SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 66
Descargar para leer sin conexión
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2552

                              Journal of KM Lerdsin Hospital
                                             Volume 2 Number 2 April - June 2009
วัตถุประสงค์ของวารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน
	      1.	เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้	ของบุคลากรในสังกัด	โรงพยาบาลเลิดสิน	กรมการแพทย์
	      2.	เพื่อเป็นศูนย์กลางการแบ่งปัน	แลกเปลี่ยน	เรียนรู้ประสบการณ์	ระหว่างบุคลากรภายใน	และภายนอก	
									โรงพยาบาลเลิดสิน	กรมการแพทย์
	      3.	เพื่อสนับสนุนให้บุคลากรพัฒนา	การจัดการความรู้เกี่ยวกับการเขียนบทความทางวิชาการเผยแพร่ต่อสาธารณะ
	      4.	เพื่อจัดเก็บความรู้ที่อาจมีคุณค่าและสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป

คณะบรรณาธิการ วารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน

ที่ปรึกษา
นายแพทย์อนันต์			เสรฐภักดี				 	           	        	       				
นายแพทย์ธวัช				ประสาทฤทธา	 	              	        	       				
แพทย์หญิงใยวรรณ	ธนะมัย	 	       	
แพทย์หญิงมยุรี				ฮั่นตระกูล			
นายแพทย์สุทัศน์			ดวงดีเด่น	

บรรณาธิการ                                            เลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการคณะบรรณาธิการ
นายแพทย์สมสิทธิ์	ชุณหรัศมิ์                           นางสาวประภา	จีนนิกุล	 															
                                                      นางสาวนฤมล		อ่อนแสงงาม		
กองบรรณาธิการ                                         นางสาวชลิตา		ง้าวสุวรรณ	
ทันตแพทย์วิทยา		ยินดีเดช	 																															
นายแพทย์ชัยสิทธิ์	ใบไม้
นางสาวนุชนาท		บุญต่อเติม

สำนักงานกองบรรณาธิการวารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน
ห้องสมุด	ชั้น	8	อาคารกาญจนาภิเษก	เลขที่	190	ถนนสีลม	บางรัก	กรุงเทพฯ	10500	
โทรศัพท์	:	0	2353	9835-6			โทรสาร	:	0	2353	9933	
E-Mail	Address	:	geennikul@hotmail.com,	geennikul@yahoo.com	geennikul@gmail.com	
Website	:	http://www.lerdsin.go.th/	

วารสารราย	3	เดือน	จัดพิมพ์โดย	โรงพยาบาลเลิดสิน	กรมการแพทย์
วารสารการจัดการความรู้	 โรงพยาบาลเลิดสิน	 เป็นศูนย์กลางสำหรับการแบ่งปัน	 แลกเปลี่ยน	 เรียนรู้
ประสบการณ์	 ระหว่างบุคลากร	ภายในและภายนอกโรงพยาบาลเลิดสิน	กรมการแพทย์	 โดยถ่ายทอดในรูปของ
บทความ	บทความที่ส่งมาลงตีพิมพ์	ต้องเป็นบทความที่ไม่เคยลงตีพิมพ์ในวารสารอื่นมาก่อน	

ข้อแนะนำสำหรับการจัดตรียมต้นฉบับ
         1.	กองบรรณาธิการ	รับตีพิมพ์ต้นฉบับภาษาไทยเท่านั้น
	        2.	ต้นฉบับควรพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป	Microsoft	Office	Word	2003	ขนาดตัว
อักษรไม่เล็กกว่า	 AngsanaUPC	 ขนาด	 16	 pts	 ใช้กระดาษพิมพ์ขนาด	 A4	 พิมพ์หน้าเดียวใส่เลขหน้ากำกับ
ทุกหน้า	ทำเป็นคอลัมน์เดียวกรอบของเนื้อหาห่างจากขอบบน	ขอบล่าง	ขอบซ้าย	และขอบขวา	ด้านละ	1	นิ้ว	
ความยาวไม่น้อยกว่า		3	หน้ากระดาษ	A4
	        3.	พิมพ์ชื่อบทความภาษาไทยและวรรคตอนรวมกันไม่เกิน	50	ตัวอักษร	ชื่อบทความควรสั้นได้ใจความ
และสื่อเป้าหมายหลัก
	        4.	พิมพ์ชื่อผู้เขียน	คุณวุฒิ	ตำแหน่งและสถานที่ทำงานภาษาไทย	ไว้ใต้ชื่อบทความ	
	        5.	ภาพประกอบ	(ถ้ามี)	ควรใช้ชื่อรูปภาพที่มีนามสกุลเป็น	.gif	หรือ	.jpg
	        6.	การเขียนเอกสารอ้างอิง	ถ้าต้องการระบุแหล่งอ้างอิง	ต้องใช้ระบบแวนคูเวอร์

การส่งต้นฉบับ
        1.	ส่งต้นฉบับ	ประกอบด้วยบทความ	(ที่พิมพ์แล้ว)		ภาพประกอบ(ถ้ามี)		จำนวน	1	ชุด	พร้อมแผ่น
ดิสเก็ตหรือแผ่นซีดีที่บรรจุข้อมูลบทความ	และภาพประกอบ	จำนวน	1	แผ่น	ระบุชื่อบทความ	และชื่อผู้เขียน
บทความกำกับไว้ที่แผ่นดิสเก็ต	หรือแผ่นซีดีทุกแผ่น	(หากมีมากกว่า	1	แผ่น)	
	       	         จัดส่งได้ที่
	       	         	         ห้องสมุดโรงพยาบาลเลิดสิน	ชั้น	8	อาคารกาญจนาภิเษก	
	       	         	         โรงพยาบาลเลิดสิน	กรมการแพทย์	
	       	         	         190	ถนนสีลม	บางรัก
	       	         	         กรุงเทพ	10500
	       2.	หรือจัดส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์	ได้ที่		geennikul@gmail.com,	geennikul@hotmail.com,	
geennikul@yahoo.com
	       3.	หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ		0	2353	9835	-	6
สวัสดีครับ ท่านผู้อ่านทุกท่าน
	        วารสารการจัดการความรู้โรงพยาบาลเลิดเสินที่ท่านถืออยู่นี้	 ก็เป็นฉบับที่สี่แล้ว	 จะสังเกตได้ว่า
เนื้อหาค่อยๆ	 เพิ่มความหลากหลายขึ้นตามลำดับ	 เนื่องจากเราได้รับความกรุณาจากสมาชิกที่ช่วยกันส่ง
ผลงานมาร่วมแบ่งปันความรู้ที่ซุกซ่อนอยู่	ออกมาเป็นรูปธรรมแก่ท่านผู้อ่านเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง	หากท่าน
มีความรู้หรือประสบการณ์ดีๆ	อยากแบ่งปัน	ก็ติดต่อกองบรรณาธิการได้เสมอครับ		

	      ในฉบับนี้มีเรื่องเกี่ยวกับการประชุมวิชาการที่ผ่านมา	 ซึ่งถือเป็นการครบรอบ	 60	 ปีของการที่
โรงพยาบาลเลิดสินเข้าสังกัดกรมการแพทย์	 กระทรวงสาธารณสุขอีกด้วย	 ทั้งยังมีบทความที่รวบรวมจาก
การปฎิบัติงานโดยตรง	รวมถึงโครงการริเริ่มใหม่ๆที่ได้บรรจุเข้ามาเพื่อพัฒนาบุคลากรและองค์กรอีกด้วย

	      หากท่านผู้อ่านมีข้อคิดเห็นใดๆ	 สามารถเสนอแนะเข้ามาได้ที่กองบรรณาธิการ	 ผ่านทาง
บรรณารักษ์ห้องสมุดที่แสนใจดีของเราได้ตลอดเวลา	ทางเรายินดีรับฟังเพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไข	ให้วารสาร
มีความน่าสนใจเพิ่มขึ้นครับ


	       	        	       	        	       	        	     	      กองบรรณาธิการ
	       	        	       	        	       	        				วารสารการจัดการความรู้โรงพยาบาลเลิดสิน
สารบัญ
61
เก็บตกจากการอบรมหลักสูตร HA451
ผู้เยี่ยมสำรวจภายนอกขั้นที่ 1
สุทัศน์ ดวงดีเด่น
69
๖๐ ปี โรงพยาบาลเลิดสิน : อดีต
ปัจจุบัน อนาคต ถอดเทปจากการประชุมวิชาการประจำปี
ประภา จีนนิกุล
89
แปลงเพศอย่างไร ให้ปลอดภัย
สุกิจ ทัศนสุนทรวงศ์

91
แนวทางการให้บริการสังคมสงเคราะห์
ผู้ป่วยต่างชาติ
นุชนาท บุญต่อเติม
99
“ผ้ายึดตรึง”
นวัตกรรมเพือความปลอดภัยของผูปวย
             ่              ้่
นันทนัช ภาณุศรี
101
เหตุเกิดที่อัมพวา
ชลธิชา สว่างแจ้ง

106
การให้คำปรึกษาด้านยาแก่ผู้ป่วย
ทางโทรศัพท์ (3)
สมสกุล ศิริไชย
110
มารู้จัก UCHA กันเถอะ
นวลพรรณ เอี่ยมตระกูล

112
การจัดการความรู้ พัฒนารูปแบบ
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
กฤติยา จิตราภัณฑ์
116
รวมภาพกิจกรรมการจัดการความรู้
โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์
๖๐ ปี โรงพยาบาลเลิดสิน
สุทัศน์	ดวงดีเด่น
นายแพทย์เชี่ยวชาญ
เลขานุการคณะทำงานการจัดการความรู้
โรงพยาบาลเลิดสิน	กรมการแพทย์
                                                       	
         ตามที่ ผู้ เ ขี ย นได้ เ ข้ า รั บ การอบรมหลั ก สู ต ร    การพั ฒ นาศั ก ยภาพของผู้ เ ยี่ ย มสำรวจมี
HA451 ผู้เยี่ยมสำรวจภายนอกขั้นที่ 1	 ระหว่างวันที่	    ความสำคัญยิ่งต่อ	 HA	 ผู้เข้ารับการอบรมในหลักสูตร
12	-	16					ตุลาคม	2552	ณ	โรงแรมอมารี	แอร์พอร์ต        นี้ ส่ ว นหนึ่ ง มี ค วามมุ่ ง หวั ง ที่ จ ะพั ฒ นาตนเองไปเป็ น
กรุงเทพฯ	ขอสรุปเนื้อหาการเข้ารับการอบรมมาให้อ่าน       ผู้เยี่ยมสำรวจของสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
กันเล่น		หวังว่าจะเป็นประโยชน์	และเป็นกำลังใจให้กับ    (องคการมหาชน)	หรอทเ่ ี รยกยอๆ	วา	สรพ.	อกสวนหนงอาจมี
                                                               ์                  ื ี ่ ่                   ี ่ ่ึ
ทุกท่านที่เกี่ยวข้อง                                   วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการเข้ า รั บ การอบรมเพื่ อ นำความรู้
                                                       ไปพัฒนาคุณภาพ	 โรงพยาบาลที่ตัวเองปฏิบัติงานอยู่
	          แนวคิ ด พื้ น ฐานของกระบวนการเยี่ ย ม ให้สามารถผ่านการรับรองได้	 ด้วยกลยุทธ์สำคัญจาก
สำรวจนั้นพอจะแบ่งออกได้เป็น	2	ค่ายใหญ่ๆ		คือ	 ตำราพิชัยสงครามของซุนวูที่ว่า	 รู้เขารู้เรา	 รบร้อยครั้ง
	          1.	Audit	mode                               ชนะร้อยครา	 บางคนก็หวังเพียงเอาไปใช้เป็นแนวทาง
	          2.	Learning	mode                            ในการประเมินภายใน	โรงพยาบาล		หรือวัตถุประสงค์
                                                       อื่นๆ	ที่หลากหลายในแต่ละบุคคล
	          Hospital	 accreditation	 หรือที่เราเรียกกัน
ย่อๆ	 ว่า	 HA	 นั้น	 	 เน้นการใช้	 learning	 mode	 	               สิ่งที่ผู้เยี่ยมสำรวจต้องได้รับการพัฒนาก็คือ
เป็ น แนวคิ ด สำคั ญ ในการประเมิ น สถานพยาบาล ความรู้	ทักษะ	ชิ้นงานและงานมาตรฐาน
ด้วยแนวคิดว่า	 HA	 คือ	 กระบวนการเรียนรู้	 	 ไม่ใช่
การตรวจสอบ1		การเรียนรู้สำคัญเกิดจากการประเมิน 	                   ความรู้ ที่ ส ำคั ญ สำหรั บ ผู้ เ ยี่ ย มสำรวจ 2,3,4,5,6
และพัฒนาตนเองในโรงพยาบาล	 	 ผู้เยี่ยมสำรวจเป็น ได้แก่	 แนวคิดคุณภาพ	 เครื่องมือคุณภาพ	 แนวคิด	
ผู้ แ ทนของสถาบั น รั บ รองคุ ณ ภาพสถานพยาบาล HPH	 มาตรฐาน	 HA/HPH	 การประเมิน	 และระบบ
เป็นแขกรับเชิญของโรงพยาบาล	 เป็นกัลยาณมิตร	 สาธารณสุข
ไม่ใช่ผู้พิพากษา	 ไม่ใช่ผู้ตรวจสอบ	 การประเมินจาก
ภายนอกเป็ น การยื น ยั น ผลการประเมิ น ตนเอง	 	                    ทักษะที่สำคัญ	ได้แก่	การอ่าน	การวิเคราะห์	
และกระตุ้นให้เห็นโอกาสพัฒนาในมุมมองที่กว้างขึ้น การมองภาพใหญ่	 การสร้างความสัมพันธ์	 การสังเกต
ด้ ว ยมุ ม มองสำคั ญ คื อ คุ ณ ภาพและความปลอดภั ย	 การฟัง	 การตั้งคำถาม	 การสะท้อนกลับ	 กระตุ้น
การรับรองคือการให้กำลังใจในการทำความดี	 และ การเรียนรู้	การเขียน	การแก้ไขสถานการณ์	
ส่งเสริมให้ทำดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง	ไม่ใช่การตัดสินได้ตก
JOURNAL OF KM LERDSIN HOSPITAL :: VOLUME 2 NUMBER 2 :: APRIL - JUNE 2009                                              61
ในการเยี่ยมสำรวจนั้น	 การตั้งคำถามของ         ทั้งในส่วนที่โรงพยาบาลทำดีอยู่แล้ว	 มากล่าวชื่นชม
ผู้เยี่ยมสำรวจมีความสำคัญมาก		มีคำถามหลายอย่าง           แ ล ะ ม อ ง ห า ป ร ะ เ ด็ น ที่ มี โ อ ก า ส พั ฒ น า
ที่อาจสร้างปัญหาขึ้น	 อาทิ	 ต้องการไปถามว่า              ซึ่งในระหว่างการเยี่ยมสำรวจ	 โรงพยาบาลจะพยายาม
ทางห้อง	 lab	 มีปัญหาและอุปสรรคในการสู่มาตรฐาน           ปกป้องตัวเองอย่างเต็มที่	 ยิ่งถ้าหากไปกล่าวในทำนอง
สากลอย่างไร	 อาจต้องมีการปรับคำถามให้เป็นกลาง            ที่ว่า	 ผู้ถูกเยี่ยมสำรวจทำผิด	 หรือเป็นผู้ผิดแล้วละก็	
และเป็นบวก	 เช่น	 ทีมงานมีความเห็นอย่างไรต่อ             ผู้ถูกเยี่ยมสำรวจจะสู้ยิบตาเลยทีเดียว	แต่ถ้าไม่สามารถ
                                                                                                   	
มาตรฐานสากลต่างๆ	มีแผนการเรื่องนี้อย่างไร		คำถาม         ชี้ ป ระเด็ น ที่ อ าจจะเกิ ด ประโยชน์ ต่ อ หน่ ว ยงานเลย	    	
ที่ดีที่ยกมาเป็นตัวอย่างได้แก่	 Lab	 ตอบสนองต่อ          หน่วยงานทำอะไรก็ดีไปหมด	 ่อสิ้นสุดการเยี่ยมสำรวจ	
                                                                                          เมื
เป้ า หมายการมุ่ ง สู่ ม าตรฐานสากลของโรงพยาบาล          หน่ ว ยงานจะรู้ สึ ก ว่ า เสี ย เวลาไม่ เ ห็ น จะได้ อ ะไรที่
อย่างไร	 	 มีปัญหาและอุปสรรคอย่างไร	 	 การตรวจ           จะเป็ น ประโยชน์ ใ นการปรั บ ปรุ ง หน่ ว ยงานเลย	             	
อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับ	 world	 class	 มีช่องทาง         จะเห็นได้ว่าผู้เยี่ยมสำรวจนั้นเครียดพอๆ	 กับคนที่ถูก
การสื่อสารระหว่างแพทย์ผู้ส่งกับ	 lab	 อย่างไร	           เยี่ยม	 ต้องพัฒนาตัวเองให้มีทั้ง	 conceptual	 skill,	
lab	 ได้รับ	 feedback	 อะไรจากแพทย์บ้าง	                 observation	 skill,	 probing	 skill	 (การเจาะลึก),
ข้อมูลจากแพทย์อันไหนที่	 lab	 นำมาใช้ประโยชน์ใน          analytical	skill,	coaching	skill		ที่สำคัญก็คือควร
การปรับปรุงได้มาก	 lab	 ใช้ระบบเอกสาร	 ในการ             จะเขี ย นรายงานการเยี่ ย มสำรวจให้ เ สร็ จในวั น นั้ น
ประกันคุณภาพการตรวจอย่างไร		โรงพยาบาลมีวิธีการ           ซึ่งก็หมายถึงว่าต้องมี	 writing	skill		และต้องเป็นคน
พิจารณาอย่างไรว่า	 lab	 ใดที่จะทำเอง	 lab	 ใดที่จะ       ที่มีจริยธรรม	 รู้จักการทำงานเป็นทีม	 รวมทั้งมี
ส่งที่อื่น		lab	มีช่องทางในการรับรู้ข้อมูลความต้องการ    ความสามารถในการบริหารจัดการเวลาได้เป็นอย่างดี
และความพึงพอใจของลูกค้าอย่างไร	นำข้อมูลนั้นมาใช้         Surveyor	 นั้นในภาษาอังกฤษแปลว่า	 พนักงาน
ประโยชน์อย่างไร		Mismatch	เป็นอุบัติการณ์ที่รุนแรง	      สอบสวน	 แต่ในทางปฏิบัติจริงต้องทำอะไรต่อมิอะไร
ทาง	 lab	 มีความมั่นใจว่าจะป้องกันเรื่องนี้อย่างไร       เยอะแยะไปหมด		 างไรก็ดีเมื่อสิ้นสุดการเยี่ยมสำรวจ
                                                                               	อย่
ทีมงานมีความเห็นอย่างไรต่อมาตรฐานสากลต่างๆ               ความสำเร็จของ	 Surveyor	 ที่สำคัญยิ่งก็คือ	 เดิน
อาทิ	ISO	guide	25		มีแผนการเรื่องนี้อย่างไร              ออกมาแล้วรพ.นั้นคึก	ผ่านไม่ผ่านไม่รู้แต่มีความตื่นตัว

