SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 74
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 11
          การเงินระหว่างประเทศ
        (International Finance)

         ประเทศไทยมี ก ารติ ด ต่ อ กั บ ต่ า งประเทศทั้ ง
ทางด้ า นการค้ า และการลงทุ น ค่ อ นข้ า งมาก ดั ง นั้ น
ตลาดปริ ว รรตเงิ น ตราระหว่ า งประเทศจึ ง มี บ ทบาท
สำา คั ญ ในการสนั บ สนุ น ให้ ก ารค้ า และ การลงทุ น
ระหว่ า งประเทศเป็ น ไปอย่ า งราบรื่ น มี เ สถี ย รภาพ
บทบาทและผลกระทบของตลาดปริ ว รรตเงิ น ตรา
ระหว่ า งประเทศนั บ วั น จะทวี ม ากขึ้ น เมื่ อ ระบบ
เศรษฐกิจของประเทศเชื่ อ มโยงกั น มากขึ้นตามกระ
แสโลกาภิวัตน์และนโยบายการเปิด เสรี ภาคการเงิน
ของไทย ดังนั้น จึงมีความจำาเป็นทีผประกอบการต้อง
                                        ่ ู้
มี ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การเงิ น ระหว่ า งประเทศ ใน
ประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี้
                       1. ตลาดการเงิ น ระหว่ า งประเทศ
(International Financial Markets)
        2. ต ล า ด ป ริ ว ร ร ต เ งิ น ต ร า      (Foreign
           Exchange Markets)
        3. ระบบอัตราแลกเปลียน    ่
        4. ทฤษฎี อ ธิ บ ายการเปลี่ ย นแปลงของอั ต รา
           แลกเปลียน ่
        5. วิวฒนาการระบบอัตราแลกเปลียนของโลก
              ั                               ่
        6. วิวฒนาการระบบอัตราแลกเปลียนของไทย
                ั                               ่
7. สหภาพเศรษฐกิ จ และการเงิ น ยุ โ รปและ
          บทบาทของเงิน eoru
        8. ก า ร ล ง ทุ น ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ (Foreign
          Investment)

11.1 ความหมาย และความสำา คั ญ ของตลาด
การเงินระหว่างประเทศ
          ตลาดการเงินระหว่างประเทศ (international
financial markets) มี ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ บ ท บ า ท
หน้ า ที่ ค ล้ า ยกั บ ตลาดการเงิ น ของแต่ ล ะประเทศ
(domestic financial markets) ซึ่งประกอบไปด้วย
3 ต ล า ด คื อ ต ล า ด เ งิ น ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ
(international money markets) ตลาดทุน ระหว่ า ง
ป ร ะ เ ท ศ (international capital markets) แ ล ะ
ต ล า ด ป ริ ว ร ร ต เ งิ น ต ร า (foreign exchange
markets) ตลาดการเงิ น ระหว่ า งประเทศทำา หน้ า ที่
ระดมเงิ น ทุ น จากกลุ่ ม ประเทศหรื อ กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ที่ มี
อุ ป ทานส่ ว นเกิ น ของเงิ น ทุ น ไปสู่ ป ระเทศหรื อ กลุ่ ม
ธุรกิจที่มีอุปสงค์ส่วนเกินของเงินทุน และทำา หน้าที่
ส นั บ ส นุ น ธุ ร ก ร ร ม ที่ เ กิ ด ขึ้ น ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ
(international transactions) เช่ น การค้ า ระหว่ า ง
ประเทศ การลงทุนระหว่างประเทศ และการโอนเงิน
ระหว่ า งประเทศ รวมทั้ ง เป็ น แหล่ ง ที่ นั ก ลงทุ น จะ
แสวงหากำา ไรสู ง สุ ด หรื อ ช่ ว ยลดความเสี่ ย ง (risk)
โดยการจั ด สรรเงิ น ทุ น (portfolio) ไปยั ง ตลาดเงิ น
และตลาดทุนทีกระจายอยูทั่วโลก รวมทั้งไปยังสินค้า
                     ่            ่
(products) ประเภทต่ า ง ๆ ที่ซื้อ ขาย เช่ น เงิ นสกุ ล
ห ลั ก ๆ อ นุ พั น ธ์ ท า ง ก า ร เ งิ น (financial
derivatives)1 หรื อ พั น ธบั ต ร (bonds) หรื อ หุ้ น
(stocks) เป็นต้น

11.2 ต ล า ด เ งิ น ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ
(Internationa Money Markets)
             ตลาดเงินระหว่างประเทศมีชื่อ เรี ยกแตกต่าง
กั น ใ น ห ล า ย ชื่ อ เ ช่ น Eurodollar, Eurocurrency
หรื อ IBF (International Banking Facilities) หรื อ
Offshore financial market เป็ น ต้ น ไม่ ว่ า จะเรี ย ก
ชื่อใดก็ตาม มีความหมายเป็นทีเข้าใจกันว่าเป็นตลาด
                                           ่
ที่ทำาหน้าที่ระดมเงินสกุลหลักจากแหล่งหรือประเทศ
ที่ มี เ งิ น เกิ น ความต้ อ งการ ซึ่ ง ได้ แ ก่ ป ระเทศที่ เ กิ น
ดุลการชำาระเงิน เพื่อให้ผู้ต้องการกู้หรือให้ประเทศที่
ขาดดุ ล การชำา ระเงิ น กู้ กล่ า วอี ก นั ย คื อ ทำา หน้ า ที่
หมุนเวียน “เงินระหว่างประเทศ” ที่มีค่อนข้างจำากัด
ให้เพียงพอรองรับธุรกรรมระหว่างประเทศ เช่น การ
ค้า และการลงทุน ระหว่ า งประเทศ ที่ข ยายตัว อย่า ง
รวดเร็ว
             ตลาดการเงินระหว่างประเทศและในประเทศมี
ความแตกต่า งกันอย่า งมาก ทั้งนี้ เพราะประการแรก
สิ น ค้ า ที่ ซื้ อ ขายในตลาดเงิ น ระหว่ า งประเทศหรื อ ที่
เ รี ย ก ว่ า “ เ งิ น ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ” (international
1
 ตัวอย่างของอนุพนธ์ทางการเงินที่ต่อเนื่องมาจาก “เงินตราระหว่าาง
                ั
ประเทศ” เช่น currency futures fprwards options and swaps
money or international currencies) มีหลากหลาย
ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ทองคำา เงิ น ตราสกุ ล หลั ก เช่ น
ดอลลาร์สหรัฐ ปอนด์สเตอริงค์ มาร์ค เป็นต้น สิทธิ
ถ อ น เ งิ น พิ เ ศ ษ (Special Drawing Right: SDR)
European Currency Unit (ECU) 2 และเงิ น euro
ประการที่ส อง สถาบั น หรื อ ผู้ ที่ เ ข้ า มาทำา ธุ ร กรรมใน
ตลาดการเงินระหว่างประเทศมีสถาบันหรือผู้ที่เข้ามา
ยุ่งเกี่ยวมากมายทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น ธนาคาร
แ ล ะ ส ถ า บั น ก า ร เ งิ น ที่ ทำา ห น้ า ที่ เ ป็ น ตั ว ก ล า ง
(dealers) ผู้ ส่ ง ออกและนำา เข้ า บริ ษั ท ที่ ทำา ธุ ร กิ จ
ข้ามชาติ ธนาคารกลางของแต่ละประเทศ และนัก
เก็ ง กำา ไร และประการสุ ด ท้ า ย การพั ฒ นาการของ
ตลาดเงินระหว่างประเทศและการดำา เนินการ เกิดมา
โดยตัว เองและต้องยุ่งเกี่ ยวกับธุร กรรมข้ า มประเทศ
แต่ไม่มีองค์กรระหว่า งประเทศมาวางกฎเกณฑ์และ
ดู แ ลการดำา เนิ น งานของตลาดเงิ น ระหว่ า งประเทศ
อย่างจริงจัง3 เหมือนตลาดเงินภายในประเทศ
          องค์ ป ระกอบที่ สำา คั ญ ของตลาดเงิ น ระหว่ า ง
ป ร ะ เ ท ศ คื อ ต ล า ด ป ริ ว ร ร ต เ งิ น ต ร า (foreign
exchange market) ประเทศทั่ ว โลกค้ า ขายติ ด ต่ อ
กั น และใช้ เ งิ น สกุ ล ที่ ต่ า งกั น จึ ง จำา เป็ น ต้ อ งมี ต ลาด
2
  SDR, ECU เป็นเงินระหว่างประเทศที่สร้างขึ้นมาโดยองค์กรพิเศษเป็นเงิน
ที่ อ ยู่ ใ นรู ป ของบั ญ ชี ไม่ ใ ช่ เ ป็ น ตั ว เงิ น เหมื อ นเงิ น สกุ ล หลั ก ใช้ ชำา ระหนี้
ระหว่างประเทศเฉพาะภาครัฐเท่านัน               ้
3
    ในอดีตประเทศส่วนใหญ่ทั่ว โลกเคยใช้ ระบบการเงิน ที่ เรี ย กว่ า Bretton
Woods ซึ่ ง ดู แ ลโดย IMF แต่ ย กเลิ ก ไปในปี 2514 ปั จ จุ บั น มี อ งค์ ก รบาง
อ ง ค์ ก ร ดู แ ลเ ป็ น กา ร เฉ พา ะ เ รื่ อ ง เช่ น BIS (Bank for International
Settlement) หรือ IMF ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวข้อ 9.
ปริวรรตเงินตรา เพื่อเป็นแหล่งให้มีการแลกเปลี่ยน
เงินตราหรือซือขายเงินตราสกุลต่างๆ ตลาดปริวรรต
                     ้
เ งิ น ต ร า นี้ มี อ ยู่ ทุ กป ร ะ เ ท ศ โ ด ย มี ต ล า ด ใ ห ญ่ ๆ
กระจายอยู่ทั่วโลก เช่ น ในยุโรป สหรัฐอเมริก าและ
เอเซีย ตลาดเหล่านี้เชื่อมโยงกันและเปิดทำา งานต่อ
เนื่องกัน 24 ชัวโมง    ่
           ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ตลาดเงินระหว่าง
ประเทศต้องเผชิญกับปัญหาหลายๆ ประการที่สำาคัญ
คือ ปัญหาเรื่องการขาดสภาพคล่อง (Liquidity) และ
ปั ญ ห า เ รื่ อ ง ก า ร ผั น ผ ว น ข อ ง อั ต ร า แ ล ก เ ป ลี่ ย น
(Volatility) ปัญ หาแรก เป็ น ปั ญ หาการขาดแคลน
“เงิ น ระหว่ า งประเทศ” ที่ จ ะรองรั บ การค้ า และการ
ลงทุนระหว่า งประเทศที่ ข ยายตั ว รวมทั้ ง เพื่ อ สนอง
ตอบความต้องการของประเทศทีขาดดุลการชำาระเงิน ่
ทั้งนี้เนื่องจาก เงินตราสกุลหลักที่ยอมรับกันระหว่าง
ประเทศมี น้ อ ยสกุ ล ส่ ว นใหญ่ ใ ช้ เ งิ น ดอลลาร์ ส หรั ฐ
ซึ่งเป็นเงินที่ยอมรับกันแต่ไม่มีอะไรหนุนหลัง คือไม่มี
ข้ อ บั ง คั บ ท า ง ก ฎ ห ม า ย ใ น ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ ป็ น
สินทรัพย์ที่มีค่า เช่น ทองคำา เหมือนในอดีต ดังนั้น
อุปทานของเงินดอลลาร์จึงเกิดจากนโยบายทางการ
เงิ น ของประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า เมื่ อ การค้ า และการ
ลงทุนระหว่างประเทศขยายตัวตามการเจริญก้าวหน้า
และการเปิดประเทศทั่วโลก ปริมาณเงินดอลลาร์ที่
จะรองรั บ ธุ ร กรรมเหล่ า นี้ จึ งไม่ ค่ อ ยเพี ย งพอ ปั ญ หา
ประการที่สอง คือการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน
ซึ่ ง เป็ น อุ ป สรรคอย่ า งยิ่ ง ต่ อ การค้ า ระหว่ า งประเทศ
ปัญหานี้ปัจจุบันยิ่งเพิ่มมากขึนและเด่นชัดมากขึ้นเมื่อ
                              ้
เกิดวิกฤตเศรษฐกิจในเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้และ
ส่งผลกระทบไปทั่วโลกขณะนี้ ปัญหานี้ เกิดจากการ
ดำา เนินนโยบายการเปิด เสรีท างการเงิ นที่ ข าดความ
ระมัดระวังในการควบคุมและติดตามสถาบันการเงิน
แล้ว ยังเกิดจากการเก็งกำาไรของกองทุนเอกชนที่หา
กำา ไรจากการค้ า เงิ น โดยเฉพาะ hedge funds4
ปั ญ หาทั้ ง สองประการนี้ จ ะเป็ น ประเด็ น ที่ สำา คั ญ ใน
ระดับสูงจะต้องมีการพิจารณาแก้ไขในการประชุมเพือ            ่
การปฏิรประบบการเงินระหว่างประเทศในอนาคต
         ู

11.3 ต ล า ด ป ริ ว ร ร ต เ งิ น ต ร า (Foreign
Exchange Market)

        ตลาดปริว รรตเงิ น ตรา เป็ นตลาดซื้อ ขายเงิ น
ตราต่างประเทศสกุลต่าง ๆ เช่น ตลาด ปริวรรตเงิน
ตราสกุลดอลลาร์ส หรั ฐ ก็ คือ ตลาดที่ทำา การซื้อ ขาย
เงิ น ดอลลาร์ ส หรั ฐ โดยขณะหนึ่ ง ขณะใด จะมี ผู้
ต้ อ งการซื้ อ ดอลลาร์ ส หรั ฐ และผู้ ที่ ต้ อ งขายเงิ น
ดอลลาร์ ส หรั ฐ โดยผู้ ที่ ต้ อ งการซื้ อ ดอลลาร์ คื อ
พ่อค้าผูนำาเข้าสินค้าต่างประเทศ ผู้ทกำาลังจะไปเทียว
        ้                            ี่             ่
4
     เป็นการร่วมลงทุนของเอกชนในรูปของกองทุน โดยมีวัตถุประสงค์ในการ
    ลงทุน ในตราสารทางการเงิน ประเภทต่า งๆ รวมทั้ ง การลงทุ น ในการเก็ง
    กำา ไรเรื่องอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากกองทุนประเภทนี้เพิ่งเกิดใหม่และ
    ยังไม่มีกฎระเบียบในการควบคุมดูแลเหมือนกับสถาบันการเงินหรือกองทุน
    ประเภทอื่น เช่น ธนาคารพาณิช ย์ และ Mutual funds กองทุน hedge
    funds ถูกวิจารณ์ว่าเป็นส่วนที่ทำา ให้เกิดวิกฤตการณ์ใ นเอเซีย ประเทศ
    ต่าง ๆ ได้มีการเรียกร้องให้มีการควบคุมการลงทุนของกลุ่มนี้ IMF กำา ลัง
    หามาตรการ
ต่างประเทศ หรือผู้ที่ซื้อดอลลาร์ส่งไปให้บุตรหลาน
ที่เรีย นอยู่ต่า งประเทศ เป็ นต้ น สำา หรั บ ผู้ที่ต้อ งการ
ขายดอลลาร์ ได้แก่ ผู้ส่งออก ผู้ที่ได้ รับ เงิ นโอนมา
จากต่ า งประเทศ หรื อ นั ก ธุ ร กิ จ ที่ ไ ปกู้ เ งิ น ดอลลาร์
เป็ น ต้ น ราคาซื้ อ ขายดอลลาร์ ที่ กำา หนด เรี ย กว่ า “
อั ต ราแลกเปลี่ ย น” (exchange rate) โดยแสดง
จำา นวนเงิ น บาทที่ ต้ อ งใช้ ใ นการแลกเงิ น จำา นวน 1
ดอลลาร์สหรัฐฯ เช่น อัตราแลกเปลี่ยนของเงินบาท
ต่อ 1 ดอลลาร์ส หรัฐเท่ า กั บ 25.75 บาท5 ราคาซื้อ
ขายหรืออัตราแลกเปลี่ยนปรับเปลี่ยนขึ้นลงได้ กล่าว
คือ ถ้าตลาดเสรี จะขึ้นอยู่กับอุปสงค์และอุปทานของ
เงิ นตราสกุลนั้ น ๆ เช่ น กรณี ที่อั ต ราแลกเปลี่ ย นเพิ่ ม
เป็ น 40.00 บาท แสดงว่ า ค่ า เงิ น บาทเสื่ อ มค่ า ลง
(depreciation) เมื่ อ เที ย บกั บ ค่ า เงิ น ดอลลาร์ ส หรั ฐ
หรือกล่าวอีกนัยคือ ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐแข็งตัวหรือ
เพิ่ ม ค่ า ขึ้ น (appreciation) เมื่ อ เที ย บกั บ เงิ น บาท
การเสื่ อ มค่ า หรื อ เพิ่ ม ค่ า ดั ง กล่ า วให้ เ ป็ น ไปตาม
อุ ป สงค์แ ละอุป ทาน ของดอลลาร์ ส หรั ฐ ถ้ า อุ ป สงค์
มากกว่าอุปทาน ค่าเงินบาทจะเสื่อมค่า (ค่าดอลลาร์
เพิ่มค่า) แต่ถ้าอุปสงค์น้อยกว่าอุปทาน ค่าเงินบาทก็
จะเพิ่ ม ค่ า (ค่ า ดอลลาร์ ส หรั ฐ ลดค่ า ลง) ในกรณี
5
     อั ตร า แ ลกเป ลี่ ยน ที่ จะ กล่ า ว ถึ ง ใน ตำา ราเล่ ม นี้ จ ะ ใ ช้ ร ะ บบ indirect
    quotation คื อ ระบุ จำา นวนเงิ น สกุ ล ท้ อ งถิ่ น ที่ ใ ช้ แ ลกเงิ น ตราสกลุ ต่ า ง
    ประเทศจำานวน 1 หน่วย เป็นระบบที่ใช้ทั่วไปสำาหรับประเทศต่างๆ ที่เทียบ
    จำานวนเงินสกลุของตนเองเทียบกับ 1 ดอลลาร์สหรัฐ สำาหรับการกำาหนด
    อัตราแลกเปลี่ยนแบบ direct quotation เป็นการกำาหนดอัตราแลกเปลี่ยน
    โดยระบุจำานวนเงินสกุลต่างประเทศเพื่อแลกกับเงินสกุลท้องถิ่น 1 หน่วย
    เป็นวิธีการกำาหนดที่ใช้ในประเทศอังกฤษและประเทศในเครือจักรภพบาง
    ประเทศ เช่น กำาหนด 1.657 ดอลลาร์ต่อ 1 ปอนด์สเตอริงค์
ตลาดไม่เสรี คือรัฐบาลมีอำา นาจในการกำา หนดอัตรา
แลกเปลี่ ย นและต้ อ งการเปลี่ ย นแปลง เช่ น เดิ ม
กำา หนดไว้ ที่ 25.75 แล้ ว ประกาศอั ต รา ให ม่เป็น
26.00 บาท กรณี นี้ เ รี ย กว่ า เป็ น การลดค่ า เงิ น บาท
(devalue) ในทางกลับกันถ้า ประกาศอัต ราใหม่ เ ป็ น
25.25 บ า ท ก ร ณี นี้ เ รี ย ก ว่ า เ พิ่ ม ค่ า เ งิ น บ า ท
(revalue) การปรับเปลี่ยนอัตราแลกเปลี่ยนในตลาด
ประเภทนี้ จะขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาลและภาพ
รวมของเศรษฐกิจมหภาค

