SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
“เราได้หยุดอย่างเป็ นทางการที่ทางแยกกุฉินารายณ์ และสหัสขันธ์ ณ ที่นน ข้าพเจ้าได้สอบถามราษฎร
                                                                            ั่
   เกี่ยวกับผลผลิตข้าว ข้าพเจ้าคิดว่าความแห้งแล้งต้องทาลายผลผลิตของพวกเขา แต่ขาพเจ้าต้องประหลาดใจ
                                                                                  ้
ราษฎรเหล่านั้นกลับรายงานว่า พวกเขาเดือนร้อนเพราะน้ าท่วม สาหรับข้าพเจ้าเป็ นการแปลก เพราะพื้นที่แถบ
                                                   ่ ั่
     นั้นมองดูคล้ายทะเลทราย มีผงดินฟุ้ งกระจายอยูทวไป แท้จริ งแล้วพวกเขามีท้ งน้ าท่วมและฝนแล้ง นันคือ
                                                                               ั                  ่
                                                    ทาไมประชาชนของภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือจึงยากจน”
ปี พ.ศ. 2551 – 2552 สภาพอากาศโดยทัวไปทาให้ประชาชนคนไทยได้ตื่นเต้นจากที่เคยเป็ นอยู่ ในปี ที่
                                         ่
ผ่าน ๆ มา ฤดูหนาวในปี นี้ พฤศจิกายน – มกราคม ความหนาวเย็นได้มาเยือนยาวมากกว่าปกติ หลายท่านต้อง
รี บจัดหาเครื่ องทาความอบอุ่นเพิ่มเติม ความหนาวเย็นได้ล่วงยาวมาถึง กุมภาพันธ์ ก็เป็ นสิ่ งซึ่งทุกคนชื่นชอบ
แต่บนความชื่นชอบนั้นมีสิ่งที่ตามมา คือ ฤดูแล้ง ที่จะมาเยือนในเร็ ววันนี้ ทาให้นึกถึงประชาชนชาวไทยซึ่ง
เป็ นชนกลุ่มใหญ่ของประเทศที่มีอาชีพทางการเกษตร และอาศัยน้ าเป็ นปัจจัยการผลิตที่สาคัญ ปัจจุบนมีการ ั
ผลิตกันตลอดทั้งปี ฤดูแล้งนี้จะมีน้ าเพียงพอหรื อไม่ ยิงเมื่อได้เห็นภาพข่าวในหนังสื อพิมพ์ประจาวันที่ 5
                                                      ่
                                           ่ ั
กุมภาพันธ์ 2532 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว เสด็จออก ณ พระตาหนักเปี่ ยมสุ ข พระราชวังไกลกังวล โดยมี
นายสุ เมธ ตันติเวชกุล ประธานกรรมการบริ หารสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ า และการเกษตร
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และนายรอยล จิตรดอน กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการบริ หาร
สถาบันฯ กราบบังคมทูลถวายงานสรุ ปสถานการณ์ประเทศไทยปี 2551 และรับพระราชทานพระราชดาริ เพื่อ
เป็ นแนวทางในการดาเนินงานของสถาบันฯ ทาให้ผเู้ ขียนนึกถึงพระมหากรุ ณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระ
       ่ ั
เจ้าอยูหว ที่ได้ทรงมีพระราชดาริ โครงการฝนหลวง และพระราชทานตาราฝนหลวง แด่พสกนิกรของพระองค์
ได้มีน้ าใช้อุปโภคบริ โภค และประกอบอาชีพเกษตรกรรมในการดารงวิถีชีวิตได้สมบูรณ์
่ ั
ในปี พ.ศ. 2498 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว เสด็จพระราชดาเนินเพื่อทรงเยียม พสกนิ กรในภาค
                                                                           ่
ตะวันออกเฉี ยงเหนือ ย่านบริ เวณเทือกเขาภูพานทรงสังเกตว่า มีปริ มาณเมฆมากปกคลุมเหนือพื้นที่ระหว่างเส้นทางบิน
แต่ไมสามารถรวมตัวจนเกิดเป็ นฝนตกได้ ทั้งที่เป็ นช่วงฤดูฝน และทรงพบเห็นว่าหลายแห่ งประสบปั ญหา พื้นดินแห้งแล้ง