	          ชิ้นงานที่จะต้องฝึกทำ	 ได้แก่	 การวิเคราะห์	 	       กิจกรรมการเรียนในหลักสูตร	HA451	ผู้เยี่ยม
self	assessment		การสัมภาษณ์ทีม		เยี่ยมหน่วยงาน	 สำรวจภายนอกขั้นที่	 1	 ใช้เทคนิคที่เรียกว่า	 world	
ทบทวนเอกสาร/เวชระเบียน	จัดทำรายงาน                      cafe’	 ให้แบ่งกลุ่มเป็นจำนวนกลุ่มที่ต้องการ	 เช่น
                                                        ต้องการ	10	กลุ่ม	ด้วยการนับ	1-10	ใครหมายเลขไหน
	          และสุดท้าย	 คืองานมาตรฐาน	 ได้แก่	 ก็อยู่กลุ่มนั้น	 	 หลังจากนั้นก็ตั้งคำถามให้กลุ่มช่วยกัน
document	 assessment	 ซึ่งรวมถึง	 เวชระเบียน	 คิด	แล้วเขียนลงใน	Flip	chart	(ถ้าเขียนลง	A4	ไม่รู้
รายงานการประชุม	คู่มือ			learn	&	share		workshop ว่าเลขาฯจดอย่างที่กลุ่มคุยกันหรือไม่)	 	 คิดเสร็จ	
ICV/CV	step	1/2		Assessment			Accreditation	 เขียนเสร็จ	 ให้ทุกคนย้ายไปกลุ่มอื่น	 พยายามให้
survey	Re-accreditation	survey                          คนในกลุ่ ม แยกย้ า ยกั น ไปโดยไม่ ไ ปเจอคนซ้ ำ	
	          เพียงในช่วงเวลาของการเยี่ยมสำรวจที่ไม่นาน จะได้รู้จักกันภายในระยะเวลาสั้น	 ให้เหลือคนใด
นัก	 แค่	 2-3	 วัน	 โรงพยาบาลตั้งความหวังเอาไว้กับ คนหนึ่งไว้ประจำกลุ่ม(ของเราเลือกผู้ที่อาวุโสสูงสุด)	
ผู้เยี่ยมสำรวจมากมาย		ผู้เยี่ยมสำรวจต้องจับประเด็น เปลี่ยนคำถาม	 ทำกิจกรรมช่วยกันคิด	 และเขียนลง	
62                                       วารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน :: ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 :: เมษายน - มิถุนายน 2552
Flip	chart	สุดท้ายให้คนที่ไม่ย้ายกลุ่มมานำเสนอ                 ได้รับจากโรงพยาบาล	ขอให้ถือเป็นความลับ		สำหรับ
                                                               ในเรื่องมรรยาทนั้น	 	 ผู้เยี่ยมสำรวจพึงแต่งกายสุภาพ	
	          หลังจากนั้นเป็นการเรียนรู้ในเรื่อง		จริยธรรม        เรียบร้อย	พร้อมติดป้ายชื่อที่	สรพ.จัดให้ทุกครั้ง		ควรไป
ของผู้เยี่ยมสำรวจ	 อพึงปฏิบัติระหว่างการปฏิบัติหน้าที	
                        ข้                              ่      ตรงต่อเวลาหรือไปก่อนเวลานัดหมาย	 เริ่มต้นเยี่ยม
มรรยาท	ซึ่งมีตั้งแต่	ผู้เยี่ยมสำรวจไม่พึงวิพากษ์วิจารณ์        สำรวจหน่วยงานตามเวลาที่กำหนด	 	 ผู้เยี่ยมสำรวจ
ผู้เยี่ยมสำรวจท่านอื่น	 	 รวมทั้งไม่พึงวิพากษ์วิจารณ์          พึ ง ปิ ดโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ในระหว่ า งการเยี่ ย มสำรวจ
โรงพยาบาล	 ละสรพ.	 องรกษาความลบของโรงพยาบาล
               แ           ต้ ั         ั                      ไม่ควรออกจากโรงพยาบาลในระหว่างเวลาเยี่ยมสำรวจ
ที่ได้มาระหว่างการเยี่ยมสำรวจ	 	 แม้แต่การนำข้อมูล             เพื่อจุดประสงค์ส่วนตัว	 หรือเชิญบุคคลอื่นมาติดต่อ
เชิ ง บวกของโรงพยาบาลไปเผยแพร่ ก็ ค วรได้ รั บ                 ธุรกิจระหว่างการปฏิบัติงาน	 	 พึงวางตัวเป็นกลาง	
ความยินยอมจากโรงพยาบาลก่อน	 	 ไม่พึงถ่ายภาพ	                   แสดงออกด้วยความสุภาพเรียบร้อย	ไม่ก้าวร้าว		และ
หรือถ่ายวิดีโอ	ในขณะปฏิบัติหน้าที่		ไม่พึงเปรียบเทียบ          ไม่ พึ ง นำเจ้ า หน้ า ที่ จ ากโรงพยาบาลของตนไปดู ง าน
ผลการปฏิบัติงานระหว่างโรงพยาบาล		ไม่พึงทำให้เกิด               ในโรงพยาบาลที่ไปเยี่ยมสำรวจ
ความเข้าใจผิดว่า	 โรงพยาบาลจะได้รับการรับรอง	
โดยที่ ยั งไม่ ไ ด้ มี ก ารประกาศเป็ น ทางการจากสรพ.           	          ทั ก ษะสำคั ญ ที่ ผู้ เ ยี่ ย มสำรวจต้ อ งฝึ ก ฝนให้
ผู้เยี่ยมสำรวจพึงแจ้งให้สรพ.ทราบ	หากมีความสัมพันธ์             เชี่ยวชาญ	คือ	Appreciate	Inquiry	ได้แก่การค้นหา
หรือผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาลที่จะไปสำรวจ	              สิ่งดี	 หลายครั้งที่เราพบว่า	 โรงพยาบาลเขียน	 self	
เช่น	 เคยประกอบอาชีพในโรงพยาบาลที่จะไปเยี่ยม                   assessment	ด้ไม่ดีเท่าที่ทำจริง	 ูความสำเร็จ	 รัพย์สิน
                                                                               ไ                         ด          ท
สำรวจ	 ในช่วงเวลา	 24	 เดือนก่อนและหลังการเยี่ยม               ศักยภาพที่หลบซ่อนอยู่	 นวัตกรรม	 จุดแข็ง	 ความคิด
สำรวจ	ไม่รับของฝาก	ของที่ระลึก	หรือการเลี้ยงต้อนรับ	           ที่เหนือชั้น	 จิตวิญญาณ	 ส่วนลึกขององค์กร	 ซึ่งแสดง
ในลักษณะที่แสดงความสิ้นเปลือง		หรือรับสิ่งตอบแทน               ภาพฝันในอนาคตขององค์กรที่มีคุณค่าและเป็นไปได้
ที่อาจทำให้เป็นที่ครหาว่ามีผลต่อการตัดสินใจรับรอง              เหตุการณ์ที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด	 ที่ผู้ตอบมี
คุณภาพ	 	 ผู้เยี่ยมสำรวจไม่พึงขอเอกสารหรือตัวอย่าง             ส่วนร่วม		การเปลี่ยนแปลงในสิ่งเล็กสิ่งน้อยที่ทำได้ทันที
จากโรงพยาบาลเพื่อไปใช้ส่วนตัว	 	 และข้อมูลทุกชิ้นที่           การเปลี่ยนแปลงสำคัญ	 ที่เราทำได้และเกิดผลกระทบ




JOURNAL OF KM LERDSIN HOSPITAL :: VOLUME 2 NUMBER 2 :: APRIL - JUNE 2009                                                 63
ยิ่งใหญ่ทำให้องค์กรปรับรูปไปในอนาคต		 ้เยี่ยมสำรวจ ที่ท้าทาย	 แล้วชักชวนให้ทีมมาร่วมหัวจมท้ายทำเรื่อง
                                                   	ผู
ที่ดีต้องตั้งคำถามแล้วคนอยากตอบ                                           ยากให้สำเร็จ	 อีกอย่างต้องระวังคำพูดที่ใช้กันบ่อยใน
                                                                          กลุ่มผู้เยี่ยมสำรวจอย่าเผลอไปพูดกับผู้รับการประเมิน
	           ผู้ เ ยี่ ย ม ส ำ ร ว จ ต้ อ ง ท ำ ตั ว เ ป็ นโ ค้ ช ที่ ดี 	 จะกลายเป็นภาษาเทพ	ที่อาจไม่เหมาะสมได้
ซึ่งหลักการโค้ชนั้นมีทั้ง	 directive	 ซึ่งอาจจะขึ้นอยู่กับ	
wisdom	 ของผู้ที่จะไปโค้ช	 	 ถ้าเป็นคนเก่ง	 ต้องใช้	 	                                 บทเรียนจากการฝึกสัมภาษณ์นั้น	 จากการ
non-directive	 ให้มากเข้าไว้	 โดย	 spectrum	 ของ ระดมสมองของผู้เข้ารับการอบรม	 แนะนำว่า	 ควรมี
coaching	skil 	จะเริ่มตั้งแต่	บอก		สอน		ให้คำปรึกษา การสร้ า งสั ม พั น ธภาพบรรยากาศในการซั ก ถามดี
เสนอ	 ป้อนกลับ	 ชี้แนะ	 ถาม	 สรุป	 ปรับคำพูด	 ถ้ากรณีผู้เยี่ยมไป	 2	 คน	 มีการส่งสัญญานคำถาม
สะท้อนความเห็น	 ฟังอย่างเข้าใจ	 coaching	 skill เพื่อให้สอดคล้องกัน	 มีการปรับแผนคำถามจาก
ที่ไม่เหมาะสมของศูนย์คุณภาพคือ	 เรียกคนมาเยอะๆ สถานการณ์เฉพาะหน้า	 	 ถ้าผู้ถูกเยี่ยมตอบไม่ตรงใจ	
เพื่อที่จะ	lecture	                                                       มีการดึงผู้ถูกเยี่ยมให้ตอบเข้าประเด็น	 	 ผู้เยี่ยมสำรวจ
                                                                          ควรจะแม่นมาตรฐานและครอบคลุมประเด็น	 	 ต้องมี
	         Intellectual	 trap	อย่างหนึ่งก็คือ	ถ้าผู้เยี่ยม การวางแผนการคิดประเด็นที่สำคัญไว้	 	และต้องตั้งใจ
สำรวจเก่งเกิน	 เห็นรพ.เหมือนเด็กที่ยังเตาะแตะ	 ฟังและจับประเด็นในสิ่งที่ผู้ถูกสัมภาษณ์พูด	
จะกลายเป็นพ่อแม่สอนลูก	 ฉะนั้นถ้าเก่งมากๆ	 ต้อง
เก็บความเก่งเอาไว้	 แต่ดึงศักยภาพของคนอื่นให้แสดง 	                                    สำหรับการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยนั้น8
ความสามารถออกมาให้ได้                                                     จากการระดมสมองของผู้เข้ารับการอบรม	 ได้ให้
                                                                          ข้อเสนอแนะเอาไว้หลายอย่างอาทิ		จัดสัปดาห์	safety
	         หัวใจหลักของผู้เยี่ยมสำรวจก็คือ	 ต้องถือ week	ให้หน่วยงานแสดงผลงานที่ตัวเองทำให้ผู้อื่น/ทีม
มาตรฐานเป็นหลัก7	 ฉะนั้นผู้เยี่ยมสำรวจจะต้องเข้าใจ ได้รับทราบอย่างสม่ำเสมอ	 	 ตัวอย่างเช่นในเรื่อง
ในมาตรฐาน	ซึ่งการถอดรหัสมาตรฐาน	หรือ	แนวทาง สิ่งแวดล้อม	 ให้หน่วยงานประเมินความเสี่ยงและเสนอ
การทำความเข้ าใจมาตรฐานในเบื้ อ งต้ น เป็ น หั ว ข้ อ แนวทางแก้ไข	โดยมีทีม	ENV	นักวิชาการ	หรือวิศวกร	
สำคัญที่ผู้เยี่ยมสำรวจต้องศึกษา	 ซึ่งหลักการสำคัญคือ มาช่วยพิจารณา	 เสนอแนวทางแก้ไข	 ทบทวน
ต้องใช้บ่อยๆ	แล้วจะค่อยๆ	จำได้มากขึ้นๆ	เอง		ถ้าดู ความเสยงและความปลอดภยจากงานททำหลงการสงเวร
                                                                                    ่ี                 ั        ่ี ั ่
ในโครงสร้างของมาตรฐานจะประกอบไปด้วย	 basic	 แนะให้ทุก	PCT	ทำ	Trigger	tool	ส่งทุก	2-3	เดือน		ทำ	
requirement,	overall	 requirement	และ	multiple	 outcome	mapping		จัดทำโครงการ		MISS	SIMPLE	                                      	
requirement	ซึ่งหลายคนไปตกหลุม	เพราะว่า	อ่านแต่	 เน้นการเรียนรู้ร่วมกัน		จัดทำ	sentinel		sign	เพื่อช่วย
multiple	 requirement	 ซึ่งมีรายละเอียด	 แล้วทำ เฝ้าระวังอุบัติการณ์เสี่ยงสูง		จัดทำตลาดนัด	SIMPLE
ตามนั้น	 แต่ไม่ตอบโจทย์ของ	 overall	 requirement	 ให้ทุกคนในหน่วยงานเขียนใบอุบัติการณ์ความเสี่ยง
                                                                          ส่ ง ที ม งานและนำมาร่ ว มกั น หาโอกาสพั ฒ นา
	         วิธีการในการ	 approach	 ของผู้เยี่ยมสำรวจ จัด	Practice	-	Walk	Through	Survey	เพื่อค้นหา
นั้นจะต้องให้คนถูกถาม	 พูดถึงสิ่งที่เขามั่นใจก่อน	 ความเสี่ ย งเป็ น ประจำโดยแต่ ล ะหน่ ว ยงานเอง
ทำให้เขารู้สึกว่าเรารับรู้ถึงสิ่งที่เขามั่นใจ		เดี๋ยวเขาบอก ที ม นำกล่ า วถึ ง ความเสี่ ย งทุ ก ครั้ ง ในการประชุ ม
จุดด้อยมาเอง	 ในหัวข้อการนำองค์กร	 เรากล่าวถึง	 กรรมการบริ ห ารและการประชุ ม สหสาขาวิ ช าชี พ	
visionary	 leadership	 คือคนที่คิดถึงภาพอนาคต แนะให้โรงพยาบาลมี	safety		goals9	และระบุเจ้าภาพ	                                   	
64                                                วารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน :: ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 :: เมษายน - มิถุนายน 2552
คุณภาพได้	 ว่าประเด็นคุณภาพและความเสี่ยงสำคัญ
                                                                ของที่นี่คืออะไร	 อยู่ตรงไหน	 และจะรับรู้โดยใคร	              	
                                                                ได้อย่างไร	 ยกตัวอย่างบอกว่า	 IT	 ดี	 แต่เอาจำนวน
                                                                ผูเ้ ข้ารับการอบรมมาเป็นตัวชีวด	ดยไม่แสดงตัวชีวดอืน	
                                                                                                ้ั โ                   ้ั ่
                                                                และตัวชี้วัดที่เป็น	ศูนย์	ถือว่าเป็นตัวชี้วัดที่ไม่	sensitive
                                                                และไม่น่าเชื่อว่าจริง		ผู้เยี่ยมสำรวจต้องประเมินให้ตรง
                                                                ประเด็น	โดยใช้เวลาน้อยที่สุด	เช่นในรอบ	1	ปีที่ผ่านมา	
                                                                รพ.ได้นำผลการประเมินความพึงพอใจมาใช้ปรับปรุง
                                                                ในประเด็นไหนบ้าง		มีสิ่งใดที่คนไข้ไม่พึงพอใจในแผนก
                                                                แล้วมีการปฏิบัติอย่างไรในการแก้ไขปัญหานี้
                                                    	         ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ	 key	 word	 คือ
                                                    ประสิทธิภาพ	รวดเร็ว	เพียงพอ	ปลอดภัย		ตัวอย่าง
                                                    ประสิทธิภาพของการบริการซักฟอก	 อาจครอบคลุม
                                                    เรื่องการใช้น้ำยา	 อายุการใช้งานของผ้า	 การบำรุง
ผู้บริหารพบผู้ปฏิบัติ	หา	role	model	หน่วยงานที่ใช้	 รักษาเครื่องมืออุปกรณ์	 การใช้พลังงาน	 และการใช้
patient	safety	goal	จนเป็นวัฒนธรรม                  น้ำยาฆ่าเชื้อที่มีผลต่อระบบบำบัดน้ำเสีย