 รูปที่ 11.1 แสดงตลาดปริวรรตเงินตราโดยใช้
                  รูปกราฟ

อั ต ร า แ ล ก เ ป ลี่ ย น ขึ้ น ล ง เ ส รี
อัตราแลกเปลียนคงที่
            ่
                          บ     า   ท    /$
บาท/$           S
                                     S
         30 A B                    25

        25          D        /          D                  /

                       D                              D

                              100       150       ดอลลาร์
100        150             ดอลลาร์

       ในระบบอัตราแลกเปลียนเสรีนั้น เมื่ออุปสงค์
                          ่
ของเงินตราต่างประเทศ (ดอลลาร์สหรัฐ) เพิ่มสูงขึ้น
จะทำาให้ราคาของเงินตราต่างประเทศนั้นเพิ่มขึ้นจาก
25 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เป็ น 30 บาทต่อดอลลาร์
นั่นคือ ค่า เงินบาทเสื่อ มค่า ลง ในขณะที่ก รณี อัต รา
แลกเปลี่ ย นคงที่ นั้ น เมื่ อ อุ ป สงค์ ข องเงิ น ตราต่ า ง
ประเทศเพิ่ ม สู ง ขึ้ น อั ต ราแลกเปลี่ ย นจะไม่ มี ก าร
เปลี่ ย นแปลง เนื่ อ งจากถู ก กำา หนดให้ ค งที่ จ ะทำา ให้
ตลาดไม่อยู่ในดุลยภาพ ซึ่งรัฐบาลจะต้องเข้าทำาการ
แทรกแซง เพื่อให้อยู่ในระดับดุลยภาพ เช่น ขายเงิน
ตราต่างประเทศนั้นออกมาในตลาดเพื่อเพิ่มอุปทาน
ของเงินตราต่างประเทศ เป็นต้น
11.4 ประเภทของระบบอัตราแลกเปลียน
                              ่
         ระบบอัตราแลกเปลี่ย น 6 แบ่งได้ เป็ นประเภท
ใหญ่ ๆ 2 ประเภท คือ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบ
คงที่ (Fixed Exchange-Rate System) และระบบ
อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว (Flexible Exchange-
Rate System) อย่างไรก็ตามทั้งสองระบบต่างมีข้อ
บกพร่องด้วยกัน ทั้งนี้เพราะเป็นระบบที่ค่อนข้า งสุด
ขั้ ว ดั ง นั้ น ในปั จ จุ บั น ไม่ มี ป ระเทศไหนใช้ ทั้ ง สอง
ระบบนี้แล้ว หากแต่ผ่อนคลายของระบบอัตราแลก
เปลี่ ย นทั้ ง สอง ดั ง นั้ น จึ ง สรุ ป ได้ ว่ า ปั จ จุ บั น มี ร ะบบ
อัตราแลกเปลี่ย นเพิ่ ม ขึ้ น อี ก 2 ประเภทใหญ่ ๆ คื อ
ระบบอัต ราแลกเปลี่ย นแบบคงที่แ บบยื ด หยุ่ น และ
อั ต ราแลกเปลี่ย นลอยตั ว แบบจั ด การ จึ ง สรุ ป ได้ ว่ า
ระบบอัตราแลกเปลียนแบ่งได้เป็น 4 กลุม คือ
                          ่                          ่
6
       การแบ่ ง ประเภทของระบบการเงิ น ระหว่ า งประเทศอาจจำา แนกตาม
    ประเภทของสินทรัพย์ที่ใช้เป็นทุนสำารองเงินตราระหว่างประเทศ อาจแบ่ง
    ได้ เ ป็ น 3 ประเภทหลั ก ได้ แ ก่ (1) ระบบมาตรฐานทองคำา (Gold
    standard) (2) ระบบ ปริ ว รรตทอง คำา (Gold- Exchange Standard)
    และ (3) ระบบทุนสำารองเงินตราสกุลหลัก (reserve-currency system)
(1) ระบบอัตราแลกเปลียนแบบคงที่
                             ่
(Fixed Exchange Rate System)
        (2) ระบบอัตราแลกเปลียนแบบยืดหยุน
                               ่        ่
      (Modified Fixed Exchange Rate System)
        (3) ระบบอัตราแลกเปลียนแบบจัดการ
                                 ่
      (Managed Floating Exchange Rate
      System)
        (4) ระบบอัตราแลกเปลียนลอยตัวอย่างเสรี
                                   ่
      (Freely Floating Exchange Rate
      system)

        รายละเอียดของแต่ละระบบเป็นดังนี้

         (1) Fixed Exchange Rate System
         ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ซึ่งมีค่าเสมอภาค
ตายตั ว อั ต ราแลกเปลี่ ย นจะเคลื่ อ นไหวได้ ภ ายใน
ขอบเขตแคบๆ จากค่ า เสมอภาค (par value) เป็ น
ระบบทีมกฎระเบียบทีบงคับให้ธนาคารชาติหรือหน่วย
        ่ ี               ่ ั
งานที่รับผิดชอบต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครั ด ซึ่งมีข้อ
แตกต่ า งจากระบบอั ต ราแลกเปลี่ ย นอื่ น ที่ ธ นาคาร
ชาติหรือหน่วยงานทีเกี่ยวข้องสามารถใช้ดลยพินิจใน
                        ่                          ุ
การจัดการกับตลาดปริวรรตตามที่เห็นสมควร ระบบ
มาตรฐานทองคำา (Gold Standard) เป็ น ต้ น แบบ
ของระบบอั ต ราแลกเปลี่ ย นประเภทนี้ ต่ อ มาได้ ถู ก
ยกเลิกไป เนื่องจากเป็นระบบที่ไม่ยืดหยุ่น เนื่องจาก
ว่ า ประเทศที่อ ยู่ ภ ายใต้ ร ะบบนี้ จ ะสร้ า งเงิ น ขึ้ น มาได้
ต้องมีป ริ ม าณทองคำา หนุ นหลั งอยู่ ต ามที่ได้ป ระกาศ
และต้องยินยอมให้ใครก็ตามที่ถือเงินของประเทศตน
สามารถมาแลกเปลี่ยนเป็นทองคำา ได้ ระบบนี้จึงเป็น
อุ ป สรรคต่ อ การค้ า ระหว่ า งประเทศและการพั ฒ นา
ประเทศ เพราะปริ ม าณเงิ น ไม่ ไ ด้ ข ยายตั ว ไปตาม
ปริมาณการค้าและการลงทุน หากแต่ขยายตัวไปตาม
ปริม าณทองคำา ซึ่ง ถู ก กำา หนดโดยปั จ จั ย อื่ น ที่ ไ ม่ ใ ช่
ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
(2)         Modified Fixed-Exchange Rate
System
        ข้อบกพร่องของระบบอัต ราแลกเปลี่ย นคงที่
แบบ Gold Standard ที่ ไ ม่ ยื ด หยุ่ น ต่ อ การขยายตั ว
ทางการค้า และการลงทุน ระหว่า งประเทศทำา ให้ทุก
ประเทศยกเลิกใช้ระบบนี้ แม้ในปัจจุบันไม่มีประเทศ
ไ ห น ใ ช้ 7ร ะ บ บ อั ต ร า แลก เป ลี่ ย น ค งที่ แ บ บ Gold
Standard แต่ยัง มีข้อ ดี ข องระบบอัต ราแลกเปลี่ย น
แบบคงที่ โดยเฉพาะประเด็น เรื่อ งการมีเสถีย รภาพ
ของอัตราแลกเปลียน ดังนันจึงมีการปรับเปลียนระบบ
                          ่     ้                     ่
อัตราแลกเปลี่ย นแบบ Gold Standard มาเป็นระบบ
อั ต ราแลกเปลี่ ย นแบบคงที่ ที่ มี ค วามยื ด หยุ่ น และ
สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงทางการค้าและการ
ลงทุนระหว่างประเทศ ตัวอย่างของระบบอัตราแลก
เปลียนแบบคงทีมดัดแปลงแล้ว เช่น ระบบอัตราแลก
      ่               ่ ี
เปลี่ย นแบบคณะกรรมการกำา หนดอัต ราแลกเปลี่ย น
(Currency Board System)8 ระบบอัตราแลกเปลี่ย น
แ บ บ ต ะ ก ร้ า เ งิ น (Basket of Currencies) ร ะ บ บ
European Monetary System และระบบ Bretton
Woods เป็นต้น
        (3) Managed Floating Exchange
Rate System


7
     ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศสุดท้ายที่ใช้ระบบนี้   โดยประกาศ
    ยกเลิกเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2514
8
เป็ น ระบบที่ เ กิ ด จากการปรั บ ปรุ ง ระบบอั ต รา
แลกเปลี่ย นแบบเคลื่ อ นไหวเสรี กล่ า วคื อ เป็ น ระบบ
อัตราแลกเปลียนทีไม่มีค่าเสมอภาคตายตัว แต่ปล่อย
                   ่   ่
ให้อุปสงค์และอุปทานของเงิ นสกุลนั้ นทำา งานได้ใน
ระดั บ หนึ่ ง โดยที่ ธ นาคารกลางของประเทศเข้ า ไป
แทรกแซง เพื่อจำากัดขนาดและความผันผวนของการ
เปลี่ ย นแปลงอั ต ราแลกเปลี่ ย น ซึ่ ง เป็ น จุ ด ด้ อ ยของ
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวอย่างเสรี ระบบนี้
จึ ง ใช้ กั น แพร่ ห ลายทั่ ว โลก รวมทั้ ง ระบบอั ต ราแลก
เปลียนของไทยในปัจจุบน จัดอยูในระบบนี้
      ่                          ั    ่
           (4) Freely Flexible Exchange Rate
System
             ระบบอั ต ราแลกเปลี่ ย นเคลื่ อ นไหวขึ้ น ลง
อย่างเสรี ภายใต้ระบบนี้ อัต ราแลกเปลี่ย นของเงิ น
สกุลใด ๆ จะเคลื่อนไหวตามอุปสงค์และอุปทานของ
เงิ น ตราสกุ ล นั้ น ๆ โดยธนาคารกลางจะไม่ มี ก าร
แทรกแซง ในอดี ต มี ใ ช้ ร ะบบนี้ ใ นระยะสั้ น ๆ ใน
ประเทศแถบยุโรปช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ทั้งนี้
เพราะมีข้อเสียหลายประการ ที่สำา คัญคื อ ค่ า อัต รา
แลกเปลี่ยนจะผันผวนขึ้นลงตลอดเวลาตามอุปสงค์
และอุปทาน ทำาให้การค้าระหว่างประเทศเป็นไปด้วย
ความยากลำาบาก และธนาคารชาติไม่สามารถเข้าไป
แทรกแซงตลาดปริ ว รรตเงิ น ตราได้ เป็ น ผลให้
น โย บ า ย กา ร เงิ นไ ม่มีป ร ะ สิ ท ธิภา พ ที่ จ ะ ใช้ เ พื่ อ
แทรกแซงอั ต ราแลกเปลี่ ย น อั ต ราดอกเบี้ ย และ
ปริมาณเงิน
11.5 ข้อดีและข้อเสียของระบบอัตราแลก
   เปลียนแบบคงทีและระบบอัตราแลกเปลียน
           ่             ่                          ่
           ลอยตัวอย่างเสรี
             ข้อดีของระบบอัตราแลกเปลียนคงที่ สรุปได้
                                            ่
ดังนี้
         (1) ทำาให้อตราแลกเปลียนมีเสถียรภาพ ซึงจะ
                    ั              ่                  ่
           เป็นประโยชน์อย่างยิงทีจะสนับสนุนการค้าและ
                                  ่ ่
           การลงทุนระหว่างประเทศ และเป็นสิงทีนัก  ่ ่
           ธุรกิจต้องการ กล่าวคือนักธุรกิจและนัก
           ลงทุนไม่ตองเผชิญกับความเสียงในเรื่องการ
                       ้                      ่
           ผันผวนของอัตราแลกเปลียน การวางแผน
                                      ่
           ดำาเนินงานเป็นไปโดยสะดวก
         (2) ต้นทุนในการดำาเนินธุรกิจระหว่างประเทศลด
           ลง เนื่องจากมีความแน่นอนหรือมีความเสียง      ่
           น้อย จึงไม่จำาเป็นต้องเสียค่าคุมครองความ
                                          ้
           เสียง เช่น การซือขายเงินตราต่างประเทศล่วง
               ่             ้
           หน้า
         (3) ช่วยให้รัฐบาลสามารถควบคุมปัญหาเงินเฟ้อ
           ทีอาจเกิดจากการเสือมค่าของเงินได้
             ่                  ่
           (imported inflation)
             ข้อเสียของระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ สรุป
ได้ดงนี้
       ั
         (1) กรณี กำาหนดค่าอัตราแลกเปลียนสูงเกินไป
                                                ่
           (over value) จะทำาให้ราคาสินค้านำาเข้าถูก
           เกินไป ขณะทีราคาสินค้าออกจะแพงเกินไป
                           ่
ลักษณะเช่นนี้จะมีผลทำาให้ดุลการค้าและดุล
  บัญชีเดินสะพัดเลวลงได้
(2) ในกรณีทกำาหนดค่าเงินสูงเกินไป อาจถูก
             ี่
  โจมตีค่าเงินจากนักเก็งกำาไรทังภายในและต่าง
                                      ้
  ประเทศได้ ถ้าหากเงื่อนไขอืน ๆ เอืออำานวย
                                 ่          ้
  ซึงได้แก่ เงินทุนสำารองระหว่างประเทศมีนอย
    ่                                               ้
  ตลาดเงินของประเทศเชื่อมโยงกับตลาดเงิน
  ระหว่างประเทศ (ไม่มีการควบคุมตลาด
  ปริวรรตเงินตรา) และกรณีทกระแสเงินตรา
                                   ี่
  ต่างประเทศ (cash flow) ซึงวัดจากดุลบัญชี
                               ่
  เดินสะพัดขาดดุลมาก
(3) ภายใต้ระบบอัตราแลกเปลียนคงที่ เมื่อเกิด
                             ่
  ปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดหรือ
  ดุลการชำาระเงิน อัตราแลกเปลียนไม่สามารถ ่
  เป็นกลไกช่วยในการปรับตัวเพือแก้ไขปัญหา่
  การขาดดุลได้ ซึงตรงข้ามกับการปล่อยให้
                    ่
  อัตราแลกเปลียนลอยตัว อัตราแลกเปลียนจะ
                ่                                 ่
  ช่วยในการปรับตัวโดยผ่านขบวนการทีอตรา        ่ ั
  แลกเปลียนเสือมค่า (depreciate)
           ่      ่
ข้ อ ดี ข องระบบอั ต ราแลกเปลี่ ย นแบบเคลื่ อ นไหว
  อย่างเสรี สรุปได้ดงนี้       ั
      (1) อัตราแลกเปลียนลอยตัวช่วยให้มการปรับดุล
                                 ่                  ี
          บัญชีเดินสะพัดหรือดุลบัญชีการชำาระ เงินได้
      (2) ธนาคารกลางไม่จำาเป็นต้องดำารงทุนสำารอง
          ระหว่างประเทศไว้เป็นจำานวนมากเพื่อปกป้อง
          ค่าเงิน
      (3) ไม่ตองกังวลเรื่องการโจมตีค่าเงิน
                  ้
           ข้อ เ สีย ข อ ง ร ะ บ บ อัต ร า แ ล ก เ ป ลี่ ย น แ บ บ
เคลื่อนไหวอย่างเสรี สรุปได้ดงนี้       ั
      (1) ภายใต้ ร ะบบอั ต ราแลกเปลี่ ย นลอยตั ว มี ข้ อ
        เสียที่สำาคัญคืออัตราแลกเปลี่ยนจะผันผวนขึ้น
        ลงไปตามอุปสงค์และอุปทาน รวมทั้งการเก็ ง
        กำา ไร ซึ่ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ความไม่ แ น่ น อนในเรื่ อ ง
        อัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งเป็นอุปสรรค์สำาคัญในการ
        ดำา เนิ น ธุ ร กิ จ ระหว่ า งประเทศ เพราะจะทำา ให้
        เกิด กำา ไรหรื อ ขาดทุ น ได้ จ ากการผั น ผวนของ
        อัตราแลกเปลียน       ่
      (2) นโยบายในการรักษาเสถียรภาพของระบบ
        เศรษฐกิจของภาครัฐมีประสิทธิภาพลดลง เช่น
        การควบคุมภาวะเงินเฟ้อ เป็นต้น

    ตารางที่ 11.1 สรุปประเภทของระบบอัตรา
                   แลกเปลียน   ่
ระบบ          ลักษณะและชือระบบ
                             ่     ทุนสำารอง
Fixed         อัตราแลกเปลียน
                           ่       เป็นทองคำา
Exchange      กำาหนดคงที่ คือระบบ ในอัตราส่วน
Rates       มาตรฐานทองคำาทัว     ่       ทีกำาหนด
                                            ่
             โลกใช้ระบบนีกอนปี้ ่         (par value)
             1914 และในช่วง
             1926-33
 Modified    อัตราแลกเปลียน ่             ทองคำา เงิน
 Fixed       กำาหนดคงทีแต่ปรับ
                          ่               สกุลหลัก
 Exchange    เปลี่ยนได้เป็นระยะ           เช่น ดอลลาร์
 Rates       ตัวอย่างของระบบนีคือ     ้   สหรับ
             Bretton Woods
             System (IMF) 1947
             -1971, EMS (1979 -
             ปัจจุบัน, ระบบตะกร้า
             เงิน ระบบคณะ
             กรรมการ
 Managed     ระบบลอยตัวแบบกึง       ่     ส่วนใหญ่เป็น
 Floating    จัดการ ใช้กันแพร่            เงินสกุลต่าง
 Exchange    หลาย เช่น USA, UK,           ประเทศ เช่น
 Rate        Thailand และประเทศ           $ DM JY,PS
             ASEAN
  Freely     อดีตเคยใช้ เช่นใน  ดำารงไว้นอย
                                         ้
  Floating   ประเทศอังกฤษช่วง   เป็นเงินตรา
  Exchange   1918-26            สกุลหลัก
  Rates
  11.6 ทฤษฎีทใช้อธิบายการเปลียนแปลงใน
              ี่             ่
อัตราแลกเปลียน
            ่
ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ทใช้อธิบายการ
                          ี่
เปลียนแปลงของอัตราแลกเปลียนภายใต้ระบบอัตรา
    ่                        ่
แลกเปลียนลอยตัวอย่างเสรีมี 2 ทฤษฎี คือ
       ่

  (1) ทฤษฎีความเสมอภาคแห่งอำานาจซือ
                                  ้              [The
     Purchasing - Power Parity Theory
     (PPP) ]
        ทฤษฎีนี้พัฒนาการมาจากการค้าระหว่าง
ประเทศ โดยเชื่อว่า อัตราแลกเปลียนจะมีความ
                                  ่
สัมพันธ์ระหว่างระดับราคาสินค้าภายในประเทศและ
ต่างประเทศ และเชื่อว่าอัตราแลกเปลียนระหว่างเงิน
                                     ่
สองสกุลจะปรับตัวเพือให้สอดคล้องกับช่องว่าง
                        ่
ระหว่างอัตราเงินเฟ้อ (differential rates of
inflation) ระหว่างสองประเทศ โดยจะมีทศทางการ ิ
ปรับตัวจนกระทังดุลยภาพของดุลการชำาระเงินของ
               ่
ทังสองประเทศได้ดล แนวคิดของทฤษฎีนอยูภาย
  ้                   ุ                       ี้ ่
ใต้แนวคิดเรื่อง “กฎแห่งราคาเดียว” (Law of one
price) ซึงหมายความว่า สินค้าชนิดเดียวกัน ขาย
          ่
ในแต่ละประเทศ ราคาขายจะเท่ากัน เมื่อคิดอยูในรูป    ่
เงินสกุลเดียวกัน ซึงแสดงได้ตามสมการ ต่อไปนี้
                    ่
                                       E P* = P
            โดยที่ E = อัตราแลกเปลียน (   ่
แสดงราคาของเงินสกุลในประเทศต่อ
                 1 หน่วยของเงินสกุลต่างประเทศ)
P = ระดับราคาสินค้าใน
ประเทศ ในรูปของเงินสกุลท้องถิ่น
                  P* = ระดับราคาสินค้าต่าง
ประเทศ ในรูปของเงินตราต่างประเทศ

