYTAIL GROUPER: Plectropomus
maculatus ลำาตัวค่อนข้างกลม ตัวสีนำาตาล มีจุดสีฟ้ากระจายอยู่ทั่วตัว ครีบหลังตอนแรกเป็น
ก้านครีบแข็ง ตอนหลังเป็นก้านครีบอ่อน ครีบหางตัดเว้าเล็กน้อย ครีบทุกครีบมีสีคลำำาบริเวณ
ปลายครีบ ยกเว้นครีบอกมีสีจาง มีฟันแหลมคม อาศัยอยู่ทั่วไปในแนวปะการังทางฝั่งทะเล
อันดามัน มีขนาด 80 – 100 เซนติเมตร กินปลา ใช้เป็นอาหาร
ปลาฉลามกบ หรือปลาฉลามหิน BROWNBANDED BAMBOO SHARK :
Chiloscyllium punctatum ลำาตัวเรียวยาว ตาเล็ก หัวมน ริมฝีปากล่างหนา ใต้คางมีหนวด
ครีบอกกว้าง ครีบหางเรียว ตัวสีนำาตาล ท้องขาว แต่ในระยะอายุน้อยมีลายคาดสีดำาคล้ายตุ๊กแก
อาศัยอยู่ตามพืำนทะเลทั่วไป มีขนาด 1 เซนติเมตร กินกุ้ง ปู และหอย เป็นอาหาร
ปลากระเบนทองจุดฟ้า BLUE SPOTTED FANTAIL RAY : Taeniura lymma
แผ่นลำาตัวค่อนข้างกลม ปากเว้าโค้ง ที่ใต้ขอบตามีช่องอากาศกว้างใหญ่และโตกว่าตา หางทู่
และยาวกว่าแผ่นลำาตัว ด้านบนของหางมีหนามแหลมยาว 1 อัน ตรงใต้หนามมีแผ่นหนังคล้าย
ใบกล้วย ยาวตลอดไปถึงปลายสุดทาง ตัวสีเหลืองอ่อน มีจุดสีนำาเงินประบนแผ่นลำาตัว หางมี
แถบสีนำาเงินพาดตลอดข้างละแถบ ปลายสุดของหางมีสีขาว อาศัยตามแนวปะการังทั่วน่าน
นำำาไทย ขนาดกว้าง 15 – 25 เซนติเมตร กินสัตว์หน้าดิน เป็นปลาสวยงามและเป็นอาหาร

ระบบนิเวศแหล่งหญ้าทะเล
แหล่งหญ้าทะเลทำาหน้าที่เสมือนระบบนิเวศที่เชื่อมโยงระหว่างระบบนิเวศป่าชายเลนและแนว
ปะการัง และแหล่งหญ้าทะเลยังเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์นานาชนิด ที่มีความสำาคัญทาง
เศรษฐกิจ เช่น ลูกปลาเก๋า ปลิงทะเล ปูม้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นแหล่งอาหารที่สำาคัญของ
พะยูนที่เป็นสัตว์ที่ใกล้สูญพันธุ์ของโลกด้วย นอกจากนีำหญ้าทะเลยังช่วยลดมลพิษในทะเล และ
ปรับปรุงคุณภาพนำำาให้ดีขึำน และช่วยป้องกันการพังทลายของชายฝั่งได้เป็นอย่างดี
หญ้าทะเล เป็นพืชชัำนสูงที่มีดอกขึำนอยู่ในทะเล เป็นตัวทำาให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ของสิ่งมีชีวิต
ในทะเล ผลผลิตจากการสังเคราะห์แสงจะเป็นทัำงอาหารและให้ออกซิเจนแก่สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ใน
ทะเล เป็นบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์มาก เป็นที่รวมของสิ่งมีชีวิตหลายชนิด ทัำงขนาดเล็กและ
ขนาดใหญ่ ตัำงแต่วยอ่อนจนถึงโตเต็มวัย ครบวงจรของห่วงโซ่อาหาร หญ้าทะเลที่พบบริเวณ
                     ั
ชายฝั่งในจังหวัดประจวบฯ คือ Halodule pinifolia มีชื่อภาษาไทยว่า "หญ้าผมนาง" และชื่อ
สามัญว่า fiber-strand grass ลักษณะต้นตัำงตรงเกิดจากเหง้า ผอมบาง มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่
เกิน 1 มิลลิเมตร ช่วงระหว่างเหง้ายาว 1.2 - 3.6 เซนติเมตร รากไม่แตกแขนงเกิดจากข้อ มี 2 -
4 เส้น ต่อข้อ แต่ละต้น มีใบ 2 - 3 ใบ ใบเรียวเล็กผอมยาว ส่วนล่างเป็นกาบใบมีความยาว 1.2 -
2.8 เซนติเมตร แผ่นใบยาว 5.6 - 23.0 เซนติเมตร กว้างประมาณ 0.6 มิลลิเมตร ปลายใบมน
แบบ obtuse มีรอยหยักเป็นฟันเลื่อย (serration) ขอบใบเรียบ เห็นเส้นกลางใบได้อย่างชัดเจน
บริเวณปลาย ใบไม่พบดอกและผลในช่วงที่ทำาการสำารวจ พบแพร่กระจายบริเวณหาดทุ่งนางดำา
และเกาะลูกกำาตก ทีระดับความลึก 1-3 เมตร ที่หาดทุ่งนางดำา หญ้าทะเลชนิดนีำจะขึำนปะปนกับ
                       ่
หญ้าทะเลชนิด Halophila ovalis
แหล่งที่มา : ข้อมูลและภาพหญ้าทะเลโดย ชัชรี สุพันธุ์วณิช(http://www.ku.ac.th/e-
magazine/november44/agri/seagrasses.html)
พะยูน เป็นสัตว์เลียงลูกด้วยนมที่มีความใกล้ชิดกับช้าง มีขนาดยาวประมาณ 2 - 3 เมตร นำำาหนัก
                   ำ
ประมาณ 300 กิโลกรัม ใบหน้าคล้ายหมู แต่ไม่มีหู ขาคู่หน้าสัำนเปลี่ยนแปลงไปเป็นแผ่นแบน ๆ
คล้ายใบพายไม่มีนิำว ลำาตัวอ้วนกลม อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเล ชอบอยูรวมกันเป็นฝูงใหญ่ กิน
                                                                      ่
หญ้าทะเลเป็นอาหาร ชนิดที่พบในประเทศไทยมีอยู่ชนิดเดียวคือ Dugong dugon ขนาดโตเต็ม
วัยประมาณ 4 เมตร นำำาหนัก 900 กิโลกรัม มีอายุ 50 - 55 ปี ปัจจุบันที่พบอยู่เป็นฝูงอยู่ที่อุทยาน
แห่งชาติหาดเจ้าไหม และเกาะลิบง จังหวัดตรัง
ตัวอย่าง สัตว์นำาในแหล่งหญ้าทะเล เช่น
สัตว์นำาในแหล่งหญ้าทะเล
ปลาปิ่นแก้ว, ปลาดุกทะเล, เป็ดแก้ว STRIPED SEA CATFISH : Plotosus l
ineatus ลำาตัวเรียวยาวแบนข้าง มีหนวด 4 คู่ ครีบหลังและครีบอกมีก้านครีบแข็ง ไม่มีครีบไข
มัน ครีบหลังอันที่สอง ครีบก้นและครีบหางเชื่อมติดกัน มีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจ คือ
Dendritic Organ อยู่ที่รูก้น ด้านหลังลำาตัวมีสีดำาปนนำำาตาล ด้านท้องสีขาว ปลาขนาดเล็กจะมี
แถบสีขาวปนเหลือง 3 แถบพาดไปตามยาวลำาตัว อาศัยในนำำากร่อยและทะเลถึงแนวปะการัง พบ
ทั่วน่านนำำาไทย มีขนาด 30 - 50 เซนติเมตร กินสัตว์หน้าดิน ใช้เป็นอาหาร
หอยสังข์ตาล, หอยตาล, หอยลำาโพง BLOTCHED MELON SHELL : Melo
melo เป็นหอยฝาเดี่ยวมีเปลือกรูปไข่ เปลือกค่อนข้างบางสีนำาตาลแดงแต้มด้วยรอยปื้นสี
นำำาตาลไหม้ เนืำอหอยมีสีดำาอมม่วง เท้ามีลายสีขาวอมเหลืองเป็นเส้น ไม่มีแผ่นปิด อาศัยตามพืำน
ทะเลทีเป็นดินโคลน หรือทรายปนโคลน ในภาคตะวันออกและภาคใต้ มีขนาด 30 เซนติเมตร
         ่
กินหอยที่ตัวเล็กกว่า เนืำอใช้บริโภคได้และเปลือกใช้ทำาเครื่องประดับ
ดาวหนามแดง LINCK'S SEA STAR : Protoreaster lincki ลำาตัวเป็นรูปห้าแฉก
ด้านบนเป็นสันและมีหนามขนาดใหญ่สีแดงตรงกลางลำาตัว ด้านบนของแต่ละแขนมีหนามสีแดง
7 - 8 อัน เรียงเป็นแถวออกไปยังปลายแขน และมีเส้นสีแดงลากขนานไปทางด้านข้างด้วย
อาศัยอยู่ตามแนวปะการัง บริเวณพืำนทะเลทางฝั่งมหาสมุทรอินเดียและไม่พบในอ่าวไทย มีเส้น
ผ่าศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร กินอินทรียสาร และหอย 2 ฝาขนาดเล็ก นิยมใช้ประดับบ้าน
ปูเสฉวนยักษ์ GIANT HERMIT CRAB : Dardanus megistos ลำาตัวมีสีแดงแต้ม
ด้วยจุดขาวขอบสีช็อกโกแลตกระจายทั่วไป ก้านตาสีแดง โคนหนวดคู่ที่สองสีขาวยาวมากและมี
ขนแข็งกระจายอยู่ทั่วตัว ก้ามสองข้างขนาดไม่เท่ากัน ปล้องสุดท้ายของขาเดินสองคู่แรกเรียว
ยาว เป็นปูเสฉวนขนาดใหญ่สุดที่พบในน่านนำำาไทย อาศัยอยู่ตามพืำนทะเลที่ห่างฝั่ง มักพบอยู่ใน
เปลือกหอยสังข์จุกพราหมณ์ มีขนาด 20 เซนติเมตร กินพวกหนอนทะเล และสัตว์ทะเลขนาด
เล็ก ซากสัตว์ต่าง ๆ นำามาสตัฟฟ์ประดับตกแต่ง
ระบบนิเวศแนวปะการัง
แนวปะการังปกคลุมพืำนที่ประมาณร้อยละ 15 ของชายฝั่งทั่วโลก พบอยู่ในทะเลที่ตืำนและอบอุ่น
ทำาให้สามารถมองเห็นได้จากอากาศ เกิดจากกลุ่มหินรูปถ้วยขนาดเล็กกว่านิำวหัวแม่มือ จำานวน
หลายพันล้านกลุ่ม ถ้วยเล็ก ๆ เหล่านีำ เป็นที่อยูของตัวสร้างปะการัง (polyp) ขนาดจิ๋ว ซึ่งเป็น