	          นอกจากนี้ ผู้ เ ยี่ ย มสำรวจควรที่ จ ะต้ อ งมี       	       คำแนะนำที่ดีคือ		อาจนำมาตรฐานมาคุยกัน
ความรู้ความเข้าใจในกระบวนการ	 HA	 เป็นอย่างดี	                  เล่น		นำผู้ป่วยที่กำลังนอนอยู่ในรพ.มาเป็นจุดเน้นของ
ตั้งแต่	 บันได	 3	 ขั้น	 ซึ่งเน้นหัวใจของบันไดขั้นที่	 2	       การพิจารณา	และฝึกการเป็นนักวิจัยน้อยๆ
คือ	 3P	 ได้แก่	 purpose	 process	 performance	           	
รู้จักพื้นที่พัฒนา	4	วง	คือ	หน่วยบริการ	ระบบงาน	                	          ตั ว อย่ า งมาตรฐานการประเมิ น ผู้ ป่ ว ย
กลุ่มผูปวย	 งค์กร	 ละสุดท้าย	 ้องมีความรู้ความเข้าใจ
         ้่ อ แ                   ต                             ถามว่ า มี ก รณี เ ฉพาะใดบ้ า งที่ ต้ อ งใส่ ใ จเป็ น พิ เ ศษ
เรื่องของ	3C	-	PDSA		ซึ่งรางวัลคุณภาพแห่งชาติของ                ในหน่วยงานของเรา	 วิธีการประเมินที่เหมาะสมกับ
อเมริกาและไทย	ได้ปรับ	PDSA		มาเป็น	Approach-                    ผู้ป่วยแต่ละราย	 ปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้เราต้องใช้วิธี
Deployment-Learning-Integration	 หรือ	 ADLI	              	     การประเมินผู้ป่วยด้วยวิธีการที่แตกต่างกันออกไป	เช่น	
สรพ.ใช้	 PDSA	 เป็น	 Design-Action-Learning-                    ความเร่งด่วนของปัญหา	 ระดับการศึกษาของผู้ป่วย	
Improvement	หรือ	DALI	ออกแบบ-ลงมือทำ-เรียนรู้-	                 เดิ น เข้ า ไปในหอผู้ ป่ ว ยทบทวนหั ว ข้ อ มาตรฐาน
ปรับปรุง		ซึ่งต้องได้รับการชี้แนะหรือกำกับด้วย	3C	คือ           ที่สนใจ	เลือกผู้ป่วยที่น่าสนใจมาสักรายหนึ่ง
	          Core	values	&	concepts
	          Context                                  	       อีกตัวอย่างคือเรื่องสิทธิผู้ป่วย10	 ดู	 privacy
	          Criteria                                 ที่	 OPD	จะนอนโรงพยาบาลได้รับคำอธิบายมากน้อย
                                                    แค่ไหน	 จะทำ	 procedure	 คำนึงถึงสิทธิผู้ป่วย
	      ที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือผู้เยี่ยมสำรวจอ่าน ขนาดไหน		เวลา	approach	ต้องมองดูความท้าทาย
มาตรฐานแล้วต้องรู้ว่าจะไปดูตรงไหน	ต้องจับประเด็น แล้วตั้งคำถามว่า	 เราตั้งเป้าให้เอื้อมขึ้นไปอีกนิด
JOURNAL OF KM LERDSIN HOSPITAL :: VOLUME 2 NUMBER 2 :: APRIL - JUNE 2009                                                 65
หรือเปล่า	เป้านั้นเทียบกับอะไร	ค่าเฉลี่ย	top	ของกลุ่ม 	                      สำหรับโรงพยาบาลที่อยู่ในช่วงที่พัฒนาแล้ว
หรือระดับนานาชาติ                                                  อาจจะหันมาเน้นที่
	           ทั ก ษะที่ ส ำคั ญ อี ก อย่ า งหนึ่ ง คื อ ฝึ ก มอง              Share	เช่น	การใช้กระบวนการ	KM	เข้ามา
ภาพใหญ่	เมื่อเห็นปัญหา	ดูว่ามีปัญหาลักษณะนี้เกิดขึ้น บริหารจัดการ
ที่จุดอื่นของรพ.หรือไม่                                                      Trace	 ตามไปดูของจริง	 ดูในสถานที่จริง
                                                                   ตามหลัก	Genbu	Genbutsu
	           ตัวอย่างการบันทึกการเข้าเยี่ยม	 คัดมาเฉพาะ                       Trigger	เช่น	Trigger	tool
ประเด็นปัญหาที่พบ                                                            Research	ได้แก่	mini-research
                                                                             Reflection	คือการทบทวน
	           การใช้หม้อนึ่ง	 มีหม้อนึ่ง	 2	 หม้อ	 ใช้งาน	
1	เครื่อง	วันละ		1	รอบ	เพราะปริมาณการนึ่งไม่เยอะ	 	                          Scoring	 guideline	 กำหนดระดับคะแนน
อีกเครื่องไม่ได้ใช้งานมาประมาณ	 2	 ปี	 ลักษณะ ประเมินไว้	 5	 ระดับ	 และให้คะแนนก้ำกึ่งเป็น	 0.5	
ภายในมีฝุ่นหนา	ไม่มีการทดสอบการใช้งาน                              ในระหว่างระดับได้	 ถ้าส่วนใหญ่ผ่านระดับที่	 2	 ให้
                                                                   การรับรองในขั้น	2	ถ้าส่วนใหญ่ผ่านระดับ	3	แนะนำ
	           สุ่ม	set	พบผ้ามีรู	 จำนวนผ้าที่ใช้ไม่ตรงตาม ให้การรับรอง	HA		ผู้เยี่ยมสำรวจใช้	scoring	guideline
มาตรฐานที่รพ.กำหนด	 ผืนเดียว	 ่จะเป็น	 ผืน) ในการเขียนข้อเสนอแนะต่อโรงพยาบาล	 	 และยังมี
                             (ใช้           แทนที          2	
ใน	 set	 ทำแผลใส่	 comply	 strip	 ทุก	 set	 ที่เปิด คะแนนบวกเพิ่มให้ในระดับบทย่อย	 สิ่งที่สำคัญคือ
แต่	set	คลอดที่มีขนาดใหญ่ไม่ใส่	                                   ต้องมีความเข้าใจให้ตรงกัน	 มีความเห็นร่วมกันว่าควร
                                                                   ต้องทำอะไรเพิ่มเติม	 แล้วก็ลงมือดำเนินการ	 ทิ้งเรื่อง
	           เจ้าหน้าที่ไม่เข้าใจการกำหนดตัวชี้วัดให้ตรง คะแนนไว้	 ไม่ต้องหาข้อยุติ	 และเมื่อทำกิจกรรมเพิ่ม
กับเป้าหมายของตนเอง	 รวมถึงการกำหนดจุดเน้นใน เติมแล้วความเห็นเรื่องคะแนนก็มักจะมาตรงกันเอง
การพัฒนา	ได้ช่วยกันหาตัววัดที่สอดคล้อง	และให้ทีม
ลองหาจุดเน้นใหม่	 ช่วงบ่ายทีมได้นำจุดเน้นใหม่มาส่ง 	                         ผู้เยี่ยมสำรวจยังมีภาระหน้าที่ที่ต้องระมัดระวัง
ซึ่งตรงกับประเด็นมากยิ่งขึ้น                                       เป็นอย่างยิ่งคือ	 การเขียนข้อเสนอแนะ	 และการเขียน
                                                                   รายงานการเยี่ยมสำรวจ	 	 นอกจากนี้ผู้เยี่ยมสำรวจยัง
	           อัคคีภัยพบว่า	 ถังดับเพลิงได้รับการตรวจเมื่อ ต้องเขียนรายงานการทบทวนคุณภาพ	 	 ได้แก่
ปีที่แล้ว	 เจ้าหน้าที่จ่ายกลาง	 ใช้เครื่องมือดังกล่าว การทบทวนการใช้ทรัพยากร	 ทบทวนการใช้ข้อมูล
ไม่เป็น	และยังไม่มีการฝึก                                          วิชาการ	 ทบทวนเหตุการณ์สำคัญ	 	 การทบทวนขณะ
                                                                   ดูแลผู้ป่วย		รวมทั้งเชื่อมโยงการทบทวนสู่การวางระบบ
	           บ ริ เ ว ณ ด้ า น ข้ า ง เ ป็ น ห้ อ ง ข น า ดใ ห ญ่ 	 ซึ่งมีระบบที่เกี่ยวข้องกับการทบทวนดังนี้
มีลูกกรงกั้นตลอดแนวผนัง	 ภายในเก็บใบเสร็จต่างๆ	 	                            1.	การทบทวนการตรวจรกษาโดยผชำนาญกวา
                                                                                                     ั           ู้       ่
และ	ยงไมไดรบการตรวจจากสำนกงานตรวจเงนแผนดน และขยายผลไปสู่ ก ารพั ฒ นาศั ก ยภาพกำลั ง คน
          ั ่ ้ั                          ั            ิ ่ ิ
มีโอกาสหายและเกิดอัคคีภัยได้ง่าย                                   หรือ	competency	management	system
                                                                   	         2.	การทบทวนความเสี่ยง	หรืออุบัติการณ์	
	           ให้ฝึกวิเคราะห์ถึง		สถานการณ์ที่มีโอกาสพบ	 ขยายผลไปสู่ระบบบริหารความเสี่ยง	 ทั้งในระดับ
                                                                	
เป้าหมายที่พึงประสงค์	 องค์ประกอบสำคัญเชิงระบบ หน่วยงาน	และระดับโรงพยาบาล
66                                              วารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน :: ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 :: เมษายน - มิถุนายน 2552
3.	ทบทวนการใช้ทรัพยากร	ขยายผลไปสู่                 	        ประเด็นคุณภาพไม่ชัด
ระบบบริหารทรัพยากร	 โดยเฉพาะทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง              	        วัตถุประสงค์ไม่สอดคล้องหรือไม่ครอบคลุม
กับการดูแลผู้ป่วย                                              ประเด็นสำคัญที่วิเคราะห์ไว้
	           4.	ทบทวนการติดเชื้อในโรงพยาบาลขยายผล               	        การวิเคราะห์ความเสี่ยงที่สำคัญ	 มองเฉพาะ
ไปสู่ระบบการป้องกันและควบคุม                                   ในบางแง่มุม	ไม่เห็นความเสี่ยงที่กำลังคุกคามอยู่
	           การวิเคราะห์	 clinical	tracer		ทั้งตามรอย          	        ตั ว ชี้ วั ด ไม่ ส อดคล้ อ งกั บ เป้ า หมายหรื อ
กระบวนการพัฒนา	กระบวนการดูแลผู้ป่วย	ระบบอื่นๆ                  วัตถุประสงค์
ที่เกี่ยวข้อง	 และติดตามผลลัพธ์	 จนนำไปสู่คุณภาพ               	        วัดผลแล้วไม่ได้เอาไปวิเคราะห์ศึกษาให้เห็น
ในการดูแลผู้ป่วย                                               แนวทางว่าจะปรับปรุงอย่างไรต่อไป
                                                               	        ยังไม่มีการใช้	 Core	 Value	 &	 Concepts
	          Service	 Profiles	 หรือภาพรวมของการให้              ที่เหมาะสม
บริการของหน่วยงาน	 และทีมงานต่างๆ	 สรุปออกมา                   	        ในหน่ ว ยบริ ก ารผู้ ป่ ว ยไม่ ไ ด้ น ำเอาโรคหรื อ
เป็นลายแทงคุณภาพ	 	 การวิเคราะห์	 profile	 ของ                 หั ต ถการที่ มี ค วามสำคั ญ สู ง มาทบทวนเป้ า หมาย
หน่วยงาน/ทีมงาน/บริการ/ทีมนำ	 เพื่อวางแผน                      และดูว่าบรรลุเป้าหมายหรือไม่
การเยี่ยมหน่วยงาน	 ต้องอ่านอย่างดี	 จัดทำรายงาน
การเยี่ยมสำรวจล่วงหน้า	 ตรวจสอบข้อมูลที่หายไป	 	              การประเมิ น คุ ณ ภาพจากเวชระเบี ย น	
สรุปสิ่งที่น่าชื่นชม	 และโอกาสพัฒนาที่สำคัญอย่างละ เป็นเรื่องที่	 sensitive	คนถูกเยี่ยม	มักจะใช้	 defense	
ไม่เกิน	3	ประเด็น	ซึ่ง	รพ.ต่างๆ	มักมีปัญหาคือ      mode	 เราดีแล้ว	 เราภูมิใจ	 ได้รางวัลมาเยอะ	 ถ้า
                                                   คำถามคุกคาม	feeling	ของเขาเมื่อไหร่	เขาจะจัดการ
                                                   กับผู้เยี่ยมสำรวจทันที		ผู้เยี่ยมสำรวจไม่ถามว่า	หรือไม่
                                                   อย่างไร	ให้ถามว่า	อย่างไร	เช่นมีการประเมินร่วมกัน




JOURNAL OF KM LERDSIN HOSPITAL :: VOLUME 2 NUMBER 2 :: APRIL - JUNE 2009                                              67
ระหว่างวิชาชีพอย่างไร		เวชระเบียนที่นำมาประเมิน 	3.	อนุวัฒน์	ศุภชุติกุล,	บรรณาธิการ.	เลื่อนไหล
อย่าให้นานเกิน                                                			เลียบเลาะเจาะลึก	:	รวมบทความ	HA	ที่ตีพิมพ์
                                                              			ในวารสาร	Medical	Times	และQuality	Care.	
	            Mini-Research	เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ช่วยในเรื่อง 			พิมพ์ครั้งที่	2.	นนทบุรี	:	สถาบันพัฒนา
การออกแบบการประเมิ น ผลการนำมาตรฐานไปสู่ 			และรับรองคุณภาพโรงพยาบาล;	2551.
การปฏิบัติอย่างเป็นระบบด้วยแนวคิดการวิจัยง่ายๆ 	4.	อนุวัฒน์	ศุภชุติกุล,	บรรณาธิการ.	สรรสาระ
                                                              			องค์กรที่มีชีวิต	=	Living	organization.	นนทบุรี	
	            SPA		(Standards-Practice-Assessment)	เน้น 			:	สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล;	2551.
ความสำคั ญ ของการนำมาตรฐานมาใช้ ใ นชี วิ ต 	5.	อนุวัฒน์	ศุภชุติกุล,	บรรณาธิการ.	Simplicity	in	
ประจำวัน                                                      			a	complex	system	:	แนวคิดและประสบการณ์
                                                              			สำหรับโรงพยาบาล.	นนทบุรี	:	สถาบันพัฒนา
	            Enquiry	 มีความหมายไปในเชิงของการค้นหา 			และรับรองคุณภาพโรงพยาบาล;	2545.
ความจริง	 ารเจาะลึก	 ารทำความเข้าใจกับสถานการณ์	 	6.	ชำนิ	จิตตรีประเสริฐ.	พัฒนาคุณภาพด้วยความคิด
              ก              ก
อาจจะมีความใกล้เคียงไปทางการวิจัย	 ซึ่งใกล้เคียงกับ	 			สร้างสรรค์.	พิมพ์ครั้งที่	2.	นนทบุรี	:	
internal	 survey	 หรืออาจทดแทนกันได้	 ให้รพ. 			สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล;	2543.	
ตอบคำถามที่อยู่ใน	self	enquiry	guide                          	7.	สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล.	
                                                              			มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ		
	            อีกเรื่องหนึ่งคือการใช้	 HA	 Scorebook 			ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิรราชสมบัตครบ	60	ปี	
                                                                                              ิ      ิ
ซึ่งถ้ารพ.ทำได้น่าจะเป็นเรื่องที่ดี	 แต่ถ้ามีความรู้สึกที่ 			(ภาษาไทย).	นนทบุร	:	สถาบัน;	2551.	
                                                                                    ี
คัดค้าน	หรือไม่สบายใจที่จะทำ	ก็อาจเพียงนำมาใช้ใน 	8.	อนุวัฒน์	ศุภชุติกุล	ระบบบริหารความเสี่ยงใน
การมองภาพกว้างสำหรับการวางแผนการดำเนินงาน 			โรงพยาบาล.	กรุงเทพฯ	:	สถาบันพัฒนา
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพให้ครอบคลุม                                 			และรับรองคุณภาพโรงพยาบาล;	2543.	
                                                              	9.	อนุวฒน์	ศุภชุตกล,	บรรณาธิการ.	Patient	safety	
                                                                      ั          ิุ
	            เมื่อเสร็จสิ้นการอบรมหลักสูตรการเป็นผู้เยี่ยม 			goals	:	simple.	นนทบุรี	:	สถาบันพัฒนา
สำรวจภายนอก	 ั้นที่		 ็จะมีการอบรมหลักสูตร	 A	52 			และรับรองคุณภาพโรงพยาบาล;	2551.
                     ข 1ก                           H 4
ซึ่งจะเพิ่มเติมเนื้อหา	และฝึกการประเมินในสถานที่จริง 10.	สมศักดิ์	โล่ห์เลขา,	แสวง	บุญเฉลิมวิภาส,	
ต่อไป                                                         			เอนก	ยมจินดา.	สิทธิผปวยและการประเมินตนเอง
                                                                                         ู้ ่
                                                              			เพื่อป้องกันการถูกฟ้องร้อง.	นนทบุรี	:	
เอกสารอ้างอิง                                                 			สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล;	2545.
  1.	อนุวัฒน์	ศุภชุติกุล.		Hospital	accreditation	:	        	
			บทเรียนจากแคนาดา.	พิมพ์ครั้งที่	4.	กรุงเทพฯ	:	           	
			สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข;	2543.
	2.	อนุวฒน์	ศุภชุตกล.	โรงพยาบาลที	(ไม่)น่าไว้วางใจ.	
           ั              ิุ            ่
			พิมพ์ครังที	2.	นนทบุรี	:	สถาบันพัฒนาและ
                 ้ ่
			รับรองคุณภาพโรงพยาบาล;	2542.