       ทังนี้ข้อสรุปของทฤษฎีนี้อยูภายใต้ข้อสมมติ
         ้                        ่
ว่าตลาดการค้าระหว่างประเทศมีการแข่งขันอย่าง
สมบูรณ์ ไม่มีตนทุนค่าขนส่งและการกีดกันทางการ
                ้
ค้าใด ๆ จากสูตรทีแสดง “Law of one price”
                     ่
สมารถคำานวณหาอัตราแลกเปลียน ได้คอ
                             ่        ื
                                               P
                                    E =        P*

        สู ต ร ที่ แ ส ด ง มี ชื่ อ เ รี ย ก ท า ง วิ ช า ก า ร ว่ า “
Absolute Purchasing Power Parity” ซึ่ ง ใ นทา ง
ปฎิบติจะมีปญหาในการพิจารณาว่าระดับราคาทีกล่าว
      ั       ั                                                ่
ในทฤษฎีจะใช้กับสินค้าประเภทใด และกลุ่มสินค้าที่
บริโภคในแต่ละประเภทก็มีนำ้าหนักต่างกัน ดังนั้นใน
ทางปฏิบัติจึงนิย มใช้ ดั ชนี ร าคาแทนระดับราคา ซึ่ง
ดัชนีราคาที่นิยมใช้มี 3 ประเภท คือ CPI, WPI และ
GDP deflator
        ในกรณีทพิจารณาในรูปของอัตราการ
                     ี่
เปลียนแปลงของอัตราแลกเปลียน หรือทีเรียกว่า “
    ่                                      ่           ่
Relative Purchasing Power Parity” สูตรในการ
คำานวณ คือ
                                  ∆E = ∆Pt / ∆P*t
หรือ                % ∆E = % ∆Pt - %
∆P*t
        โดยที่ แสดงถึงการเปลี่ยนแปลง ใน
กรณีทเราแสดง Relative PPP ในรูปของระดับอัตรา
     ี่
แลกเปลียน เราจะได้สมการ
         ่
                                         Pt / P0
                               PPPEt =   Pt* / P0*   . E0


โดยที่ PPPEt = อัตราแลกเปลียนตามทฤษฎี
                              ่
relative PPP ณ เวลา t
          Pt = ระดับราคาภายในประเทศ ณ เวลา t
          P0 = ระดับราคาภายในประเทศ ณ เวลา 0
ซึงเป็นปีฐาน
  ่
          P* t = ระดับราคาต่างประเทศ ณ เวลา t
          P* 0 = ระดับราคาต่างประเทศ ณ เวลา 0
ซึงเป็นปีฐาน
    ่
          E0 = อัตราแลกเปลียน ณ ปีฐาน
                                ่
        จากสูตรคำา นวณหาอัตราแลกเปลี่ยนไม่ว่าจะ
เป็ น Absolute PPP หรื อ Relative PPP จะเห็ น ว่ า
อัตราแลกเปลี่ยนจะถูกกำาหนดจากระดับราคาเปรียบ
เที ย บ และการปรั บ เปลี่ ย นในอั ต ราแลกเปลี่ ย นอั น
เนื่องมาจากความแตกต่างระหว่างการเปลี่ย นแปลง
ของระดับราคา จะเกิดขึนได้ 2 ทางคือ
                        ้
ทางแรก เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงในราคา
    เปรี ย บเที ย บระหว่ า งสิ น ค้ า เข้ า และสิ น ค้ า ออกทั้ ง
    สองประเทศ กล่าวคือ ประเทศที่มีอัตราเงินเฟ้อสูง
    กว่าโดยเปรียบเทียบกับอีกประเทศ ราคาสินค้าส่ง
    ออกจะสูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับราคาสินค้านำา เข้า
    จึงทำาอุปสงค์สินค้าสินค้านำา เข้าสูงขึ้น และอุปสงค์
    สิน ค้ า ส่ ง ออกลดลงและดุ ล การค้ า ของประเทศจะ
    เลวลง จากผลดังกล่า วจึงทำา ให้อุปสงค์ ข องเงิ น
    ตราสกุลต่างประเทศเพิ่มขึ้น ขณะทีอุปสงค์สำาหรับ ่
    เงินตราสกุลของประเทศตนเองลดลง จึงทำาให้ค่า
    เงินของประเทศที่มีอัตราเงินเฟ้อสูงกว่าเสื่อมค่าลง
    (depreciate) ในทิศทางกลับกัน สำาหรับประเทศที่
    มี อัต ราเงิ น เฟ้ อ ตำ่า กว่ า ราคาสิ น ค้ า เข้ า สู งทำา ให้ ล ด
    การนำา เข้า อุปสงค์สำา หรับเงินตราประเทศคู่ค้าลด
    ลง ขณะที่ราคาสินค้าส่งออกโดยเปรียบเทียบจะถูก
    ลง ส่งออกจะเพิ่มขึ้น ดุลการค้าจะปีขึ้น ค่าเงินของ
    ป ร ะ เ ท ศ อั ต ร า เ งิ น เ ฟ้ อ ตำ่า ก ว่ า จ ะ เ พิ่ ม ขึ้ น
    (appreciate) ซึ่ ง จ ะ มี ผ ล ต่ อ อั ต ร า แ ล ก เ ป ลี่ ย น
    ปัจจุบัน (spot exchange rates)
(      ทางทีสอง อัตราแลกเปลียนอาจเปลียนแปลงเพื่อ
              ่                        ่              ่
    สนองตอบต่อความแตกต่างของอัตราเงินเฟ้อ เป็น
    ผลมาจาก การเก็ ง กำา ไร (speculation) ขณะที่
    ราคาของประเทศหนึ่ ง เปลี่ ย นแปลงสู ง กว่ า อี ก
    ประเทศหนึ่ง ผูจัดการกองทุนและพวกนักเก็งกำาไร
                         ้
    คาดการณ์ ว่ า อำา นาจซื้ อ ของเงิ น ของประเทศที่ มี
    อัตราเงิ น เฟ้ อสูงจะลดลง พวกกองทุ นและนั ก เก็ ง
กำาไรจึงต้องเปลี่ยนการถือเงินจากสกุลเงินประเทศ
 ที่มีอำานาจซื้อลดลงไปถือครองเงินของอีกประเทศ
 จึ ง เป็นผลทำา ให้ค่ า เงินข องป ร ะ เทศที่ ที อั ต ร า
 เงินเฟ้อสูงเสื่อมค่าลง ซึ่งจะมีผลต่อ อัตราซื้อขาย
 ล่วงหน้า (forward exchange rates)

Real exchange rate เป็นดัชนีทสร้างขึ้นโดยการนำา
                                ี่
เอาอัตราแลกเปลียนตัวเงินมาพิจารณาร่วมกับระดับ
                  ่
ราคาสินค้าภายในและต่างประเทศ ทังนี้เพือเปรียบ
                                    ้      ่
เทียบระดับราคาสินค้าของสองประเทศว่าจะแตกต่าง
กันมากน้อยเพียงใด จึงเป็นดัชนีที่ใช้วัดศักยภาพ
การแข่งขันของทังสองประเทศ สูตรในการคำานวณ
                ้
                       ep *
            ส = P
       โดยที่          = อัตราแลกเปลียนทีแท้จริง
                                         ่   ่
       (real exchange rate)
                    e = อัตราแลกเปลียนตัวเงิน
                                       ่
       (nominal exchange rate)
                    p* = ระดับราคาสินค้าต่าง
       ประเทศ
                    P = ระดับราคาสินค้าในประเทศ

  (2) ทฤษฎีความเสมอภาคของอัตราดอกเบีย                 ้
  [The Interest - Rate Parity Theory
  (IRP)]
         ทฤษฎี นี้ เ ชื่ อ ว่ า อั ต ราแลกเปลี่ ย นจะปรั บ
เปลี่ ย นเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความแตกต่ า งระหว่ า ง
อัตราดอกเบี้ย ทั้งนี้มีข้อสมมุติว่าเมื่อตลาดการเงิน
ของประเทศเปิ ด เสรี ความแตกต่ า งระหว่ า งอั ต รา
ดอกเบี้ย ของสินทรัพ ย์ ป ระเภทต่ า งๆ เช่ น พั นธบั ต ร
ตั๋ ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น จะมี ผ ลทำา ให้ นั ก ลงทุ น เคลื่ อ นย้ า ย
เงินทุนจากประเทศที่มีอัตราดอกเบี้ยตำ่าไปสู่ประเทศ
ที่มีอัตราดอกเบี้ยสูง การเคลื่อนย้ายเงินทุนดังกล่าว
จะมี ผ ลกระทบต่ อ อั ต ราแลกเปลี่ ย น กล่ า วอี ก นั ย
หนึ่ง คือ ถ้ามีความแตกต่างระหว่างผลตอบแทนจาก
การลงทุ น ทางการเงิ น ระหว่ า งประเทศ จะเกิ ด การ
arbitrage จนกระทั่งผลตอบแทนทั้งภายในและต่าง
ประเทศเท่ากัน ตัวอย่างเช่น ถ้า ฝากเงิน B บาท
อัตราดอกเบีย i ต่อปี สินปีจะได้รบเงินจำานวน
                 ้               ้          ั
                                      B + i (B) = B (1 +
i ) บาท
           ถ้านักลงทุนมีทางเลือกในการเปลี่ยนเงิน 1
บาท กำาหนดให้เปลี่ยนเป็นดอลลาร์จะได้เงินจำานวน
                   1
เท่ากับ 1 . E โดยที่ E คือ อัตราแลกเปลียน                 ่
กำาหนดในรูปของเงินบาทต่อ 1 หน่วยของเงินตรา
ต่างประเทศ แล้วไปฝากยังต่างประเทศสมมุติวาได้                ่
รับดอกเบียร้อยละ i* สินปีจะได้รับเงินเท่ากับ
              ้                ้
                                         1
                                  B x ( E ) + i* { B x (
1                  1
E   ) } = B x ( E ) ( 1+ i* )
     อย่างไรก็ตาม ในการนำา เงิ นไปลงทุนในต่ า ง
ประเทศจะมี ค วามเสี่ ย งเรื่ อ งการผั น ผวนของอั ต รา
แลกเปลี่ยนที่คาดว่าจะเกิดในอนาคต คือ อัตราแลก
เปลี่ยนในอนาคตอาจแตกต่างจากอัตราแลกเปลี่ยน
ในปัจจุบันที่ตัดสินใจที่จะลงทุนในต่างประเทศ ซึ่ง
ถ้ากำา หนดว่า นักลงทุนได้ทำา การป้องกันความเสี่ย ง
ประเภทนี้ โ ดยการทำา การขายล่ ว งหน้ า 9 ณ ระดั บ
forward rate 1 ปี (Ft) ดังนั้น ณสิ้นปีนักลงทุนจะ
ได้รบเงินคืนในรูปเงินตราในประเทศเท่ากับ
    ั
                                                          1
                                                    B x ( E ) ( 1+
i* ) Ft
ณ ดุลยภาพ ผลตอบแทนจากการลงทุนทังภายใน
                                 ้
และต่างประเทศต้องเท่ากัน นั่นคือ
                                                              1
                            B ( 1+ i )         = B x (E)
( 1+ i* ) Ft
                                   Ft         (1 + i)
                                   Et   =    (1 + i* )



จากดุลยภาพทีแสดง อาจใช้พยากรณ์อตราแลก
            ่                     ั
เปลียนในงวดต่อไป ได้ คือ10
    ่
                                    (1 + i)
                           Ft+1 = (1 + i ) . Et           *




11.7 วิวัฒนาการของระบบการเงินของโลก

9
   การลงทุนระหว่างประเทศ นักลงทุนต้องเผชิญกับความเสียงหลายประการ
                                                         ่
ในที่นพจารณาเฉพาะ ความเสียงในเรื่องอัตราแลกเปลี่ยน และการดำาเนิน
        ี้ ิ                 ่
การป้องกันความเสียงประเภทนีเรียกว่า “ Coverd IRP”
                   ่           ้
10
   รูจักกันในนาม International Fisher Effect ซึ่งนำามาประยุกต์ใช้ในการ
     ้
พยากรณ์ อัตราแลกเปลี่ยน ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน Richard Levich,
International Financial Markets, chap. 5
(1) The Gold Standard หรื อ ระบบมาตรฐาน
ทองคำา
          ร ะ บ บ นี้ ใ ช้ เ มื่ อ ป ร ะ ม า ณ 40 ปี ก่ อ น
สงครามโลกครั้งที่ 1 หรือประมาณช่วง 1890-1914
ระบบนี้ไม่ได้ถูกสร้างขึ้นมาโดยชาติใด แต่เกิดขึ้นมา
เองเหมือนกับระบบราคา กล่าวคือ เป็ น ระบบที่เกิด
มาจากความให้การยอมรับทองคำาในฐานะที่เป็นสิ่งมี
ค่ า ใช้ แ ทนเป็ น เงิ น ได้ ห รื อ ใช้ เ ป็ น สิ่ ง หนุ น หลั ง เงิ น
กระดาษ ในระบบนี้ประชาชนในทุกประเทศสามารถ
นำา เงิ น กระดาษมาแลกเปลี่ ย นทองคำา ในอั ต ราที่
กำา ห น ด ไ ว้ เ ช่ น ใ น ปี 1914                    1 ด อ ล ล า ร์
สหรัฐอเมริกา แลกเป็นทองคำานำ้าหนัก 0.053 ounce
ในขณะที่ 1 ปอนด์ ส เตอร์ ริ ง แลกทองคำา ได้ 0.257
ounce ซึ่งหมายความว่า เงิ น 1 ปอนด์ มีมูลค่าเป็น
4.86 เท่าของเงินดอลลาร์ ซึ่งก็คืออัตราแลกเปลี่ยน
นั่นเอง กลไกการทำางานของระบบมาตรฐานทองคำา
ตั้งอยูบนเงื่อนไขทีสำาคัญ 3 ประการ คือ
        ่               ่
          (ก) ทุกประเทศที่ ใ ช้ ม าตรฐานทองคำา ต้ อ ง
กำาหนดค่าเงินของตนเทียบกับทองคำา
          (ข) ทางการต้องอนุญาตให้มีการนำา เข้าและ
ส่งออกทองคำาโดยเสรี
          (ค) ทางการต้องไม่เข้าไปขัดขวางกลไกการ
ปรับตัวทางด้านปริมาณเงินที่เกิดจากการค้าระหว่าง
ประเทศ
          เงื่อนไขสองประการแรกเป็นกลไกทีจะช่วยให้         ่
อัต ราแลกเปลี่ย นคงที่ ห รื อ เคลื่ อ นไหวในช่ ว งแคบๆ
กล่าวคือ เมื่อเกิดความไม่สมดุลทางด้านการค้าและ
การชำาระเงินระหว่างประเทศก็จะนำาไปสู่การไหลเข้า
ออกของทองคำา เพื่ อ ปรั บ ดุ ล การชำา ระเงิ น ให้ ส มดุ ล
และ เงื่ อ นไขประการ ที่ ส ามจะช่ ว ยให้ เ กิ ด ความ
มั่นใจว่าการปรับตัวไปสูความสมดุลทางด้านการชำาระ
                             ่
เงินระหว่างประเทศอย่างแท้จริง จากข้อดีของระบบ
นี้ที่ช่วยให้อัตราแลกเปลี่ยนมีเสถียรภาพและมีกลไก
การปรั บ ตั ว เองเมื่ อ มี ก ารขาดดุ ล หรื อ เกิ น ดุ ล ทำา ให้
ปัจจุบันมีนักเศรษฐศาสตร์กลุ่มหนึ่งเสนอให้กลับไป
ใช้ระบบมาตรฐานทองคำา

(2) The Bretton Woods System
          หลังสงครามโลกครั้งที่สองทั่วโลกต้องเผชิญ
กับปัญหาระหว่างประเทศหลายประการ ซึงสถาบันที่         ่
กำา เนิ ด ขึ้ น มา ก็ เ พื่ อ แก้ ปั ญ หาในแต่ ล ะส่ ว น เช่ น มี
ปั ญ หาเรื่ อ งการกี ด กั น ทางการค้ า อั น เนื่ อ งมาจาก
กำา แพงภาษี ประชาคมโลกจึ ง ตั้ ง องค์ ก ร GATT
(General Agreement on Tariffs and Trade) เพื่ อ
แก้ ปั ญ หานี้ และได้ ตั้ ง ธนาคารเพื่ อ การบู ร ณะและ
ฟื้ น ฟู (International Bank for Reconstruction
and Development : IBRD) ห รื อ เ รี ย ก ย่ อ ว่ า
ธนาคารโลก (The World Bank) เพื่อแก้ปัญหาเรื่อง
การหาเงิ น ทุ น มาใช้ ใ นการที่ จ ะช่ ว ยให้ ป ระเทศที่
ต้ อ งการเงิ น ทุ น มาบู ร ณะ ฟื้ น ฟู แ ละพั ฒ นาประเทศ
และในการแก้ ปั ญ หาระบบการชำา ระเงิ น ระหว่ า ง
ประเทศ ได้ตั้ง กองทุ น การเงิ น ระหว่ า งประเทศหรื อ
เรี ย กย่ อ ว่ า IMF 11(International Monetary Fund)
ซึ่ง ได้ส ร้า งระบบการเงิ น ระหว่ า งประเทศ ที่ เ รี ย กว่ า
The Bretton Woods12 อั น เป็ น ระบบที่ ร วมเอาข้ อ
ตกลงและกฎเกณฑ์ ที่ส ร้ า งจาก IMF ระบบนี้ไ ด้ ถู ก
นำา มาใช้ในช่วง 1948 - 1971 ระบบนี้บางครั้งเรีย ก
ว่ า Gold-Exchange Standard หรื อ ระบบปริ ว รรต
ทองคำา ซึ่ ง จั ด ว่ า เป็ น ระบบอั ต ราแลกเปลี่ ย นคงที่
ระบบนี้ กำา หนดให้ ป ระเทศสมาชิ ก ต้ อ งปฏิ บั ติ ต าม
เงื่ อ นไขหลั ก 3 ประการคื อ ประการแรก ประเทศ
สมาชิ ก ต้ อ งสำา รองเงิ น ตราต่ า งประเทศในรู ป ของ
ดอลลาร์สหรัฐซึ่งสามารถแลกเปลี่ยนเป็นทองคำา ได้
เพราะรัฐบาลสหรัฐอเมริกาประกาศอัตราแลกเปลี่ยน
ประมาณ $35 ต่อ ounce13 ได้ ประการทีสองประเทศ
                                           ่
สมาชิกต้องกำาหนดอัตราแลกเปลียนเงินสกุลของประ
                                       ่
11
    รายละเอียด ความก้านหน้า ผลงานวิจย การประชุมของ IMF ดูได้จาก
                                        ั
   http://www/imf.org ของธนาคารโลกดูได้จาก
   http://www.worldbank.org
12
    ประเทศสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรและประเทศอุตสาหกรรมอีก
   44 ประเทศมาประชุมกันทีเมือง Bretton Woods รัฐ New Hampshire
                            ่
   ในปี 1948 โดยประเทศสหรัฐและสหราชอาณาจักรเป็นผูนำาเสนอแนวทาง
                                                        ้
   การดำาเนินงานภายใต้ระบบอัตราแลกเปลี่ยน Bretton Woods ทั้งนี้ทั้ง
   สองประเทศกำาหนดอัตราแลกเปลี่ยนของตนไว้คงที่กับทองคำา ประเทศ
   สหราชอาณาจักรกำาหนด 12.5 ปอนด์เสเตอริงค์เท่ากับทองคำา 1 ounce
13
     1 ounce = 28.35 gram ประเทศสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร
   และประเทศอุตสาหกรรมอีก 44 ประเทศมาประชุมกันทีเมือง Bretton
                                                      ่
   Woods รัฐ New Hampshire ในปี 1948 โดยประเทศสหรัฐและสหราช
   อาณาจักรเป็นผูนำาเสนอแนวทางการดำาเนินงานภายใต้ระบบอัตราแลก
                   ้
   เปลี่ยน Bretton Woods ทั้งนี้ทั้งสองประเทศกำาหนดอัตราแลกเปลี่ยน
   ของตนไว้คงที่กับทองคำา ประเทศสหราชอาณาจักรกำาหนด 12.5 ปอนด์
   เสเตอริงค์เท่ากับทองคำา 1 ounce
เทศกับ ดอลล่า ร์ให้ ค งที่ หรื อ เรี ย กว่ า ค่า เสมอภาค
(par value) โดยธนาคารชาติ ข องประเทศสมาชิ ก
ต้ อ งจั ด ตั้ ง กองทุ น รั ก ษาระดั บ อั ต ราแลกเปลี่ ย น
(Exchange Equalization Fund) เ พื่ อ ค อ ย
แทรกแซงไม่ ใ ห้ อั ต ราแลกเปลี่ ย นผั น ผวนออกจาก
ค่าเสมอภาคที่กำา หนด และประการสุดท้าย ประเทศ
สมาชิกต้องปล่อยให้มีการแลกเปลียนระหว่างเงินตรา
                                         ่
ของตัวเองกับดอลลาร์อย่างเสรี
         ใ น ช่ ว ง ท ศ ว ร ร ษ ที่ 1960 ป ร ะ เ ท ศ
ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ป ร ะ ส บ กั บ ปั ญ ห า ก า ร ข า ด
ดุลการชำาระเงิน การขาดดุลงบประมาณแผ่นดินเรื้อรัง
รวมทั้ ง ปั ญ หาเรื่ อ งภาวะเงิ น เฟ้ อ ทำา ให้ เ กิ ด การเก็ ง
กำาไรในค่าเงินดอลลาร์สหรัฐว่าจะลดค่าลง มีทองคำา
ไหลออกจากประเทศสหรัฐมาก เพราะประเทศต่างๆ
นำา เงินดอลลาร์สหรัฐมาแลกเป็นทองคำา จากสภาพ
ปั ญ หานี้ ในเดื อ นสิ ง หาคม 1971 ประธานาธิ บ ดี
Richar M. Nixon ได้ประกาศนโยบายทางเศรษฐกิจ
ใหม่ สาระสำา คั ญ ส่ ว นหนึ่ ง ของนโยบายใหม่ คื อ
ยกเลิกการแลกเปลียนระหว่างดอลลาร์กบทองคำาการ
                        ่                       ั
ประกาศนี้ จึ ง เท่ า กั บ เป็ น การสิ้ น สุ ด ระบบ Bretton
Woods