                                               ่
สัตว์ที่มีลักษณะคล้ายดอกไม้ทะเลและแมงกะพรุน เมื่อตัวสร้างปะการังตาย จะเหลือส่วนโครง
ร่างแข็งภายนอก ซึงเป็นที่ที่ตัวสร้างปะการังตัวใหม่เริ่มเจริญเติบโต
                     ่
ปะการังมีชีวิตอยู่ได้ในทะเลที่สะอาด ตืำนพอที่แสงอาทิตย์ส่องถึง พบอยู่ทัำงในทะเลอ่าวไทยและ
ทะเลอันดามัน ในเขตจังหวัดประจวบคีรขันธ์ มีแนวปะการังที่เกาะพาง เกาะลูก เกาะรัฐ เกาะ
                                        ี
ช้าง เกาะแหลม เกาะผิว เกาะอีแอ่น เกาะเหลื่อม เกาะหลัก เกาะแรด และเกาะจาน เป็นแนว
ปะการังแบบหย่อมทัำงหมด เป็นแหล่งอาศัยและแหล่งอาหารที่สมบูรณ์ของสิ่งมีชีวิตในทะเล
หลายชนิด
ปะการังเหล่านีำส่วนใหญ่ส่วนที่อยู่ใกล้ชายฝั่งจะมีสภาพเสื่อมโทรม ส่วนที่อยู่ห่างชายฝั่งจะมี
สภาพค่อนข้างดี อย่างไรก็ตามปัจจุบันมีการตื่นตัวในการอนุรักษ์ปะการังกันมาก และมีการ
คุ้มครองแนวปะการังที่ได้ผลดี
ตัวอย่าง สัตว์นำาขนาดใหญ่ในแนวปะการังฝั่งอ่าวไทย และ สัตว์นำาขนาดเล็กในแนวปะการังฝั่ง
อ่าวไทย เช่น
พันธุ์ปลาขนาดใหญ่ในแนวปะการังฝั่งอ่าวไทย เช่น
ปลาสินสมุทรลายบัำง SIX - BANDED ANGELFISH : Pomacanthus sexstr
iatus ริมฝีปากหนา ครีบหลังทัำงสองตอนเชื่อมติดกัน ครีบอกเป็นรูปสามเหลี่ยม ตัวสีไพลอ่อน
ด้านหลังตามีคาดสีขาวจากด้านหลังลงมากลางแก้ม กลางตัวมีคาดสีดำา 6 แถบสีเข้มจางต่างกัน
ปลายครีบหลัง ครีบก้นและครีบหางมีจุดสีฟ้ากระจัดกระจาย อาศัยตามกองหินใต้นำา เกาะแก่ง
แนวปะการังในอ่าวไทยและฝั่งมหาสมุทรอินเดีย ขนาด 30 เซนติเมตร กินกุ้ง หอย และฟองนำำา
เป็นปลาสวยงาม
ปลานกแก้ว RIVULATED PARROT FISH : Scarus fasciatus ลำาตัวแบนข้าง
ปากเล็ก ฟันใหญ่ ครีบหางปลายตัด ตัวสีเขียวอมฟ้า ส่วนหัวมีสีชมพูมีลายสีเขียวสลับ ครีบอก
และครีบท้องสีฟ้าและเหลือง อาศัยในกองหินใต้นำาและแนวปะการัง พบทั่วไป ทัำงในอ่าวไทย
และฝั่งมหาสมุทรอินเดีย ขนาด 30 เซนติเมตร กินปะการังและสัตว์หน้าดิน เป็นปลาสวยงาม
และเป็นอาหาร
ปลานกขุนทองสองตอน, ปลานกขุนทองสองสี BLACKFIN WRASSE :
Hemigymnus melapterus รูปร่างยาวแบนข้าง ริมฝีปากหนาฟันด้านหน้าเป็นฟันเขีำยวอยู่
ข้างละ 2 ซี่ สีลำาตัวแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนหน้าสีจางกว่าส่วนท้ายซึ่งมีสีนำาตาลอมดำา มีรอยแต้ม
สีนำาเงินอมดำาอยู่ด้านหลังตา 1 รอย ขอบตาเป็นวงสีขาว อาศัยตามหินกองและแนวปะการัง
ทั่วไป ขนาด 23 เซนติเมตร กินสัตว์หน้าดิน กุ้ง ปู และหอย เป็นปลาสวยงาม
ปลาเขียวพระอินทร์ MOON WRASSE : Thalassoma lunare ลำาตัวแบนเรียวยาว
ครีบหางเว้าเป็นรูปโค้งวงพระจันทร์ ตัวสีเขียว ด้านหน้ามีลายสีชมพู ครีบอกสีชมพูขอบฟ้า ขอบ
ครีบหลัง ครีบท้อง และครีบหางมีสีชมพูอมนำำาเงิน ปลายหางมีสีเหลืองรูปพระจันทร์เสียว อาศัย
                                                                                      ำ
อยู่ตามแนวปะการังริมชายฝั่งทั่วไปในอ่าวไทยและฝั่งมหาสมุทรอินเดีย ขนาด 20 เซนติเมตร
กินสัตว์หน้าดิน เป็นปลาสวยงาม
พันธุ์ปลาขนาดเล็กในแนวปะการังฝั่งอ่าวไทย เช่น
ปลาม้าลาย HUMBUG DASCYLLUS : Dascyllus aruanus ลำาตัวแบนข้างค่อน
ข้างกลม ครีบหางเว้าตืำนมีปลายเรียว ตัวมีลายดำาเข้มบนพืำนขาว ครีบหลัง ครีบก้น และครีบท้อง
ดำา ครีบหางขาว อาศัยในแนวปะการัง พบมากในทะเลอันดามัน พบทั่วไป 5 - 6 เซนติเมตร
ขนาดใหญ่สุด 10 เซนติเมตร กินแพลงก์ตอน และสัตว์หน้าดิน เป็นปลาสวยงาม
ปลาสลิดหินฟ้า YELLOW - TAILED DAMSELFISH : Chrysiptera parase
ma ลำาตัวสีนำาเงิน ครีบหางสีเหลือง สีทัำงสองจะตัดกันน้อยลงเมื่อมีอายุเพิ่มขึำน แต่เมื่อถูกจับ
อาจเปลียนสีเป็นสีนำาเงินอมม่วง อยู่รวมกันเป็นฝูง พบได้ตามน่านนำำาไทย ขนาด 4 เซนติเมตร
         ่
กินแพลงก์ตอนและสัตว์หน้าดินขนาดเล็ก เป็นปลาสวยงาม
ปลาสลิดหินเขียว GREEN PULLER : Chromis viridis เกล็ดใหญ่ ปากเล็ก ครีบ
หางเว้าลึก ตัวผู้ครีบหางจะยื่นยาวเป็นเส้นยาว และสีบนลำาตัวเข้ม อาศัยอยู่ตามหินกองใต้นำา
และบริเวณหน้าดิน ขนาด 10 - 15 เซนติเมตร กินสาหร่าย สัตว์หน้าดิน เป็นปลาสวยงาม
ปลาโดมิโน หรือ ปลาสลิดหินสามจุด THREE - SPOTTED DAMSELFISH,
DOMINO : Dascyllus trimaculatus ลำาตัวป้อมสัำนรูปไข่ ครีบหางเว้าตืำน ตัวสีดำามีจุดสี
ขาวอยู่เหนือตา 1 จุด กลางหลังเหนือเส้นข้างลำาตัวข้างละ 1 จุด จุดสีขาวเห็นได้ชัดในปลา
ขนาดเล็ก เมื่อโตเต็มที่จะเลือนหายไป พบอยูตามแนวปะการังทั่วไปในน่านนำำาไทย ขนาด 6
                                              ่
เซนติเมตร กินสัตว์หน้าดิน เป็นปลาสวยงาม

ระบบนิเวศทะเลฝั่งอันดามัน
ลักษณะทางกายภาพของทะเลฝั่งอันดามัน เป็นท้องทะเลสีเขียวมรกตที่มีนำาทะเลใสกระจ่างแล
เห็นพืำนนำำา ซึ่งโอบล้อมไว้ด้วยเกาะและหมู่เกาะจำานวนมาก มากด้วยพันธุ์ปลาขนาดใหญ่สีสัน
สวยงาม ทะเลอันดามันเป็นทะเลสีฟ้าครามสดใสด้วยแสงอาทิตย์ททอประกายบนผิวคลื่น เป็น
                                                              ี่
ทะเลทีเต็มไปด้วยสรรพธรรมชาติอันมหัศจรรย์
        ่
ทะเลอันดามันตอนเหนือ เป็นสถานที่ที่สวยงามเหมาะสำาหรับการดำานำำา ชายหาดสีขาวทอดยาว
อุดมด้วยธรรมชาติอันเงียบสงบ ประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่ ได้แก่ เกาะสิมิลัน เกาะราชา
เกาะลันตา เกาะภูเก็ต เกาะไหง และเกาะลิบง บรรดาเกาะต่าง ๆ ทางตอนใต้สุดของทะเล
อันดามัน มีธรรมชาติที่เงียบสงบผสมผสานกับวัฒนธรรมท้องถิ่นของชาวเกาะคือเสน่ห์แห่ง
ธรรมชาติอันรื่นรมย์ แนวปะการังนำำาตืำนสงบและสมบูรณ์ที่สุดของเมืองไทย เป็นหนึ่งในทะเลแห่ง
สุดท้ายทีธรรมชาติยังคงความงดงาม บริเวณป่าดงดิบเขตร้อนชืำน มีระบบนิเวศหลากหลายที่สุด
           ่
บนผืนดิน และบรรจบกับระบบนิเวศหลากหลายที่สุดของท้องทะเล คือ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะ
สุรินทร์ จังหวัดพังงา
ตัวอย่าง สัตว์นำาขนาดเล็กในแนวปะการังฝั่งอันดามัน และ สัตว์นำาขนาดใหญ่ในแนวปะการังฝั่ง
อันดามัน เช่น
พันธุ์ปลาขนาดเล็กในแนวปะการังฝั่งอันดามัน เช่น
ปลาโนรีเกล็ด, ปลาโนรี , ผีเสืำอครีบยาว PENNANT BUTTERFLY FISH :
Heniochus acuminatus ครีบหลังยื่นยาวเป็นเส้นเดียวออกไป ครีบหางตัดตรง ตัวสีขาว
เหลือง มีแถบสีดำาหรือม่วง 2 แถบ พาดขวางลำาตัวและครีบ ครีบหลัง ครีบอกและครีบหางสี
เหลืองอ่อน อาศัยในเขตชายฝั่งตืำน ๆ หินกอง และแนวปะการัง พบทั่วไป 15 - 25 เซนติเมตร
ขนาดใหญ่สุด 46 เซนติเมตร กินแพลงก์ตอนสัตว์ แมงกะพรุน และดอกไม้ทะเล เป็นปลา
สวยงาม
ปลาสลิดหินสามจุด, โดมิโน THREE - SPOTTED DAMSELFISH, DOMINO
: Dascyllus trimaculatus ลำาตัวป้อมสัำนรูปไข่ ครีบหางเว้าตืำน ตัวสีดำามีจดสีขาวอยู่เหนือ