68                                          วารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน :: ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 :: เมษายน - มิถุนายน 2552
ประภา	จีนนิกุล
บรรณารักษ์ชำนาญการ	
กลุ่มงานสนับสนุนวิชาการ	กลุ่มภารกิจวิชาการ
โรงพยาบาลเลิดสิน	กรมการแพทย์
	            วันที่	 6		 8	 ิถุนายน	 552	รงพยาบาลเลิดสิน	
                    1 -1 ม              2 โ                           การจดการความร	 โรงพยาบาลเลดสน	 มความประสงค์
                                                                             ั           ู้                ิ ิ ี
กรมการแพทย์	 จัดประชุมวิชาการประจำปี	 ในปีนี้                         จะให้ถอดเทปการบรรยายในเรื่องนี้	 เพื่อลงตีพิมพ์ใน
จัดขึ้นเป็นครั้งที่	12		ณ	ห้องประชุม	ชั้น	25	อาคาร                    วารสารการจัดการความรู้	 โรงพยาบาลเลิดสิน	 ฉบับที่
กาญจนาภิเษก	 ภายใต้หัวข้อเรื่องว่า	 “6	 ทศวรรษ	                       ท่านกำลังอ่านอยู่นี้	
โรงพยาบาลเลิดสิน”	 การประชุมฯ	 ครั้งนี้	 ถือว่าเป็น                   	          เนื้อหาการบรรยาย	 นเรื่องเกี่ยวกับประวัติ
                                                                                                       จะเป็
การประชมทแตกตางจากทกปทผานมาเพราะปนเ้ี ปนปท่ี
              ุ ่ี ่                 ุ ี ่ี ่             ี ็ ี       ของโรงพยาบาลเลดสน	 ความทรงจำในอดตของผบรหาร
                                                                                            ิ ิ                  ี ู้ ิ
โรงพยาบาลเลิดสิน	ครบรอบ	60	ปี	(โรงพยาบาลเลิดสิน	                      โรงพยาบาลเลิดสิน	 ในปีพุทธศักราชต่างๆ	 ขณะที่
ก่อตั้งเมื่อวันที่	28	มิถุนายน	พ.ศ.2492)	                             ท่านยังปฏิบัติงานอยู่	 รวมทั้งเรื่องเกี่ยวกับ	 ปัจจุบัน	
	            ผู้ถอดเทป	เป็นกรรมการและเลขานุการ	ฝ่าย                   และอนาคตของโรงพยาบาลเลดสน	 ซงเปนเรองทนาสนใจ
                                                                                                      ิ ิ ่ึ ็ ่ื ่ี ่
จดทำหนงสอทใี่ ชประกอบในการประชมฯ	ตลอดระยะเวลา
  ั         ั ื ้                             ุ                       และเป็ น เรื่ อ งที่ ส ำคั ญ มากสำหรั บ เราชาวเลิ ด สิ น	
ของการประชุมฯ	 ทั้ง	 3	 วัน	 ผู้ถอดเทปได้เข้าร่วม                     	          วิทยากรที่บรรยายมีทั้งหมด	5	ท่าน	ได้แก่	
ฟังการบรรยายด้วยทุกเรื่อง	                                            นายแพทยประทป	 โภคะกล	 นายแพทยพงษศกด	 วฒนา
                                                                                  ์ ี              ุ           ์ ์ ั ์ิ ั
	            เริ่มพิธีเปิดเมื่อวันที่	 16	 มิถุนายน	 2552	            นายแพทย์เอกชัย	จุละจาริตต์	นายแพทย์ธวัช	ประสาทฤทธา	
เวลา	 09.00	 น.	 นายแพทย์ธวัช	 ประสาทฤทธา	                            อาจารย์ละไม	แก้วอำไพ
รองผู้อำนวยการกลุ่มภารกิจวิชาการ	 และที่ปรึกษา                        ดำเนินรายการโดย	นายแพทย์วิชัย	วิจิตรพรกุล	
คณะกรรมการดำเนินการจัดประชุมฯ	 ได้กล่าวถึง	                           ภาพประกอบในเนื้อหาบางส่วน	 และเทปที่นำมาถอด
วัตถุประสงค์ของการจัดการประชุมฯ	ในครังนี	 พร้อมกันนัน
                                                  ้ ้            ้    ในครั้งนี้	ได้รับความเอื้อเฟื้อจากทีมงานเวชนิทัศน์	ที่ให้
ได้เรียนเชิญ	 นายแพทย์อนันต์	 เสรฐภักดี	 ผูอำนวยการ     ้             งานห้องสมุดทำสำเนาเทป	
โรงพยาบาลเลดสน	 กลาวเปดการประชมฯ	 หลงจากนน
                   ิ ิ ่ ิ                      ุ          ั ้ั       	          รายละเอียดของเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่อง
ตามดวย	นายแพทยสทศน	ดวงดเี ดน	ประธานคณะกรรมการ
       ้                  ์ุั ์            ่                          	          1.	 การประชุมฯ	 านสามารถอ่านได้ใน	 งสือ
                                                                                                   ท่                  หนั
ดำเนินการจัดประชุมฯ	 อธิบายรายละเอียดของ                              ประชุมวิชาการ	ครั้งที่	12	ประจำปีงบประมาณ	2552
เนอหาการบรรยายในแตละวนพอสงเขป	และไดเ้ ชญชวน
    ้ื                           ่ ั ั                      ิ         เรื่อง	6	ทศวรรษ	โรงพยาบาลเลิดสิน		มีที่ห้องสมุด
ให้ ทุ ก ท่ า นอยู่ เ ข้ า ร่ ว มฟั ง การบรรยายทุ ก เรื่ อ งด้ ว ย	   โรงพยาบาลเลิดสิน	 กรมการแพทย์	 ชั้น	 8	 อาคาร
	            เรองแรกทบรรยาย	คอ	เรอง	“60	ป	โรงพยาบาล
                ่ื       ่ี            ื ่ื           ี               กาญจนาภิเษก	หรือท่านสามารถดาวน์โหลด		E-Book	
เลิดสิน	:	อดีต	ปัจจุบัน	อนาคต”	                                       ได้ที่เว็บไซต์	 http://www.lerdsin.go.th/upload/
	            นายแพทย์สทศน์	ดวงดีเด่น	เลขานุการคณะทำงาน
                            ุั                                        lerdsincongresses12.pdf
JOURNAL OF KM LERDSIN HOSPITAL :: VOLUME 2 NUMBER 2 :: APRIL - JUNE 2009                                                  69
2.	 ประวัติโรงพยาบาลเลิดสิน	 ท่านสามารถ          	           ตอนนั้นท่านเรียนหลักสูตรศัลยกรรม	 3	 ปี
อ่านเพิ่มเติมได้ในหนังสือ	 หรือวารสาร	 ของ                ผู้รับผิดชอบหลักสูตรคือ	
โรงพยาบาลเลิดสิน	ซึ่งมีที่ห้องสมุดโรงพยาบาลเลิดสิน        	           1.	ผูอำนวยการโรงพยาบาลเลิดสินสมัยนันคือ	
                                                                              ้                                 ้
กรมการแพทย์	ตามที่อยู่ข้างต้น                             อาจารย์นายแพทย์คง	สุวรรณรัต
                                                          	           2.	อาจารย์นายแพทย์เสริม	วงศ์อริยะ
         ผบรรยายทานแรกคอ อาจารยนายแพทยเ์ อกชย
          ู้       ่     ื        ์               ั       	           3.	อาจารย์นายแพทย์เจตนา	ผลากรกุล
จละจารตต	 ทานเปนอดตหวหนากลมงานเวชศาสตรฟนฟู
 ุ ิ ์ ่ ็ ี ั ้ ุ่                          ์ ้ื         	           4.	อาจารย์นายแพทย์อำนาจ	สุนันท์
โรงพยาบาลเลิดสิน	กรมการแพทย์	 อดีตผู้อำนวยการ             	           5.	อาจารย์นายแพทย์ประดิษฐ	ศักดิ์ศรี
ศนยสรนธรเพอการฟนฟสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ	
  ู ์ ิ ิ ่ื ้ื ู                        ์ ่              	           6.	อาจารย์นายแพทย์โสภณ	ตันฑนันท์
บรรยายในหัวข้อเรื่อง “อดีตในโรงพยาบาลเลิดสิน              	           ซงหลกสตรนจะคดเลอกแพทยจากการสอบบรรจุ
                                                                        ่ึ ั ู ้ี ั ื                 ์
ในช่วงของหมอเอกเป็นแพทย์ประจำบ้าน และแพทย์                เข้ารับราชการกรมการแพทย์	 (ลำดับที่	 1	-	7	จึงจะ
เลิดสิน”                                                  ได้รับการคัดเลือก)	 ท่านกับนายแพทย์เฉลิม	 เย็นจิต	
                                                          สอบได้ที่	 1	 ทั้งสองคน	 จึงได้มาเรียนหลักสูตรนี้	
                                                          หลักสูตรนี้เข้ามา	3		รุ่น	พอฝึกอบรมได้	1	ปี	ก็ลาออก
                                                          กันหมด	คงเหลือ	3	คน	และมีเพียง	3	คนเท่านั้น
                                                          ทจบหลกสตรน	 หลงจากนนไมมใครจบหลกสตรนอกเลย
                                                            ่ี ั ู ้ี ั ้ั ่ ี                           ั ู ้ี ี
                                                          เรา	3	คน	(เสียชีวิต	1	คน	เหลือ	2	คน)	จึงเป็น
                                                          ลู ก เลิ ด สิ น ชุ ด แรกที่ จ บหลั ก สู ต รแพทย์ เ ฉพาะทาง	
                                                          	           พื้นฐานของเนื้อหาการบรรยายและรูปภาพ
                                                          ส่วนใหญ่ที่ท่านนำเสนอในครั้งนี้ท่านนำมาจากหนังสือ
ภาพที่ 1 อาจารย์นายแพทย์เอกชัย จุละจาริตต์                “พระพุทธเจ้าหลวงกับโรงพยาบาล ๕ แผ่นดิน
	       ท่านบรรยายว่า	 ตอนที่เข้ามาทำงานที่               บนผืนดินพระราชทาน ย่านสีลม บางรัก”
โรงพยาบาลเลิดสิน	ขณะนันตึกอำนวยการกำลังก่อสร้าง	
                        ้
พอก่อสร้างเสร็จก็มีฉายาว่า	ตึกช้างเดิน	เพราะห้องโถง
กว้างมาก	ตอนนี้ขอเรียกว่า	ตึกแมวเดิน




                                                          ภาพที่ 3 อาคารด้านหลังโรงพยาบาลเลิดสินที่ชั้นล่าง
                                                          ทางซ้ายมือเป็นห้องฉุกเฉิน ตอนที่เป็นแพทย์ฝึกหัดต้อง
                                                          มาฝกงานทหองนดวยและหลงคาทยนออกมาหนอยหนง
                                                             ึ      ่ี ้ ้ี ้        ั ่ี ่ื           ่ ่ึ
ภาพที่ 2 อาคารอำนวยการโรงพยาบาลเลิดสินที่กำลัง            ทางขวามือ คือหลังคาโรงครัว ซึ่งเป็นที่นั่งทานอาหาร
ก่อสร้างในช่วงที่มาเป็นแพทย์ฝึกหัด                        กลางวันของแพทย์และเจ้าหน้าที่
70                                       วารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน :: ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 :: เมษายน - มิถุนายน 2552
ภาพที่ 4 บ้านพักแพทย์ 2 หลัง
                                                                ภาพท่ี 6 อาคารโรงพยาบาลบางรก ใหสงเกตวา หลงคา
                                                                                               ั ้ั ่ ั
                                                                ตั้งฉากจากตัวตึก แต่ตึกเลิดสินเป็นมุมเอียง (ภาพนี้
                                                                ทานตองการสอวา อาคารเลดสนไมใชอาคารโรงพยาบาล
                                                                 ่ ้         ่ื ่           ิ ิ ่ ่
                                                                บางรัก เนื่องจากในหนังสือประวัติโรงพยาบาลเลิดสิน
                                                                พิมพ์คล้ายกับว่าอาคารเลิดสินคือโรงพยาบาลบางรัก
                                                                และจะเห็นจากภาพต่อไปว่า อาคารเลิดสินมีหลังคาที่
                                                                เป็นมุมเอียงโดยสังเกตที่ฝ้าเพดาน)


ภาพที่ 5 เป็นอาคารผู้ป่วยใน (อาคารเลิดสิน) ในช่วง
ที่ท่านเป็นแพทย์ประจำบ้านนั้น ชั้นล่างเป็นหอผู้ป่วย
กระดูกเรื้อรัง ท่านเคยพาฝรั่งมาดูงานที่นี่แล้วฝรั่ง
เป็นลม สงสัยว่า จะทนกลิ่นแผลเรื้อรังไม่ไหว
          ชั้นบนเป็นหอพักผู้ป่วยอัมพาตจากหลังหัก
คอหัก และบางที่ก็มีผู้ป่วยศัลยกรรมมาอยู่ด้วย
อาจารย์นายแพทย์คง สุวรรณรัต ชอบมาทดลองทำ
                                                  ภาพที่ 7 ระเบียงของอาคารเลิดสินชั้นบน ซึ่งในช่วงที่
ที่นอนฟองน้ำให้ผู้ป่วยอัมพาตที่นี่ และท่านมาช่วยฝึก
การทำงานให้กระเพาะปัสสาวะผู้ป่วยอัมพาตที่ตึก      ท่านเป็นแพทย์ประจำบ้านใช้เป็นหอผู้ป่วยกระดูกชาย
          ในรูปเดียวกัน..ทางขวามือชันบนเป็นหอผูปวย
                                    ้          ้่           ผลงานทีตองเสียงชีวตของท่าน	คือการออกหน่วย
                                                                   ่้ ่ ิ
พิเศษ ชั้นล่างเป็นหอผู้ป่วยกระดูกชาย บางทีก็มี    แพทย์เคลื่อนที่กับ	Special	Force	from	Okinawa
ผู้ป่วยศัลยกรรมมาอยู่ด้วย                         ที่จังหวัดนครพนม	กับนายแพทย์เฉลิม	เย็นจิต
                                                  ความสุ ขในชี วิ ต แพทย์ ป ระจำบ้ า นเลิ ด สิ น ของท่ า น
ผลงานของท่ า นระหว่ า งเป็ น แพทย์ ป ระจำบ้ า น 	           1.	ได้อยูใกล้พยาบาลสาวห้องผ่าตัด	เพราะถูก
                                                                     ่
ที่โรงพยาบาลเลิดสิน                               เอาใจ	ยกเว้นหัวหน้าห้องผ่าตัด	คือคุณเรขา
         ผลงานแรก	 คือท่านสร้างเครื่องดูดกระเพาะ	 	         2.	ตอนจัด	party	ระหว่าง	อาจารย์กบลูกศิษย์
                                                                                                 ั
                           เอกชั suction	 างระบบ และแพทย์หนุ่มกับพยาบาลสาว
โรงพยาบาลราชวิถีตั้งชื่อว่า	 ย	         สร้
central	suction	ของกระเพาะชั่วคราว		ที่โรงพยาบาล 	          3.	พยาบาลแก่ๆ	รัก	และเอื้ออารีพวกเรา	
ราชวิถีและโรงพยาบาลเลิดสิน                        กอดได้ทุกคน
JOURNAL OF KM LERDSIN HOSPITAL :: VOLUME 2 NUMBER 2 :: APRIL - JUNE 2009                                       71
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยKrongdai Unhasuta
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาUtai Sukviwatsirikul
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Lek Suthida
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นJiraprapa Suwannajak
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 

La actualidad más candente (9)

ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
Summary tl2019
Summary tl2019Summary tl2019
Summary tl2019
 

Destacado

Emergency Medicine System at Khonkaen Province, Thailand
Emergency Medicine System at Khonkaen Province, ThailandEmergency Medicine System at Khonkaen Province, Thailand
Emergency Medicine System at Khonkaen Province, ThailandDMS Library
 
ทารกแรกคลอด
ทารกแรกคลอดทารกแรกคลอด
ทารกแรกคลอดDMS Library
 
J.list searching manual
J.list searching manualJ.list searching manual
J.list searching manualDMS Library
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยDMS Library
 
Health Education Model for Cerebrovascular Accident
Health Education Model for Cerebrovascular AccidentHealth Education Model for Cerebrovascular Accident
Health Education Model for Cerebrovascular AccidentDMS Library
 
Self-management Program on Health Status and Quality of Life in Post Percutan...
Self-management Program on Health Status and Quality of Life in Post Percutan...Self-management Program on Health Status and Quality of Life in Post Percutan...
Self-management Program on Health Status and Quality of Life in Post Percutan...DMS Library
 
Effect of diabetes mellitus inpatient discharge planning model in Rongkham Ho...
Effect of diabetes mellitus inpatient discharge planning model in Rongkham Ho...Effect of diabetes mellitus inpatient discharge planning model in Rongkham Ho...
Effect of diabetes mellitus inpatient discharge planning model in Rongkham Ho...DMS Library
 
ความชุกและพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยของเพศชาย อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ
ความชุกและพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยของเพศชาย อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษความชุกและพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยของเพศชาย อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ
ความชุกและพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยของเพศชาย อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษDMS Library
 
ชมรมผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสุราษฏร์ธานี
ชมรมผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสุราษฏร์ธานีชมรมผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสุราษฏร์ธานี
ชมรมผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสุราษฏร์ธานีDMS Library
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคลากรที่มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคลากรที่มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคลากรที่มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคลากรที่มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติDMS Library
 
ความเสี่ยงการเกิดเบาหวานในบุคลากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ความเสี่ยงการเกิดเบาหวานในบุคลากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ความเสี่ยงการเกิดเบาหวานในบุคลากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ความเสี่ยงการเกิดเบาหวานในบุคลากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์DMS Library
 
Medical Emergency Act 2008
Medical Emergency Act 2008Medical Emergency Act 2008
Medical Emergency Act 2008DMS Library
 
การจัดการความรู้เรื่อง ชุมชนต้นแบบลดละเลิกเหล้า จังหวัดน่าน
การจัดการความรู้เรื่อง ชุมชนต้นแบบลดละเลิกเหล้า จังหวัดน่านการจัดการความรู้เรื่อง ชุมชนต้นแบบลดละเลิกเหล้า จังหวัดน่าน
การจัดการความรู้เรื่อง ชุมชนต้นแบบลดละเลิกเหล้า จังหวัดน่านDMS Library
 
โครงการลดอันตรายจาการใช้ยาและสารเสพติด
โครงการลดอันตรายจาการใช้ยาและสารเสพติดโครงการลดอันตรายจาการใช้ยาและสารเสพติด
โครงการลดอันตรายจาการใช้ยาและสารเสพติดDMS Library
 
โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ
โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ
โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบDMS Library
 
Alcohol problems
Alcohol problemsAlcohol problems
Alcohol problemsDMS Library
 
ระบบป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาเคมีบำบัดในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ระบบป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาเคมีบำบัดในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ระบบป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาเคมีบำบัดในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ระบบป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาเคมีบำบัดในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์DMS Library
 
Health Technology Assessment in Thailand
Health Technology Assessment in ThailandHealth Technology Assessment in Thailand
Health Technology Assessment in ThailandDMS Library
 
Program for the delegates from mohp, nepal 2
Program for  the delegates from mohp, nepal 2Program for  the delegates from mohp, nepal 2
Program for the delegates from mohp, nepal 2DMS Library
 

Destacado (19)

Emergency Medicine System at Khonkaen Province, Thailand
Emergency Medicine System at Khonkaen Province, ThailandEmergency Medicine System at Khonkaen Province, Thailand
Emergency Medicine System at Khonkaen Province, Thailand
 
ทารกแรกคลอด
ทารกแรกคลอดทารกแรกคลอด
ทารกแรกคลอด
 
J.list searching manual
J.list searching manualJ.list searching manual
J.list searching manual
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
Health Education Model for Cerebrovascular Accident
Health Education Model for Cerebrovascular AccidentHealth Education Model for Cerebrovascular Accident
Health Education Model for Cerebrovascular Accident
 
Self-management Program on Health Status and Quality of Life in Post Percutan...
Self-management Program on Health Status and Quality of Life in Post Percutan...Self-management Program on Health Status and Quality of Life in Post Percutan...
Self-management Program on Health Status and Quality of Life in Post Percutan...
 