(3) อัตราแลกเปลียนลอยตัวกึงจัดการ (Managed
                ่         ่
  Floating Exchange Rate System)
       หลั ง จากระบบ Bretton Woods ล่ ม สลาย
ประเทศส่วนมากปล่อยให้ค่าเงินของตนเคลื่อนไหว
เสรีไ ปตามกลไกตลาด แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม ประเทศ
ต่ า ง ๆ ก็ ยัง คงแทรกแซงด้ ว ย จึ ง มั ก เรี ย กระบบนี้ ว่ า
managed floating exchange rate
           ในช่ ว ง 1978 - 1981 อั ต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น
ตราประเทศต่ า งๆ ไม่ มี เ สถี ย รภาพ ทำา ให้ ป ระเทศ
ต่างๆ ต้องการที่จะสร้างกลไกเพื่อทำา ให้อัต ราแลก
เปลี่ ย นมี เ สถี ย รภาพ (จะสั ง เกตุ ว่ า ตั้ ง แต่ ร ะบบ
Bretton Woods ยกเลิ ก ไป ก็ ยั ง ไม่ มี ร ะบบการเงิ น
ใหม่มาแทนประเทศต่าง ๆ ต่างก็มาทำาการตกลงแบบ
พหุภาคี ในรูปของข้อตกลง เช่น ประเทศในยุโรป 9
ประเทศในกลุ่ม EEC ในปี 1979 ได้สร้าง ระบบการ
เงินยุโรป14 (European Monetary System - EMS)
โดยมีวตถุประสงค์หลักคือ ลดความผันผวนของอัตรา
         ั
แ ล ก เ ป ลี่ ย น ใ น ก ลุ่ ม ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิ ก ข อ ง EEC
(European Economic Community) โ ด ย ส รุ ป
ห ลั ง จ า ก ร ะ บ บ Bretton Woods ถู ก ย ก เ ลิ ก ไ ป
ประเทศต่าง ๆ ปล่อยให้ค่าเงินของตนเองลอยตัวใน
หลายรูปแบบ เช่น ค่าเงินของบางสกุลลอยตัวร่วมกัน
บางสกุล ลอยตั ว อิส ระ บางสกุ ล กำา หนดให้ ค งที่ กั บ
เงินสกุลอื่นหรือ SDR (Special Drawing Right เป็น
เงินที่ IMF สร้างขึนมา15) แต่ทงนี้การลอยตัวดังกล่าว
                      ้                ั้
14
      ระบบนีนำาหลักการของระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่มาใช้ โดยมี
            ้
   วัตถุประสงค์เพื่อลดความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนในกลุ่มประเทศ
   สมาชิก ภายใต้ระบบนี้ ทุกประเทศจะกำาหนดอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ของ
   เงินสกุลตัวเองกับเงิน European Monetary Unit (ECU) และอนุญาติให้
   ขึ้นลงได้ ± 2.25 จากค่าที่กำาหนด
15
      ในปี 1970 IMF ได้สร้า งเงิน SDR ซึ่ง ไม่ ไ ด้ เป็น ตัว เงิน จริง หากแต่
   เป็นการลงบัญชี SDR มีวัตถุประสง์เพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้กับประเทศ
ไม่ ไ ด้ เ ป็ น ไปโดยอิ ส ระหากแต่ ถู ก แทรกแซงจาก
รั ฐ บ า ล จึ ง เ รี ย ก ร ะ บ บ นี้ ว่ า Managed Floating
Exchange Rate System ร ะ บ บ นี้ ใ ช้ ม า ตั้ ง แ ต่ ปี
1972 ถึงปัจจุบน    ั

11.8 วิ วั ฒ นาการของระบบการเงิ น ระหว่ า ง
ประเทศของประเทศไทย

           (1) ก่อ นส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ ส อ ง ก า ร ค้ า
ระหว่างประเทศของไทยอยู่ในระดับตำ่า ตลาดการเงิน
ระหว่ า งประเทศยั ง ไม่ แ พร่ ห ลาย ประเทศไทยใช้
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่โดยผูกค่าเงินบาทไว้กับ
เงิ น ปอนด์ ส เตอริ ง ค์ ข องอั ง กฤษเพี ย งสกุ ล เดี ย วใน
อัตรา 1 ปอนด์สเตอริงค์เท่ากับ 11 บาท
           (2) เมื่อสงครามโลกครั้ งที่ ส องได้สิ้ นสุ ด ลง
เมื่ อ วัน ที่ 16 สิง หาคม 2488 เงิ นสำา รองเงิ น ตราใน
ส่วนทีเป็นเงินเยนญี่ปุ่นหมดค่าลง ทองคำาทีฝากไว้ใน
         ่                                             ่
ประเทศญี่ปุ่นถูกยึด เนื่องจากประเทศไทยจัดอยู่ใน
กลุ่ม ผู้แพ้ ส งคราม ประเทศไทยต้ อ งประสบปั ญ หา
เศรษฐกิ จ ตกตำ่า อั ต ราเงิ น เฟ้ อ อยู่ ใ นระดั บ สู ง ขณะ
เดี ย วกั น กั บ ที่ ป ระเทศต้ อ งการเงิ น ตราต่ า งประเทศ
เพื่อมาบูรณะฟื้นฟูประเทศ ทำา ให้อัตราแลกเปลี่ย น
ในช่วงนี้มีความผันผวนมาก เกิดตลาดมืด รัฐบาลไม่
 ที่ขาดแคลนเงินทุนสำารอง ค่าของ SDR กำาหนดจากค่าเฉลี่ยถ่วงนำ้าหนัก
 ของเงิ น สกุ ล หลั ก 5 สกุ ล คื อ US dollar, German Deutschmark, UK
 sterling, the French franc and the Japanese yen ดั ง นั้น ค่า SDR จะ
 เปลี่ยนแปลงไปตามค่า เงินสกุลหลั กเหล่านี้ ตัวอย่างเช่น 1SDR มีค่าเท่ากับ $
 0.72 และ    1.1 ในปี 1993
สามารถควบคุมให้อัตราแลกเปลี่ยนให้มี เสถียรภาพ
ได้ ในปี 2490 จึงได้หันมาใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยน
คงที่ แ บบหลายอั ต รา 16 (Multiple Fixed-Exchange
Rates) โดยกำา หนดอัตราแลกเปลียนทางการไว้ที่ 1
                                      ่
ปอนด์ส เตอริง ค์ เท่า กับ 40 บาท และสำา หรับ อัต รา
แลกเปลียนกับดอลลาร์สหรัฐ กำาหนดไว้ที่ 100 บาท
           ่
เท่ากับ 10.075 ดอลลาร์สหรัฐ และต่อมาในวันที่ 27
กันยายน 2492 เปลียนเป็น 35 บาท ต่อ 1 ปอนด์สเต
                      ่
อริง ค์ และ 12.50 บาทต่อ 1 ดอลลาร์ส หรัฐ ระบบ
อั ต ราแลกเปลี่ย นหลายอั ต ราถู ก ยกเลิ ก ในปี 2498
ทั้งนี้เพราะ ค่าของเงินบาททางการสูงเกินจริง ทำาให้
การส่งออกของไทยลดลง และขาดดุลการค้าสูงขึ้น
ภาวะเศรษฐกิจตกตำ่า พร้อมทังอัตราเงินเฟ้อสูงขึ้น
                                ้
          (3) หลั ง จากยกเลิ ก ระบบอั ต ราแลกเปลี่ ย น
คงที่หลายอัตราแล้ว รัฐบาลไทยได้เข้าร่วมระบบการ
เ งิ น ข อ ง IMF คื อ Bretton Woods System โ ด ย
ดำาเนินการจัดตั้งกองทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
(Exchange Equalization Fund) และเที ย บค่ า เงิ น
บาทกับ ทองคำา ตามหลั ก ของสั ญ ญาว่ า ด้ ว ยการเงิ น
ระหว่ า งประเทศของ Bretton Woods ในอั ต รา 1
บาท ต่อทองคำา บริสุท ธ์ 0.06019 กรั ม และกำา หนด
อั ต รากลางระหว่ า งเงิ น บาทกั บ เงิ น ปอนด์ ส เตอริ ง ค์
16
      การกำาหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว้หลายอัตรา เพื่อมุงหวังรักษาทุนสำารองที่
     มีอยู่น้อย โดยรัฐบาลจะกำาหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว้สูงสำาหรับผู้ที่ต้องการ
     ซื้อเงินตราต่างประเทศเพื่อการใช้จ่ายที่รัฐบาลเห็นว่าไม่จำา เป็น เช่น ซื้อ
     สินค้าฟุ่มเฟือย หรือไปเที่ยวต่างประเทศ และกำาหนดอัตราแลกเปลี่ยนใน
     ระดับตำ่า สำา หรับผู้ที่จะซื้อเงิน ตราต่า งประเทศสำา หรั บ การชำา ระหนี้ที่เ ป็น
     ประโยชน์ เช่น ซื้อวัตถุดิบ เครื่องจักร ยารักษาโรค เป็นต้น
และดอลลาร์ สหรัฐ ไว้ 60 บาท ต่อ 1 ปอนด์สเตอริ
งค์ และ 100 บาท ต่อ 6.72 ดอลลาร์
           (4) เมื่อระบบ Bretton Woods ถูกยกเลิก ใน
ปี 2514 ประเทศไทยยั ง คงผู ก ค่ า เงิ น บาทไว้ กั บ
ดอลลาร์สหรัฐเหมือนเดิม โดยมีอัตราแลกเปลี่ยนที่
20.80 บาทต่อดอลาาร์ส หรั ฐ ทั้ง นี้ เ พื่ อ รั ก ษาความ
สามารถในการแข่งขันของสินค้าออกของไทย และ
ช่วยเสริมสร้างดุลการค้าและดุลการชำาระเงินให้ดีขึ้น
เนื่องจากหลังจากปี 2514 ค่า เงิ นดอลลาร์ ลดค่ า ลง
เรื่อย ๆ และเมื่อประเทศไทยยังคงผูกค่าเงินบาทกับ
ดอลลาร์สหรัฐในระดับเดิม จึงเท่ากับไทยลดค่าเงิน
เทียบกับสกุลอื่น ต่อมาในปี 2516 เกิดวิกฤตการณ์
นำ้า มั น ครั้ ง ที่ 1 ระบบเศรษฐกิ จ ไทยประสบปั ญ หา
เงินเฟ้อ ปัญหาดุลภายในและภายนอกเริ่มก่อตัวและ
มีแนวโน้ม เพิ่ม ขึ้น ดั งนั้ นในปี 2521 ไทยจึงยกเลิ ก
การกำา หนดค่า เสมอภาคของบาทกับ ดอลลาร์ส หรั ฐ
ทั้งนี้เพื่อรักษาค่าเงินบาทให้มีเสถียรภาพไม่ให้ตกตำ่า
ตามค่าของดอลลาร์จนเกินควร
           (5) เ มื่ อ วั น ที่ 1 พ ฤ ศ จิ ก า ย น 2521
ประเทศไทยประกาศใช้ ระบบอัตราแลกเปลี่ย นแบบ
ตะกร้า เงิน (Basket of currencies) ขึ้นเป็นครั้งแรก
โดยกำา หนดค่า เงิ น บาท โดยเที ย บกั บ กลุ่ ม เงิ น สกุ ล
ต่างๆ ที่มีความสำา คัญต่อระบบการค้าและเศรษฐกิจ
ของไทยจำา นวน 7 สกุล คือ ดอลลาร์สหรัฐ ปอนด์ส
เตอริ ง ค์ มาร์ ค เยน ริ ง กิ ต มาเลเซี ย ดอลลาร์
สิงคโปร์ และดอลลาร์ฮองกง การเปลี่ยนแปลงระบบ
                             ่
อัตราแลกเปลี่ยนดังกล่าวถือว่าเป็น การเปลี่ยนแปลง
ที่สำาคัญเพราะนอกจากจะปรับระบบอัตราแลกเปลี่ยน
ของไทยให้ ส อดคล้ อ งกั บ ที่ ป ระเทศอื่ น ๆ ส่ ว นใหญ่
แล้ ว ยั ง ทำา ให้ ค่ า เงินบ าทไม่ ผู ก ติ ด กั บ เงินส กุ ล
ดอลลาร์อย่างเดียว จึงมีความยืดหยุ่น และสะท้อนถึง
ภาวะดุลการชำาระเงินที่แท้จริงของประเทศ พร้อมกัน
นี้ประเทศไทยได้ปรับเปลี่ยนวิธีการกำาหนดอัตราแลก
เปลี่ ย นใหม่ จากเดิ ม ที่ ใ ห้ ก องทุ น รั ก ษาระดั บ อั ต รา
แลกเปลี่ยนเป็นผู้กำา หนดแต่เพีย งผู้เดียวมาเป็ นการ
ร่ ว มกั บ ธนาคารพาณิ ช ย์ กำา หนดอั ต ราแลกเปลี่ ย น
ประจำาวัน หรือที่เรียกว่า Daily Fixing โดยให้กำาหนด
อั ต ราแลกเปลี่ ย นประจำา วั น และกำา หนดจำา นวนที่
ต้ อ งการแลกเปลี่ ย น (เดิ ม ทุ น รั ก ษาระดั บ เป็ น ผู้
กำา หนดแต่ ผู้ เ ดี ย ว และให้ แ ลกเปลี่ ย นโดยไม่ จำา กั ด
จำานวน) เมื่อเกิดวิกฤตการณ์นำ้ามัน ครั้งทีสองปี 2522
                                               ่
ประเทศไทยประสบปัญหาทางเศรษฐกิจทั้ งภายใน
และภายนอก ความเชื่อมั่นในเงินบาทลดลง เกิดการ
เก็งกำาไรว่าเงินบาทต้องลดค่าลง ระบบ Daily Fixing
ไม่ได้ช่ว ยแก้ปัญหา เมื่ อ วั นที่ 15 กรกฎาคม 2524
จึงได้ยกเลิกระบบตะกร้าเงินและระบบ Daily Fixing
          (6) ในช่ ว งปี 2524-2527 ประเทศไทยหั น
กลั บ มาใช้ ร ะบบเดิ ม คื อ ให้ ก องทุ น รั ก ษาระดั บ ฯ
กำาหนดอัตราแลกเปลี่ยนแต่เพียงผู้เดียว และในทาง
ปฏิบัติผกค่าเงินบาทไว้กบค่าดอลลาร์สหรัฐ ค่อนข้าง
           ู                ั
คงที่
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc
International Finance Doc

Más contenido relacionado

Destacado

Rupert Murdoch2
Rupert Murdoch2Rupert Murdoch2
Rupert Murdoch2maovkh
 
Gas Technology Institute & Kwik Trip - Station Installation Guidelines for CNG
Gas Technology Institute & Kwik Trip - Station Installation Guidelines for CNGGas Technology Institute & Kwik Trip - Station Installation Guidelines for CNG
Gas Technology Institute & Kwik Trip - Station Installation Guidelines for CNGWisconsin Clean Cities
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณชญานิษฐ์ ทบวัน
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลYeah Pitloke
 
Pop literature and nick hornby
Pop literature and nick hornbyPop literature and nick hornby
Pop literature and nick hornbyguest76834be
 
Scholars and knowledge in the 21st century
Scholars and knowledge in the 21st centuryScholars and knowledge in the 21st century
Scholars and knowledge in the 21st centuryRoxanne Missingham
 
NSO politics communications 01122017
NSO politics communications 01122017NSO politics communications 01122017
NSO politics communications 01122017dinica
 
C.e.obtencion de prubas mediante enlace en video.2008
C.e.obtencion de prubas mediante enlace en video.2008C.e.obtencion de prubas mediante enlace en video.2008
C.e.obtencion de prubas mediante enlace en video.2008Universidad de Sonora
 
Toezicht op treasury Vestiadossier 29-2-2012
Toezicht op treasury Vestiadossier 29-2-2012Toezicht op treasury Vestiadossier 29-2-2012
Toezicht op treasury Vestiadossier 29-2-2012Atrivé
 
Session1 part2
Session1 part2Session1 part2
Session1 part2maovkh
 
Beleza nocturna
Beleza nocturnaBeleza nocturna
Beleza nocturnaMara Silva
 
Impetus proposal
Impetus proposalImpetus proposal
Impetus proposalAndeel Ali
 

Destacado (20)