                                                                            ุ
ตา 1 จุด กลางหลังเหนือเส้นข้างลำาตัวข้างละ 1 จุด จุดสีขาวเห็นได้ชัดในปลาขนาดเล็ก เมื่อโต
เต็มที่จะเลือนหายไป พบอยู่ตามแนวปะการังทั่วไปในน่านนำำาไทย ขนาด 6 เซนติเมตร กินสัตว์
หน้าดิน เป็นปลาสวยงาม
ปลามุกประดิษฐ์ RETICULATE DASCYLLUS : Dascyllus reticulatus รูปร่าง
ค่อนข้างกลม ตัวสีขาวอมเหลือง มีแถบสีดำาพาดผ่านครีบอกเป็นแนวยาวจรดครีบท้อง และผ่าน
ตลอดถึงครีบหลังตอนบน อาศัยในทะเลตามแนวปะการังฝั่งอันดามัน ขนาด 9 เซนติเมตร กิน
สัตว์นำาขนาดเล็ก เป็นปลาสวยงาม
ปลากัดทะเล COMET : Calloplesiops altivelis ลำาตัวแบนข้างสีนำาเงินเข้มเกือบดำา
ครีบหลังและครีบท้องแผ่กว้าง มีจุดสีขาวกระจายอยู่ทั่วตัว และจุดสีดำาขนาดใหญ่อยู่กึ่งกลางลำา
ตัวบริเวณครีบหลัง ชอบหลบซ่อนตัวตามซอกหลืบ และออกหากินตอนกลางคืน โอกาสพบเห็น
จึงมีน้อย อาศัยในแนวปะการังทางฝั่งทะเลอันดามัน ขนาด 8 - 12 เซนติเมตร กินสัตว์นำาที่มี
ขนาดเล็กกว่า เป็นปลาสวยงาม
พันธุ์ปลาขนาดใหญ่ในแนวปะการังฝั่งอันดามัน เช่น
ปลานกแก้วเขียว RIVULATED PARROT FISH : Callyodon fasciatus รูปร่าง
ค่อนข้างป้อม ปากเล็กมีฟันเรียงกันเป็นแผ่น เกล็ดใหญ่ ตัวสีเขียว ฐานของเกล็ดสีแดง จะงอย
ปากและบริเวณแก้มมีสีแดงปนส้มและมีเส้นสีเขียว ครีบหางมีจุดสีเขียวประอยู่ทั่วไป อาศัยใน
หินกองและปะการังทั่วไปทัำงสองฝั่งทะเลไทย ขนาด 40 - 50 เซนติเมตร กินปะการัง สัตว์หน้า
ดิน ใช้เป็นอาหาร
ปลาขีำตังเบ็ดฟ้า POWDERBLUE SURGEONFISH : Acanthurus
leucosternon รูปร่างแบนข้าง ปากเล็ก ตัวสีฟ้า ครีบหลังและโคนหางสีเหลือง มีเงียงที่โคน
                                                                                   ่
หาง เมื่อตายสีจะเปลียนเป็นสีนำาตาลอย่างรวดเร็ว อาศัยในทะเลอันดามัน ไม่พบในอ่าวไทย พบ
                      ่
มากที่สิมิลัน ขนาด 30 เซนติเมตร กินสัตว์และพืช เป็นปลาสวยงาม
ปลาขีำตังเบ็ดเหลือง YELLOW SAILFIN TANG : Zebrosoma flavescens ลำา
ตัวแบนข้าง รูปร่างคล้ายสี่เหลียมขนมเปียกปูน ตัวสีเหลืองตลอด ครีบหางมีเงี่ยง ครีบหลังและ
                               ่
ครีบก้นค่อนข้างใหญ่ อาศัยในแนวปะการังในทะเลอันดามัน ขนาด 20 - 25 เซนติเมตร กินสัตว์
นำำาขนาดเล็กและสาหร่ายทะเล เป็นปลาสวยงาม
ปลาวัวดำา BLACK TRIGGERFISH : Odonus niger ลำาตัวแบนข้างรูปไข่ ครีบหาง
เว้าลึกเป็นรูปจันทร์เสีำยวมีปลายเรียว ตัวสีนำาเงินอมเทา ปากมีลายคาดสีนำาเงินถึงครีบอกและตา
ขอบเกล็ดเป็นตารางเห็นได้ชัด ครีบหลังและครีบก้นมีขอบสีนำาเงิน ขนาดใหญ่สุด 40
เซนติเมตร อาศัยในแนวปะการังของทะเลอันดามัน กินกุ้ง หอย ปู และสัตว์หน้าดินต่าง ๆ ใช้
บริโภคได้แต่เป็นปลาที่พบน้อย

Más contenido relacionado

Destacado

Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 

Destacado (20)

Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 

article science

  • 1. บทความวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วันอังคารที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2550 นำำามันแก๊สโซฮอล์ นำำามันแก๊สโซฮอล์หมายถึง นำำามันเชืำอเพลิงที่ได้จากการผสมเอทิลแอลกอฮอล์หรือเอทานอล และนำำามันเบนซิน นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมาเป็นเวลานานในหลายประเทศ อาทิ สหรัฐอเมริกา บราซิล สำาหรับประเทศไทย บริษัท ปตท. จำากัด (มหาชน) ได้เริ่มทดลอง จำาหน่ายแก๊สโซฮอล์ให้แก่ประชานทั่วไปเป็นครัำงแรกเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดยจำาหน่ายผ่านทาง สถานีบริการนำำามันสวัสดิการของกรมศุลกากร กรมวิชาการเกษตรและที่สำานักงานใหญ่ของ บริษัท ปตท. จำากัด (มหาชน) แต่เนื่องจากว่า เอทานอลบริสุทธิ์ร้อยละ 99.5 มีต้นทุนในการ ผลิตสูงกว่าราคานำำามันทั่วไป จึงไม่คุ้มค่าที่จะนำาเอทานอลมาใช้ทดแทนนำำามัน ทำาให้บริษัท ปตท. จำากัด (มหาชน) ต้องหยุดการจำาหน่ายแก๊สโซฮอล์ในปี พ.ศ. 2530 ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 รัฐบาลให้ยกเลิกการเติมสารตะกั่วในนำำามันเบนซินเพื่อแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ ส่งผลให้ โรงกลั่นนำำามันต้องนำาเข้าสารเพิ่มออกเทน (Octane) สารเพิ่มออกเทนที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ชนิดหนึ่งคือ MTBE (Methyl Tertiary Butyl Ether) โดยนำามาผสมในนำำามันเบนซินในสัดส่วน ระหว่างร้อยละ 5.5–11 ปัจจุบันโรงกลั่นนำำามันในประเทศทัำงหมดต้องนำาเข้าสาร MTBE คิดเป็น มูลค่าสูงถึงปีละ 3,000 ล้านบาท งานทดลองผลิตภัณฑ์เชืำอเพลิงเริ่มขึำนเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๘ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำาเนินตรวจเยี่ยมโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา และมีพระราชดำารัสให้ศึกษา ต้นทุนการผลิตแอลกอฮอล์ (เอทิลแอลกอฮอล์หรือเอทานอล) จากอ้อย เพราะในอนาคตอาจ เกิดภาวะนำำามันขาดแคลนหรือราคาอ้อยตกตำ่า การนำาอ้อยมาแปรรูปเป็นเอทานอลเพื่อใช้เป็น พลังงานทดแทน จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะแก้ปัญหานีำได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ พระราชทานเงินทุนวิจัยใช้ในการดำาเนินงาน ๙๒๕,๕๐๐ บาท เพื่อใช้ในการจัดสร้างอาคารและ อุปกรณ์ต่าง ๆ ในขัำนต้น วันที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำาเนินทรงเปิดอาคารโครงการค้นคว้านำำามันเชืำอ เพลิงและเริ่มผลิตเอทานอลจากอ้อย แต่ต้นทุนการผลิตยังสูงอยู่มาก ในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ จึงได้มีการปรับปรุงและพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับการสนับสนุนจาก บริษัท สุราทิพย์ จำากัด มีการปรับปรุงหอกลั่นเอทานอลให้สามารถกลั่นเอทานอลที่มีความ บริสุทธิ์ ร้อยละ ๙๕ ได้ในอัตรา ๕ ลิตร ต่อชั่วโมง วัสดุที่ใช้หมักคือ กากนำำาตาล ซึ่ง บริษัท สุรา ทิพย์จำากัด น้อมเกล้าฯ ถวาย ในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา ร่วมกับบริษัท สุราทิพย์ จำากัด ได้ขยายกำาลังการผลิตเอทานอลเพื่อให้มีปริมาณเพียงพอผสมกับนำำามันเบนซิน ใน อัตราส่วนเอทานอลต่อเบนซินเท่ากับ ๑ : ๔ เชืำอเพลิงผสมที่ได้เรียกว่า นำำามันแก๊สโซฮอล์ นำำามันแก็สโซฮอล์ที่ผลิตได้นัำน ถูกนำาไปใช้เป็นนำำามันเชืำอเพลิงสำาหรับรถยนต์ทุกคันโครงการฯ ที่ใช้นำามันเบนซิน โครงการนีำเป็นหนึ่งในโครงการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในมหามงคลวโรกาส เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ๕๐ ปี ของสำานักพระราชวัง วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ พระราชดำาเนินทรงเปิดโรงงานผลิตเอทานอลเป็นเชืำอเพลิงที่บริษัท สุราทิพย์ จำากัด (ปัจจุบันคือ กลุ่มบริษัท 43) น้อมเกล้าฯ ถวายและดำาเนินการกลั่นตลอดมาจนถึงปัจจุบัน กำาลังการผลิตหอก ลั่น ๒๕ ลิตรต่อชั่วโมง คิดเป็นต้นทุนการผลิตแบบธุรกิจทั่วไป ๓๒ บาทต่อลิตร ถ้าคิดต้นทุนการ ผลิตแบบยกเว้นต้นทุนคงที่ราคา ๑๒ บาทต่อลิตร (ทำาการผลิต ๔ ครัำงต่อเดือน) ได้เอทานอล ประมาณ ๙๐๐ ลิตร ต่อการกลั่น ๑ ครัำง ใช้กากนำำาตาลความหวานร้อยละ ๔๙ โดยนำำาหนัก ครัำง ละ ๓,๖๔๐ กิโลกรัม นำำากากส่า (นำำาเสียจากหอกลั่น) ส่วนหนึ่งจะใช้รดกองปุ๋ยหมักที่โรงงาน ผลิตปุ๋ยอินทรียของโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา ์