Effect of diabetes mellitus inpatient discharge planning model in Rongkham Ho...
Effect of diabetes mellitus inpatient discharge planning model in Rongkham Ho...Effect of diabetes mellitus inpatient discharge planning model in Rongkham Ho...
Effect of diabetes mellitus inpatient discharge planning model in Rongkham Ho...
 
ความชุกและพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยของเพศชาย อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ
ความชุกและพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยของเพศชาย อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษความชุกและพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยของเพศชาย อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ
ความชุกและพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยของเพศชาย อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ
 
ชมรมผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสุราษฏร์ธานี
ชมรมผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสุราษฏร์ธานีชมรมผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสุราษฏร์ธานี
ชมรมผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสุราษฏร์ธานี
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคลากรที่มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคลากรที่มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคลากรที่มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคลากรที่มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติ
 
ความเสี่ยงการเกิดเบาหวานในบุคลากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ความเสี่ยงการเกิดเบาหวานในบุคลากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ความเสี่ยงการเกิดเบาหวานในบุคลากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ความเสี่ยงการเกิดเบาหวานในบุคลากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
 
Medical Emergency Act 2008
Medical Emergency Act 2008Medical Emergency Act 2008
Medical Emergency Act 2008
 
การจัดการความรู้เรื่อง ชุมชนต้นแบบลดละเลิกเหล้า จังหวัดน่าน
การจัดการความรู้เรื่อง ชุมชนต้นแบบลดละเลิกเหล้า จังหวัดน่านการจัดการความรู้เรื่อง ชุมชนต้นแบบลดละเลิกเหล้า จังหวัดน่าน
การจัดการความรู้เรื่อง ชุมชนต้นแบบลดละเลิกเหล้า จังหวัดน่าน
 
โครงการลดอันตรายจาการใช้ยาและสารเสพติด
โครงการลดอันตรายจาการใช้ยาและสารเสพติดโครงการลดอันตรายจาการใช้ยาและสารเสพติด
โครงการลดอันตรายจาการใช้ยาและสารเสพติด
 
โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ
โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ
โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ
 
Alcohol problems
Alcohol problemsAlcohol problems
Alcohol problems
 
ระบบป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาเคมีบำบัดในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ระบบป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาเคมีบำบัดในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ระบบป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาเคมีบำบัดในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ระบบป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาเคมีบำบัดในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
 
Health Technology Assessment in Thailand
Health Technology Assessment in ThailandHealth Technology Assessment in Thailand
Health Technology Assessment in Thailand
 
Program for the delegates from mohp, nepal 2
Program for  the delegates from mohp, nepal 2Program for  the delegates from mohp, nepal 2
Program for the delegates from mohp, nepal 2
 

Similar a Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009

TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลการเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าIpst Thailand
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
 
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referการพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referLampang Hospital
 
Ha and er
Ha and erHa and er
Ha and ertaem
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)sirinyabh
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชKanti Bkk
 
คอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลคอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลNongpla Narak
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5taem
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
Patient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in CanadaPatient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in Canadasoftganz
 
สมรรถนะหลัก 5 ด้านข้าราชการพลเรือน กิตติพศ.pdf
สมรรถนะหลัก 5 ด้านข้าราชการพลเรือน กิตติพศ.pdfสมรรถนะหลัก 5 ด้านข้าราชการพลเรือน กิตติพศ.pdf
สมรรถนะหลัก 5 ด้านข้าราชการพลเรือน กิตติพศ.pdfInthanonInthanop
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาDMS Library
 

Similar a Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009 (20)

TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
Simenar Project
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Project
 
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลการเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referการพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
 
Ha and er
Ha and erHa and er
Ha and er
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)
 
Excellence In Otolaryngology
Excellence In OtolaryngologyExcellence In Otolaryngology
Excellence In Otolaryngology
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
คอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลคอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาล
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
Patient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in CanadaPatient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in Canada
 
H4U
H4UH4U
H4U
 
SN203 Unit8
SN203 Unit8SN203 Unit8
SN203 Unit8
 
Bilecancer n
Bilecancer nBilecancer n
Bilecancer n
 
สมรรถนะหลัก 5 ด้านข้าราชการพลเรือน กิตติพศ.pdf
สมรรถนะหลัก 5 ด้านข้าราชการพลเรือน กิตติพศ.pdfสมรรถนะหลัก 5 ด้านข้าราชการพลเรือน กิตติพศ.pdf
สมรรถนะหลัก 5 ด้านข้าราชการพลเรือน กิตติพศ.pdf
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
 

Más de DMS Library

EuroSCORE predict operative mortality in Thai Cardiac Surgical Patient
EuroSCORE predict operative mortality in Thai Cardiac Surgical PatientEuroSCORE predict operative mortality in Thai Cardiac Surgical Patient
EuroSCORE predict operative mortality in Thai Cardiac Surgical PatientDMS Library
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospitalDMS Library
 
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุDMS Library
 
การเข้าถึงบริการตามสิทธิและสุขภาวะของผู้สูงอายุ
การเข้าถึงบริการตามสิทธิและสุขภาวะของผู้สูงอายุการเข้าถึงบริการตามสิทธิและสุขภาวะของผู้สูงอายุ
การเข้าถึงบริการตามสิทธิและสุขภาวะของผู้สูงอายุDMS Library
 
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPHCardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPHDMS Library
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานDMS Library
 
พฤติกรรมการมารับบริการบำบัดยาเสพติดจิตสังคมบำบัด
พฤติกรรมการมารับบริการบำบัดยาเสพติดจิตสังคมบำบัดพฤติกรรมการมารับบริการบำบัดยาเสพติดจิตสังคมบำบัด
พฤติกรรมการมารับบริการบำบัดยาเสพติดจิตสังคมบำบัดDMS Library
 
ต้อกระจก
ต้อกระจกต้อกระจก
ต้อกระจกDMS Library
 
Drugs Addiction Treatment System Integrated Model
Drugs Addiction Treatment System Integrated ModelDrugs Addiction Treatment System Integrated Model
Drugs Addiction Treatment System Integrated ModelDMS Library
 
ผลกระทบของนโยบายยาเสพติด: มุมมองจากผู้เสพยาบ้า และผู้ให้บริการบำบัดรักษาในหน่...
ผลกระทบของนโยบายยาเสพติด: มุมมองจากผู้เสพยาบ้า และผู้ให้บริการบำบัดรักษาในหน่...ผลกระทบของนโยบายยาเสพติด: มุมมองจากผู้เสพยาบ้า และผู้ให้บริการบำบัดรักษาในหน่...
ผลกระทบของนโยบายยาเสพติด: มุมมองจากผู้เสพยาบ้า และผู้ให้บริการบำบัดรักษาในหน่...DMS Library
 
ทันตสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองกับทันตกรรมผู้ป่วยทั่วไปในโรงพยาบาลประสาท...
ทันตสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองกับทันตกรรมผู้ป่วยทั่วไปในโรงพยาบาลประสาท...ทันตสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองกับทันตกรรมผู้ป่วยทั่วไปในโรงพยาบาลประสาท...
ทันตสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองกับทันตกรรมผู้ป่วยทั่วไปในโรงพยาบาลประสาท...DMS Library
 
พิการขาขาด
พิการขาขาดพิการขาขาด
พิการขาขาดDMS Library
 
Pcfm6 เวชศาสตร์ครอบครัว
Pcfm6 เวชศาสตร์ครอบครัวPcfm6 เวชศาสตร์ครอบครัว
Pcfm6 เวชศาสตร์ครอบครัวDMS Library
 
Pub healthplandevelopment10
Pub healthplandevelopment10Pub healthplandevelopment10
Pub healthplandevelopment10DMS Library
 
CPG diabetes 2554
CPG diabetes 2554CPG diabetes 2554
CPG diabetes 2554DMS Library
 
Promotion of model development for diabetes mellitus services
Promotion of model development for diabetes mellitus servicesPromotion of model development for diabetes mellitus services
Promotion of model development for diabetes mellitus servicesDMS Library
 
Health education program for decreasing diabetes mellitus among female risk g...
Health education program for decreasing diabetes mellitus among female risk g...Health education program for decreasing diabetes mellitus among female risk g...
Health education program for decreasing diabetes mellitus among female risk g...DMS Library
 

Más de DMS Library (20)

EuroSCORE predict operative mortality in Thai Cardiac Surgical Patient
EuroSCORE predict operative mortality in Thai Cardiac Surgical PatientEuroSCORE predict operative mortality in Thai Cardiac Surgical Patient
EuroSCORE predict operative mortality in Thai Cardiac Surgical Patient
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
 
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
 
การเข้าถึงบริการตามสิทธิและสุขภาวะของผู้สูงอายุ
การเข้าถึงบริการตามสิทธิและสุขภาวะของผู้สูงอายุการเข้าถึงบริการตามสิทธิและสุขภาวะของผู้สูงอายุ
การเข้าถึงบริการตามสิทธิและสุขภาวะของผู้สูงอายุ
 
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPHCardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
 
พฤติกรรมการมารับบริการบำบัดยาเสพติดจิตสังคมบำบัด
พฤติกรรมการมารับบริการบำบัดยาเสพติดจิตสังคมบำบัดพฤติกรรมการมารับบริการบำบัดยาเสพติดจิตสังคมบำบัด
พฤติกรรมการมารับบริการบำบัดยาเสพติดจิตสังคมบำบัด
 
ต้อกระจก
ต้อกระจกต้อกระจก
ต้อกระจก
 
Drugs Addiction Treatment System Integrated Model
Drugs Addiction Treatment System Integrated ModelDrugs Addiction Treatment System Integrated Model
Drugs Addiction Treatment System Integrated Model
 
ผลกระทบของนโยบายยาเสพติด: มุมมองจากผู้เสพยาบ้า และผู้ให้บริการบำบัดรักษาในหน่...
ผลกระทบของนโยบายยาเสพติด: มุมมองจากผู้เสพยาบ้า และผู้ให้บริการบำบัดรักษาในหน่...ผลกระทบของนโยบายยาเสพติด: มุมมองจากผู้เสพยาบ้า และผู้ให้บริการบำบัดรักษาในหน่...
ผลกระทบของนโยบายยาเสพติด: มุมมองจากผู้เสพยาบ้า และผู้ให้บริการบำบัดรักษาในหน่...
 
ทันตสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองกับทันตกรรมผู้ป่วยทั่วไปในโรงพยาบาลประสาท...
ทันตสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองกับทันตกรรมผู้ป่วยทั่วไปในโรงพยาบาลประสาท...ทันตสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองกับทันตกรรมผู้ป่วยทั่วไปในโรงพยาบาลประสาท...
ทันตสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองกับทันตกรรมผู้ป่วยทั่วไปในโรงพยาบาลประสาท...
 
พิการขาขาด
พิการขาขาดพิการขาขาด
พิการขาขาด
 
Pcfm6 เวชศาสตร์ครอบครัว
Pcfm6 เวชศาสตร์ครอบครัวPcfm6 เวชศาสตร์ครอบครัว
Pcfm6 เวชศาสตร์ครอบครัว
 
Type2 diabetes
Type2 diabetesType2 diabetes
Type2 diabetes
 
Pub healthplandevelopment10
Pub healthplandevelopment10Pub healthplandevelopment10
Pub healthplandevelopment10
 
CPG diabetes 2554
CPG diabetes 2554CPG diabetes 2554
CPG diabetes 2554
 
Type2 diabetes
Type2 diabetesType2 diabetes
Type2 diabetes
 
Promotion of model development for diabetes mellitus services
Promotion of model development for diabetes mellitus servicesPromotion of model development for diabetes mellitus services
Promotion of model development for diabetes mellitus services
 
Health education program for decreasing diabetes mellitus among female risk g...
Health education program for decreasing diabetes mellitus among female risk g...Health education program for decreasing diabetes mellitus among female risk g...
Health education program for decreasing diabetes mellitus among female risk g...
 