Rupert Murdoch2
Rupert Murdoch2Rupert Murdoch2
Rupert Murdoch2
 
025
025025
025
 
Gas Technology Institute & Kwik Trip - Station Installation Guidelines for CNG
Gas Technology Institute & Kwik Trip - Station Installation Guidelines for CNGGas Technology Institute & Kwik Trip - Station Installation Guidelines for CNG
Gas Technology Institute & Kwik Trip - Station Installation Guidelines for CNG
 
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงินสรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
 
John O’Brien – Tinker tailor
John O’Brien  – Tinker tailorJohn O’Brien  – Tinker tailor
John O’Brien – Tinker tailor
 
Pop literature and nick hornby
Pop literature and nick hornbyPop literature and nick hornby
Pop literature and nick hornby
 
Scholars and knowledge in the 21st century
Scholars and knowledge in the 21st centuryScholars and knowledge in the 21st century
Scholars and knowledge in the 21st century
 
NSO politics communications 01122017
NSO politics communications 01122017NSO politics communications 01122017
NSO politics communications 01122017
 
C.e.obtencion de prubas mediante enlace en video.2008
C.e.obtencion de prubas mediante enlace en video.2008C.e.obtencion de prubas mediante enlace en video.2008
C.e.obtencion de prubas mediante enlace en video.2008
 
De kracht van het duo+label in de retail
De kracht van het duo+label in de retailDe kracht van het duo+label in de retail
De kracht van het duo+label in de retail
 
Noticias TEL febrero 2012
Noticias TEL febrero 2012Noticias TEL febrero 2012
Noticias TEL febrero 2012
 
EPA duo label voor winkelvastgoed - Syntrus Achmea
EPA duo label voor winkelvastgoed - Syntrus AchmeaEPA duo label voor winkelvastgoed - Syntrus Achmea
EPA duo label voor winkelvastgoed - Syntrus Achmea
 
Toezicht op treasury Vestiadossier 29-2-2012
Toezicht op treasury Vestiadossier 29-2-2012Toezicht op treasury Vestiadossier 29-2-2012
Toezicht op treasury Vestiadossier 29-2-2012
 
Session1 part2
Session1 part2Session1 part2
Session1 part2
 
Whitepaper on cars
Whitepaper on carsWhitepaper on cars
Whitepaper on cars
 
Beleza nocturna
Beleza nocturnaBeleza nocturna
Beleza nocturna
 
Regelstrategieën tegen energieverspilling
Regelstrategieën tegen energieverspillingRegelstrategieën tegen energieverspilling
Regelstrategieën tegen energieverspilling
 
Impetus proposal
Impetus proposalImpetus proposal
Impetus proposal
 

Similar a International Finance Doc

เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศthnaporn999
 
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่นโลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่นDr.Choen Krainara
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศthnaporn999
 
Pretiontation Doc
Pretiontation DocPretiontation Doc
Pretiontation Docmaovkh
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯthnaporn999
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาThammasat University
 
04 aom+invest 6.2 v.4
04 aom+invest 6.2 v.404 aom+invest 6.2 v.4
04 aom+invest 6.2 v.4Shin Shimano
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับple2516
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Lao-puphan Pipatsak
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Jib Dankhunthot
 

Similar a International Finance Doc (10)

เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่นโลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
Pretiontation Doc
Pretiontation DocPretiontation Doc
Pretiontation Doc
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
04 aom+invest 6.2 v.4
04 aom+invest 6.2 v.404 aom+invest 6.2 v.4
04 aom+invest 6.2 v.4
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 

Más de maovkh

Buddhist Economics
Buddhist EconomicsBuddhist Economics
Buddhist Economicsmaovkh
 
Rupert Murdoch
Rupert MurdochRupert Murdoch
Rupert Murdochmaovkh
 
Session2 part2
Session2 part2Session2 part2
Session2 part2maovkh
 
Session2 part1
Session2 part1Session2 part1
Session2 part1maovkh
 
Session1 part3
Session1 part3Session1 part3
Session1 part3maovkh
 
Session1 part1
Session1 part1Session1 part1
Session1 part1maovkh
 
Session1 part1
Session1 part1Session1 part1
Session1 part1maovkh
 
Ch11 International Finance
Ch11 International FinanceCh11 International Finance
Ch11 International Financemaovkh
 

Más de maovkh (8)

Buddhist Economics
Buddhist EconomicsBuddhist Economics
Buddhist Economics
 
Rupert Murdoch
Rupert MurdochRupert Murdoch
Rupert Murdoch
 
Session2 part2
Session2 part2Session2 part2
Session2 part2
 
Session2 part1
Session2 part1Session2 part1
Session2 part1
 
Session1 part3
Session1 part3Session1 part3
Session1 part3
 
Session1 part1
Session1 part1Session1 part1
Session1 part1
 
Session1 part1
Session1 part1Session1 part1
Session1 part1
 
Ch11 International Finance
Ch11 International FinanceCh11 International Finance
Ch11 International Finance
 