  • 2. วันที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ การปิโตเลียมแห่งประเทศไทยได้น้อมเกล้าฯ ถวายสถานี บริการแก๊สโซฮอล์เพื่อให้ความสะดวกกับรถยนต์ที่ใช้แก๊สโซฮอล์ในโครงการส่วนพระองค์ สวน จิตรลดา และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำาเนินทรงเปิด สถานีบริการแก๊สโซฮอล์ดังกล่าว ต่อมาวันที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ โครงการส่วนพระองค์ฯ ร่วมกับการปิโตรเลี่ยมแห่ง ประเทศไทย และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ดำาเนินการปรับปรุง คุณภาพของเอทานอล ที่ใช้เติมรถยนต์ โดยโครงการส่วนพระองค์ฯ ส่งเอทานอลที่มีความ บริสุทธิ์ร้อยละ ๙๕ ไปกลั่นซำำาเป็นเอทานอลที่มีความบริสุทธิร้อยละ ๙๙.๕ ที่สถาบันวิจัย ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยแล้วนำากลับมาผสมกับนำำามันเบนซินธรรมดาใน อัตราส่วน ๑ : ๙ ได้แก๊สโซฮอล์ที่มีค่าออกเทนเทียบเท่านำำานัมเบนซิน ๙๕ เปิดจำาหน่ายแก่ ประชาชนที่สถานีบริการนำำามัน ปตท. สาขาสำานักงานใหญ่ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพฯ อีกครัำง หนึ่งเมื่อปี ๒๕๔๔ ในนำำามันปิโตรเลียมซึ่งเป็นสารไฮโดรคาร์บอน เผาไหม้อย่างไรก็ไม่หมด จะมีสารที่เผาไหม้ไม่ หมด (unburnt ) เหลืออยู่จากการเผาไหม้ อาทิ คาร์บอน มอนนอกไซด์ (carbon monoxide ) ในปริมาณที่สูงซึ่งเป็นมลภาวะ แต่ในเอทานอลแม้ว่าจะมีสัดส่วนเพียงแค่ ๑๐ เปอร์เซ็นต์ ใน แก๊สโซฮอล์ ก็สามารถลดมลภาวะได้มาก เนื่องจากในเอทานอลมีออกซิเจน (oxygen) เป็นส่วน ประกอบ ออกซิเจนจะช่วยในการเผาไหม้ให้สมบูรณ์ซึ่งเป็นข้อได้เปรียบ เอทานอลจึงเป็นทัำง สารช่วยในการเผาไหม้และสารเพิ่มค่าออกเทน (octane enhancer ) อีกด้วย การผลิตนำำามันแก๊สโซฮอล์ ในการนำาเอทานอลมาใช้เป็นส่วนผสมในนำำามันเชืำอเพลิงนัำน จะต้องใช้เอทานอลที่มีส่วนผสม ของนำำาน้อยที่สุด เนื่องจากจะก่อให้เกิดปัญหาทำาให้เครื่องยนต์น็อก ชิำนส่วนและอุปกรณ์ของ เครื่องยนต์เกิดสนิม ซึงโดยมาตรฐานสากลแล้วควรเป็นเอทานอลที่มีความบริสุทธิระดับร้อยละ ่ ์ 99.5 โดยปริมาตร เมื่อนำามาผสมกับนำำามันเบนซินธรรมดาในอัตราส่วน 1 : 9 จะได้แก๊สโซฮอล์ที่ มีค่าออกเทนเทียบเท่านำำามันเบนซิน 95 โดยมีขัำนตอนการผลิตตามสูตรการผสมของโครงการ ส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ดังต่อไปนีำ ก. นำาเอทานอลที่มีความบริสุทธิร้อยละ 99.5 โดยปริมาตร จำานวน 200 ลิตร ใส่ลงในถัง ์ ข. เติมสารป้องกันการกัดกร่อน (Corrosion Inhibitor) ลงไป จำานวน 30 กรัม ค. เติมนำำามันเบนซิน 91 ลงไปจำานวน 1,800 ลิตร เดินเครื่องสูบหมุนเวียน เพื่อให้นำามันและส่วน ผสมเข้ากันใช้เวลาประมาณ 30–60 นาที จะได้แก๊สโซฮอล์ จำานวน 2,000 ลิตร เขียนโดย Popi_TaRo ที่ 23:32 0 ความคิดเห็น วันเสาร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2550 สีสันแห่งท้องทะเล ส่วนนีำจัดแสดงนิทรรศการสิ่งมีชีวิตตัำงแต่ป่าชายเลน หาดทราย หาดหิน ซึงเป็นแหล่งอาศัยของ ่ สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ด้วยระบบแสงสีเสียง และจัดแสดงพันธุ์ปลานานาชนิด เช่น สัตว์นำาในระบบนิเวศ ป่าชายเลน สัตว์นำาในระบบนิเวศหาดทราย - หาดหิน สัตว์นำาในแหล่งหญ้าทะเล และสัตว์นำาใน แนวปะการังฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน ระบบนิเวศป่าชายเลน ป่าชายเลนเป็นกลุ่มของสังคมพืชใบกว้างที่มีใบเขียวตลอดปี ขึำนอยู่ในเขตนำำาลงตำ่าสุดและนำำาขึำน สูงสุด บริเวณชายฝั่งทะเล ปากแม่นำา หรืออ่าว จัดเป็นเขตนำำากร่อย ดินเป็นเลนหรือโคลน ซึ่ง เป็นบริเวณที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตหลายชนิด เป็นที่วางไข่ แหล่งอาหาร และเจริญเติบโตของ สัตว์นำานานาชนิด และเป็นแหล่งผลิตอาหารโปรตีนที่สำาคัญ บริเวณปากแม่นำาขนาดใหญ่ช่วง ใกล้จะออกทะเลจะมีสภาพคล้ายบึงต้นโกงกาง เป็นแหล่งอาหาร ที่หลบภัย ตลอดจนที่ขยาย พันธุ์ของสัตว์นำานานาชนิด ในธรรมชาติท้องนำำาในบริเวณนีำจะเป็นโคลนตม ยากต่อการทรงตัว
  • 3. ของต้นไม้ทั่วไป ด้วยเหตุนีำธรรมชาติของต้นโกงกางจึงต้องออกรากแตกกิ่งก้านสาขาออกไป รอบต้นเพื่อใช้คำายันไม่ให้ลำาต้นหลุดลอยไปกับกระแสนำำา ทัศนียภาพใต้นำาของป่าโกงกางจึงดู แปลกตาไปอีกแบบ เป็นระบบนิเวศป่าชายเลน หาดทรายและหาดหินซึ่งเป็นบริเวณที่เชื่อมต่อกัน บริเวณดังกล่าว เป็นบริเวณที่ได้รับผลกระทบจากนำำาจืด นำำาเสียจากอาคารบ้านเรือนที่ไหลมารวมกันบริเวณปาก แม่นำาและป่าชายเลน จึงเป็นแหล่งรวบรวมทัำงตะกอนดิน แร่ธาตุ สารพิษและสารอาหารต่าง ๆ ที่ จำาเป็น ทำาให้มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง พรรณไม้ที่ขึำนในพืำนที่นีำ ได้แก่ โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ โกงกางหัวสุม แสม ลำาพู ลำาแพน เป็นต้น สัตว์ที่พบในบริเวณนีำ มีความหลากหลายมาก ทัำงจำานวนชนิดและความหนาแน่นของประชากร เนื่องจากบริเวณนีำมีแหล่งที่อยู่อาศัยมากมาย เช่น - พวกที่อาศัยอยู่ตามพืำนผิวดิน ได้แก่ ปลาตีน ปูเสฉวน หอยทะเลบางชนิด- พวกที่อยู่ตามใต้ผิว ดิน ได้แก่ ไส้เดือนทะเล ปูแสม ปูก้ามดาบ กุ้งดีดขัน- พวกที่อยู่ในนำำา ได้แก่ กุ้งแชบ๊วย กุ้ง กุลาดำา ปลานวลจันทร์ทะเล ปลากะพงขาว ปลาเก๋า เป็นต้น- พวกที่อาศัยอยู่ตามต้นไม้ ใบไม้ รากโกงกาง ได้แก่ หอยนางรม ทากทะเล หอยขีำนก ปูแสม เพรียงหิน แมลง นกชนิดต่าง ๆ ตลอดจนสัตว์เลีำยงลูกด้วยนม ได้แก่ ลิงแสม ค่าง เป็นต้น ตัวอย่าง สัตว์นำาในระบบนิเวศป่าชายเลน สัตว์นำาในระบบนิเวศป่าชายเลน ปลานวลจันทร์ทะเล MILKFISH : Chanos chanos รูปร่างคล้ายกระสวย ตากลมใสมี เยื่อไขมันคลุม ครีบหลังเป็นก้านครีบอ่อนทัำงหมด เกล็ดเล็ก ลำาตัวด้านบนเป็นสีเขียวอมนำำาเงิน และค่อย ๆ จางลงมาด้านท้องเป็นสีเงิน อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลทั่วไป วัยอ่อนอยู่ในบริเวณนำำา กร่อย เมื่อโตขึำนจึงจะออกไปอาศัยอยู่ในทะเล ขนาดใหญ่สุด 150 เซนติเมตร นำำาหนักกว่า 10 กิโลกรัม กินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร ปลาตะกรับเสือดาว, กระทะ, แปบลาย, เสือดาว, ตะกรับ SPOTTED SCAT, GREEN SCAT : Scatophagus argus ลำาตัวกว้างและแบนข้างมาก ตัวสีเขียวปน เหลืองเป็นมันแวววาว ใต้ท้องสีเงินยวงมีจุดกลมสีดำาประกระจายอยู่ทั่วไป อยูรวมเป็นฝูงใหญ่ ่ พบตามชายฝั่งของทวีปเอเชีย แอฟริกาฝั่งมหาสมุทรอินเดีย และทางตอนเหนือของทวีป ออสเตรเลียจนถึงชายฝั่งตะวันตกของหมู่เกาะแปซิฟิค ขนาดใหญ่สุด 35 เซนติเมตร กินสัตว์ หน้าดินและพืช เป็นปลาสวยงาม ปลาเฉี่ยว ผีเสืำอเงิน หรือสะโหร่งแขก MALAYAN ANGEL, SILVER BATFISH : Monodactylus argenteus ลำาตัวป้อมสัำนเป็นรูปสี่เหลี่ยม ครีบหลังและครีบ ก้นยื่นยาว ตัวสีเงินเหลือบเป็นประกาย ครีบหลังสีเหลืองมีลายคาดตามขวางผ่านตา และบริเวณ ขอบแผ่นปิดเหงือก พบบริเวณปากแม่นำา ป่าชายเลน และแนวปะการัง มีขนาด 8 - 12 เซนติเมตร กินพวกสัตว์นำาขนาดเล็ก เป็นปลาสวยงาม ปลากะบอก GREEN BACKED : Liza tade ลำาตัวกลมเรียว แนวสันหลังเกือบเป็นเส้น ตรง ตาโต เกล็ดใหญ่ ครีบหลังแยกเป็นสองตอน ลำาตัวด้านหลังสีเทาอมดำา ด้านท้องสีขาว บริเวณปลายหางมีสีดำาเรื่อ มักอยูรวมกันเป็นฝูง อาศัยอยู่ตามริมชายฝั่งที่เป็นพืำนโคลนและ ่ บริเวณปากแม่นำา ป่าชายเลน มีขนาด 20 เซนติเมตร กินแพลงก์ตอนและตะไคร่นำา เป็นอาหาร ระบบนิเวศหาดทราย - หาดหิน หาดหิน เป็นบริเวณที่ทะเลและแผ่นดินบรรจบกัน คลื่นที่เกิดจากพายุสามารถกัดเซาะชายฝั่งที่มี ความลาดเอียงจนกระทั่งส่วนบนของมันพังลงมา และถูกคลื่นชะลงมาจากหน้าผาริมทะเลกลาย เป็นหาดหิน หาดหินถูกคลื่นที่เกิดจากพายุปะทะ และเมื่อนำำาขึำนจะจมอยู่ใต้นำา บริเวณหาดหินยัง มีแอ่งนำำาเล็ก ๆ เป็นที่อยู่อาศัย แหล่งอาหาร และที่หลบภัยให้กับสัตว์นานาชนิด เช่น กุ้ง ปู ดาว ทะเล และปลาขนาดเล็ก หาดทราย มีลักษณะเป็นชายทะเลที่มีชัำนบาง ๆ ของก้อนกรวดและหิน ซึ่งแตกมาจากชายฝั่งที่เป็นหินและถูกคลื่นซัด ขีดสีจนเรียบ คลื่นที่เคลื่อนตัวเข้าสู่ฝั่ง จะพัดพา เม็ดกรวดและทรายไปตามชายฝั่ง มีการคัดขนาดและตกลงมาในบริเวณที่คลื่นและทะเลเงียบ สงบ กรวดและทรายเหล่านีำจะสะสมจนเกิดเป็นหาด และมีรปร่างแตกต่างกันไป ตามสภาพ ู
  • 4. ภูมประเทศ ิ หาดหินและหาดทรายเป็นบริเวณที่ไม่เหมาะกับการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตในทะเลทั่วไปนัก เพราะโดยทั่วไปจะมีสภาพแวดล้อมรุนแรง ซึ่งทำาให้สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ต้องปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อม การที่มคลื่นซัดอยู่ตลอดเวลาและความร้อนจากแสงแดด ก็เป็นตัวการจำากัดที่ ี สำาคัญของพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ จึงเป็นบริเวณที่มีสิ่งมีชีวิตน้อยชนิดที่สามารถอาศัยอยู่ได้ ตัวอย่าง สัตว์นำาในระบบนิเวศหาดทราย - หาดหิน สัตว์นำาในระบบนิเวศหาดทราย - หาดหิน ปูหนุมาน ( ปูลาย) BEACH CRAB : Matuta planipes กระดองเป็นรูปโค้งกลมและมี หนามยื่นออกไปทางด้านข้าง ขาเดินคู่แรกและคู่สุดท้ายเป็นกรรเชียง พืำนผิวกระดองทางด้านบน มีสีเหลืองอ่อน และมีจุดสีแดงเล็ก ๆ เรียงตัวกันเป็นวงและลายเส้นกระจายอยู่ทั่วไป ด้านล่าง ของลำาตัวค่อนข้างแบนและมีพืำนสีขาว ก้ามหนีบแข็งแรง อยูตามชายหาดทรายใต้ระดับนำำาลงตำ่า ่ สุด มีขนาด 5 เซนติเมตร กินสัตว์หน้าดินและซากสัตว์ เหรียญทะเล หรือ อีแปะทะเล SAND DOLLAR : Arachoides placenta ลำาตัว มีเปลือกแบนคล้ายเหรียญ เปลือกแข็ง ด้านบนซึ่งอยู่ตรงข้ามปากนูนเล็กน้อย บริเวณที่มีเท้าท่อ เป็นรูปกลีบดอกไม้ที่ไม่บรรจบกันเหมือนเม่นหัวใจ ด้านล่างซึ่งเป็นปากมีร่องของบริเวณเท้าท่อ ชัดเจน ปากเล็กและยุบลง ทวารหนักอยู่ทางด้านตรงข้ามกับปาก และมีร่องทอดออกไปทาง ขอบเปลือก ตัวสีนำาตาลเข้ม อาศัยตามพืำนทะเลที่เป็นดินทรายหรือทรายปนโคลน พบทัำงในอ่าว ไทยและทะเลอันดามัน มีขนาด 4 เซนติเมตร กินอินทรียสารในทราย ใช้ทำาเครื่องประดับ แมงดาทะเล HORSE SHOE CRAB / KING CRAB ส่วนหัวและอกเชื่อมรวมกันเป็น รูปเกือกม้า ส่วนท้องกว้างไม่แบ่งเป็นปล้อง และมีระยางค์ 6 คู่ เป็นแผ่นแบน โดยมีส่วนเชื่อมต่อ กันตรงกลาง คูแรกเป็นแผ่นปิดเหงือก ส่วนอีก 5 คู่หลังเป็นเหงือก ด้านบนกระดองมีตารวมและ ่ ตาเดียวอย่างละคู่ ในน่านนำำาไทยมี 2 ชนิดคือ แมงดาถ้วยและแมงดาจาน แมงดาถ้วยอาศัยอยู่ ่ ตามพืำนทะเลที่เป็นทรายปนโคลน ส่วนแมงดาจานอยู่ตามพืำนทราย มีขนาด 20 - 30 เซนติเมตร กินหนอนทะเล สัตว์หน้าดิน เป็นอาหาร ปลากระบอกหูดำา, กระบอกท่อนใต้ SQUARETAIL MULLET : Ellodclon va igiensis รูปร่างกลมเรียวยาว หัวกว้างใหญ่และแบน ตาเล็กไม่มีเยื่อไขมันปิด เกล็ดใหญ่ ลำาตัว ด้านบนมีสีนำาตาลปนเทา ครีบทุกครีบมีสีนำาตาลอมดำา หรือสีนำาตาลไหม้ ชอบอยูรวมกันเป็นฝูง ่ บริเวณชายฝั่งทะเลและปากแม่นำา มีขนาด 19 - 40 เซนติเมตร กินอินทรียสาร และสัตว์ขนาด เล็ก เป็นปลาเศรษฐกิจ ปลาทะเลเศรษฐกิจของไทย ปลากะพงข้างปาน, ปลากระพงปานข้างลาย RUSSELL’S SNAPPER : Lutjanus russelli ลำาตัวแบนข้าง ครีบหางเกือบตัดตรง ตัวสีเหลืองอมนำำาตาล และมีจุดสีดำา อยู่บริเวณสีข้างเหนือเส้นข้างลำาตัว 1 จุดชัดเจนในปลาขนาดเล็ก แต่จุดนีำจะค่อย ๆ จางลงใน ปลาที่โตเต็มวัย อาศัยอยู่ใกล้พืำนทะเลริมชายฝั่งและบริเวณปากแม่นำา พบทัำงในอ่าวไทยและ ทะเลอันดามัน มีขนาด 30 เซนติเมตร กินลูกปลา ลูกกุ้ง และสัตว์นำาขนาดเล็ก ใช้เป็นอาหาร ปลาสร้อยนกเขาทะเล, ข้างตะเภา, ขีำนก PAINTED SWEETLIP : Diagramma pictum ลำาตัวแบนข้าง ปากเล็กริมปากหนา ใต้คางมีรูพรุน 6 รู เกล็ดเล็ก ปลา ขนาดเล็กลำาตัวมีสีขาว ส่วนหัวด้านบนสีเหลือง และมีแถบสีนำาตาลเข้ม 5 แถบพาดไปตามความ ยาวลำาตัว เมื่อมีโตขึำนแถบสีจะจางหายไป และมีจดสีนำาตาลปนดำาปรากฏขึำนมาแทน อาศัยอยู่ ุ ตามหน้าดินหรือแนวปะการัง พบทั่วไปบริเวณชายฝั่งทะเลทัำงอ่าวไทยและทะเลอันดามัน พบ ทั่วไป 35 เซนติเมตร ขนาดใหญ่สุด 60 เซนติเมตร กินปลาและสัตว์หน้าดิน ใช้เป็นอาหาร ปลาริวกิว GIANT CATFISH : Netuma thalasinus รูปร่างคล้ายกับพวกปลาสวาย แต่มีครีบก้นเล็กกว่า ลำาตัวเพรียวและค่อนข้างกลม ผิวด้านบนหัวเป็นกระดูกแข็ง มีหนวด 3 คู่ ครีบหางเว้าลึก ตัวสีนำาตาลปนเทา ท้องสีจาง ครีบสีคลำำา ครีบไขมันสีดำา อาศัยอยู่ตามหน้าดิน บางครัำงพบในบริเวณปากแม่นำา พบในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน มีขนาด 30 - 40 เซนติเมตร กินปลาและสัตว์หน้าดิน ใช้เป็นอาหาร