Blood sugar
Blood sugarBlood sugar
Blood sugar
 

Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009

  • 1.
  • 2. ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2552 Journal of KM Lerdsin Hospital Volume 2 Number 2 April - June 2009 วัตถุประสงค์ของวารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน 1. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ ของบุคลากรในสังกัด โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์ 2. เพื่อเป็นศูนย์กลางการแบ่งปัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์ ระหว่างบุคลากรภายใน และภายนอก โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์ 3. เพื่อสนับสนุนให้บุคลากรพัฒนา การจัดการความรู้เกี่ยวกับการเขียนบทความทางวิชาการเผยแพร่ต่อสาธารณะ 4. เพื่อจัดเก็บความรู้ที่อาจมีคุณค่าและสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป คณะบรรณาธิการ วารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน ที่ปรึกษา นายแพทย์อนันต์ เสรฐภักดี นายแพทย์ธวัช ประสาทฤทธา แพทย์หญิงใยวรรณ ธนะมัย แพทย์หญิงมยุรี ฮั่นตระกูล นายแพทย์สุทัศน์ ดวงดีเด่น บรรณาธิการ เลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการคณะบรรณาธิการ นายแพทย์สมสิทธิ์ ชุณหรัศมิ์ นางสาวประภา จีนนิกุล นางสาวนฤมล อ่อนแสงงาม กองบรรณาธิการ นางสาวชลิตา ง้าวสุวรรณ ทันตแพทย์วิทยา ยินดีเดช นายแพทย์ชัยสิทธิ์ ใบไม้ นางสาวนุชนาท บุญต่อเติม สำนักงานกองบรรณาธิการวารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน ห้องสมุด ชั้น 8 อาคารกาญจนาภิเษก เลขที่ 190 ถนนสีลม บางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 0 2353 9835-6 โทรสาร : 0 2353 9933 E-Mail Address : geennikul@hotmail.com, geennikul@yahoo.com geennikul@gmail.com Website : http://www.lerdsin.go.th/ วารสารราย 3 เดือน จัดพิมพ์โดย โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์
  • 3. วารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน เป็นศูนย์กลางสำหรับการแบ่งปัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ประสบการณ์ ระหว่างบุคลากร ภายในและภายนอกโรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์ โดยถ่ายทอดในรูปของ บทความ บทความที่ส่งมาลงตีพิมพ์ ต้องเป็นบทความที่ไม่เคยลงตีพิมพ์ในวารสารอื่นมาก่อน ข้อแนะนำสำหรับการจัดตรียมต้นฉบับ 1. กองบรรณาธิการ รับตีพิมพ์ต้นฉบับภาษาไทยเท่านั้น 2. ต้นฉบับควรพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Office Word 2003 ขนาดตัว อักษรไม่เล็กกว่า AngsanaUPC ขนาด 16 pts ใช้กระดาษพิมพ์ขนาด A4 พิมพ์หน้าเดียวใส่เลขหน้ากำกับ ทุกหน้า ทำเป็นคอลัมน์เดียวกรอบของเนื้อหาห่างจากขอบบน ขอบล่าง ขอบซ้าย และขอบขวา ด้านละ 1 นิ้ว ความยาวไม่น้อยกว่า 3 หน้ากระดาษ A4 3. พิมพ์ชื่อบทความภาษาไทยและวรรคตอนรวมกันไม่เกิน 50 ตัวอักษร ชื่อบทความควรสั้นได้ใจความ และสื่อเป้าหมายหลัก 4. พิมพ์ชื่อผู้เขียน คุณวุฒิ ตำแหน่งและสถานที่ทำงานภาษาไทย ไว้ใต้ชื่อบทความ 5. ภาพประกอบ (ถ้ามี) ควรใช้ชื่อรูปภาพที่มีนามสกุลเป็น .gif หรือ .jpg 6. การเขียนเอกสารอ้างอิง ถ้าต้องการระบุแหล่งอ้างอิง ต้องใช้ระบบแวนคูเวอร์ การส่งต้นฉบับ 1. ส่งต้นฉบับ ประกอบด้วยบทความ (ที่พิมพ์แล้ว) ภาพประกอบ(ถ้ามี) จำนวน 1 ชุด พร้อมแผ่น ดิสเก็ตหรือแผ่นซีดีที่บรรจุข้อมูลบทความ และภาพประกอบ จำนวน 1 แผ่น ระบุชื่อบทความ และชื่อผู้เขียน บทความกำกับไว้ที่แผ่นดิสเก็ต หรือแผ่นซีดีทุกแผ่น (หากมีมากกว่า 1 แผ่น) จัดส่งได้ที่ ห้องสมุดโรงพยาบาลเลิดสิน ชั้น 8 อาคารกาญจนาภิเษก โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์ 190 ถนนสีลม บางรัก กรุงเทพ 10500 2. หรือจัดส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ได้ที่ geennikul@gmail.com, geennikul@hotmail.com, geennikul@yahoo.com 3. หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ 0 2353 9835 - 6
  • 4. สวัสดีครับ ท่านผู้อ่านทุกท่าน วารสารการจัดการความรู้โรงพยาบาลเลิดเสินที่ท่านถืออยู่นี้ ก็เป็นฉบับที่สี่แล้ว จะสังเกตได้ว่า เนื้อหาค่อยๆ เพิ่มความหลากหลายขึ้นตามลำดับ เนื่องจากเราได้รับความกรุณาจากสมาชิกที่ช่วยกันส่ง ผลงานมาร่วมแบ่งปันความรู้ที่ซุกซ่อนอยู่ ออกมาเป็นรูปธรรมแก่ท่านผู้อ่านเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง หากท่าน มีความรู้หรือประสบการณ์ดีๆ อยากแบ่งปัน ก็ติดต่อกองบรรณาธิการได้เสมอครับ ในฉบับนี้มีเรื่องเกี่ยวกับการประชุมวิชาการที่ผ่านมา ซึ่งถือเป็นการครบรอบ 60 ปีของการที่ โรงพยาบาลเลิดสินเข้าสังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขอีกด้วย ทั้งยังมีบทความที่รวบรวมจาก การปฎิบัติงานโดยตรง รวมถึงโครงการริเริ่มใหม่ๆที่ได้บรรจุเข้ามาเพื่อพัฒนาบุคลากรและองค์กรอีกด้วย หากท่านผู้อ่านมีข้อคิดเห็นใดๆ สามารถเสนอแนะเข้ามาได้ที่กองบรรณาธิการ ผ่านทาง บรรณารักษ์ห้องสมุดที่แสนใจดีของเราได้ตลอดเวลา ทางเรายินดีรับฟังเพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไข ให้วารสาร มีความน่าสนใจเพิ่มขึ้นครับ กองบรรณาธิการ วารสารการจัดการความรู้โรงพยาบาลเลิดสิน
  • 5. สารบัญ 61 เก็บตกจากการอบรมหลักสูตร HA451 ผู้เยี่ยมสำรวจภายนอกขั้นที่ 1 สุทัศน์ ดวงดีเด่น 69 ๖๐ ปี โรงพยาบาลเลิดสิน : อดีต ปัจจุบัน อนาคต ถอดเทปจากการประชุมวิชาการประจำปี ประภา จีนนิกุล 89 แปลงเพศอย่างไร ให้ปลอดภัย สุกิจ ทัศนสุนทรวงศ์ 91 แนวทางการให้บริการสังคมสงเคราะห์ ผู้ป่วยต่างชาติ นุชนาท บุญต่อเติม 99 “ผ้ายึดตรึง” นวัตกรรมเพือความปลอดภัยของผูปวย ่ ้่ นันทนัช ภาณุศรี
  • 6. 101 เหตุเกิดที่อัมพวา ชลธิชา สว่างแจ้ง 106 การให้คำปรึกษาด้านยาแก่ผู้ป่วย ทางโทรศัพท์ (3) สมสกุล ศิริไชย 110 มารู้จัก UCHA กันเถอะ นวลพรรณ เอี่ยมตระกูล 112 การจัดการความรู้ พัฒนารูปแบบ การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม กฤติยา จิตราภัณฑ์ 116 รวมภาพกิจกรรมการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์
  • 8. สุทัศน์ ดวงดีเด่น นายแพทย์เชี่ยวชาญ เลขานุการคณะทำงานการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์ ตามที่ ผู้ เ ขี ย นได้ เ ข้ า รั บ การอบรมหลั ก สู ต ร การพั ฒ นาศั ก ยภาพของผู้ เ ยี่ ย มสำรวจมี HA451 ผู้เยี่ยมสำรวจภายนอกขั้นที่ 1 ระหว่างวันที่ ความสำคัญยิ่งต่อ HA ผู้เข้ารับการอบรมในหลักสูตร 12 - 16 ตุลาคม 2552 ณ โรงแรมอมารี แอร์พอร์ต นี้ ส่ ว นหนึ่ ง มี ค วามมุ่ ง หวั ง ที่ จ ะพั ฒ นาตนเองไปเป็ น กรุงเทพฯ ขอสรุปเนื้อหาการเข้ารับการอบรมมาให้อ่าน ผู้เยี่ยมสำรวจของสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล กันเล่น หวังว่าจะเป็นประโยชน์ และเป็นกำลังใจให้กับ (องคการมหาชน) หรอทเ่ ี รยกยอๆ วา สรพ. อกสวนหนงอาจมี ์ ื ี ่ ่ ี ่ ่ึ ทุกท่านที่เกี่ยวข้อง วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการเข้ า รั บ การอบรมเพื่ อ นำความรู้ ไปพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลที่ตัวเองปฏิบัติงานอยู่ แนวคิ ด พื้ น ฐานของกระบวนการเยี่ ย ม ให้สามารถผ่านการรับรองได้ ด้วยกลยุทธ์สำคัญจาก สำรวจนั้นพอจะแบ่งออกได้เป็น 2 ค่ายใหญ่ๆ คือ ตำราพิชัยสงครามของซุนวูที่ว่า รู้เขารู้เรา รบร้อยครั้ง 1. Audit mode ชนะร้อยครา บางคนก็หวังเพียงเอาไปใช้เป็นแนวทาง 2. Learning mode ในการประเมินภายใน โรงพยาบาล หรือวัตถุประสงค์ อื่นๆ ที่หลากหลายในแต่ละบุคคล Hospital accreditation หรือที่เราเรียกกัน ย่อๆ ว่า HA นั้น เน้นการใช้ learning mode สิ่งที่ผู้เยี่ยมสำรวจต้องได้รับการพัฒนาก็คือ เป็ น แนวคิ ด สำคั ญ ในการประเมิ น สถานพยาบาล ความรู้ ทักษะ ชิ้นงานและงานมาตรฐาน ด้วยแนวคิดว่า HA คือ กระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่ การตรวจสอบ1 การเรียนรู้สำคัญเกิดจากการประเมิน ความรู้ ที่ ส ำคั ญ สำหรั บ ผู้ เ ยี่ ย มสำรวจ 2,3,4,5,6 และพัฒนาตนเองในโรงพยาบาล ผู้เยี่ยมสำรวจเป็น ได้แก่ แนวคิดคุณภาพ เครื่องมือคุณภาพ แนวคิด ผู้ แ ทนของสถาบั น รั บ รองคุ ณ ภาพสถานพยาบาล HPH มาตรฐาน HA/HPH การประเมิน และระบบ เป็นแขกรับเชิญของโรงพยาบาล เป็นกัลยาณมิตร สาธารณสุข ไม่ใช่ผู้พิพากษา ไม่ใช่ผู้ตรวจสอบ การประเมินจาก ภายนอกเป็ น การยื น ยั น ผลการประเมิ น ตนเอง ทักษะที่สำคัญ ได้แก่ การอ่าน การวิเคราะห์ และกระตุ้นให้เห็นโอกาสพัฒนาในมุมมองที่กว้างขึ้น การมองภาพใหญ่ การสร้างความสัมพันธ์ การสังเกต ด้ ว ยมุ ม มองสำคั ญ คื อ คุ ณ ภาพและความปลอดภั ย การฟัง การตั้งคำถาม การสะท้อนกลับ กระตุ้น การรับรองคือการให้กำลังใจในการทำความดี และ การเรียนรู้ การเขียน การแก้ไขสถานการณ์ ส่งเสริมให้ทำดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่การตัดสินได้ตก JOURNAL OF KM LERDSIN HOSPITAL :: VOLUME 2 NUMBER 2 :: APRIL - JUNE 2009 61
  • 9. ในการเยี่ยมสำรวจนั้น การตั้งคำถามของ ทั้งในส่วนที่โรงพยาบาลทำดีอยู่แล้ว มากล่าวชื่นชม ผู้เยี่ยมสำรวจมีความสำคัญมาก มีคำถามหลายอย่าง แ ล ะ ม อ ง ห า ป ร ะ เ ด็ น ที่ มี โ อ ก า ส พั ฒ น า ที่อาจสร้างปัญหาขึ้น อาทิ ต้องการไปถามว่า ซึ่งในระหว่างการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลจะพยายาม ทางห้อง lab มีปัญหาและอุปสรรคในการสู่มาตรฐาน ปกป้องตัวเองอย่างเต็มที่ ยิ่งถ้าหากไปกล่าวในทำนอง สากลอย่างไร อาจต้องมีการปรับคำถามให้เป็นกลาง ที่ว่า ผู้ถูกเยี่ยมสำรวจทำผิด หรือเป็นผู้ผิดแล้วละก็ และเป็นบวก เช่น ทีมงานมีความเห็นอย่างไรต่อ ผู้ถูกเยี่ยมสำรวจจะสู้ยิบตาเลยทีเดียว แต่ถ้าไม่สามารถ มาตรฐานสากลต่างๆ มีแผนการเรื่องนี้อย่างไร คำถาม ชี้ ป ระเด็ น ที่ อ าจจะเกิ ด ประโยชน์ ต่ อ หน่ ว ยงานเลย ที่ดีที่ยกมาเป็นตัวอย่างได้แก่ Lab ตอบสนองต่อ หน่วยงานทำอะไรก็ดีไปหมด ่อสิ้นสุดการเยี่ยมสำรวจ เมื เป้ า หมายการมุ่ ง สู่ ม าตรฐานสากลของโรงพยาบาล หน่ ว ยงานจะรู้ สึ ก ว่ า เสี ย เวลาไม่ เ ห็ น จะได้ อ ะไรที่ อย่างไร มีปัญหาและอุปสรรคอย่างไร การตรวจ จะเป็ น ประโยชน์ ใ นการปรั บ ปรุ ง หน่ ว ยงานเลย อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับ world class มีช่องทาง จะเห็นได้ว่าผู้เยี่ยมสำรวจนั้นเครียดพอๆ กับคนที่ถูก การสื่อสารระหว่างแพทย์ผู้ส่งกับ lab อย่างไร เยี่ยม ต้องพัฒนาตัวเองให้มีทั้ง conceptual skill, lab ได้รับ feedback อะไรจากแพทย์บ้าง observation skill, probing skill (การเจาะลึก), ข้อมูลจากแพทย์อันไหนที่ lab นำมาใช้ประโยชน์ใน analytical skill, coaching skill ที่สำคัญก็คือควร การปรับปรุงได้มาก lab ใช้ระบบเอกสาร ในการ จะเขี ย นรายงานการเยี่ ย มสำรวจให้ เ สร็ จในวั น นั้ น ประกันคุณภาพการตรวจอย่างไร โรงพยาบาลมีวิธีการ ซึ่งก็หมายถึงว่าต้องมี writing skill และต้องเป็นคน พิจารณาอย่างไรว่า lab ใดที่จะทำเอง lab ใดที่จะ ที่มีจริยธรรม รู้จักการทำงานเป็นทีม รวมทั้งมี ส่งที่อื่น lab มีช่องทางในการรับรู้ข้อมูลความต้องการ ความสามารถในการบริหารจัดการเวลาได้เป็นอย่างดี และความพึงพอใจของลูกค้าอย่างไร นำข้อมูลนั้นมาใช้ Surveyor นั้นในภาษาอังกฤษแปลว่า พนักงาน ประโยชน์อย่างไร Mismatch เป็นอุบัติการณ์ที่รุนแรง สอบสวน แต่ในทางปฏิบัติจริงต้องทำอะไรต่อมิอะไร ทาง lab มีความมั่นใจว่าจะป้องกันเรื่องนี้อย่างไร เยอะแยะไปหมด างไรก็ดีเมื่อสิ้นสุดการเยี่ยมสำรวจ อย่ ทีมงานมีความเห็นอย่างไรต่อมาตรฐานสากลต่างๆ ความสำเร็จของ Surveyor ที่สำคัญยิ่งก็คือ เดิน อาทิ ISO guide 25 มีแผนการเรื่องนี้อย่างไร ออกมาแล้วรพ.นั้นคึก ผ่านไม่ผ่านไม่รู้แต่มีความตื่นตัว ชิ้นงานที่จะต้องฝึกทำ ได้แก่ การวิเคราะห์ กิจกรรมการเรียนในหลักสูตร HA451 ผู้เยี่ยม self assessment การสัมภาษณ์ทีม เยี่ยมหน่วยงาน สำรวจภายนอกขั้นที่ 1 ใช้เทคนิคที่เรียกว่า world ทบทวนเอกสาร/เวชระเบียน จัดทำรายงาน cafe’ ให้แบ่งกลุ่มเป็นจำนวนกลุ่มที่ต้องการ เช่น ต้องการ 10 กลุ่ม ด้วยการนับ 1-10 ใครหมายเลขไหน และสุดท้าย คืองานมาตรฐาน ได้แก่ ก็อยู่กลุ่มนั้น หลังจากนั้นก็ตั้งคำถามให้กลุ่มช่วยกัน document assessment ซึ่งรวมถึง เวชระเบียน คิด แล้วเขียนลงใน Flip chart (ถ้าเขียนลง A4 ไม่รู้ รายงานการประชุม คู่มือ learn & share workshop ว่าเลขาฯจดอย่างที่กลุ่มคุยกันหรือไม่) คิดเสร็จ ICV/CV step 1/2 Assessment Accreditation เขียนเสร็จ ให้ทุกคนย้ายไปกลุ่มอื่น พยายามให้ survey Re-accreditation survey คนในกลุ่ ม แยกย้ า ยกั น ไปโดยไม่ ไ ปเจอคนซ้ ำ เพียงในช่วงเวลาของการเยี่ยมสำรวจที่ไม่นาน จะได้รู้จักกันภายในระยะเวลาสั้น ให้เหลือคนใด นัก แค่ 2-3 วัน โรงพยาบาลตั้งความหวังเอาไว้กับ คนหนึ่งไว้ประจำกลุ่ม(ของเราเลือกผู้ที่อาวุโสสูงสุด) ผู้เยี่ยมสำรวจมากมาย ผู้เยี่ยมสำรวจต้องจับประเด็น เปลี่ยนคำถาม ทำกิจกรรมช่วยกันคิด และเขียนลง 62 วารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน :: ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 :: เมษายน - มิถุนายน 2552