International Finance Doc

  • 1. บทที่ 11 การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ประเทศไทยมี ก ารติ ด ต่ อ กั บ ต่ า งประเทศทั้ ง ทางด้ า นการค้ า และการลงทุ น ค่ อ นข้ า งมาก ดั ง นั้ น ตลาดปริ ว รรตเงิ น ตราระหว่ า งประเทศจึ ง มี บ ทบาท สำา คั ญ ในการสนั บ สนุ น ให้ ก ารค้ า และ การลงทุ น ระหว่ า งประเทศเป็ น ไปอย่ า งราบรื่ น มี เ สถี ย รภาพ บทบาทและผลกระทบของตลาดปริ ว รรตเงิ น ตรา ระหว่ า งประเทศนั บ วั น จะทวี ม ากขึ้ น เมื่ อ ระบบ เศรษฐกิจของประเทศเชื่ อ มโยงกั น มากขึ้นตามกระ แสโลกาภิวัตน์และนโยบายการเปิด เสรี ภาคการเงิน ของไทย ดังนั้น จึงมีความจำาเป็นทีผประกอบการต้อง ่ ู้ มี ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การเงิ น ระหว่ า งประเทศ ใน ประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี้ 1. ตลาดการเงิ น ระหว่ า งประเทศ (International Financial Markets) 2. ต ล า ด ป ริ ว ร ร ต เ งิ น ต ร า (Foreign Exchange Markets) 3. ระบบอัตราแลกเปลียน ่ 4. ทฤษฎี อ ธิ บ ายการเปลี่ ย นแปลงของอั ต รา แลกเปลียน ่ 5. วิวฒนาการระบบอัตราแลกเปลียนของโลก ั ่ 6. วิวฒนาการระบบอัตราแลกเปลียนของไทย ั ่
  • 2. 7. สหภาพเศรษฐกิ จ และการเงิ น ยุ โ รปและ บทบาทของเงิน eoru 8. ก า ร ล ง ทุ น ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ (Foreign Investment) 11.1 ความหมาย และความสำา คั ญ ของตลาด การเงินระหว่างประเทศ ตลาดการเงินระหว่างประเทศ (international financial markets) มี ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ บ ท บ า ท หน้ า ที่ ค ล้ า ยกั บ ตลาดการเงิ น ของแต่ ล ะประเทศ (domestic financial markets) ซึ่งประกอบไปด้วย 3 ต ล า ด คื อ ต ล า ด เ งิ น ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ (international money markets) ตลาดทุน ระหว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ (international capital markets) แ ล ะ ต ล า ด ป ริ ว ร ร ต เ งิ น ต ร า (foreign exchange markets) ตลาดการเงิ น ระหว่ า งประเทศทำา หน้ า ที่ ระดมเงิ น ทุ น จากกลุ่ ม ประเทศหรื อ กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ที่ มี อุ ป ทานส่ ว นเกิ น ของเงิ น ทุ น ไปสู่ ป ระเทศหรื อ กลุ่ ม ธุรกิจที่มีอุปสงค์ส่วนเกินของเงินทุน และทำา หน้าที่ ส นั บ ส นุ น ธุ ร ก ร ร ม ที่ เ กิ ด ขึ้ น ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ (international transactions) เช่ น การค้ า ระหว่ า ง ประเทศ การลงทุนระหว่างประเทศ และการโอนเงิน ระหว่ า งประเทศ รวมทั้ ง เป็ น แหล่ ง ที่ นั ก ลงทุ น จะ แสวงหากำา ไรสู ง สุ ด หรื อ ช่ ว ยลดความเสี่ ย ง (risk) โดยการจั ด สรรเงิ น ทุ น (portfolio) ไปยั ง ตลาดเงิ น และตลาดทุนทีกระจายอยูทั่วโลก รวมทั้งไปยังสินค้า ่ ่
  • 3. (products) ประเภทต่ า ง ๆ ที่ซื้อ ขาย เช่ น เงิ นสกุ ล ห ลั ก ๆ อ นุ พั น ธ์ ท า ง ก า ร เ งิ น (financial derivatives)1 หรื อ พั น ธบั ต ร (bonds) หรื อ หุ้ น (stocks) เป็นต้น 11.2 ต ล า ด เ งิ น ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ (Internationa Money Markets) ตลาดเงินระหว่างประเทศมีชื่อ เรี ยกแตกต่าง กั น ใ น ห ล า ย ชื่ อ เ ช่ น Eurodollar, Eurocurrency หรื อ IBF (International Banking Facilities) หรื อ Offshore financial market เป็ น ต้ น ไม่ ว่ า จะเรี ย ก ชื่อใดก็ตาม มีความหมายเป็นทีเข้าใจกันว่าเป็นตลาด ่ ที่ทำาหน้าที่ระดมเงินสกุลหลักจากแหล่งหรือประเทศ ที่ มี เ งิ น เกิ น ความต้ อ งการ ซึ่ ง ได้ แ ก่ ป ระเทศที่ เ กิ น ดุลการชำาระเงิน เพื่อให้ผู้ต้องการกู้หรือให้ประเทศที่ ขาดดุ ล การชำา ระเงิ น กู้ กล่ า วอี ก นั ย คื อ ทำา หน้ า ที่ หมุนเวียน “เงินระหว่างประเทศ” ที่มีค่อนข้างจำากัด ให้เพียงพอรองรับธุรกรรมระหว่างประเทศ เช่น การ ค้า และการลงทุน ระหว่ า งประเทศ ที่ข ยายตัว อย่า ง รวดเร็ว ตลาดการเงินระหว่างประเทศและในประเทศมี ความแตกต่า งกันอย่า งมาก ทั้งนี้ เพราะประการแรก สิ น ค้ า ที่ ซื้ อ ขายในตลาดเงิ น ระหว่ า งประเทศหรื อ ที่ เ รี ย ก ว่ า “ เ งิ น ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ” (international 1 ตัวอย่างของอนุพนธ์ทางการเงินที่ต่อเนื่องมาจาก “เงินตราระหว่าาง ั ประเทศ” เช่น currency futures fprwards options and swaps
  • 4. money or international currencies) มีหลากหลาย ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ทองคำา เงิ น ตราสกุ ล หลั ก เช่ น ดอลลาร์สหรัฐ ปอนด์สเตอริงค์ มาร์ค เป็นต้น สิทธิ ถ อ น เ งิ น พิ เ ศ ษ (Special Drawing Right: SDR) European Currency Unit (ECU) 2 และเงิ น euro ประการที่ส อง สถาบั น หรื อ ผู้ ที่ เ ข้ า มาทำา ธุ ร กรรมใน ตลาดการเงินระหว่างประเทศมีสถาบันหรือผู้ที่เข้ามา ยุ่งเกี่ยวมากมายทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น ธนาคาร แ ล ะ ส ถ า บั น ก า ร เ งิ น ที่ ทำา ห น้ า ที่ เ ป็ น ตั ว ก ล า ง (dealers) ผู้ ส่ ง ออกและนำา เข้ า บริ ษั ท ที่ ทำา ธุ ร กิ จ ข้ามชาติ ธนาคารกลางของแต่ละประเทศ และนัก เก็ ง กำา ไร และประการสุ ด ท้ า ย การพั ฒ นาการของ ตลาดเงินระหว่างประเทศและการดำา เนินการ เกิดมา โดยตัว เองและต้องยุ่งเกี่ ยวกับธุร กรรมข้ า มประเทศ แต่ไม่มีองค์กรระหว่า งประเทศมาวางกฎเกณฑ์และ ดู แ ลการดำา เนิ น งานของตลาดเงิ น ระหว่ า งประเทศ อย่างจริงจัง3 เหมือนตลาดเงินภายในประเทศ องค์ ป ระกอบที่ สำา คั ญ ของตลาดเงิ น ระหว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ คื อ ต ล า ด ป ริ ว ร ร ต เ งิ น ต ร า (foreign exchange market) ประเทศทั่ ว โลกค้ า ขายติ ด ต่ อ กั น และใช้ เ งิ น สกุ ล ที่ ต่ า งกั น จึ ง จำา เป็ น ต้ อ งมี ต ลาด 2 SDR, ECU เป็นเงินระหว่างประเทศที่สร้างขึ้นมาโดยองค์กรพิเศษเป็นเงิน ที่ อ ยู่ ใ นรู ป ของบั ญ ชี ไม่ ใ ช่ เ ป็ น ตั ว เงิ น เหมื อ นเงิ น สกุ ล หลั ก ใช้ ชำา ระหนี้ ระหว่างประเทศเฉพาะภาครัฐเท่านัน ้ 3 ในอดีตประเทศส่วนใหญ่ทั่ว โลกเคยใช้ ระบบการเงิน ที่ เรี ย กว่ า Bretton Woods ซึ่ ง ดู แ ลโดย IMF แต่ ย กเลิ ก ไปในปี 2514 ปั จ จุ บั น มี อ งค์ ก รบาง อ ง ค์ ก ร ดู แ ลเ ป็ น กา ร เฉ พา ะ เ รื่ อ ง เช่ น BIS (Bank for International Settlement) หรือ IMF ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวข้อ 9.
  • 5. ปริวรรตเงินตรา เพื่อเป็นแหล่งให้มีการแลกเปลี่ยน เงินตราหรือซือขายเงินตราสกุลต่างๆ ตลาดปริวรรต ้ เ งิ น ต ร า นี้ มี อ ยู่ ทุ กป ร ะ เ ท ศ โ ด ย มี ต ล า ด ใ ห ญ่ ๆ กระจายอยู่ทั่วโลก เช่ น ในยุโรป สหรัฐอเมริก าและ เอเซีย ตลาดเหล่านี้เชื่อมโยงกันและเปิดทำา งานต่อ เนื่องกัน 24 ชัวโมง ่ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ตลาดเงินระหว่าง ประเทศต้องเผชิญกับปัญหาหลายๆ ประการที่สำาคัญ คือ ปัญหาเรื่องการขาดสภาพคล่อง (Liquidity) และ ปั ญ ห า เ รื่ อ ง ก า ร ผั น ผ ว น ข อ ง อั ต ร า แ ล ก เ ป ลี่ ย น (Volatility) ปัญ หาแรก เป็ น ปั ญ หาการขาดแคลน “เงิ น ระหว่ า งประเทศ” ที่ จ ะรองรั บ การค้ า และการ ลงทุนระหว่า งประเทศที่ ข ยายตั ว รวมทั้ ง เพื่ อ สนอง ตอบความต้องการของประเทศทีขาดดุลการชำาระเงิน ่ ทั้งนี้เนื่องจาก เงินตราสกุลหลักที่ยอมรับกันระหว่าง ประเทศมี น้ อ ยสกุ ล ส่ ว นใหญ่ ใ ช้ เ งิ น ดอลลาร์ ส หรั ฐ ซึ่งเป็นเงินที่ยอมรับกันแต่ไม่มีอะไรหนุนหลัง คือไม่มี ข้ อ บั ง คั บ ท า ง ก ฎ ห ม า ย ใ น ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ ป็ น สินทรัพย์ที่มีค่า เช่น ทองคำา เหมือนในอดีต ดังนั้น อุปทานของเงินดอลลาร์จึงเกิดจากนโยบายทางการ เงิ น ของประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า เมื่ อ การค้ า และการ ลงทุนระหว่างประเทศขยายตัวตามการเจริญก้าวหน้า และการเปิดประเทศทั่วโลก ปริมาณเงินดอลลาร์ที่ จะรองรั บ ธุ ร กรรมเหล่ า นี้ จึ งไม่ ค่ อ ยเพี ย งพอ ปั ญ หา ประการที่สอง คือการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่ ง เป็ น อุ ป สรรคอย่ า งยิ่ ง ต่ อ การค้ า ระหว่ า งประเทศ
  • 6. ปัญหานี้ปัจจุบันยิ่งเพิ่มมากขึนและเด่นชัดมากขึ้นเมื่อ ้ เกิดวิกฤตเศรษฐกิจในเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้และ ส่งผลกระทบไปทั่วโลกขณะนี้ ปัญหานี้ เกิดจากการ ดำา เนินนโยบายการเปิด เสรีท างการเงิ นที่ ข าดความ ระมัดระวังในการควบคุมและติดตามสถาบันการเงิน แล้ว ยังเกิดจากการเก็งกำาไรของกองทุนเอกชนที่หา กำา ไรจากการค้ า เงิ น โดยเฉพาะ hedge funds4 ปั ญ หาทั้ ง สองประการนี้ จ ะเป็ น ประเด็ น ที่ สำา คั ญ ใน ระดับสูงจะต้องมีการพิจารณาแก้ไขในการประชุมเพือ ่ การปฏิรประบบการเงินระหว่างประเทศในอนาคต ู 11.3 ต ล า ด ป ริ ว ร ร ต เ งิ น ต ร า (Foreign Exchange Market) ตลาดปริว รรตเงิ น ตรา เป็ นตลาดซื้อ ขายเงิ น ตราต่างประเทศสกุลต่าง ๆ เช่น ตลาด ปริวรรตเงิน ตราสกุลดอลลาร์ส หรั ฐ ก็ คือ ตลาดที่ทำา การซื้อ ขาย เงิ น ดอลลาร์ ส หรั ฐ โดยขณะหนึ่ ง ขณะใด จะมี ผู้ ต้ อ งการซื้ อ ดอลลาร์ ส หรั ฐ และผู้ ที่ ต้ อ งขายเงิ น ดอลลาร์ ส หรั ฐ โดยผู้ ที่ ต้ อ งการซื้ อ ดอลลาร์ คื อ พ่อค้าผูนำาเข้าสินค้าต่างประเทศ ผู้ทกำาลังจะไปเทียว ้ ี่ ่ 4 เป็นการร่วมลงทุนของเอกชนในรูปของกองทุน โดยมีวัตถุประสงค์ในการ ลงทุน ในตราสารทางการเงิน ประเภทต่า งๆ รวมทั้ ง การลงทุ น ในการเก็ง กำา ไรเรื่องอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากกองทุนประเภทนี้เพิ่งเกิดใหม่และ ยังไม่มีกฎระเบียบในการควบคุมดูแลเหมือนกับสถาบันการเงินหรือกองทุน ประเภทอื่น เช่น ธนาคารพาณิช ย์ และ Mutual funds กองทุน hedge funds ถูกวิจารณ์ว่าเป็นส่วนที่ทำา ให้เกิดวิกฤตการณ์ใ นเอเซีย ประเทศ ต่าง ๆ ได้มีการเรียกร้องให้มีการควบคุมการลงทุนของกลุ่มนี้ IMF กำา ลัง หามาตรการ
  • 7. ต่างประเทศ หรือผู้ที่ซื้อดอลลาร์ส่งไปให้บุตรหลาน ที่เรีย นอยู่ต่า งประเทศ เป็ นต้ น สำา หรั บ ผู้ที่ต้อ งการ ขายดอลลาร์ ได้แก่ ผู้ส่งออก ผู้ที่ได้ รับ เงิ นโอนมา จากต่ า งประเทศ หรื อ นั ก ธุ ร กิ จ ที่ ไ ปกู้ เ งิ น ดอลลาร์ เป็ น ต้ น ราคาซื้ อ ขายดอลลาร์ ที่ กำา หนด เรี ย กว่ า “ อั ต ราแลกเปลี่ ย น” (exchange rate) โดยแสดง จำา นวนเงิ น บาทที่ ต้ อ งใช้ ใ นการแลกเงิ น จำา นวน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เช่น อัตราแลกเปลี่ยนของเงินบาท ต่อ 1 ดอลลาร์ส หรัฐเท่ า กั บ 25.75 บาท5 ราคาซื้อ ขายหรืออัตราแลกเปลี่ยนปรับเปลี่ยนขึ้นลงได้ กล่าว คือ ถ้าตลาดเสรี จะขึ้นอยู่กับอุปสงค์และอุปทานของ เงิ นตราสกุลนั้ น ๆ เช่ น กรณี ที่อั ต ราแลกเปลี่ ย นเพิ่ ม เป็ น 40.00 บาท แสดงว่ า ค่ า เงิ น บาทเสื่ อ มค่ า ลง (depreciation) เมื่ อ เที ย บกั บ ค่ า เงิ น ดอลลาร์ ส หรั ฐ หรือกล่าวอีกนัยคือ ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐแข็งตัวหรือ เพิ่ ม ค่ า ขึ้ น (appreciation) เมื่ อ เที ย บกั บ เงิ น บาท การเสื่ อ มค่ า หรื อ เพิ่ ม ค่ า ดั ง กล่ า วให้ เ ป็ น ไปตาม อุ ป สงค์แ ละอุป ทาน ของดอลลาร์ ส หรั ฐ ถ้ า อุ ป สงค์ มากกว่าอุปทาน ค่าเงินบาทจะเสื่อมค่า (ค่าดอลลาร์ เพิ่มค่า) แต่ถ้าอุปสงค์น้อยกว่าอุปทาน ค่าเงินบาทก็ จะเพิ่ ม ค่ า (ค่ า ดอลลาร์ ส หรั ฐ ลดค่ า ลง) ในกรณี 5 อั ตร า แ ลกเป ลี่ ยน ที่ จะ กล่ า ว ถึ ง ใน ตำา ราเล่ ม นี้ จ ะ ใ ช้ ร ะ บบ indirect quotation คื อ ระบุ จำา นวนเงิ น สกุ ล ท้ อ งถิ่ น ที่ ใ ช้ แ ลกเงิ น ตราสกลุ ต่ า ง ประเทศจำานวน 1 หน่วย เป็นระบบที่ใช้ทั่วไปสำาหรับประเทศต่างๆ ที่เทียบ จำานวนเงินสกลุของตนเองเทียบกับ 1 ดอลลาร์สหรัฐ สำาหรับการกำาหนด อัตราแลกเปลี่ยนแบบ direct quotation เป็นการกำาหนดอัตราแลกเปลี่ยน โดยระบุจำานวนเงินสกุลต่างประเทศเพื่อแลกกับเงินสกุลท้องถิ่น 1 หน่วย เป็นวิธีการกำาหนดที่ใช้ในประเทศอังกฤษและประเทศในเครือจักรภพบาง ประเทศ เช่น กำาหนด 1.657 ดอลลาร์ต่อ 1 ปอนด์สเตอริงค์
  • 8. ตลาดไม่เสรี คือรัฐบาลมีอำา นาจในการกำา หนดอัตรา แลกเปลี่ ย นและต้ อ งการเปลี่ ย นแปลง เช่ น เดิ ม กำา หนดไว้ ที่ 25.75 แล้ ว ประกาศอั ต รา ให ม่เป็น 26.00 บาท กรณี นี้ เ รี ย กว่ า เป็ น การลดค่ า เงิ น บาท (devalue) ในทางกลับกันถ้า ประกาศอัต ราใหม่ เ ป็ น 25.25 บ า ท ก ร ณี นี้ เ รี ย ก ว่ า เ พิ่ ม ค่ า เ งิ น บ า ท (revalue) การปรับเปลี่ยนอัตราแลกเปลี่ยนในตลาด ประเภทนี้ จะขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาลและภาพ รวมของเศรษฐกิจมหภาค รูปที่ 11.1 แสดงตลาดปริวรรตเงินตราโดยใช้ รูปกราฟ อั ต ร า แ ล ก เ ป ลี่ ย น ขึ้ น ล ง เ ส รี อัตราแลกเปลียนคงที่ ่ บ า ท /$ บาท/$ S S 30 A B 25 25 D / D / D D 100 150 ดอลลาร์ 100 150 ดอลลาร์ ในระบบอัตราแลกเปลียนเสรีนั้น เมื่ออุปสงค์ ่ ของเงินตราต่างประเทศ (ดอลลาร์สหรัฐ) เพิ่มสูงขึ้น จะทำาให้ราคาของเงินตราต่างประเทศนั้นเพิ่มขึ้นจาก 25 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เป็ น 30 บาทต่อดอลลาร์
  • 9. นั่นคือ ค่า เงินบาทเสื่อ มค่า ลง ในขณะที่ก รณี อัต รา แลกเปลี่ ย นคงที่ นั้ น เมื่ อ อุ ป สงค์ ข องเงิ น ตราต่ า ง ประเทศเพิ่ ม สู ง ขึ้ น อั ต ราแลกเปลี่ ย นจะไม่ มี ก าร เปลี่ ย นแปลง เนื่ อ งจากถู ก กำา หนดให้ ค งที่ จ ะทำา ให้ ตลาดไม่อยู่ในดุลยภาพ ซึ่งรัฐบาลจะต้องเข้าทำาการ แทรกแซง เพื่อให้อยู่ในระดับดุลยภาพ เช่น ขายเงิน ตราต่างประเทศนั้นออกมาในตลาดเพื่อเพิ่มอุปทาน ของเงินตราต่างประเทศ เป็นต้น 11.4 ประเภทของระบบอัตราแลกเปลียน ่ ระบบอัตราแลกเปลี่ย น 6 แบ่งได้ เป็ นประเภท ใหญ่ ๆ 2 ประเภท คือ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบ คงที่ (Fixed Exchange-Rate System) และระบบ อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว (Flexible Exchange- Rate System) อย่างไรก็ตามทั้งสองระบบต่างมีข้อ บกพร่องด้วยกัน ทั้งนี้เพราะเป็นระบบที่ค่อนข้า งสุด ขั้ ว ดั ง นั้ น ในปั จ จุ บั น ไม่ มี ป ระเทศไหนใช้ ทั้ ง สอง ระบบนี้แล้ว หากแต่ผ่อนคลายของระบบอัตราแลก เปลี่ ย นทั้ ง สอง ดั ง นั้ น จึ ง สรุ ป ได้ ว่ า ปั จ จุ บั น มี ร ะบบ อัตราแลกเปลี่ย นเพิ่ ม ขึ้ น อี ก 2 ประเภทใหญ่ ๆ คื อ ระบบอัต ราแลกเปลี่ย นแบบคงที่แ บบยื ด หยุ่ น และ อั ต ราแลกเปลี่ย นลอยตั ว แบบจั ด การ จึ ง สรุ ป ได้ ว่ า ระบบอัตราแลกเปลียนแบ่งได้เป็น 4 กลุม คือ ่ ่ 6 การแบ่ ง ประเภทของระบบการเงิ น ระหว่ า งประเทศอาจจำา แนกตาม ประเภทของสินทรัพย์ที่ใช้เป็นทุนสำารองเงินตราระหว่างประเทศ อาจแบ่ง ได้ เ ป็ น 3 ประเภทหลั ก ได้ แ ก่ (1) ระบบมาตรฐานทองคำา (Gold standard) (2) ระบบ ปริ ว รรตทอง คำา (Gold- Exchange Standard) และ (3) ระบบทุนสำารองเงินตราสกุลหลัก (reserve-currency system)
  • 10. (1) ระบบอัตราแลกเปลียนแบบคงที่ ่ (Fixed Exchange Rate System) (2) ระบบอัตราแลกเปลียนแบบยืดหยุน ่ ่ (Modified Fixed Exchange Rate System) (3) ระบบอัตราแลกเปลียนแบบจัดการ ่ (Managed Floating Exchange Rate System) (4) ระบบอัตราแลกเปลียนลอยตัวอย่างเสรี ่ (Freely Floating Exchange Rate system) รายละเอียดของแต่ละระบบเป็นดังนี้ (1) Fixed Exchange Rate System ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ซึ่งมีค่าเสมอภาค ตายตั ว อั ต ราแลกเปลี่ ย นจะเคลื่ อ นไหวได้ ภ ายใน ขอบเขตแคบๆ จากค่ า เสมอภาค (par value) เป็ น ระบบทีมกฎระเบียบทีบงคับให้ธนาคารชาติหรือหน่วย ่ ี ่ ั งานที่รับผิดชอบต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครั ด ซึ่งมีข้อ แตกต่ า งจากระบบอั ต ราแลกเปลี่ ย นอื่ น ที่ ธ นาคาร ชาติหรือหน่วยงานทีเกี่ยวข้องสามารถใช้ดลยพินิจใน ่ ุ การจัดการกับตลาดปริวรรตตามที่เห็นสมควร ระบบ มาตรฐานทองคำา (Gold Standard) เป็ น ต้ น แบบ ของระบบอั ต ราแลกเปลี่ ย นประเภทนี้ ต่ อ มาได้ ถู ก ยกเลิกไป เนื่องจากเป็นระบบที่ไม่ยืดหยุ่น เนื่องจาก ว่ า ประเทศที่อ ยู่ ภ ายใต้ ร ะบบนี้ จ ะสร้ า งเงิ น ขึ้ น มาได้ ต้องมีป ริ ม าณทองคำา หนุ นหลั งอยู่ ต ามที่ได้ป ระกาศ