  • 5. ปลาดุกทะเล STRIPED CATFISH : Plotosus lineatus รูปร่างเรียวยาวแบนข้าง มี หนวด 4 คู่ ครีบหลังและครีบอกมีก้านครีบแข็ง ครีบหลังตอนท้าย ครีบก้นและครีบหางติดต่อกัน มีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจ คือ dendritic organ อยู่ที่รูก้น ด้านหลังลำาตัวมีสีดำาปนนำำาตาล ด้านท้องสีขาว อาศัยอยู่ทัำงนำำากร่อยและนำำาจืด แพร่กระจายทั่วน่านนำำาไทย มีขนาดใหญ่สุดถึง 1.2 เมตร กินทัำงพืชและสัตว์ ใช้เป็นอาหาร ปลาทะเลที่มีพิษ ปลาสิงโตปีกเข็ม WHITE- LINED LIONFISH : Pterois radiata ลำาตัวแบนข้าง หัวใหญ่ ปากกว้าง บนหัวมีหนวดยาว 1 คู่ ครีบหลังมีก้านครีบแข็งยาวมาก ครีบอกแผ่กว้างมากมี ก้านครีบแข็งยื่นยาวออกไป และมีเยื่อยึดระหว่างก้านครีบ ครีบหางโค้งกลม ตัวสีนำาตาลอ่อน และมีลวดลายสีนำาตาลแดง โดยมีเส้นหนึ่งพาดผ่านตาพอดี มีจุดสีดำาแต้มบนเยื่อยึดระหว่างก้าน ของครีบอก อาศัยอยู่ตามซอกหินและแนวปะการังทางฝั่งทะเลอันดามัน มีขนาด 25 เซนติเมตร กินกุ้งและปลา เป็นปลาสวยงามที่ก้านครีบแข็งมีพิษ หากถูกตำาจะได้รับความเจ็บปวดมาก ปลาปักเป้าหนามทุเรียน PORCUPINE FISH : Diodon nithemerus หัวใหญ่ลำา ตัวเรียวเล็กลงไปทางหาง มีฟันเชื่อมต่อกัน ครีบอกใหญ่คล้ายพัด ผิวลำาตัวเป็นหนังย่นและมี หนามแข็งพับลู่ไปทางหาง จะตัำงขึำนเมื่อตกใจหรือถูกรบกวนและพองตัวได้ ตัวสีเทา มีลายด่างสี ดำาเป็นปื้นใต้ตา ใต้คาง บนหัวข้างแก้มและบนหลัง อาศัยอยู่ใกล้พืำนทะเลริมชายฝั่งทั่วไปในอ่าว ไทย มีขนาด 30 เซนติเมตร กินกุ้ง หอย ปู สัตว์นำาเล็ก ๆ นิยมสตัฟฟ์เป็นเครื่องประดับ ทำาโคม ไฟ เนืำอและเครื่องในมีสาร Tetraodotoxin ทีบริโภคแล้วเกิดพิษถึงชีวิต ่ ปลากะรังหัวโขน STONE FISH : Synanceja horrida ส่วนหัวใหญ่และเรียวเล็กลง ไปทางหาง ปากกว้าง ตาเล็ก ครีบหลังมีก้านแข็งแหลมคมและสัำน ครีบอกเป็นแผ่นหนา ตัวสี นำำาตาลแดง และมีรอยด่างแต้มเป็นจุดบริเวณหัว อาศัยในแนวปะการังในภาคใต้และตะวันออก มี ขนาด 25 เซนติเมตร กินปลา กุ้ง และปูนำามาเป็นอาหารได้ แต่มีก้านครีบแข็งที่มีพิษร้ายแรง นับ เป็นปลาที่มีพิษรุนแรงที่สุดในโลกชนิดหนึ่ง การรักษาคือ แช่บริเวณที่ถูกตำาลงในนำำาร้อนที่ อุณหภูมิสูงเท่าที่จะทนได้(ไม่เกิน 50 ?C) ประมาณ 1 – 2 ชั่วโมง และควรไปพบแพทย์ทันที ปลาสลิดทะเลจุดขาว WHITE – SPOTTED SPINEFOOT : Siganus canali culatus ลำาตัวแบนข้างเป็นรูปไข่ หัวเล็ก ตาโต ครีบหลังและครีบก้นมีก้านครีบแข็ง ตัวสีเหลือง อมนำำาตาล ด้านท้องสีจาง และมีจุดสีขาวแต้มประทั่วตัว อาศัยตามพืำนทะเลทั่วไป ที่เป็นพืำน ทราย พบทั่วไปในน่านนำำาไทย มีขนาด 20 เซนติเมตร กินสาหร่ายและหญ้าทะเล เนืำอใช้เป็น อาหารได้ แต่มีก้านครีบแข็งที่มีพิษแรงปานกลาง สัตว์ทะเลทีเป็นอันตราย ่ ปลาไหลมอเรย์ลายหินอ่อน LACED MORAY : Gymnothorak favagineus ลำา ตัวเรียวยาวคล้ายงู ไม่มีเกล็ด ไม่มีครีบอก ครีบหลังเชื่อมต่อกับครีบก้นและครีบหาง มีฟัน แหลมคม มีลวดลายสีนำาตาลจาง ๆ บริเวณลำาตัว ชอบซ่อนตัวอยู่ตามซอกหินในแนวปะการัง มี ขนาด 1 – 1.5 เมตร กินปลา กุ้ง และหมึกสาย เป็นปลาสวยงามที่เป็นอันตรายอาจกัดคนที่จับ ตัวมัน หรือเอามือล้วงไปในโพรงที่ปลานีำอาศัยอยู่ ปลาไหลมอเร่ย์ยักษ์ GIANT MOREY : Gymnothorax javanicus ลำาตัวเรียว พืำน สีเหลืองอมนำำาตาลแต้มด้วยจุดและลายสีนำาตาลไหม้อยู่ทั่วไป ด้านข้างลำาตัวบริเวณคอมีจุดสีดำา เด่นชัด 1 แห่ง ชอบซ่อนตัวอยู่ตามซอกหินในแนวปะการัง ตามปกติไม่ดุร้าย มีขนาด 1.5 เมตร กินปลา กุ้ง และหมึกสาย เป็นปลาสวยงามที่เป็นอันตรายอาจกัดคนที่จับตัวมัน หรือเอามือล้วง ไปในโพรงที่ปลานีำอาศัยอยู่ เม่นทะเลหนามยาว DIADEMA URCHIN : Diadema setosum หนามมีสีดำามีลาย สีขาวยาวประมาณ 30 เซนติเมตร ทวารเปิดล้อมรอบด้วยวงแหวนสีแดงหรือสีส้ม อาศัยตามพืำน ทรายในแนวปะการัง มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 9 เซนติเมตร กินอินทรียสาร ไข่เม่นปรุงเป็นอาหารได้ มีหนามแหลมคมและมีพิษ ดาวมงกุฎหนาม CROWN – OF – THORNS SEA STAR : Acanthaster planci จำานวนแขนมีแตกต่างกันตัำงแต่ 15 - 23 แขน ลำาตัวมีหนามยาวคล้ายหนามเม่นยื่นออก
  • 6. มาจำานวนมาก สีของลำาตัวและหนามมีความผันแปรแตกต่างกัน บางตัวมีหนามสีเทาหรือสีส้ม บางตัวมีหนามสีม่วง เท้าท่อยื่นยาวได้มาก ตรงปลายมีปุ่มดูดที่แข็งแรง เป็นสัตว์ที่ทำาลายแนว ปะการังเพราะชอบกินโพลิปปะการังเป็นอาหาร พบอยู่ตามแนวปะการังทั่วไปในน่านนำำาไทย มี เส้นผ่าศูนย์กลาง 50 เซนติเมตร มีหนามแหลมคมและมีพิษทำาให้เกิดแผลเรืำอรัง ปลาที่อาศัยอยูบริเวณกองหิน ่ ปลากะรังส้ม BLACKTIP GROUPER : Epinephelus fasciatus มีสีสมแดงออก ้ ซีด บางทีพบสีเหลืองส้มหรือทอง มีจุดสีแดงหรือเหลืองที่ส่วนหัว ขอบด้านหลังของครีบหางมี สีนำาเงินซีดและเส้นสีดำาจาง ๆ ส่วนหลังและครีบก้นมีขอบสีนำาเงินซีดอยู่ด้วย อาศัยอยู่ตามกลุ่ม ปะการังและโขดหินระดับความลึก 20 – 250 เมตร พบในแถบอินโดแปซิฟิก มีขนาดใหญ่สุด 60 เซนติเมตร กินปลาเล็ก ๆ และสัตว์หน้าดิน เป็นสัตว์เศรษฐกิจ ปลากะรังหางซ้อน, กะรังจุดฟ้า DUSKYTAIL GROUPER: Plectropomus maculatus ลำาตัวค่อนข้างกลม ตัวสีนำาตาล มีจุดสีฟ้ากระจายอยู่ทั่วตัว ครีบหลังตอนแรกเป็น ก้านครีบแข็ง ตอนหลังเป็นก้านครีบอ่อน ครีบหางตัดเว้าเล็กน้อย ครีบทุกครีบมีสีคลำำาบริเวณ ปลายครีบ ยกเว้นครีบอกมีสีจาง มีฟันแหลมคม อาศัยอยู่ทั่วไปในแนวปะการังทางฝั่งทะเล อันดามัน มีขนาด 80 – 100 เซนติเมตร กินปลา ใช้เป็นอาหาร ปลาฉลามกบ หรือปลาฉลามหิน BROWNBANDED BAMBOO SHARK : Chiloscyllium punctatum ลำาตัวเรียวยาว ตาเล็ก หัวมน ริมฝีปากล่างหนา ใต้คางมีหนวด ครีบอกกว้าง ครีบหางเรียว ตัวสีนำาตาล ท้องขาว แต่ในระยะอายุน้อยมีลายคาดสีดำาคล้ายตุ๊กแก อาศัยอยู่ตามพืำนทะเลทั่วไป มีขนาด 1 เซนติเมตร กินกุ้ง ปู และหอย เป็นอาหาร ปลากระเบนทองจุดฟ้า BLUE SPOTTED FANTAIL RAY : Taeniura lymma แผ่นลำาตัวค่อนข้างกลม ปากเว้าโค้ง ที่ใต้ขอบตามีช่องอากาศกว้างใหญ่และโตกว่าตา หางทู่ และยาวกว่าแผ่นลำาตัว ด้านบนของหางมีหนามแหลมยาว 1 อัน ตรงใต้หนามมีแผ่นหนังคล้าย ใบกล้วย ยาวตลอดไปถึงปลายสุดทาง ตัวสีเหลืองอ่อน มีจุดสีนำาเงินประบนแผ่นลำาตัว หางมี แถบสีนำาเงินพาดตลอดข้างละแถบ ปลายสุดของหางมีสีขาว อาศัยตามแนวปะการังทั่วน่าน นำำาไทย ขนาดกว้าง 15 – 25 เซนติเมตร กินสัตว์หน้าดิน เป็นปลาสวยงามและเป็นอาหาร ระบบนิเวศแหล่งหญ้าทะเล แหล่งหญ้าทะเลทำาหน้าที่เสมือนระบบนิเวศที่เชื่อมโยงระหว่างระบบนิเวศป่าชายเลนและแนว ปะการัง และแหล่งหญ้าทะเลยังเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์นานาชนิด ที่มีความสำาคัญทาง เศรษฐกิจ เช่น ลูกปลาเก๋า ปลิงทะเล ปูม้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นแหล่งอาหารที่สำาคัญของ พะยูนที่เป็นสัตว์ที่ใกล้สูญพันธุ์ของโลกด้วย นอกจากนีำหญ้าทะเลยังช่วยลดมลพิษในทะเล และ ปรับปรุงคุณภาพนำำาให้ดีขึำน และช่วยป้องกันการพังทลายของชายฝั่งได้เป็นอย่างดี หญ้าทะเล เป็นพืชชัำนสูงที่มีดอกขึำนอยู่ในทะเล เป็นตัวทำาให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ของสิ่งมีชีวิต