  • 10. Flip chart สุดท้ายให้คนที่ไม่ย้ายกลุ่มมานำเสนอ ได้รับจากโรงพยาบาล ขอให้ถือเป็นความลับ สำหรับ ในเรื่องมรรยาทนั้น ผู้เยี่ยมสำรวจพึงแต่งกายสุภาพ หลังจากนั้นเป็นการเรียนรู้ในเรื่อง จริยธรรม เรียบร้อย พร้อมติดป้ายชื่อที่ สรพ.จัดให้ทุกครั้ง ควรไป ของผู้เยี่ยมสำรวจ อพึงปฏิบัติระหว่างการปฏิบัติหน้าที ข้ ่ ตรงต่อเวลาหรือไปก่อนเวลานัดหมาย เริ่มต้นเยี่ยม มรรยาท ซึ่งมีตั้งแต่ ผู้เยี่ยมสำรวจไม่พึงวิพากษ์วิจารณ์ สำรวจหน่วยงานตามเวลาที่กำหนด ผู้เยี่ยมสำรวจ ผู้เยี่ยมสำรวจท่านอื่น รวมทั้งไม่พึงวิพากษ์วิจารณ์ พึ ง ปิ ดโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ในระหว่ า งการเยี่ ย มสำรวจ โรงพยาบาล ละสรพ. องรกษาความลบของโรงพยาบาล แ ต้ ั ั ไม่ควรออกจากโรงพยาบาลในระหว่างเวลาเยี่ยมสำรวจ ที่ได้มาระหว่างการเยี่ยมสำรวจ แม้แต่การนำข้อมูล เพื่อจุดประสงค์ส่วนตัว หรือเชิญบุคคลอื่นมาติดต่อ เชิ ง บวกของโรงพยาบาลไปเผยแพร่ ก็ ค วรได้ รั บ ธุรกิจระหว่างการปฏิบัติงาน พึงวางตัวเป็นกลาง ความยินยอมจากโรงพยาบาลก่อน ไม่พึงถ่ายภาพ แสดงออกด้วยความสุภาพเรียบร้อย ไม่ก้าวร้าว และ หรือถ่ายวิดีโอ ในขณะปฏิบัติหน้าที่ ไม่พึงเปรียบเทียบ ไม่ พึ ง นำเจ้ า หน้ า ที่ จ ากโรงพยาบาลของตนไปดู ง าน ผลการปฏิบัติงานระหว่างโรงพยาบาล ไม่พึงทำให้เกิด ในโรงพยาบาลที่ไปเยี่ยมสำรวจ ความเข้าใจผิดว่า โรงพยาบาลจะได้รับการรับรอง โดยที่ ยั งไม่ ไ ด้ มี ก ารประกาศเป็ น ทางการจากสรพ. ทั ก ษะสำคั ญ ที่ ผู้ เ ยี่ ย มสำรวจต้ อ งฝึ ก ฝนให้ ผู้เยี่ยมสำรวจพึงแจ้งให้สรพ.ทราบ หากมีความสัมพันธ์ เชี่ยวชาญ คือ Appreciate Inquiry ได้แก่การค้นหา หรือผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาลที่จะไปสำรวจ สิ่งดี หลายครั้งที่เราพบว่า โรงพยาบาลเขียน self เช่น เคยประกอบอาชีพในโรงพยาบาลที่จะไปเยี่ยม assessment ด้ไม่ดีเท่าที่ทำจริง ูความสำเร็จ รัพย์สิน ไ ด ท สำรวจ ในช่วงเวลา 24 เดือนก่อนและหลังการเยี่ยม ศักยภาพที่หลบซ่อนอยู่ นวัตกรรม จุดแข็ง ความคิด สำรวจ ไม่รับของฝาก ของที่ระลึก หรือการเลี้ยงต้อนรับ ที่เหนือชั้น จิตวิญญาณ ส่วนลึกขององค์กร ซึ่งแสดง ในลักษณะที่แสดงความสิ้นเปลือง หรือรับสิ่งตอบแทน ภาพฝันในอนาคตขององค์กรที่มีคุณค่าและเป็นไปได้ ที่อาจทำให้เป็นที่ครหาว่ามีผลต่อการตัดสินใจรับรอง เหตุการณ์ที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด ที่ผู้ตอบมี คุณภาพ ผู้เยี่ยมสำรวจไม่พึงขอเอกสารหรือตัวอย่าง ส่วนร่วม การเปลี่ยนแปลงในสิ่งเล็กสิ่งน้อยที่ทำได้ทันที จากโรงพยาบาลเพื่อไปใช้ส่วนตัว และข้อมูลทุกชิ้นที่ การเปลี่ยนแปลงสำคัญ ที่เราทำได้และเกิดผลกระทบ JOURNAL OF KM LERDSIN HOSPITAL :: VOLUME 2 NUMBER 2 :: APRIL - JUNE 2009 63
  • 11. ยิ่งใหญ่ทำให้องค์กรปรับรูปไปในอนาคต ้เยี่ยมสำรวจ ที่ท้าทาย แล้วชักชวนให้ทีมมาร่วมหัวจมท้ายทำเรื่อง ผู ที่ดีต้องตั้งคำถามแล้วคนอยากตอบ ยากให้สำเร็จ อีกอย่างต้องระวังคำพูดที่ใช้กันบ่อยใน กลุ่มผู้เยี่ยมสำรวจอย่าเผลอไปพูดกับผู้รับการประเมิน ผู้ เ ยี่ ย ม ส ำ ร ว จ ต้ อ ง ท ำ ตั ว เ ป็ นโ ค้ ช ที่ ดี จะกลายเป็นภาษาเทพ ที่อาจไม่เหมาะสมได้ ซึ่งหลักการโค้ชนั้นมีทั้ง directive ซึ่งอาจจะขึ้นอยู่กับ wisdom ของผู้ที่จะไปโค้ช ถ้าเป็นคนเก่ง ต้องใช้ บทเรียนจากการฝึกสัมภาษณ์นั้น จากการ non-directive ให้มากเข้าไว้ โดย spectrum ของ ระดมสมองของผู้เข้ารับการอบรม แนะนำว่า ควรมี coaching skil จะเริ่มตั้งแต่ บอก สอน ให้คำปรึกษา การสร้ า งสั ม พั น ธภาพบรรยากาศในการซั ก ถามดี เสนอ ป้อนกลับ ชี้แนะ ถาม สรุป ปรับคำพูด ถ้ากรณีผู้เยี่ยมไป 2 คน มีการส่งสัญญานคำถาม สะท้อนความเห็น ฟังอย่างเข้าใจ coaching skill เพื่อให้สอดคล้องกัน มีการปรับแผนคำถามจาก ที่ไม่เหมาะสมของศูนย์คุณภาพคือ เรียกคนมาเยอะๆ สถานการณ์เฉพาะหน้า ถ้าผู้ถูกเยี่ยมตอบไม่ตรงใจ เพื่อที่จะ lecture มีการดึงผู้ถูกเยี่ยมให้ตอบเข้าประเด็น ผู้เยี่ยมสำรวจ ควรจะแม่นมาตรฐานและครอบคลุมประเด็น ต้องมี Intellectual trap อย่างหนึ่งก็คือ ถ้าผู้เยี่ยม การวางแผนการคิดประเด็นที่สำคัญไว้ และต้องตั้งใจ สำรวจเก่งเกิน เห็นรพ.เหมือนเด็กที่ยังเตาะแตะ ฟังและจับประเด็นในสิ่งที่ผู้ถูกสัมภาษณ์พูด จะกลายเป็นพ่อแม่สอนลูก ฉะนั้นถ้าเก่งมากๆ ต้อง เก็บความเก่งเอาไว้ แต่ดึงศักยภาพของคนอื่นให้แสดง สำหรับการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยนั้น8 ความสามารถออกมาให้ได้ จากการระดมสมองของผู้เข้ารับการอบรม ได้ให้ ข้อเสนอแนะเอาไว้หลายอย่างอาทิ จัดสัปดาห์ safety หัวใจหลักของผู้เยี่ยมสำรวจก็คือ ต้องถือ week ให้หน่วยงานแสดงผลงานที่ตัวเองทำให้ผู้อื่น/ทีม มาตรฐานเป็นหลัก7 ฉะนั้นผู้เยี่ยมสำรวจจะต้องเข้าใจ ได้รับทราบอย่างสม่ำเสมอ ตัวอย่างเช่นในเรื่อง ในมาตรฐาน ซึ่งการถอดรหัสมาตรฐาน หรือ แนวทาง สิ่งแวดล้อม ให้หน่วยงานประเมินความเสี่ยงและเสนอ การทำความเข้ าใจมาตรฐานในเบื้ อ งต้ น เป็ น หั ว ข้ อ แนวทางแก้ไข โดยมีทีม ENV นักวิชาการ หรือวิศวกร สำคัญที่ผู้เยี่ยมสำรวจต้องศึกษา ซึ่งหลักการสำคัญคือ มาช่วยพิจารณา เสนอแนวทางแก้ไข ทบทวน ต้องใช้บ่อยๆ แล้วจะค่อยๆ จำได้มากขึ้นๆ เอง ถ้าดู ความเสยงและความปลอดภยจากงานททำหลงการสงเวร ่ี ั ่ี ั ่ ในโครงสร้างของมาตรฐานจะประกอบไปด้วย basic แนะให้ทุก PCT ทำ Trigger tool ส่งทุก 2-3 เดือน ทำ requirement, overall requirement และ multiple outcome mapping จัดทำโครงการ MISS SIMPLE requirement ซึ่งหลายคนไปตกหลุม เพราะว่า อ่านแต่ เน้นการเรียนรู้ร่วมกัน จัดทำ sentinel sign เพื่อช่วย multiple requirement ซึ่งมีรายละเอียด แล้วทำ เฝ้าระวังอุบัติการณ์เสี่ยงสูง จัดทำตลาดนัด SIMPLE ตามนั้น แต่ไม่ตอบโจทย์ของ overall requirement ให้ทุกคนในหน่วยงานเขียนใบอุบัติการณ์ความเสี่ยง ส่ ง ที ม งานและนำมาร่ ว มกั น หาโอกาสพั ฒ นา วิธีการในการ approach ของผู้เยี่ยมสำรวจ จัด Practice - Walk Through Survey เพื่อค้นหา นั้นจะต้องให้คนถูกถาม พูดถึงสิ่งที่เขามั่นใจก่อน ความเสี่ ย งเป็ น ประจำโดยแต่ ล ะหน่ ว ยงานเอง ทำให้เขารู้สึกว่าเรารับรู้ถึงสิ่งที่เขามั่นใจ เดี๋ยวเขาบอก ที ม นำกล่ า วถึ ง ความเสี่ ย งทุ ก ครั้ ง ในการประชุ ม จุดด้อยมาเอง ในหัวข้อการนำองค์กร เรากล่าวถึง กรรมการบริ ห ารและการประชุ ม สหสาขาวิ ช าชี พ visionary leadership คือคนที่คิดถึงภาพอนาคต แนะให้โรงพยาบาลมี safety goals9 และระบุเจ้าภาพ 64 วารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน :: ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 :: เมษายน - มิถุนายน 2552
  • 12. คุณภาพได้ ว่าประเด็นคุณภาพและความเสี่ยงสำคัญ ของที่นี่คืออะไร อยู่ตรงไหน และจะรับรู้โดยใคร ได้อย่างไร ยกตัวอย่างบอกว่า IT ดี แต่เอาจำนวน ผูเ้ ข้ารับการอบรมมาเป็นตัวชีวด ดยไม่แสดงตัวชีวดอืน ้ั โ ้ั ่ และตัวชี้วัดที่เป็น ศูนย์ ถือว่าเป็นตัวชี้วัดที่ไม่ sensitive และไม่น่าเชื่อว่าจริง ผู้เยี่ยมสำรวจต้องประเมินให้ตรง ประเด็น โดยใช้เวลาน้อยที่สุด เช่นในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา รพ.ได้นำผลการประเมินความพึงพอใจมาใช้ปรับปรุง ในประเด็นไหนบ้าง มีสิ่งใดที่คนไข้ไม่พึงพอใจในแผนก แล้วมีการปฏิบัติอย่างไรในการแก้ไขปัญหานี้ ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ key word คือ ประสิทธิภาพ รวดเร็ว เพียงพอ ปลอดภัย ตัวอย่าง ประสิทธิภาพของการบริการซักฟอก อาจครอบคลุม เรื่องการใช้น้ำยา อายุการใช้งานของผ้า การบำรุง ผู้บริหารพบผู้ปฏิบัติ หา role model หน่วยงานที่ใช้ รักษาเครื่องมืออุปกรณ์ การใช้พลังงาน และการใช้ patient safety goal จนเป็นวัฒนธรรม น้ำยาฆ่าเชื้อที่มีผลต่อระบบบำบัดน้ำเสีย นอกจากนี้ ผู้ เ ยี่ ย มสำรวจควรที่ จ ะต้ อ งมี คำแนะนำที่ดีคือ อาจนำมาตรฐานมาคุยกัน ความรู้ความเข้าใจในกระบวนการ HA เป็นอย่างดี เล่น นำผู้ป่วยที่กำลังนอนอยู่ในรพ.มาเป็นจุดเน้นของ ตั้งแต่ บันได 3 ขั้น ซึ่งเน้นหัวใจของบันไดขั้นที่ 2 การพิจารณา และฝึกการเป็นนักวิจัยน้อยๆ คือ 3P ได้แก่ purpose process performance รู้จักพื้นที่พัฒนา 4 วง คือ หน่วยบริการ ระบบงาน ตั ว อย่ า งมาตรฐานการประเมิ น ผู้ ป่ ว ย กลุ่มผูปวย งค์กร ละสุดท้าย ้องมีความรู้ความเข้าใจ ้่ อ แ ต ถามว่ า มี ก รณี เ ฉพาะใดบ้ า งที่ ต้ อ งใส่ ใ จเป็ น พิ เ ศษ เรื่องของ 3C - PDSA ซึ่งรางวัลคุณภาพแห่งชาติของ ในหน่วยงานของเรา วิธีการประเมินที่เหมาะสมกับ อเมริกาและไทย ได้ปรับ PDSA มาเป็น Approach- ผู้ป่วยแต่ละราย ปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้เราต้องใช้วิธี Deployment-Learning-Integration หรือ ADLI การประเมินผู้ป่วยด้วยวิธีการที่แตกต่างกันออกไป เช่น สรพ.ใช้ PDSA เป็น Design-Action-Learning- ความเร่งด่วนของปัญหา ระดับการศึกษาของผู้ป่วย Improvement หรือ DALI ออกแบบ-ลงมือทำ-เรียนรู้- เดิ น เข้ า ไปในหอผู้ ป่ ว ยทบทวนหั ว ข้ อ มาตรฐาน ปรับปรุง ซึ่งต้องได้รับการชี้แนะหรือกำกับด้วย 3C คือ ที่สนใจ เลือกผู้ป่วยที่น่าสนใจมาสักรายหนึ่ง Core values & concepts Context อีกตัวอย่างคือเรื่องสิทธิผู้ป่วย10 ดู privacy Criteria ที่ OPD จะนอนโรงพยาบาลได้รับคำอธิบายมากน้อย แค่ไหน จะทำ procedure คำนึงถึงสิทธิผู้ป่วย ที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือผู้เยี่ยมสำรวจอ่าน ขนาดไหน เวลา approach ต้องมองดูความท้าทาย มาตรฐานแล้วต้องรู้ว่าจะไปดูตรงไหน ต้องจับประเด็น แล้วตั้งคำถามว่า เราตั้งเป้าให้เอื้อมขึ้นไปอีกนิด JOURNAL OF KM LERDSIN HOSPITAL :: VOLUME 2 NUMBER 2 :: APRIL - JUNE 2009 65
  • 13. หรือเปล่า เป้านั้นเทียบกับอะไร ค่าเฉลี่ย top ของกลุ่ม สำหรับโรงพยาบาลที่อยู่ในช่วงที่พัฒนาแล้ว หรือระดับนานาชาติ อาจจะหันมาเน้นที่ ทั ก ษะที่ ส ำคั ญ อี ก อย่ า งหนึ่ ง คื อ ฝึ ก มอง Share เช่น การใช้กระบวนการ KM เข้ามา ภาพใหญ่ เมื่อเห็นปัญหา ดูว่ามีปัญหาลักษณะนี้เกิดขึ้น บริหารจัดการ ที่จุดอื่นของรพ.หรือไม่ Trace ตามไปดูของจริง ดูในสถานที่จริง ตามหลัก Genbu Genbutsu ตัวอย่างการบันทึกการเข้าเยี่ยม คัดมาเฉพาะ Trigger เช่น Trigger tool ประเด็นปัญหาที่พบ Research ได้แก่ mini-research Reflection คือการทบทวน การใช้หม้อนึ่ง มีหม้อนึ่ง 2 หม้อ ใช้งาน 1 เครื่อง วันละ 1 รอบ เพราะปริมาณการนึ่งไม่เยอะ Scoring guideline กำหนดระดับคะแนน อีกเครื่องไม่ได้ใช้งานมาประมาณ 2 ปี ลักษณะ ประเมินไว้ 5 ระดับ และให้คะแนนก้ำกึ่งเป็น 0.5 ภายในมีฝุ่นหนา ไม่มีการทดสอบการใช้งาน ในระหว่างระดับได้ ถ้าส่วนใหญ่ผ่านระดับที่ 2 ให้ การรับรองในขั้น 2 ถ้าส่วนใหญ่ผ่านระดับ 3 แนะนำ สุ่ม set พบผ้ามีรู จำนวนผ้าที่ใช้ไม่ตรงตาม ให้การรับรอง HA ผู้เยี่ยมสำรวจใช้ scoring guideline มาตรฐานที่รพ.กำหนด ผืนเดียว ่จะเป็น ผืน) ในการเขียนข้อเสนอแนะต่อโรงพยาบาล และยังมี (ใช้ แทนที 2 ใน set ทำแผลใส่ comply strip ทุก set ที่เปิด คะแนนบวกเพิ่มให้ในระดับบทย่อย สิ่งที่สำคัญคือ แต่ set คลอดที่มีขนาดใหญ่ไม่ใส่ ต้องมีความเข้าใจให้ตรงกัน มีความเห็นร่วมกันว่าควร ต้องทำอะไรเพิ่มเติม แล้วก็ลงมือดำเนินการ ทิ้งเรื่อง เจ้าหน้าที่ไม่เข้าใจการกำหนดตัวชี้วัดให้ตรง คะแนนไว้ ไม่ต้องหาข้อยุติ และเมื่อทำกิจกรรมเพิ่ม กับเป้าหมายของตนเอง รวมถึงการกำหนดจุดเน้นใน เติมแล้วความเห็นเรื่องคะแนนก็มักจะมาตรงกันเอง การพัฒนา ได้ช่วยกันหาตัววัดที่สอดคล้อง และให้ทีม ลองหาจุดเน้นใหม่ ช่วงบ่ายทีมได้นำจุดเน้นใหม่มาส่ง ผู้เยี่ยมสำรวจยังมีภาระหน้าที่ที่ต้องระมัดระวัง ซึ่งตรงกับประเด็นมากยิ่งขึ้น เป็นอย่างยิ่งคือ การเขียนข้อเสนอแนะ และการเขียน รายงานการเยี่ยมสำรวจ นอกจากนี้ผู้เยี่ยมสำรวจยัง อัคคีภัยพบว่า ถังดับเพลิงได้รับการตรวจเมื่อ ต้องเขียนรายงานการทบทวนคุณภาพ ได้แก่ ปีที่แล้ว เจ้าหน้าที่จ่ายกลาง ใช้เครื่องมือดังกล่าว การทบทวนการใช้ทรัพยากร ทบทวนการใช้ข้อมูล ไม่เป็น และยังไม่มีการฝึก วิชาการ ทบทวนเหตุการณ์สำคัญ การทบทวนขณะ ดูแลผู้ป่วย รวมทั้งเชื่อมโยงการทบทวนสู่การวางระบบ บ ริ เ ว ณ ด้ า น ข้ า ง เ ป็ น ห้ อ ง ข น า ดใ ห ญ่ ซึ่งมีระบบที่เกี่ยวข้องกับการทบทวนดังนี้ มีลูกกรงกั้นตลอดแนวผนัง ภายในเก็บใบเสร็จต่างๆ 1. การทบทวนการตรวจรกษาโดยผชำนาญกวา ั ู้ ่ และ ยงไมไดรบการตรวจจากสำนกงานตรวจเงนแผนดน และขยายผลไปสู่ ก ารพั ฒ นาศั ก ยภาพกำลั ง คน ั ่ ้ั ั ิ ่ ิ มีโอกาสหายและเกิดอัคคีภัยได้ง่าย หรือ competency management system 2. การทบทวนความเสี่ยง หรืออุบัติการณ์ ให้ฝึกวิเคราะห์ถึง สถานการณ์ที่มีโอกาสพบ ขยายผลไปสู่ระบบบริหารความเสี่ยง ทั้งในระดับ เป้าหมายที่พึงประสงค์ องค์ประกอบสำคัญเชิงระบบ หน่วยงาน และระดับโรงพยาบาล 66 วารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน :: ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 :: เมษายน - มิถุนายน 2552