  • 11. และต้องยินยอมให้ใครก็ตามที่ถือเงินของประเทศตน สามารถมาแลกเปลี่ยนเป็นทองคำา ได้ ระบบนี้จึงเป็น อุ ป สรรคต่ อ การค้ า ระหว่ า งประเทศและการพั ฒ นา ประเทศ เพราะปริ ม าณเงิ น ไม่ ไ ด้ ข ยายตั ว ไปตาม ปริมาณการค้าและการลงทุน หากแต่ขยายตัวไปตาม ปริม าณทองคำา ซึ่ง ถู ก กำา หนดโดยปั จ จั ย อื่ น ที่ ไ ม่ ใ ช่ ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
  • 12. (2) Modified Fixed-Exchange Rate System ข้อบกพร่องของระบบอัต ราแลกเปลี่ย นคงที่ แบบ Gold Standard ที่ ไ ม่ ยื ด หยุ่ น ต่ อ การขยายตั ว ทางการค้า และการลงทุน ระหว่า งประเทศทำา ให้ทุก ประเทศยกเลิกใช้ระบบนี้ แม้ในปัจจุบันไม่มีประเทศ ไ ห น ใ ช้ 7ร ะ บ บ อั ต ร า แลก เป ลี่ ย น ค งที่ แ บ บ Gold Standard แต่ยัง มีข้อ ดี ข องระบบอัต ราแลกเปลี่ย น แบบคงที่ โดยเฉพาะประเด็น เรื่อ งการมีเสถีย รภาพ ของอัตราแลกเปลียน ดังนันจึงมีการปรับเปลียนระบบ ่ ้ ่ อัตราแลกเปลี่ย นแบบ Gold Standard มาเป็นระบบ อั ต ราแลกเปลี่ ย นแบบคงที่ ที่ มี ค วามยื ด หยุ่ น และ สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงทางการค้าและการ ลงทุนระหว่างประเทศ ตัวอย่างของระบบอัตราแลก เปลียนแบบคงทีมดัดแปลงแล้ว เช่น ระบบอัตราแลก ่ ่ ี เปลี่ย นแบบคณะกรรมการกำา หนดอัต ราแลกเปลี่ย น (Currency Board System)8 ระบบอัตราแลกเปลี่ย น แ บ บ ต ะ ก ร้ า เ งิ น (Basket of Currencies) ร ะ บ บ European Monetary System และระบบ Bretton Woods เป็นต้น (3) Managed Floating Exchange Rate System 7 ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศสุดท้ายที่ใช้ระบบนี้ โดยประกาศ ยกเลิกเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2514 8
  • 13. เป็ น ระบบที่ เ กิ ด จากการปรั บ ปรุ ง ระบบอั ต รา แลกเปลี่ย นแบบเคลื่ อ นไหวเสรี กล่ า วคื อ เป็ น ระบบ อัตราแลกเปลียนทีไม่มีค่าเสมอภาคตายตัว แต่ปล่อย ่ ่ ให้อุปสงค์และอุปทานของเงิ นสกุลนั้ นทำา งานได้ใน ระดั บ หนึ่ ง โดยที่ ธ นาคารกลางของประเทศเข้ า ไป แทรกแซง เพื่อจำากัดขนาดและความผันผวนของการ เปลี่ ย นแปลงอั ต ราแลกเปลี่ ย น ซึ่ ง เป็ น จุ ด ด้ อ ยของ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวอย่างเสรี ระบบนี้ จึ ง ใช้ กั น แพร่ ห ลายทั่ ว โลก รวมทั้ ง ระบบอั ต ราแลก เปลียนของไทยในปัจจุบน จัดอยูในระบบนี้ ่ ั ่ (4) Freely Flexible Exchange Rate System ระบบอั ต ราแลกเปลี่ ย นเคลื่ อ นไหวขึ้ น ลง อย่างเสรี ภายใต้ระบบนี้ อัต ราแลกเปลี่ย นของเงิ น สกุลใด ๆ จะเคลื่อนไหวตามอุปสงค์และอุปทานของ เงิ น ตราสกุ ล นั้ น ๆ โดยธนาคารกลางจะไม่ มี ก าร แทรกแซง ในอดี ต มี ใ ช้ ร ะบบนี้ ใ นระยะสั้ น ๆ ใน ประเทศแถบยุโรปช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ทั้งนี้ เพราะมีข้อเสียหลายประการ ที่สำา คัญคื อ ค่ า อัต รา แลกเปลี่ยนจะผันผวนขึ้นลงตลอดเวลาตามอุปสงค์ และอุปทาน ทำาให้การค้าระหว่างประเทศเป็นไปด้วย ความยากลำาบาก และธนาคารชาติไม่สามารถเข้าไป แทรกแซงตลาดปริ ว รรตเงิ น ตราได้ เป็ น ผลให้ น โย บ า ย กา ร เงิ นไ ม่มีป ร ะ สิ ท ธิภา พ ที่ จ ะ ใช้ เ พื่ อ แทรกแซงอั ต ราแลกเปลี่ ย น อั ต ราดอกเบี้ ย และ ปริมาณเงิน
  • 14. 11.5 ข้อดีและข้อเสียของระบบอัตราแลก เปลียนแบบคงทีและระบบอัตราแลกเปลียน ่ ่ ่ ลอยตัวอย่างเสรี ข้อดีของระบบอัตราแลกเปลียนคงที่ สรุปได้ ่ ดังนี้ (1) ทำาให้อตราแลกเปลียนมีเสถียรภาพ ซึงจะ ั ่ ่ เป็นประโยชน์อย่างยิงทีจะสนับสนุนการค้าและ ่ ่ การลงทุนระหว่างประเทศ และเป็นสิงทีนัก ่ ่ ธุรกิจต้องการ กล่าวคือนักธุรกิจและนัก ลงทุนไม่ตองเผชิญกับความเสียงในเรื่องการ ้ ่ ผันผวนของอัตราแลกเปลียน การวางแผน ่ ดำาเนินงานเป็นไปโดยสะดวก (2) ต้นทุนในการดำาเนินธุรกิจระหว่างประเทศลด ลง เนื่องจากมีความแน่นอนหรือมีความเสียง ่ น้อย จึงไม่จำาเป็นต้องเสียค่าคุมครองความ ้ เสียง เช่น การซือขายเงินตราต่างประเทศล่วง ่ ้ หน้า (3) ช่วยให้รัฐบาลสามารถควบคุมปัญหาเงินเฟ้อ ทีอาจเกิดจากการเสือมค่าของเงินได้ ่ ่ (imported inflation) ข้อเสียของระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ สรุป ได้ดงนี้ ั (1) กรณี กำาหนดค่าอัตราแลกเปลียนสูงเกินไป ่ (over value) จะทำาให้ราคาสินค้านำาเข้าถูก เกินไป ขณะทีราคาสินค้าออกจะแพงเกินไป ่
  • 15. ลักษณะเช่นนี้จะมีผลทำาให้ดุลการค้าและดุล บัญชีเดินสะพัดเลวลงได้ (2) ในกรณีทกำาหนดค่าเงินสูงเกินไป อาจถูก ี่ โจมตีค่าเงินจากนักเก็งกำาไรทังภายในและต่าง ้ ประเทศได้ ถ้าหากเงื่อนไขอืน ๆ เอืออำานวย ่ ้ ซึงได้แก่ เงินทุนสำารองระหว่างประเทศมีนอย ่ ้ ตลาดเงินของประเทศเชื่อมโยงกับตลาดเงิน ระหว่างประเทศ (ไม่มีการควบคุมตลาด ปริวรรตเงินตรา) และกรณีทกระแสเงินตรา ี่ ต่างประเทศ (cash flow) ซึงวัดจากดุลบัญชี ่ เดินสะพัดขาดดุลมาก (3) ภายใต้ระบบอัตราแลกเปลียนคงที่ เมื่อเกิด ่ ปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดหรือ ดุลการชำาระเงิน อัตราแลกเปลียนไม่สามารถ ่ เป็นกลไกช่วยในการปรับตัวเพือแก้ไขปัญหา่ การขาดดุลได้ ซึงตรงข้ามกับการปล่อยให้ ่ อัตราแลกเปลียนลอยตัว อัตราแลกเปลียนจะ ่ ่ ช่วยในการปรับตัวโดยผ่านขบวนการทีอตรา ่ ั แลกเปลียนเสือมค่า (depreciate) ่ ่
  • 16. ข้ อ ดี ข องระบบอั ต ราแลกเปลี่ ย นแบบเคลื่ อ นไหว อย่างเสรี สรุปได้ดงนี้ ั (1) อัตราแลกเปลียนลอยตัวช่วยให้มการปรับดุล ่ ี บัญชีเดินสะพัดหรือดุลบัญชีการชำาระ เงินได้ (2) ธนาคารกลางไม่จำาเป็นต้องดำารงทุนสำารอง ระหว่างประเทศไว้เป็นจำานวนมากเพื่อปกป้อง ค่าเงิน (3) ไม่ตองกังวลเรื่องการโจมตีค่าเงิน ้ ข้อ เ สีย ข อ ง ร ะ บ บ อัต ร า แ ล ก เ ป ลี่ ย น แ บ บ เคลื่อนไหวอย่างเสรี สรุปได้ดงนี้ ั (1) ภายใต้ ร ะบบอั ต ราแลกเปลี่ ย นลอยตั ว มี ข้ อ เสียที่สำาคัญคืออัตราแลกเปลี่ยนจะผันผวนขึ้น ลงไปตามอุปสงค์และอุปทาน รวมทั้งการเก็ ง กำา ไร ซึ่ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ความไม่ แ น่ น อนในเรื่ อ ง อัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งเป็นอุปสรรค์สำาคัญในการ ดำา เนิ น ธุ ร กิ จ ระหว่ า งประเทศ เพราะจะทำา ให้ เกิด กำา ไรหรื อ ขาดทุ น ได้ จ ากการผั น ผวนของ อัตราแลกเปลียน ่ (2) นโยบายในการรักษาเสถียรภาพของระบบ เศรษฐกิจของภาครัฐมีประสิทธิภาพลดลง เช่น การควบคุมภาวะเงินเฟ้อ เป็นต้น ตารางที่ 11.1 สรุปประเภทของระบบอัตรา แลกเปลียน ่ ระบบ ลักษณะและชือระบบ ่ ทุนสำารอง Fixed อัตราแลกเปลียน ่ เป็นทองคำา Exchange กำาหนดคงที่ คือระบบ ในอัตราส่วน
  • 17. Rates มาตรฐานทองคำาทัว ่ ทีกำาหนด ่ โลกใช้ระบบนีกอนปี้ ่ (par value) 1914 และในช่วง 1926-33 Modified อัตราแลกเปลียน ่ ทองคำา เงิน Fixed กำาหนดคงทีแต่ปรับ ่ สกุลหลัก Exchange เปลี่ยนได้เป็นระยะ เช่น ดอลลาร์ Rates ตัวอย่างของระบบนีคือ ้ สหรับ Bretton Woods System (IMF) 1947 -1971, EMS (1979 - ปัจจุบัน, ระบบตะกร้า เงิน ระบบคณะ กรรมการ Managed ระบบลอยตัวแบบกึง ่ ส่วนใหญ่เป็น Floating จัดการ ใช้กันแพร่ เงินสกุลต่าง Exchange หลาย เช่น USA, UK, ประเทศ เช่น Rate Thailand และประเทศ $ DM JY,PS ASEAN Freely อดีตเคยใช้ เช่นใน ดำารงไว้นอย ้ Floating ประเทศอังกฤษช่วง เป็นเงินตรา Exchange 1918-26 สกุลหลัก Rates 11.6 ทฤษฎีทใช้อธิบายการเปลียนแปลงใน ี่ ่ อัตราแลกเปลียน ่
  • 18. ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ทใช้อธิบายการ ี่ เปลียนแปลงของอัตราแลกเปลียนภายใต้ระบบอัตรา ่ ่ แลกเปลียนลอยตัวอย่างเสรีมี 2 ทฤษฎี คือ ่ (1) ทฤษฎีความเสมอภาคแห่งอำานาจซือ ้ [The Purchasing - Power Parity Theory (PPP) ] ทฤษฎีนี้พัฒนาการมาจากการค้าระหว่าง ประเทศ โดยเชื่อว่า อัตราแลกเปลียนจะมีความ ่ สัมพันธ์ระหว่างระดับราคาสินค้าภายในประเทศและ ต่างประเทศ และเชื่อว่าอัตราแลกเปลียนระหว่างเงิน ่ สองสกุลจะปรับตัวเพือให้สอดคล้องกับช่องว่าง ่ ระหว่างอัตราเงินเฟ้อ (differential rates of inflation) ระหว่างสองประเทศ โดยจะมีทศทางการ ิ ปรับตัวจนกระทังดุลยภาพของดุลการชำาระเงินของ ่ ทังสองประเทศได้ดล แนวคิดของทฤษฎีนอยูภาย ้ ุ ี้ ่ ใต้แนวคิดเรื่อง “กฎแห่งราคาเดียว” (Law of one price) ซึงหมายความว่า สินค้าชนิดเดียวกัน ขาย ่ ในแต่ละประเทศ ราคาขายจะเท่ากัน เมื่อคิดอยูในรูป ่ เงินสกุลเดียวกัน ซึงแสดงได้ตามสมการ ต่อไปนี้ ่ E P* = P โดยที่ E = อัตราแลกเปลียน ( ่ แสดงราคาของเงินสกุลในประเทศต่อ 1 หน่วยของเงินสกุลต่างประเทศ)
  • 19. P = ระดับราคาสินค้าใน ประเทศ ในรูปของเงินสกุลท้องถิ่น P* = ระดับราคาสินค้าต่าง ประเทศ ในรูปของเงินตราต่างประเทศ ทังนี้ข้อสรุปของทฤษฎีนี้อยูภายใต้ข้อสมมติ ้ ่ ว่าตลาดการค้าระหว่างประเทศมีการแข่งขันอย่าง สมบูรณ์ ไม่มีตนทุนค่าขนส่งและการกีดกันทางการ ้ ค้าใด ๆ จากสูตรทีแสดง “Law of one price” ่ สมารถคำานวณหาอัตราแลกเปลียน ได้คอ ่ ื P E = P* สู ต ร ที่ แ ส ด ง มี ชื่ อ เ รี ย ก ท า ง วิ ช า ก า ร ว่ า “ Absolute Purchasing Power Parity” ซึ่ ง ใ นทา ง ปฎิบติจะมีปญหาในการพิจารณาว่าระดับราคาทีกล่าว ั ั ่ ในทฤษฎีจะใช้กับสินค้าประเภทใด และกลุ่มสินค้าที่ บริโภคในแต่ละประเภทก็มีนำ้าหนักต่างกัน ดังนั้นใน ทางปฏิบัติจึงนิย มใช้ ดั ชนี ร าคาแทนระดับราคา ซึ่ง ดัชนีราคาที่นิยมใช้มี 3 ประเภท คือ CPI, WPI และ GDP deflator ในกรณีทพิจารณาในรูปของอัตราการ ี่ เปลียนแปลงของอัตราแลกเปลียน หรือทีเรียกว่า “ ่ ่ ่ Relative Purchasing Power Parity” สูตรในการ คำานวณ คือ ∆E = ∆Pt / ∆P*t
  • 20. หรือ % ∆E = % ∆Pt - % ∆P*t โดยที่ แสดงถึงการเปลี่ยนแปลง ใน กรณีทเราแสดง Relative PPP ในรูปของระดับอัตรา ี่ แลกเปลียน เราจะได้สมการ ่ Pt / P0 PPPEt = Pt* / P0* . E0 โดยที่ PPPEt = อัตราแลกเปลียนตามทฤษฎี ่ relative PPP ณ เวลา t Pt = ระดับราคาภายในประเทศ ณ เวลา t P0 = ระดับราคาภายในประเทศ ณ เวลา 0 ซึงเป็นปีฐาน ่ P* t = ระดับราคาต่างประเทศ ณ เวลา t P* 0 = ระดับราคาต่างประเทศ ณ เวลา 0 ซึงเป็นปีฐาน ่ E0 = อัตราแลกเปลียน ณ ปีฐาน ่ จากสูตรคำา นวณหาอัตราแลกเปลี่ยนไม่ว่าจะ เป็ น Absolute PPP หรื อ Relative PPP จะเห็ น ว่ า อัตราแลกเปลี่ยนจะถูกกำาหนดจากระดับราคาเปรียบ เที ย บ และการปรั บ เปลี่ ย นในอั ต ราแลกเปลี่ ย นอั น เนื่องมาจากความแตกต่างระหว่างการเปลี่ย นแปลง ของระดับราคา จะเกิดขึนได้ 2 ทางคือ ้
  • 21. ทางแรก เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงในราคา เปรี ย บเที ย บระหว่ า งสิ น ค้ า เข้ า และสิ น ค้ า ออกทั้ ง สองประเทศ กล่าวคือ ประเทศที่มีอัตราเงินเฟ้อสูง กว่าโดยเปรียบเทียบกับอีกประเทศ ราคาสินค้าส่ง ออกจะสูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับราคาสินค้านำา เข้า จึงทำาอุปสงค์สินค้าสินค้านำา เข้าสูงขึ้น และอุปสงค์ สิน ค้ า ส่ ง ออกลดลงและดุ ล การค้ า ของประเทศจะ เลวลง จากผลดังกล่า วจึงทำา ให้อุปสงค์ ข องเงิ น ตราสกุลต่างประเทศเพิ่มขึ้น ขณะทีอุปสงค์สำาหรับ ่ เงินตราสกุลของประเทศตนเองลดลง จึงทำาให้ค่า เงินของประเทศที่มีอัตราเงินเฟ้อสูงกว่าเสื่อมค่าลง (depreciate) ในทิศทางกลับกัน สำาหรับประเทศที่ มี อัต ราเงิ น เฟ้ อ ตำ่า กว่ า ราคาสิ น ค้ า เข้ า สู งทำา ให้ ล ด การนำา เข้า อุปสงค์สำา หรับเงินตราประเทศคู่ค้าลด ลง ขณะที่ราคาสินค้าส่งออกโดยเปรียบเทียบจะถูก ลง ส่งออกจะเพิ่มขึ้น ดุลการค้าจะปีขึ้น ค่าเงินของ ป ร ะ เ ท ศ อั ต ร า เ งิ น เ ฟ้ อ ตำ่า ก ว่ า จ ะ เ พิ่ ม ขึ้ น (appreciate) ซึ่ ง จ ะ มี ผ ล ต่ อ อั ต ร า แ ล ก เ ป ลี่ ย น ปัจจุบัน (spot exchange rates) ( ทางทีสอง อัตราแลกเปลียนอาจเปลียนแปลงเพื่อ ่ ่ ่ สนองตอบต่อความแตกต่างของอัตราเงินเฟ้อ เป็น ผลมาจาก การเก็ ง กำา ไร (speculation) ขณะที่ ราคาของประเทศหนึ่ ง เปลี่ ย นแปลงสู ง กว่ า อี ก ประเทศหนึ่ง ผูจัดการกองทุนและพวกนักเก็งกำาไร ้ คาดการณ์ ว่ า อำา นาจซื้ อ ของเงิ น ของประเทศที่ มี อัตราเงิ น เฟ้ อสูงจะลดลง พวกกองทุ นและนั ก เก็ ง
  • 22. กำาไรจึงต้องเปลี่ยนการถือเงินจากสกุลเงินประเทศ ที่มีอำานาจซื้อลดลงไปถือครองเงินของอีกประเทศ จึ ง เป็นผลทำา ให้ค่ า เงินข องป ร ะ เทศที่ ที อั ต ร า เงินเฟ้อสูงเสื่อมค่าลง ซึ่งจะมีผลต่อ อัตราซื้อขาย ล่วงหน้า (forward exchange rates) Real exchange rate เป็นดัชนีทสร้างขึ้นโดยการนำา ี่ เอาอัตราแลกเปลียนตัวเงินมาพิจารณาร่วมกับระดับ ่ ราคาสินค้าภายในและต่างประเทศ ทังนี้เพือเปรียบ ้ ่ เทียบระดับราคาสินค้าของสองประเทศว่าจะแตกต่าง กันมากน้อยเพียงใด จึงเป็นดัชนีที่ใช้วัดศักยภาพ การแข่งขันของทังสองประเทศ สูตรในการคำานวณ ้ ep * ส = P โดยที่ = อัตราแลกเปลียนทีแท้จริง ่ ่ (real exchange rate) e = อัตราแลกเปลียนตัวเงิน ่ (nominal exchange rate) p* = ระดับราคาสินค้าต่าง ประเทศ P = ระดับราคาสินค้าในประเทศ (2) ทฤษฎีความเสมอภาคของอัตราดอกเบีย ้ [The Interest - Rate Parity Theory (IRP)] ทฤษฎี นี้ เ ชื่ อ ว่ า อั ต ราแลกเปลี่ ย นจะปรั บ เปลี่ ย นเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความแตกต่ า งระหว่ า ง
  • 23. อัตราดอกเบี้ย ทั้งนี้มีข้อสมมุติว่าเมื่อตลาดการเงิน ของประเทศเปิ ด เสรี ความแตกต่ า งระหว่ า งอั ต รา ดอกเบี้ย ของสินทรัพ ย์ ป ระเภทต่ า งๆ เช่ น พั นธบั ต ร ตั๋ ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น จะมี ผ ลทำา ให้ นั ก ลงทุ น เคลื่ อ นย้ า ย เงินทุนจากประเทศที่มีอัตราดอกเบี้ยตำ่าไปสู่ประเทศ ที่มีอัตราดอกเบี้ยสูง การเคลื่อนย้ายเงินทุนดังกล่าว จะมี ผ ลกระทบต่ อ อั ต ราแลกเปลี่ ย น กล่ า วอี ก นั ย หนึ่ง คือ ถ้ามีความแตกต่างระหว่างผลตอบแทนจาก การลงทุ น ทางการเงิ น ระหว่ า งประเทศ จะเกิ ด การ arbitrage จนกระทั่งผลตอบแทนทั้งภายในและต่าง ประเทศเท่ากัน ตัวอย่างเช่น ถ้า ฝากเงิน B บาท อัตราดอกเบีย i ต่อปี สินปีจะได้รบเงินจำานวน ้ ้ ั B + i (B) = B (1 + i ) บาท ถ้านักลงทุนมีทางเลือกในการเปลี่ยนเงิน 1 บาท กำาหนดให้เปลี่ยนเป็นดอลลาร์จะได้เงินจำานวน 1 เท่ากับ 1 . E โดยที่ E คือ อัตราแลกเปลียน ่ กำาหนดในรูปของเงินบาทต่อ 1 หน่วยของเงินตรา ต่างประเทศ แล้วไปฝากยังต่างประเทศสมมุติวาได้ ่ รับดอกเบียร้อยละ i* สินปีจะได้รับเงินเท่ากับ ้ ้ 1 B x ( E ) + i* { B x ( 1 1 E ) } = B x ( E ) ( 1+ i* ) อย่างไรก็ตาม ในการนำา เงิ นไปลงทุนในต่ า ง ประเทศจะมี ค วามเสี่ ย งเรื่ อ งการผั น ผวนของอั ต รา แลกเปลี่ยนที่คาดว่าจะเกิดในอนาคต คือ อัตราแลก