ขาดแคลนน้ าเพื่ออุปโภค บริ โภค และการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิงในฤดูเพาะปลูก เกษตรกรมักประสบความเดือดร้อน
                                                                  ่
จากภาวะฝนแล้ง หรื อฝนทิงช่วง ในระยะวิกฤติของพืชผล ทาให้ผลผลิตต่า หรื ออาจไม่มีผลผลิตเลย และอาจทาให้
                               ้
ผลผลิตที่มีอยูเ่ สี ยหายได้ จึงเป็ นความเดือดร้อนอย่างสาหัส และก่อให้เกิดความสูญเสี ย ทางเศรษฐกิจ แก่เกษตรกรอย่าง
ใหญ่หลวง นอกจากนี้ความต้องการใช้น้ ามีมากขึ้น เพราะการขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรมเกษตรกรรม และการเพิมขึ้น          ่
ของประชากร ซึ่ งมีผลให้ปริ มาณน้ าต้นทุนจากทรัพยากรน้ าที่มีอยู่ ไม่เพียงพอ ซึ่งเห็นได้ชดจากปริ มาณ น้ าในเขื่อนภูมิ
                                                                                        ั
พลที่ลดลงอย่างน่าตกใจ ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกล และทรงความอัจฉริ ยะของพระองค์ดวยคุณลักษณะของ้
นักวิทยาศาสตร์ ทรงสังเกต วิเคราะห์ขอมูลในขั้นต้น และได้มีพระราชดาริ ครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2498
                                         ้
แก่หม่อมราชวงศ์ เทพฤทธิ์ เทวกุล ว่าจะทรงค้นหา วิธีการที่จะทาให้เกิดฝนตกนอกเหนื อจากที่จะได้รับจากธรรมชาติโดย
                                                       ่
การนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ กับทรัพยากร ที่มีอยูให้เกิดมีศกยภาพของการเป็ นฝนให้ได้ "ฝนหลวง" หรื อ"
                                                                ั
ฝนเทียม"จึงกาเนิดขึ้นโดยประยุกต์ผลการวิจยค้นคว้าทางวิชาการด้านฝนเทียมของประเทศต่างๆ เช่น สหรัฐอเมริ กา
                                          ั
                                                                                 ่
ออสเตรเลียและอิสราเอล ภายใต้การพระราชทานข้อแนะนาจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวอย่าง ใกล้ชิดพร้อมกันนี้ได้
มีการจัดตั้ง"สานักงานปฏิบติการฝนหลวง" ขึ้น เพื่อรับผิดชอบการดาเนินงานฝนหลวงในระยะต่อ มาจนถึงปัจจุบน พระ
                             ั                                                                       ั
บรมราโชบายในการพัฒนาโครงการพระราชดาริ "ฝนหลวง“
 ทรงเน้นความจาเป็ นในด้านพัฒนาการ และปรับปรุ งวิธีการทาฝนในแนวทางของการออกแบบการปฏิบติการ      ั
การ ติดตามและประเมินผลที่เป็ นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น ตลอดจนความเป็ นไปได้ในการใช้ประโยชน์ ของ
เครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อศึกษารู ปแบบเมฆและการปฏิบติการทาฝนให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ทรงย้าถึง
                                                   ั
บทบาทของการดัดแปรสภาพอากาศ หรื อการทาฝนว่าเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญอันหนึ่งในกระบวน การจัดการ
ทรัพยากรแหล่งน้ า ทรงเน้นความร่ วมมือประสานงานของหน่วยงาน และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องที่จะเป็ นกุญแจสาคัญใน
                                                                           ่ ั