ในทะเล ผลผลิตจากการสังเคราะห์แสงจะเป็นทัำงอาหารและให้ออกซิเจนแก่สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ใน ทะเล เป็นบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์มาก เป็นที่รวมของสิ่งมีชีวิตหลายชนิด ทัำงขนาดเล็กและ ขนาดใหญ่ ตัำงแต่วยอ่อนจนถึงโตเต็มวัย ครบวงจรของห่วงโซ่อาหาร หญ้าทะเลที่พบบริเวณ ั ชายฝั่งในจังหวัดประจวบฯ คือ Halodule pinifolia มีชื่อภาษาไทยว่า "หญ้าผมนาง" และชื่อ สามัญว่า fiber-strand grass ลักษณะต้นตัำงตรงเกิดจากเหง้า ผอมบาง มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่ เกิน 1 มิลลิเมตร ช่วงระหว่างเหง้ายาว 1.2 - 3.6 เซนติเมตร รากไม่แตกแขนงเกิดจากข้อ มี 2 - 4 เส้น ต่อข้อ แต่ละต้น มีใบ 2 - 3 ใบ ใบเรียวเล็กผอมยาว ส่วนล่างเป็นกาบใบมีความยาว 1.2 - 2.8 เซนติเมตร แผ่นใบยาว 5.6 - 23.0 เซนติเมตร กว้างประมาณ 0.6 มิลลิเมตร ปลายใบมน แบบ obtuse มีรอยหยักเป็นฟันเลื่อย (serration) ขอบใบเรียบ เห็นเส้นกลางใบได้อย่างชัดเจน บริเวณปลาย ใบไม่พบดอกและผลในช่วงที่ทำาการสำารวจ พบแพร่กระจายบริเวณหาดทุ่งนางดำา และเกาะลูกกำาตก ทีระดับความลึก 1-3 เมตร ที่หาดทุ่งนางดำา หญ้าทะเลชนิดนีำจะขึำนปะปนกับ ่ หญ้าทะเลชนิด Halophila ovalis แหล่งที่มา : ข้อมูลและภาพหญ้าทะเลโดย ชัชรี สุพันธุ์วณิช(http://www.ku.ac.th/e- magazine/november44/agri/seagrasses.html)
  • 7. พะยูน เป็นสัตว์เลียงลูกด้วยนมที่มีความใกล้ชิดกับช้าง มีขนาดยาวประมาณ 2 - 3 เมตร นำำาหนัก ำ ประมาณ 300 กิโลกรัม ใบหน้าคล้ายหมู แต่ไม่มีหู ขาคู่หน้าสัำนเปลี่ยนแปลงไปเป็นแผ่นแบน ๆ คล้ายใบพายไม่มีนิำว ลำาตัวอ้วนกลม อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเล ชอบอยูรวมกันเป็นฝูงใหญ่ กิน ่ หญ้าทะเลเป็นอาหาร ชนิดที่พบในประเทศไทยมีอยู่ชนิดเดียวคือ Dugong dugon ขนาดโตเต็ม วัยประมาณ 4 เมตร นำำาหนัก 900 กิโลกรัม มีอายุ 50 - 55 ปี ปัจจุบันที่พบอยู่เป็นฝูงอยู่ที่อุทยาน แห่งชาติหาดเจ้าไหม และเกาะลิบง จังหวัดตรัง ตัวอย่าง สัตว์นำาในแหล่งหญ้าทะเล เช่น สัตว์นำาในแหล่งหญ้าทะเล ปลาปิ่นแก้ว, ปลาดุกทะเล, เป็ดแก้ว STRIPED SEA CATFISH : Plotosus l ineatus ลำาตัวเรียวยาวแบนข้าง มีหนวด 4 คู่ ครีบหลังและครีบอกมีก้านครีบแข็ง ไม่มีครีบไข มัน ครีบหลังอันที่สอง ครีบก้นและครีบหางเชื่อมติดกัน มีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจ คือ Dendritic Organ อยู่ที่รูก้น ด้านหลังลำาตัวมีสีดำาปนนำำาตาล ด้านท้องสีขาว ปลาขนาดเล็กจะมี แถบสีขาวปนเหลือง 3 แถบพาดไปตามยาวลำาตัว อาศัยในนำำากร่อยและทะเลถึงแนวปะการัง พบ ทั่วน่านนำำาไทย มีขนาด 30 - 50 เซนติเมตร กินสัตว์หน้าดิน ใช้เป็นอาหาร หอยสังข์ตาล, หอยตาล, หอยลำาโพง BLOTCHED MELON SHELL : Melo melo เป็นหอยฝาเดี่ยวมีเปลือกรูปไข่ เปลือกค่อนข้างบางสีนำาตาลแดงแต้มด้วยรอยปื้นสี นำำาตาลไหม้ เนืำอหอยมีสีดำาอมม่วง เท้ามีลายสีขาวอมเหลืองเป็นเส้น ไม่มีแผ่นปิด อาศัยตามพืำน ทะเลทีเป็นดินโคลน หรือทรายปนโคลน ในภาคตะวันออกและภาคใต้ มีขนาด 30 เซนติเมตร ่ กินหอยที่ตัวเล็กกว่า เนืำอใช้บริโภคได้และเปลือกใช้ทำาเครื่องประดับ ดาวหนามแดง LINCK'S SEA STAR : Protoreaster lincki ลำาตัวเป็นรูปห้าแฉก ด้านบนเป็นสันและมีหนามขนาดใหญ่สีแดงตรงกลางลำาตัว ด้านบนของแต่ละแขนมีหนามสีแดง 7 - 8 อัน เรียงเป็นแถวออกไปยังปลายแขน และมีเส้นสีแดงลากขนานไปทางด้านข้างด้วย อาศัยอยู่ตามแนวปะการัง บริเวณพืำนทะเลทางฝั่งมหาสมุทรอินเดียและไม่พบในอ่าวไทย มีเส้น ผ่าศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร กินอินทรียสาร และหอย 2 ฝาขนาดเล็ก นิยมใช้ประดับบ้าน ปูเสฉวนยักษ์ GIANT HERMIT CRAB : Dardanus megistos ลำาตัวมีสีแดงแต้ม ด้วยจุดขาวขอบสีช็อกโกแลตกระจายทั่วไป ก้านตาสีแดง โคนหนวดคู่ที่สองสีขาวยาวมากและมี ขนแข็งกระจายอยู่ทั่วตัว ก้ามสองข้างขนาดไม่เท่ากัน ปล้องสุดท้ายของขาเดินสองคู่แรกเรียว ยาว เป็นปูเสฉวนขนาดใหญ่สุดที่พบในน่านนำำาไทย อาศัยอยู่ตามพืำนทะเลที่ห่างฝั่ง มักพบอยู่ใน เปลือกหอยสังข์จุกพราหมณ์ มีขนาด 20 เซนติเมตร กินพวกหนอนทะเล และสัตว์ทะเลขนาด เล็ก ซากสัตว์ต่าง ๆ นำามาสตัฟฟ์ประดับตกแต่ง ระบบนิเวศแนวปะการัง แนวปะการังปกคลุมพืำนที่ประมาณร้อยละ 15 ของชายฝั่งทั่วโลก พบอยู่ในทะเลที่ตืำนและอบอุ่น ทำาให้สามารถมองเห็นได้จากอากาศ เกิดจากกลุ่มหินรูปถ้วยขนาดเล็กกว่านิำวหัวแม่มือ จำานวน หลายพันล้านกลุ่ม ถ้วยเล็ก ๆ เหล่านีำ เป็นที่อยูของตัวสร้างปะการัง (polyp) ขนาดจิ๋ว ซึ่งเป็น ่ สัตว์ที่มีลักษณะคล้ายดอกไม้ทะเลและแมงกะพรุน เมื่อตัวสร้างปะการังตาย จะเหลือส่วนโครง ร่างแข็งภายนอก ซึงเป็นที่ที่ตัวสร้างปะการังตัวใหม่เริ่มเจริญเติบโต ่ ปะการังมีชีวิตอยู่ได้ในทะเลที่สะอาด ตืำนพอที่แสงอาทิตย์ส่องถึง พบอยู่ทัำงในทะเลอ่าวไทยและ ทะเลอันดามัน ในเขตจังหวัดประจวบคีรขันธ์ มีแนวปะการังที่เกาะพาง เกาะลูก เกาะรัฐ เกาะ ี ช้าง เกาะแหลม เกาะผิว เกาะอีแอ่น เกาะเหลื่อม เกาะหลัก เกาะแรด และเกาะจาน เป็นแนว ปะการังแบบหย่อมทัำงหมด เป็นแหล่งอาศัยและแหล่งอาหารที่สมบูรณ์ของสิ่งมีชีวิตในทะเล หลายชนิด ปะการังเหล่านีำส่วนใหญ่ส่วนที่อยู่ใกล้ชายฝั่งจะมีสภาพเสื่อมโทรม ส่วนที่อยู่ห่างชายฝั่งจะมี สภาพค่อนข้างดี อย่างไรก็ตามปัจจุบันมีการตื่นตัวในการอนุรักษ์ปะการังกันมาก และมีการ คุ้มครองแนวปะการังที่ได้ผลดี ตัวอย่าง สัตว์นำาขนาดใหญ่ในแนวปะการังฝั่งอ่าวไทย และ สัตว์นำาขนาดเล็กในแนวปะการังฝั่ง อ่าวไทย เช่น พันธุ์ปลาขนาดใหญ่ในแนวปะการังฝั่งอ่าวไทย เช่น
  • 8. ปลาสินสมุทรลายบัำง SIX - BANDED ANGELFISH : Pomacanthus sexstr iatus ริมฝีปากหนา ครีบหลังทัำงสองตอนเชื่อมติดกัน ครีบอกเป็นรูปสามเหลี่ยม ตัวสีไพลอ่อน ด้านหลังตามีคาดสีขาวจากด้านหลังลงมากลางแก้ม กลางตัวมีคาดสีดำา 6 แถบสีเข้มจางต่างกัน ปลายครีบหลัง ครีบก้นและครีบหางมีจุดสีฟ้ากระจัดกระจาย อาศัยตามกองหินใต้นำา เกาะแก่ง แนวปะการังในอ่าวไทยและฝั่งมหาสมุทรอินเดีย ขนาด 30 เซนติเมตร กินกุ้ง หอย และฟองนำำา เป็นปลาสวยงาม ปลานกแก้ว RIVULATED PARROT FISH : Scarus fasciatus ลำาตัวแบนข้าง ปากเล็ก ฟันใหญ่ ครีบหางปลายตัด ตัวสีเขียวอมฟ้า ส่วนหัวมีสีชมพูมีลายสีเขียวสลับ ครีบอก และครีบท้องสีฟ้าและเหลือง อาศัยในกองหินใต้นำาและแนวปะการัง พบทั่วไป ทัำงในอ่าวไทย และฝั่งมหาสมุทรอินเดีย ขนาด 30 เซนติเมตร กินปะการังและสัตว์หน้าดิน เป็นปลาสวยงาม และเป็นอาหาร ปลานกขุนทองสองตอน, ปลานกขุนทองสองสี BLACKFIN WRASSE : Hemigymnus melapterus รูปร่างยาวแบนข้าง ริมฝีปากหนาฟันด้านหน้าเป็นฟันเขีำยวอยู่ ข้างละ 2 ซี่ สีลำาตัวแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนหน้าสีจางกว่าส่วนท้ายซึ่งมีสีนำาตาลอมดำา มีรอยแต้ม สีนำาเงินอมดำาอยู่ด้านหลังตา 1 รอย ขอบตาเป็นวงสีขาว อาศัยตามหินกองและแนวปะการัง ทั่วไป ขนาด 23 เซนติเมตร กินสัตว์หน้าดิน กุ้ง ปู และหอย เป็นปลาสวยงาม ปลาเขียวพระอินทร์ MOON WRASSE : Thalassoma lunare ลำาตัวแบนเรียวยาว ครีบหางเว้าเป็นรูปโค้งวงพระจันทร์ ตัวสีเขียว ด้านหน้ามีลายสีชมพู ครีบอกสีชมพูขอบฟ้า ขอบ ครีบหลัง ครีบท้อง และครีบหางมีสีชมพูอมนำำาเงิน ปลายหางมีสีเหลืองรูปพระจันทร์เสียว อาศัย ำ อยู่ตามแนวปะการังริมชายฝั่งทั่วไปในอ่าวไทยและฝั่งมหาสมุทรอินเดีย ขนาด 20 เซนติเมตร กินสัตว์หน้าดิน เป็นปลาสวยงาม พันธุ์ปลาขนาดเล็กในแนวปะการังฝั่งอ่าวไทย เช่น ปลาม้าลาย HUMBUG DASCYLLUS : Dascyllus aruanus ลำาตัวแบนข้างค่อน ข้างกลม ครีบหางเว้าตืำนมีปลายเรียว ตัวมีลายดำาเข้มบนพืำนขาว ครีบหลัง ครีบก้น และครีบท้อง ดำา ครีบหางขาว อาศัยในแนวปะการัง พบมากในทะเลอันดามัน พบทั่วไป 5 - 6 เซนติเมตร ขนาดใหญ่สุด 10 เซนติเมตร กินแพลงก์ตอน และสัตว์หน้าดิน เป็นปลาสวยงาม ปลาสลิดหินฟ้า YELLOW - TAILED DAMSELFISH : Chrysiptera parase ma ลำาตัวสีนำาเงิน ครีบหางสีเหลือง สีทัำงสองจะตัดกันน้อยลงเมื่อมีอายุเพิ่มขึำน แต่เมื่อถูกจับ อาจเปลียนสีเป็นสีนำาเงินอมม่วง อยู่รวมกันเป็นฝูง พบได้ตามน่านนำำาไทย ขนาด 4 เซนติเมตร ่ กินแพลงก์ตอนและสัตว์หน้าดินขนาดเล็ก เป็นปลาสวยงาม ปลาสลิดหินเขียว GREEN PULLER : Chromis viridis เกล็ดใหญ่ ปากเล็ก ครีบ หางเว้าลึก ตัวผู้ครีบหางจะยื่นยาวเป็นเส้นยาว และสีบนลำาตัวเข้ม อาศัยอยู่ตามหินกองใต้นำา และบริเวณหน้าดิน ขนาด 10 - 15 เซนติเมตร กินสาหร่าย สัตว์หน้าดิน เป็นปลาสวยงาม ปลาโดมิโน หรือ ปลาสลิดหินสามจุด THREE - SPOTTED DAMSELFISH, DOMINO : Dascyllus trimaculatus ลำาตัวป้อมสัำนรูปไข่ ครีบหางเว้าตืำน ตัวสีดำามีจุดสี ขาวอยู่เหนือตา 1 จุด กลางหลังเหนือเส้นข้างลำาตัวข้างละ 1 จุด จุดสีขาวเห็นได้ชัดในปลา ขนาดเล็ก เมื่อโตเต็มที่จะเลือนหายไป พบอยูตามแนวปะการังทั่วไปในน่านนำำาไทย ขนาด 6 ่ เซนติเมตร กินสัตว์หน้าดิน เป็นปลาสวยงาม ระบบนิเวศทะเลฝั่งอันดามัน ลักษณะทางกายภาพของทะเลฝั่งอันดามัน เป็นท้องทะเลสีเขียวมรกตที่มีนำาทะเลใสกระจ่างแล เห็นพืำนนำำา ซึ่งโอบล้อมไว้ด้วยเกาะและหมู่เกาะจำานวนมาก มากด้วยพันธุ์ปลาขนาดใหญ่สีสัน สวยงาม ทะเลอันดามันเป็นทะเลสีฟ้าครามสดใสด้วยแสงอาทิตย์ททอประกายบนผิวคลื่น เป็น ี่ ทะเลทีเต็มไปด้วยสรรพธรรมชาติอันมหัศจรรย์ ่ ทะเลอันดามันตอนเหนือ เป็นสถานที่ที่สวยงามเหมาะสำาหรับการดำานำำา ชายหาดสีขาวทอดยาว อุดมด้วยธรรมชาติอันเงียบสงบ ประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่ ได้แก่ เกาะสิมิลัน เกาะราชา
  • 9. เกาะลันตา เกาะภูเก็ต เกาะไหง และเกาะลิบง บรรดาเกาะต่าง ๆ ทางตอนใต้สุดของทะเล อันดามัน มีธรรมชาติที่เงียบสงบผสมผสานกับวัฒนธรรมท้องถิ่นของชาวเกาะคือเสน่ห์แห่ง ธรรมชาติอันรื่นรมย์ แนวปะการังนำำาตืำนสงบและสมบูรณ์ที่สุดของเมืองไทย เป็นหนึ่งในทะเลแห่ง สุดท้ายทีธรรมชาติยังคงความงดงาม บริเวณป่าดงดิบเขตร้อนชืำน มีระบบนิเวศหลากหลายที่สุด ่ บนผืนดิน และบรรจบกับระบบนิเวศหลากหลายที่สุดของท้องทะเล คือ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะ สุรินทร์ จังหวัดพังงา ตัวอย่าง สัตว์นำาขนาดเล็กในแนวปะการังฝั่งอันดามัน และ สัตว์นำาขนาดใหญ่ในแนวปะการังฝั่ง อันดามัน เช่น พันธุ์ปลาขนาดเล็กในแนวปะการังฝั่งอันดามัน เช่น ปลาโนรีเกล็ด, ปลาโนรี , ผีเสืำอครีบยาว PENNANT BUTTERFLY FISH : Heniochus acuminatus ครีบหลังยื่นยาวเป็นเส้นเดียวออกไป ครีบหางตัดตรง ตัวสีขาว เหลือง มีแถบสีดำาหรือม่วง 2 แถบ พาดขวางลำาตัวและครีบ ครีบหลัง ครีบอกและครีบหางสี เหลืองอ่อน อาศัยในเขตชายฝั่งตืำน ๆ หินกอง และแนวปะการัง พบทั่วไป 15 - 25 เซนติเมตร ขนาดใหญ่สุด 46 เซนติเมตร กินแพลงก์ตอนสัตว์ แมงกะพรุน และดอกไม้ทะเล เป็นปลา สวยงาม ปลาสลิดหินสามจุด, โดมิโน THREE - SPOTTED DAMSELFISH, DOMINO : Dascyllus trimaculatus ลำาตัวป้อมสัำนรูปไข่ ครีบหางเว้าตืำน ตัวสีดำามีจดสีขาวอยู่เหนือ ุ ตา 1 จุด กลางหลังเหนือเส้นข้างลำาตัวข้างละ 1 จุด จุดสีขาวเห็นได้ชัดในปลาขนาดเล็ก เมื่อโต เต็มที่จะเลือนหายไป พบอยู่ตามแนวปะการังทั่วไปในน่านนำำาไทย ขนาด 6 เซนติเมตร กินสัตว์ หน้าดิน เป็นปลาสวยงาม ปลามุกประดิษฐ์ RETICULATE DASCYLLUS : Dascyllus reticulatus รูปร่าง ค่อนข้างกลม ตัวสีขาวอมเหลือง มีแถบสีดำาพาดผ่านครีบอกเป็นแนวยาวจรดครีบท้อง และผ่าน ตลอดถึงครีบหลังตอนบน อาศัยในทะเลตามแนวปะการังฝั่งอันดามัน ขนาด 9 เซนติเมตร กิน สัตว์นำาขนาดเล็ก เป็นปลาสวยงาม ปลากัดทะเล COMET : Calloplesiops altivelis ลำาตัวแบนข้างสีนำาเงินเข้มเกือบดำา ครีบหลังและครีบท้องแผ่กว้าง มีจุดสีขาวกระจายอยู่ทั่วตัว และจุดสีดำาขนาดใหญ่อยู่กึ่งกลางลำา ตัวบริเวณครีบหลัง ชอบหลบซ่อนตัวตามซอกหลืบ และออกหากินตอนกลางคืน โอกาสพบเห็น จึงมีน้อย อาศัยในแนวปะการังทางฝั่งทะเลอันดามัน ขนาด 8 - 12 เซนติเมตร กินสัตว์นำาที่มี ขนาดเล็กกว่า เป็นปลาสวยงาม พันธุ์ปลาขนาดใหญ่ในแนวปะการังฝั่งอันดามัน เช่น ปลานกแก้วเขียว RIVULATED PARROT FISH : Callyodon fasciatus รูปร่าง ค่อนข้างป้อม ปากเล็กมีฟันเรียงกันเป็นแผ่น เกล็ดใหญ่ ตัวสีเขียว ฐานของเกล็ดสีแดง จะงอย ปากและบริเวณแก้มมีสีแดงปนส้มและมีเส้นสีเขียว ครีบหางมีจุดสีเขียวประอยู่ทั่วไป อาศัยใน หินกองและปะการังทั่วไปทัำงสองฝั่งทะเลไทย ขนาด 40 - 50 เซนติเมตร กินปะการัง สัตว์หน้า ดิน ใช้เป็นอาหาร ปลาขีำตังเบ็ดฟ้า POWDERBLUE SURGEONFISH : Acanthurus leucosternon รูปร่างแบนข้าง ปากเล็ก ตัวสีฟ้า ครีบหลังและโคนหางสีเหลือง มีเงียงที่โคน ่ หาง เมื่อตายสีจะเปลียนเป็นสีนำาตาลอย่างรวดเร็ว อาศัยในทะเลอันดามัน ไม่พบในอ่าวไทย พบ ่ มากที่สิมิลัน ขนาด 30 เซนติเมตร กินสัตว์และพืช เป็นปลาสวยงาม ปลาขีำตังเบ็ดเหลือง YELLOW SAILFIN TANG : Zebrosoma flavescens ลำา ตัวแบนข้าง รูปร่างคล้ายสี่เหลียมขนมเปียกปูน ตัวสีเหลืองตลอด ครีบหางมีเงี่ยง ครีบหลังและ ่ ครีบก้นค่อนข้างใหญ่ อาศัยในแนวปะการังในทะเลอันดามัน ขนาด 20 - 25 เซนติเมตร กินสัตว์ นำำาขนาดเล็กและสาหร่ายทะเล เป็นปลาสวยงาม ปลาวัวดำา BLACK TRIGGERFISH : Odonus niger ลำาตัวแบนข้างรูปไข่ ครีบหาง เว้าลึกเป็นรูปจันทร์เสีำยวมีปลายเรียว ตัวสีนำาเงินอมเทา ปากมีลายคาดสีนำาเงินถึงครีบอกและตา ขอบเกล็ดเป็นตารางเห็นได้ชัด ครีบหลังและครีบก้นมีขอบสีนำาเงิน ขนาดใหญ่สุด 40
  • 10. เซนติเมตร อาศัยในแนวปะการังของทะเลอันดามัน กินกุ้ง หอย ปู และสัตว์หน้าดินต่าง ๆ ใช้ บริโภคได้แต่เป็นปลาที่พบน้อย