  • 24. เปลี่ยนในอนาคตอาจแตกต่างจากอัตราแลกเปลี่ยน ในปัจจุบันที่ตัดสินใจที่จะลงทุนในต่างประเทศ ซึ่ง ถ้ากำา หนดว่า นักลงทุนได้ทำา การป้องกันความเสี่ย ง ประเภทนี้ โ ดยการทำา การขายล่ ว งหน้ า 9 ณ ระดั บ forward rate 1 ปี (Ft) ดังนั้น ณสิ้นปีนักลงทุนจะ ได้รบเงินคืนในรูปเงินตราในประเทศเท่ากับ ั 1 B x ( E ) ( 1+ i* ) Ft ณ ดุลยภาพ ผลตอบแทนจากการลงทุนทังภายใน ้ และต่างประเทศต้องเท่ากัน นั่นคือ 1 B ( 1+ i ) = B x (E) ( 1+ i* ) Ft Ft (1 + i) Et = (1 + i* ) จากดุลยภาพทีแสดง อาจใช้พยากรณ์อตราแลก ่ ั เปลียนในงวดต่อไป ได้ คือ10 ่ (1 + i) Ft+1 = (1 + i ) . Et * 11.7 วิวัฒนาการของระบบการเงินของโลก 9 การลงทุนระหว่างประเทศ นักลงทุนต้องเผชิญกับความเสียงหลายประการ ่ ในที่นพจารณาเฉพาะ ความเสียงในเรื่องอัตราแลกเปลี่ยน และการดำาเนิน ี้ ิ ่ การป้องกันความเสียงประเภทนีเรียกว่า “ Coverd IRP” ่ ้ 10 รูจักกันในนาม International Fisher Effect ซึ่งนำามาประยุกต์ใช้ในการ ้ พยากรณ์ อัตราแลกเปลี่ยน ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน Richard Levich, International Financial Markets, chap. 5
  • 25. (1) The Gold Standard หรื อ ระบบมาตรฐาน ทองคำา ร ะ บ บ นี้ ใ ช้ เ มื่ อ ป ร ะ ม า ณ 40 ปี ก่ อ น สงครามโลกครั้งที่ 1 หรือประมาณช่วง 1890-1914 ระบบนี้ไม่ได้ถูกสร้างขึ้นมาโดยชาติใด แต่เกิดขึ้นมา เองเหมือนกับระบบราคา กล่าวคือ เป็ น ระบบที่เกิด มาจากความให้การยอมรับทองคำาในฐานะที่เป็นสิ่งมี ค่ า ใช้ แ ทนเป็ น เงิ น ได้ ห รื อ ใช้ เ ป็ น สิ่ ง หนุ น หลั ง เงิ น กระดาษ ในระบบนี้ประชาชนในทุกประเทศสามารถ นำา เงิ น กระดาษมาแลกเปลี่ ย นทองคำา ในอั ต ราที่ กำา ห น ด ไ ว้ เ ช่ น ใ น ปี 1914 1 ด อ ล ล า ร์ สหรัฐอเมริกา แลกเป็นทองคำานำ้าหนัก 0.053 ounce ในขณะที่ 1 ปอนด์ ส เตอร์ ริ ง แลกทองคำา ได้ 0.257 ounce ซึ่งหมายความว่า เงิ น 1 ปอนด์ มีมูลค่าเป็น 4.86 เท่าของเงินดอลลาร์ ซึ่งก็คืออัตราแลกเปลี่ยน นั่นเอง กลไกการทำางานของระบบมาตรฐานทองคำา ตั้งอยูบนเงื่อนไขทีสำาคัญ 3 ประการ คือ ่ ่ (ก) ทุกประเทศที่ ใ ช้ ม าตรฐานทองคำา ต้ อ ง กำาหนดค่าเงินของตนเทียบกับทองคำา (ข) ทางการต้องอนุญาตให้มีการนำา เข้าและ ส่งออกทองคำาโดยเสรี (ค) ทางการต้องไม่เข้าไปขัดขวางกลไกการ ปรับตัวทางด้านปริมาณเงินที่เกิดจากการค้าระหว่าง ประเทศ เงื่อนไขสองประการแรกเป็นกลไกทีจะช่วยให้ ่ อัต ราแลกเปลี่ย นคงที่ ห รื อ เคลื่ อ นไหวในช่ ว งแคบๆ
  • 26. กล่าวคือ เมื่อเกิดความไม่สมดุลทางด้านการค้าและ การชำาระเงินระหว่างประเทศก็จะนำาไปสู่การไหลเข้า ออกของทองคำา เพื่ อ ปรั บ ดุ ล การชำา ระเงิ น ให้ ส มดุ ล และ เงื่ อ นไขประการ ที่ ส ามจะช่ ว ยให้ เ กิ ด ความ มั่นใจว่าการปรับตัวไปสูความสมดุลทางด้านการชำาระ ่ เงินระหว่างประเทศอย่างแท้จริง จากข้อดีของระบบ นี้ที่ช่วยให้อัตราแลกเปลี่ยนมีเสถียรภาพและมีกลไก การปรั บ ตั ว เองเมื่ อ มี ก ารขาดดุ ล หรื อ เกิ น ดุ ล ทำา ให้ ปัจจุบันมีนักเศรษฐศาสตร์กลุ่มหนึ่งเสนอให้กลับไป ใช้ระบบมาตรฐานทองคำา (2) The Bretton Woods System หลังสงครามโลกครั้งที่สองทั่วโลกต้องเผชิญ กับปัญหาระหว่างประเทศหลายประการ ซึงสถาบันที่ ่ กำา เนิ ด ขึ้ น มา ก็ เ พื่ อ แก้ ปั ญ หาในแต่ ล ะส่ ว น เช่ น มี ปั ญ หาเรื่ อ งการกี ด กั น ทางการค้ า อั น เนื่ อ งมาจาก กำา แพงภาษี ประชาคมโลกจึ ง ตั้ ง องค์ ก ร GATT (General Agreement on Tariffs and Trade) เพื่ อ แก้ ปั ญ หานี้ และได้ ตั้ ง ธนาคารเพื่ อ การบู ร ณะและ ฟื้ น ฟู (International Bank for Reconstruction and Development : IBRD) ห รื อ เ รี ย ก ย่ อ ว่ า ธนาคารโลก (The World Bank) เพื่อแก้ปัญหาเรื่อง การหาเงิ น ทุ น มาใช้ ใ นการที่ จ ะช่ ว ยให้ ป ระเทศที่ ต้ อ งการเงิ น ทุ น มาบู ร ณะ ฟื้ น ฟู แ ละพั ฒ นาประเทศ และในการแก้ ปั ญ หาระบบการชำา ระเงิ น ระหว่ า ง ประเทศ ได้ตั้ง กองทุ น การเงิ น ระหว่ า งประเทศหรื อ
  • 27. เรี ย กย่ อ ว่ า IMF 11(International Monetary Fund) ซึ่ง ได้ส ร้า งระบบการเงิ น ระหว่ า งประเทศ ที่ เ รี ย กว่ า The Bretton Woods12 อั น เป็ น ระบบที่ ร วมเอาข้ อ ตกลงและกฎเกณฑ์ ที่ส ร้ า งจาก IMF ระบบนี้ไ ด้ ถู ก นำา มาใช้ในช่วง 1948 - 1971 ระบบนี้บางครั้งเรีย ก ว่ า Gold-Exchange Standard หรื อ ระบบปริ ว รรต ทองคำา ซึ่ ง จั ด ว่ า เป็ น ระบบอั ต ราแลกเปลี่ ย นคงที่ ระบบนี้ กำา หนดให้ ป ระเทศสมาชิ ก ต้ อ งปฏิ บั ติ ต าม เงื่ อ นไขหลั ก 3 ประการคื อ ประการแรก ประเทศ สมาชิ ก ต้ อ งสำา รองเงิ น ตราต่ า งประเทศในรู ป ของ ดอลลาร์สหรัฐซึ่งสามารถแลกเปลี่ยนเป็นทองคำา ได้ เพราะรัฐบาลสหรัฐอเมริกาประกาศอัตราแลกเปลี่ยน ประมาณ $35 ต่อ ounce13 ได้ ประการทีสองประเทศ ่ สมาชิกต้องกำาหนดอัตราแลกเปลียนเงินสกุลของประ ่ 11 รายละเอียด ความก้านหน้า ผลงานวิจย การประชุมของ IMF ดูได้จาก ั http://www/imf.org ของธนาคารโลกดูได้จาก http://www.worldbank.org 12 ประเทศสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรและประเทศอุตสาหกรรมอีก 44 ประเทศมาประชุมกันทีเมือง Bretton Woods รัฐ New Hampshire ่ ในปี 1948 โดยประเทศสหรัฐและสหราชอาณาจักรเป็นผูนำาเสนอแนวทาง ้ การดำาเนินงานภายใต้ระบบอัตราแลกเปลี่ยน Bretton Woods ทั้งนี้ทั้ง สองประเทศกำาหนดอัตราแลกเปลี่ยนของตนไว้คงที่กับทองคำา ประเทศ สหราชอาณาจักรกำาหนด 12.5 ปอนด์เสเตอริงค์เท่ากับทองคำา 1 ounce 13 1 ounce = 28.35 gram ประเทศสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร และประเทศอุตสาหกรรมอีก 44 ประเทศมาประชุมกันทีเมือง Bretton ่ Woods รัฐ New Hampshire ในปี 1948 โดยประเทศสหรัฐและสหราช อาณาจักรเป็นผูนำาเสนอแนวทางการดำาเนินงานภายใต้ระบบอัตราแลก ้ เปลี่ยน Bretton Woods ทั้งนี้ทั้งสองประเทศกำาหนดอัตราแลกเปลี่ยน ของตนไว้คงที่กับทองคำา ประเทศสหราชอาณาจักรกำาหนด 12.5 ปอนด์ เสเตอริงค์เท่ากับทองคำา 1 ounce
  • 28. เทศกับ ดอลล่า ร์ให้ ค งที่ หรื อ เรี ย กว่ า ค่า เสมอภาค (par value) โดยธนาคารชาติ ข องประเทศสมาชิ ก ต้ อ งจั ด ตั้ ง กองทุ น รั ก ษาระดั บ อั ต ราแลกเปลี่ ย น (Exchange Equalization Fund) เ พื่ อ ค อ ย แทรกแซงไม่ ใ ห้ อั ต ราแลกเปลี่ ย นผั น ผวนออกจาก ค่าเสมอภาคที่กำา หนด และประการสุดท้าย ประเทศ สมาชิกต้องปล่อยให้มีการแลกเปลียนระหว่างเงินตรา ่ ของตัวเองกับดอลลาร์อย่างเสรี ใ น ช่ ว ง ท ศ ว ร ร ษ ที่ 1960 ป ร ะ เ ท ศ ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ป ร ะ ส บ กั บ ปั ญ ห า ก า ร ข า ด ดุลการชำาระเงิน การขาดดุลงบประมาณแผ่นดินเรื้อรัง รวมทั้ ง ปั ญ หาเรื่ อ งภาวะเงิ น เฟ้ อ ทำา ให้ เ กิ ด การเก็ ง กำาไรในค่าเงินดอลลาร์สหรัฐว่าจะลดค่าลง มีทองคำา ไหลออกจากประเทศสหรัฐมาก เพราะประเทศต่างๆ นำา เงินดอลลาร์สหรัฐมาแลกเป็นทองคำา จากสภาพ ปั ญ หานี้ ในเดื อ นสิ ง หาคม 1971 ประธานาธิ บ ดี Richar M. Nixon ได้ประกาศนโยบายทางเศรษฐกิจ ใหม่ สาระสำา คั ญ ส่ ว นหนึ่ ง ของนโยบายใหม่ คื อ ยกเลิกการแลกเปลียนระหว่างดอลลาร์กบทองคำาการ ่ ั ประกาศนี้ จึ ง เท่ า กั บ เป็ น การสิ้ น สุ ด ระบบ Bretton Woods (3) อัตราแลกเปลียนลอยตัวกึงจัดการ (Managed ่ ่ Floating Exchange Rate System) หลั ง จากระบบ Bretton Woods ล่ ม สลาย ประเทศส่วนมากปล่อยให้ค่าเงินของตนเคลื่อนไหว
  • 29. เสรีไ ปตามกลไกตลาด แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม ประเทศ ต่ า ง ๆ ก็ ยัง คงแทรกแซงด้ ว ย จึ ง มั ก เรี ย กระบบนี้ ว่ า managed floating exchange rate ในช่ ว ง 1978 - 1981 อั ต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ตราประเทศต่ า งๆ ไม่ มี เ สถี ย รภาพ ทำา ให้ ป ระเทศ ต่างๆ ต้องการที่จะสร้างกลไกเพื่อทำา ให้อัต ราแลก เปลี่ ย นมี เ สถี ย รภาพ (จะสั ง เกตุ ว่ า ตั้ ง แต่ ร ะบบ Bretton Woods ยกเลิ ก ไป ก็ ยั ง ไม่ มี ร ะบบการเงิ น ใหม่มาแทนประเทศต่าง ๆ ต่างก็มาทำาการตกลงแบบ พหุภาคี ในรูปของข้อตกลง เช่น ประเทศในยุโรป 9 ประเทศในกลุ่ม EEC ในปี 1979 ได้สร้าง ระบบการ เงินยุโรป14 (European Monetary System - EMS) โดยมีวตถุประสงค์หลักคือ ลดความผันผวนของอัตรา ั แ ล ก เ ป ลี่ ย น ใ น ก ลุ่ ม ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิ ก ข อ ง EEC (European Economic Community) โ ด ย ส รุ ป ห ลั ง จ า ก ร ะ บ บ Bretton Woods ถู ก ย ก เ ลิ ก ไ ป ประเทศต่าง ๆ ปล่อยให้ค่าเงินของตนเองลอยตัวใน หลายรูปแบบ เช่น ค่าเงินของบางสกุลลอยตัวร่วมกัน บางสกุล ลอยตั ว อิส ระ บางสกุ ล กำา หนดให้ ค งที่ กั บ เงินสกุลอื่นหรือ SDR (Special Drawing Right เป็น เงินที่ IMF สร้างขึนมา15) แต่ทงนี้การลอยตัวดังกล่าว ้ ั้ 14 ระบบนีนำาหลักการของระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่มาใช้ โดยมี ้ วัตถุประสงค์เพื่อลดความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนในกลุ่มประเทศ สมาชิก ภายใต้ระบบนี้ ทุกประเทศจะกำาหนดอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ของ เงินสกุลตัวเองกับเงิน European Monetary Unit (ECU) และอนุญาติให้ ขึ้นลงได้ ± 2.25 จากค่าที่กำาหนด 15 ในปี 1970 IMF ได้สร้า งเงิน SDR ซึ่ง ไม่ ไ ด้ เป็น ตัว เงิน จริง หากแต่ เป็นการลงบัญชี SDR มีวัตถุประสง์เพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้กับประเทศ
  • 30. ไม่ ไ ด้ เ ป็ น ไปโดยอิ ส ระหากแต่ ถู ก แทรกแซงจาก รั ฐ บ า ล จึ ง เ รี ย ก ร ะ บ บ นี้ ว่ า Managed Floating Exchange Rate System ร ะ บ บ นี้ ใ ช้ ม า ตั้ ง แ ต่ ปี 1972 ถึงปัจจุบน ั 11.8 วิ วั ฒ นาการของระบบการเงิ น ระหว่ า ง ประเทศของประเทศไทย (1) ก่อ นส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ ส อ ง ก า ร ค้ า ระหว่างประเทศของไทยอยู่ในระดับตำ่า ตลาดการเงิน ระหว่ า งประเทศยั ง ไม่ แ พร่ ห ลาย ประเทศไทยใช้ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่โดยผูกค่าเงินบาทไว้กับ เงิ น ปอนด์ ส เตอริ ง ค์ ข องอั ง กฤษเพี ย งสกุ ล เดี ย วใน อัตรา 1 ปอนด์สเตอริงค์เท่ากับ 11 บาท (2) เมื่อสงครามโลกครั้ งที่ ส องได้สิ้ นสุ ด ลง เมื่ อ วัน ที่ 16 สิง หาคม 2488 เงิ นสำา รองเงิ น ตราใน ส่วนทีเป็นเงินเยนญี่ปุ่นหมดค่าลง ทองคำาทีฝากไว้ใน ่ ่ ประเทศญี่ปุ่นถูกยึด เนื่องจากประเทศไทยจัดอยู่ใน กลุ่ม ผู้แพ้ ส งคราม ประเทศไทยต้ อ งประสบปั ญ หา เศรษฐกิ จ ตกตำ่า อั ต ราเงิ น เฟ้ อ อยู่ ใ นระดั บ สู ง ขณะ เดี ย วกั น กั บ ที่ ป ระเทศต้ อ งการเงิ น ตราต่ า งประเทศ เพื่อมาบูรณะฟื้นฟูประเทศ ทำา ให้อัตราแลกเปลี่ย น ในช่วงนี้มีความผันผวนมาก เกิดตลาดมืด รัฐบาลไม่ ที่ขาดแคลนเงินทุนสำารอง ค่าของ SDR กำาหนดจากค่าเฉลี่ยถ่วงนำ้าหนัก ของเงิ น สกุ ล หลั ก 5 สกุ ล คื อ US dollar, German Deutschmark, UK sterling, the French franc and the Japanese yen ดั ง นั้น ค่า SDR จะ เปลี่ยนแปลงไปตามค่า เงินสกุลหลั กเหล่านี้ ตัวอย่างเช่น 1SDR มีค่าเท่ากับ $ 0.72 และ 1.1 ในปี 1993
  • 31. สามารถควบคุมให้อัตราแลกเปลี่ยนให้มี เสถียรภาพ ได้ ในปี 2490 จึงได้หันมาใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยน คงที่ แ บบหลายอั ต รา 16 (Multiple Fixed-Exchange Rates) โดยกำา หนดอัตราแลกเปลียนทางการไว้ที่ 1 ่ ปอนด์ส เตอริง ค์ เท่า กับ 40 บาท และสำา หรับ อัต รา แลกเปลียนกับดอลลาร์สหรัฐ กำาหนดไว้ที่ 100 บาท ่ เท่ากับ 10.075 ดอลลาร์สหรัฐ และต่อมาในวันที่ 27 กันยายน 2492 เปลียนเป็น 35 บาท ต่อ 1 ปอนด์สเต ่ อริง ค์ และ 12.50 บาทต่อ 1 ดอลลาร์ส หรัฐ ระบบ อั ต ราแลกเปลี่ย นหลายอั ต ราถู ก ยกเลิ ก ในปี 2498 ทั้งนี้เพราะ ค่าของเงินบาททางการสูงเกินจริง ทำาให้ การส่งออกของไทยลดลง และขาดดุลการค้าสูงขึ้น ภาวะเศรษฐกิจตกตำ่า พร้อมทังอัตราเงินเฟ้อสูงขึ้น ้ (3) หลั ง จากยกเลิ ก ระบบอั ต ราแลกเปลี่ ย น คงที่หลายอัตราแล้ว รัฐบาลไทยได้เข้าร่วมระบบการ เ งิ น ข อ ง IMF คื อ Bretton Woods System โ ด ย ดำาเนินการจัดตั้งกองทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Equalization Fund) และเที ย บค่ า เงิ น บาทกับ ทองคำา ตามหลั ก ของสั ญ ญาว่ า ด้ ว ยการเงิ น ระหว่ า งประเทศของ Bretton Woods ในอั ต รา 1 บาท ต่อทองคำา บริสุท ธ์ 0.06019 กรั ม และกำา หนด อั ต รากลางระหว่ า งเงิ น บาทกั บ เงิ น ปอนด์ ส เตอริ ง ค์ 16 การกำาหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว้หลายอัตรา เพื่อมุงหวังรักษาทุนสำารองที่ มีอยู่น้อย โดยรัฐบาลจะกำาหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว้สูงสำาหรับผู้ที่ต้องการ ซื้อเงินตราต่างประเทศเพื่อการใช้จ่ายที่รัฐบาลเห็นว่าไม่จำา เป็น เช่น ซื้อ สินค้าฟุ่มเฟือย หรือไปเที่ยวต่างประเทศ และกำาหนดอัตราแลกเปลี่ยนใน ระดับตำ่า สำา หรับผู้ที่จะซื้อเงิน ตราต่า งประเทศสำา หรั บ การชำา ระหนี้ที่เ ป็น ประโยชน์ เช่น ซื้อวัตถุดิบ เครื่องจักร ยารักษาโรค เป็นต้น
  • 32. และดอลลาร์ สหรัฐ ไว้ 60 บาท ต่อ 1 ปอนด์สเตอริ งค์ และ 100 บาท ต่อ 6.72 ดอลลาร์ (4) เมื่อระบบ Bretton Woods ถูกยกเลิก ใน ปี 2514 ประเทศไทยยั ง คงผู ก ค่ า เงิ น บาทไว้ กั บ ดอลลาร์สหรัฐเหมือนเดิม โดยมีอัตราแลกเปลี่ยนที่ 20.80 บาทต่อดอลาาร์ส หรั ฐ ทั้ง นี้ เ พื่ อ รั ก ษาความ สามารถในการแข่งขันของสินค้าออกของไทย และ ช่วยเสริมสร้างดุลการค้าและดุลการชำาระเงินให้ดีขึ้น เนื่องจากหลังจากปี 2514 ค่า เงิ นดอลลาร์ ลดค่ า ลง เรื่อย ๆ และเมื่อประเทศไทยยังคงผูกค่าเงินบาทกับ ดอลลาร์สหรัฐในระดับเดิม จึงเท่ากับไทยลดค่าเงิน เทียบกับสกุลอื่น ต่อมาในปี 2516 เกิดวิกฤตการณ์ นำ้า มั น ครั้ ง ที่ 1 ระบบเศรษฐกิ จ ไทยประสบปั ญ หา เงินเฟ้อ ปัญหาดุลภายในและภายนอกเริ่มก่อตัวและ มีแนวโน้ม เพิ่ม ขึ้น ดั งนั้ นในปี 2521 ไทยจึงยกเลิ ก การกำา หนดค่า เสมอภาคของบาทกับ ดอลลาร์ส หรั ฐ ทั้งนี้เพื่อรักษาค่าเงินบาทให้มีเสถียรภาพไม่ให้ตกตำ่า ตามค่าของดอลลาร์จนเกินควร (5) เ มื่ อ วั น ที่ 1 พ ฤ ศ จิ ก า ย น 2521 ประเทศไทยประกาศใช้ ระบบอัตราแลกเปลี่ย นแบบ ตะกร้า เงิน (Basket of currencies) ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยกำา หนดค่า เงิ น บาท โดยเที ย บกั บ กลุ่ ม เงิ น สกุ ล ต่างๆ ที่มีความสำา คัญต่อระบบการค้าและเศรษฐกิจ ของไทยจำา นวน 7 สกุล คือ ดอลลาร์สหรัฐ ปอนด์ส เตอริ ง ค์ มาร์ ค เยน ริ ง กิ ต มาเลเซี ย ดอลลาร์ สิงคโปร์ และดอลลาร์ฮองกง การเปลี่ยนแปลงระบบ ่
  • 33. อัตราแลกเปลี่ยนดังกล่าวถือว่าเป็น การเปลี่ยนแปลง ที่สำาคัญเพราะนอกจากจะปรับระบบอัตราแลกเปลี่ยน ของไทยให้ ส อดคล้ อ งกั บ ที่ ป ระเทศอื่ น ๆ ส่ ว นใหญ่ แล้ ว ยั ง ทำา ให้ ค่ า เงินบ าทไม่ ผู ก ติ ด กั บ เงินส กุ ล ดอลลาร์อย่างเดียว จึงมีความยืดหยุ่น และสะท้อนถึง ภาวะดุลการชำาระเงินที่แท้จริงของประเทศ พร้อมกัน นี้ประเทศไทยได้ปรับเปลี่ยนวิธีการกำาหนดอัตราแลก เปลี่ ย นใหม่ จากเดิ ม ที่ ใ ห้ ก องทุ น รั ก ษาระดั บ อั ต รา แลกเปลี่ยนเป็นผู้กำา หนดแต่เพีย งผู้เดียวมาเป็ นการ ร่ ว มกั บ ธนาคารพาณิ ช ย์ กำา หนดอั ต ราแลกเปลี่ ย น ประจำาวัน หรือที่เรียกว่า Daily Fixing โดยให้กำาหนด อั ต ราแลกเปลี่ ย นประจำา วั น และกำา หนดจำา นวนที่ ต้ อ งการแลกเปลี่ ย น (เดิ ม ทุ น รั ก ษาระดั บ เป็ น ผู้ กำา หนดแต่ ผู้ เ ดี ย ว และให้ แ ลกเปลี่ ย นโดยไม่ จำา กั ด จำานวน) เมื่อเกิดวิกฤตการณ์นำ้ามัน ครั้งทีสองปี 2522 ่ ประเทศไทยประสบปัญหาทางเศรษฐกิจทั้ งภายใน และภายนอก ความเชื่อมั่นในเงินบาทลดลง เกิดการ เก็งกำาไรว่าเงินบาทต้องลดค่าลง ระบบ Daily Fixing ไม่ได้ช่ว ยแก้ปัญหา เมื่ อ วั นที่ 15 กรกฎาคม 2524 จึงได้ยกเลิกระบบตะกร้าเงินและระบบ Daily Fixing (6) ในช่ ว งปี 2524-2527 ประเทศไทยหั น กลั บ มาใช้ ร ะบบเดิ ม คื อ ให้ ก องทุ น รั ก ษาระดั บ ฯ กำาหนดอัตราแลกเปลี่ยนแต่เพียงผู้เดียว และในทาง ปฏิบัติผกค่าเงินบาทไว้กบค่าดอลลาร์สหรัฐ ค่อนข้าง ู ั คงที่