  • 14. 3. ทบทวนการใช้ทรัพยากร ขยายผลไปสู่ ประเด็นคุณภาพไม่ชัด ระบบบริหารทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง วัตถุประสงค์ไม่สอดคล้องหรือไม่ครอบคลุม กับการดูแลผู้ป่วย ประเด็นสำคัญที่วิเคราะห์ไว้ 4. ทบทวนการติดเชื้อในโรงพยาบาลขยายผล การวิเคราะห์ความเสี่ยงที่สำคัญ มองเฉพาะ ไปสู่ระบบการป้องกันและควบคุม ในบางแง่มุม ไม่เห็นความเสี่ยงที่กำลังคุกคามอยู่ การวิเคราะห์ clinical tracer ทั้งตามรอย ตั ว ชี้ วั ด ไม่ ส อดคล้ อ งกั บ เป้ า หมายหรื อ กระบวนการพัฒนา กระบวนการดูแลผู้ป่วย ระบบอื่นๆ วัตถุประสงค์ ที่เกี่ยวข้อง และติดตามผลลัพธ์ จนนำไปสู่คุณภาพ วัดผลแล้วไม่ได้เอาไปวิเคราะห์ศึกษาให้เห็น ในการดูแลผู้ป่วย แนวทางว่าจะปรับปรุงอย่างไรต่อไป ยังไม่มีการใช้ Core Value & Concepts Service Profiles หรือภาพรวมของการให้ ที่เหมาะสม บริการของหน่วยงาน และทีมงานต่างๆ สรุปออกมา ในหน่ ว ยบริ ก ารผู้ ป่ ว ยไม่ ไ ด้ น ำเอาโรคหรื อ เป็นลายแทงคุณภาพ การวิเคราะห์ profile ของ หั ต ถการที่ มี ค วามสำคั ญ สู ง มาทบทวนเป้ า หมาย หน่วยงาน/ทีมงาน/บริการ/ทีมนำ เพื่อวางแผน และดูว่าบรรลุเป้าหมายหรือไม่ การเยี่ยมหน่วยงาน ต้องอ่านอย่างดี จัดทำรายงาน การเยี่ยมสำรวจล่วงหน้า ตรวจสอบข้อมูลที่หายไป การประเมิ น คุ ณ ภาพจากเวชระเบี ย น สรุปสิ่งที่น่าชื่นชม และโอกาสพัฒนาที่สำคัญอย่างละ เป็นเรื่องที่ sensitive คนถูกเยี่ยม มักจะใช้ defense ไม่เกิน 3 ประเด็น ซึ่ง รพ.ต่างๆ มักมีปัญหาคือ mode เราดีแล้ว เราภูมิใจ ได้รางวัลมาเยอะ ถ้า คำถามคุกคาม feeling ของเขาเมื่อไหร่ เขาจะจัดการ กับผู้เยี่ยมสำรวจทันที ผู้เยี่ยมสำรวจไม่ถามว่า หรือไม่ อย่างไร ให้ถามว่า อย่างไร เช่นมีการประเมินร่วมกัน JOURNAL OF KM LERDSIN HOSPITAL :: VOLUME 2 NUMBER 2 :: APRIL - JUNE 2009 67
  • 15. ระหว่างวิชาชีพอย่างไร เวชระเบียนที่นำมาประเมิน 3. อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล, บรรณาธิการ. เลื่อนไหล อย่าให้นานเกิน เลียบเลาะเจาะลึก : รวมบทความ HA ที่ตีพิมพ์ ในวารสาร Medical Times และQuality Care. Mini-Research เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ช่วยในเรื่อง พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : สถาบันพัฒนา การออกแบบการประเมิ น ผลการนำมาตรฐานไปสู่ และรับรองคุณภาพโรงพยาบาล; 2551. การปฏิบัติอย่างเป็นระบบด้วยแนวคิดการวิจัยง่ายๆ 4. อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล, บรรณาธิการ. สรรสาระ องค์กรที่มีชีวิต = Living organization. นนทบุรี SPA (Standards-Practice-Assessment) เน้น : สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล; 2551. ความสำคั ญ ของการนำมาตรฐานมาใช้ ใ นชี วิ ต 5. อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล, บรรณาธิการ. Simplicity in ประจำวัน a complex system : แนวคิดและประสบการณ์ สำหรับโรงพยาบาล. นนทบุรี : สถาบันพัฒนา Enquiry มีความหมายไปในเชิงของการค้นหา และรับรองคุณภาพโรงพยาบาล; 2545. ความจริง ารเจาะลึก ารทำความเข้าใจกับสถานการณ์ 6. ชำนิ จิตตรีประเสริฐ. พัฒนาคุณภาพด้วยความคิด ก ก อาจจะมีความใกล้เคียงไปทางการวิจัย ซึ่งใกล้เคียงกับ สร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : internal survey หรืออาจทดแทนกันได้ ให้รพ. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล; 2543. ตอบคำถามที่อยู่ใน self enquiry guide 7. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล. มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ อีกเรื่องหนึ่งคือการใช้ HA Scorebook ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิรราชสมบัตครบ 60 ปี ิ ิ ซึ่งถ้ารพ.ทำได้น่าจะเป็นเรื่องที่ดี แต่ถ้ามีความรู้สึกที่ (ภาษาไทย). นนทบุร : สถาบัน; 2551. ี คัดค้าน หรือไม่สบายใจที่จะทำ ก็อาจเพียงนำมาใช้ใน 8. อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล ระบบบริหารความเสี่ยงใน การมองภาพกว้างสำหรับการวางแผนการดำเนินงาน โรงพยาบาล. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนา กิจกรรมพัฒนาคุณภาพให้ครอบคลุม และรับรองคุณภาพโรงพยาบาล; 2543. 9. อนุวฒน์ ศุภชุตกล, บรรณาธิการ. Patient safety ั ิุ เมื่อเสร็จสิ้นการอบรมหลักสูตรการเป็นผู้เยี่ยม goals : simple. นนทบุรี : สถาบันพัฒนา สำรวจภายนอก ั้นที่ ็จะมีการอบรมหลักสูตร A 52 และรับรองคุณภาพโรงพยาบาล; 2551. ข 1ก H 4 ซึ่งจะเพิ่มเติมเนื้อหา และฝึกการประเมินในสถานที่จริง 10. สมศักดิ์ โล่ห์เลขา, แสวง บุญเฉลิมวิภาส, ต่อไป เอนก ยมจินดา. สิทธิผปวยและการประเมินตนเอง ู้ ่ เพื่อป้องกันการถูกฟ้องร้อง. นนทบุรี : เอกสารอ้างอิง สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล; 2545. 1. อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล. Hospital accreditation : บทเรียนจากแคนาดา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; 2543. 2. อนุวฒน์ ศุภชุตกล. โรงพยาบาลที (ไม่)น่าไว้วางใจ. ั ิุ ่ พิมพ์ครังที 2. นนทบุรี : สถาบันพัฒนาและ ้ ่ รับรองคุณภาพโรงพยาบาล; 2542. 68 วารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน :: ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 :: เมษายน - มิถุนายน 2552
  • 16. ประภา จีนนิกุล บรรณารักษ์ชำนาญการ กลุ่มงานสนับสนุนวิชาการ กลุ่มภารกิจวิชาการ โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์ วันที่ 6 8 ิถุนายน 552 รงพยาบาลเลิดสิน 1 -1 ม 2 โ การจดการความร โรงพยาบาลเลดสน มความประสงค์ ั ู้ ิ ิ ี กรมการแพทย์ จัดประชุมวิชาการประจำปี ในปีนี้ จะให้ถอดเทปการบรรยายในเรื่องนี้ เพื่อลงตีพิมพ์ใน จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 12 ณ ห้องประชุม ชั้น 25 อาคาร วารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน ฉบับที่ กาญจนาภิเษก ภายใต้หัวข้อเรื่องว่า “6 ทศวรรษ ท่านกำลังอ่านอยู่นี้ โรงพยาบาลเลิดสิน” การประชุมฯ ครั้งนี้ ถือว่าเป็น เนื้อหาการบรรยาย นเรื่องเกี่ยวกับประวัติ จะเป็ การประชมทแตกตางจากทกปทผานมาเพราะปนเ้ี ปนปท่ี ุ ่ี ่ ุ ี ่ี ่ ี ็ ี ของโรงพยาบาลเลดสน ความทรงจำในอดตของผบรหาร ิ ิ ี ู้ ิ โรงพยาบาลเลิดสิน ครบรอบ 60 ปี (โรงพยาบาลเลิดสิน โรงพยาบาลเลิดสิน ในปีพุทธศักราชต่างๆ ขณะที่ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ.2492) ท่านยังปฏิบัติงานอยู่ รวมทั้งเรื่องเกี่ยวกับ ปัจจุบัน ผู้ถอดเทป เป็นกรรมการและเลขานุการ ฝ่าย และอนาคตของโรงพยาบาลเลดสน ซงเปนเรองทนาสนใจ ิ ิ ่ึ ็ ่ื ่ี ่ จดทำหนงสอทใี่ ชประกอบในการประชมฯ ตลอดระยะเวลา ั ั ื ้ ุ และเป็ น เรื่ อ งที่ ส ำคั ญ มากสำหรั บ เราชาวเลิ ด สิ น ของการประชุมฯ ทั้ง 3 วัน ผู้ถอดเทปได้เข้าร่วม วิทยากรที่บรรยายมีทั้งหมด 5 ท่าน ได้แก่ ฟังการบรรยายด้วยทุกเรื่อง นายแพทยประทป โภคะกล นายแพทยพงษศกด วฒนา ์ ี ุ ์ ์ ั ์ิ ั เริ่มพิธีเปิดเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2552 นายแพทย์เอกชัย จุละจาริตต์ นายแพทย์ธวัช ประสาทฤทธา เวลา 09.00 น. นายแพทย์ธวัช ประสาทฤทธา อาจารย์ละไม แก้วอำไพ รองผู้อำนวยการกลุ่มภารกิจวิชาการ และที่ปรึกษา ดำเนินรายการโดย นายแพทย์วิชัย วิจิตรพรกุล คณะกรรมการดำเนินการจัดประชุมฯ ได้กล่าวถึง ภาพประกอบในเนื้อหาบางส่วน และเทปที่นำมาถอด วัตถุประสงค์ของการจัดการประชุมฯ ในครังนี พร้อมกันนัน ้ ้ ้ ในครั้งนี้ ได้รับความเอื้อเฟื้อจากทีมงานเวชนิทัศน์ ที่ให้ ได้เรียนเชิญ นายแพทย์อนันต์ เสรฐภักดี ผูอำนวยการ ้ งานห้องสมุดทำสำเนาเทป โรงพยาบาลเลดสน กลาวเปดการประชมฯ หลงจากนน ิ ิ ่ ิ ุ ั ้ั รายละเอียดของเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่อง ตามดวย นายแพทยสทศน ดวงดเี ดน ประธานคณะกรรมการ ้ ์ุั ์ ่ 1. การประชุมฯ านสามารถอ่านได้ใน งสือ ท่ หนั ดำเนินการจัดประชุมฯ อธิบายรายละเอียดของ ประชุมวิชาการ ครั้งที่ 12 ประจำปีงบประมาณ 2552 เนอหาการบรรยายในแตละวนพอสงเขป และไดเ้ ชญชวน ้ื ่ ั ั ิ เรื่อง 6 ทศวรรษ โรงพยาบาลเลิดสิน มีที่ห้องสมุด ให้ ทุ ก ท่ า นอยู่ เ ข้ า ร่ ว มฟั ง การบรรยายทุ ก เรื่ อ งด้ ว ย โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์ ชั้น 8 อาคาร เรองแรกทบรรยาย คอ เรอง “60 ป โรงพยาบาล ่ื ่ี ื ่ื ี กาญจนาภิเษก หรือท่านสามารถดาวน์โหลด E-Book เลิดสิน : อดีต ปัจจุบัน อนาคต” ได้ที่เว็บไซต์ http://www.lerdsin.go.th/upload/ นายแพทย์สทศน์ ดวงดีเด่น เลขานุการคณะทำงาน ุั lerdsincongresses12.pdf JOURNAL OF KM LERDSIN HOSPITAL :: VOLUME 2 NUMBER 2 :: APRIL - JUNE 2009 69
  • 17. 2. ประวัติโรงพยาบาลเลิดสิน ท่านสามารถ ตอนนั้นท่านเรียนหลักสูตรศัลยกรรม 3 ปี อ่านเพิ่มเติมได้ในหนังสือ หรือวารสาร ของ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรคือ โรงพยาบาลเลิดสิน ซึ่งมีที่ห้องสมุดโรงพยาบาลเลิดสิน 1. ผูอำนวยการโรงพยาบาลเลิดสินสมัยนันคือ ้ ้ กรมการแพทย์ ตามที่อยู่ข้างต้น อาจารย์นายแพทย์คง สุวรรณรัต 2. อาจารย์นายแพทย์เสริม วงศ์อริยะ ผบรรยายทานแรกคอ อาจารยนายแพทยเ์ อกชย ู้ ่ ื ์ ั 3. อาจารย์นายแพทย์เจตนา ผลากรกุล จละจารตต ทานเปนอดตหวหนากลมงานเวชศาสตรฟนฟู ุ ิ ์ ่ ็ ี ั ้ ุ่ ์ ้ื 4. อาจารย์นายแพทย์อำนาจ สุนันท์ โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์ อดีตผู้อำนวยการ 5. อาจารย์นายแพทย์ประดิษฐ ศักดิ์ศรี ศนยสรนธรเพอการฟนฟสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ ู ์ ิ ิ ่ื ้ื ู ์ ่ 6. อาจารย์นายแพทย์โสภณ ตันฑนันท์ บรรยายในหัวข้อเรื่อง “อดีตในโรงพยาบาลเลิดสิน ซงหลกสตรนจะคดเลอกแพทยจากการสอบบรรจุ ่ึ ั ู ้ี ั ื ์ ในช่วงของหมอเอกเป็นแพทย์ประจำบ้าน และแพทย์ เข้ารับราชการกรมการแพทย์ (ลำดับที่ 1 - 7 จึงจะ เลิดสิน” ได้รับการคัดเลือก) ท่านกับนายแพทย์เฉลิม เย็นจิต สอบได้ที่ 1 ทั้งสองคน จึงได้มาเรียนหลักสูตรนี้ หลักสูตรนี้เข้ามา 3 รุ่น พอฝึกอบรมได้ 1 ปี ก็ลาออก กันหมด คงเหลือ 3 คน และมีเพียง 3 คนเท่านั้น ทจบหลกสตรน หลงจากนนไมมใครจบหลกสตรนอกเลย ่ี ั ู ้ี ั ้ั ่ ี ั ู ้ี ี เรา 3 คน (เสียชีวิต 1 คน เหลือ 2 คน) จึงเป็น ลู ก เลิ ด สิ น ชุ ด แรกที่ จ บหลั ก สู ต รแพทย์ เ ฉพาะทาง พื้นฐานของเนื้อหาการบรรยายและรูปภาพ ส่วนใหญ่ที่ท่านนำเสนอในครั้งนี้ท่านนำมาจากหนังสือ ภาพที่ 1 อาจารย์นายแพทย์เอกชัย จุละจาริตต์ “พระพุทธเจ้าหลวงกับโรงพยาบาล ๕ แผ่นดิน ท่านบรรยายว่า ตอนที่เข้ามาทำงานที่ บนผืนดินพระราชทาน ย่านสีลม บางรัก” โรงพยาบาลเลิดสิน ขณะนันตึกอำนวยการกำลังก่อสร้าง ้ พอก่อสร้างเสร็จก็มีฉายาว่า ตึกช้างเดิน เพราะห้องโถง กว้างมาก ตอนนี้ขอเรียกว่า ตึกแมวเดิน ภาพที่ 3 อาคารด้านหลังโรงพยาบาลเลิดสินที่ชั้นล่าง ทางซ้ายมือเป็นห้องฉุกเฉิน ตอนที่เป็นแพทย์ฝึกหัดต้อง มาฝกงานทหองนดวยและหลงคาทยนออกมาหนอยหนง ึ ่ี ้ ้ี ้ ั ่ี ่ื ่ ่ึ ภาพที่ 2 อาคารอำนวยการโรงพยาบาลเลิดสินที่กำลัง ทางขวามือ คือหลังคาโรงครัว ซึ่งเป็นที่นั่งทานอาหาร ก่อสร้างในช่วงที่มาเป็นแพทย์ฝึกหัด กลางวันของแพทย์และเจ้าหน้าที่ 70 วารสารการจัดการความรู้ โรงพยาบาลเลิดสิน :: ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 :: เมษายน - มิถุนายน 2552
  • 18. ภาพที่ 4 บ้านพักแพทย์ 2 หลัง ภาพท่ี 6 อาคารโรงพยาบาลบางรก ใหสงเกตวา หลงคา ั ้ั ่ ั ตั้งฉากจากตัวตึก แต่ตึกเลิดสินเป็นมุมเอียง (ภาพนี้ ทานตองการสอวา อาคารเลดสนไมใชอาคารโรงพยาบาล ่ ้ ่ื ่ ิ ิ ่ ่ บางรัก เนื่องจากในหนังสือประวัติโรงพยาบาลเลิดสิน พิมพ์คล้ายกับว่าอาคารเลิดสินคือโรงพยาบาลบางรัก และจะเห็นจากภาพต่อไปว่า อาคารเลิดสินมีหลังคาที่ เป็นมุมเอียงโดยสังเกตที่ฝ้าเพดาน) ภาพที่ 5 เป็นอาคารผู้ป่วยใน (อาคารเลิดสิน) ในช่วง ที่ท่านเป็นแพทย์ประจำบ้านนั้น ชั้นล่างเป็นหอผู้ป่วย กระดูกเรื้อรัง ท่านเคยพาฝรั่งมาดูงานที่นี่แล้วฝรั่ง เป็นลม สงสัยว่า จะทนกลิ่นแผลเรื้อรังไม่ไหว ชั้นบนเป็นหอพักผู้ป่วยอัมพาตจากหลังหัก คอหัก และบางที่ก็มีผู้ป่วยศัลยกรรมมาอยู่ด้วย อาจารย์นายแพทย์คง สุวรรณรัต ชอบมาทดลองทำ ภาพที่ 7 ระเบียงของอาคารเลิดสินชั้นบน ซึ่งในช่วงที่ ที่นอนฟองน้ำให้ผู้ป่วยอัมพาตที่นี่ และท่านมาช่วยฝึก การทำงานให้กระเพาะปัสสาวะผู้ป่วยอัมพาตที่ตึก ท่านเป็นแพทย์ประจำบ้านใช้เป็นหอผู้ป่วยกระดูกชาย ในรูปเดียวกัน..ทางขวามือชันบนเป็นหอผูปวย ้ ้่ ผลงานทีตองเสียงชีวตของท่าน คือการออกหน่วย ่้ ่ ิ พิเศษ ชั้นล่างเป็นหอผู้ป่วยกระดูกชาย บางทีก็มี แพทย์เคลื่อนที่กับ Special Force from Okinawa ผู้ป่วยศัลยกรรมมาอยู่ด้วย ที่จังหวัดนครพนม กับนายแพทย์เฉลิม เย็นจิต ความสุ ขในชี วิ ต แพทย์ ป ระจำบ้ า นเลิ ด สิ น ของท่ า น ผลงานของท่ า นระหว่ า งเป็ น แพทย์ ป ระจำบ้ า น 1. ได้อยูใกล้พยาบาลสาวห้องผ่าตัด เพราะถูก ่ ที่โรงพยาบาลเลิดสิน เอาใจ ยกเว้นหัวหน้าห้องผ่าตัด คือคุณเรขา ผลงานแรก คือท่านสร้างเครื่องดูดกระเพาะ 2. ตอนจัด party ระหว่าง อาจารย์กบลูกศิษย์ ั เอกชั suction างระบบ และแพทย์หนุ่มกับพยาบาลสาว โรงพยาบาลราชวิถีตั้งชื่อว่า ย สร้ central suction ของกระเพาะชั่วคราว ที่โรงพยาบาล 3. พยาบาลแก่ๆ รัก และเอื้ออารีพวกเรา ราชวิถีและโรงพยาบาลเลิดสิน กอดได้ทุกคน JOURNAL OF KM LERDSIN HOSPITAL :: VOLUME 2 NUMBER 2 :: APRIL - JUNE 2009 71