อันที่จะทา ให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการได้ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูหว ทรงวิเคราะห์การทาฝนหลวงว่า
มี 3 ขั้นตอน
แนวพระราชดาริ ในการแก้ปัญหาความผันแปรไม่แน่นอนของฝนธรรมชาติในเวลานั้นที่จะจัดการ
ทรัพยากรน้ าใน 2 วิธี คือ
1. การสร้างเขื่อน (Check – dam) ชะลอการไหลบ่าของน้ าไม่ให้ท่วม และเก็บกักไว้ใช้ในฤดูแล้ง
2. หาวิธีทาฝนเทียม (Rainmaking) บังคับเมฆให้ตกเป็ นฝนในพื้นที่ตองการนับจากนั้นเป็ นต้นมา พระองค์ทรง
                                                                    ้
ศึกษาค้นคว้าและวิจยทางเอกสารทั้งด้านวิชาการ อุตุนิยมวิทยาและการดัดแปรสภาพอากาศ ทรงรอบรู้และ
                       ั
เชี่ยวชาญ จากเอกสารที่เป็ นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ จนทรงมันพระทัยจึงพระราชทานแนวคิดแด่
                                                                      ่
ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ผูเ้ ชี่ยวชาญในการวิจยประดิษฐ์ทางด้าน
                                            ั
วิศวกรรมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ขณะนั้น และพร้อมกันนั้นพระองค์ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าโปรด
กระหม่อม ให้หาลู่ทางที่จะทาให้เกิดการทดลองปฏิบติการในท้องฟ้ าให้เป็ นไปได้ ดังพระราชดารัสว่า
                                                      ั
“.........แต่มาเงยดูทองฟ้ า มีเมฆ ทาไมมีเมฆอย่างนี้ ทาไมจะดึงเมฆนี้ลงมาให้ได้ ก็เคยได้ยนเรื่ องการ
                     ้                                                                 ิ
ทาฝน ก็ปรารภกับคุณเทพฤทธิ์ ฝนทาได้ มีหนังสื อ เคยอ่านหนังสื อ ทาได้..........”
ต่อมาไม่นาน จึงเกิดเป็ นโครงการค้นคว้าทดลองปฏิบติการฝนเทียม หรื อฝนหลวงในสังกัด สานักงาน
                                                        ั
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และเมื่อปี 2512 ด้วยความสาเร็ จในโครงการอันเต็มเปี่ ยมด้วยน้ าพระราช
หฤทัยที่ตองการให้ราษฎรพ้นจากความแห้งแล้ง จึงก่อเกิดตราพระราชกฤษฎีกาก่อตั้ง สานักปฏิบติการฝน
            ้                                                                                   ั
หลวงในปี พ.ศ.2518 สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อให้ประชาชนมีน้ ากินน้ าใช้เพื่อยังชีพ และใช้ใน
การเกษตร
การทาฝนหลวงเป็ นกรรมวิธีเหนี่ยวนาน้ าจากท้องฟ้ า โดยปฏิบติการจะต้องให้เครื่ องบินที่มีอตรา
                                                         ั                             ั
บรรทุกมาก ๆ บรรจุสารเคมี ขึ้นไปโปรยปรายบนท้องฟ้ า โดยวิธีการคือ ต้องดูจากความชื้นของจานวนเมฆ
และสภาพของทิศทางลมประกอบกัน
ปัจจัยสาคัญประการแรกนั้นที่ทาให้เกิดฝน คือ ความร้อนชื้นปะทะความเย็น และมีแกนกลันตัวที่มี
                                                                                     ่
ประสิ ทธิภาพในปริ มาณที่เหมาะสม กล่าวคือ เมื่อมวลอากาศร้อนชื้นระดับผิวพื้นขึ้นสู่อากาศทางเบื้องบนแล้ว
อุณหภูมิของมวลอากาศที่บนท้องฟ้ าจะลดต่าลงจนถึงความสูงที่ระดับหนึ่ง หากแม้นอุณหภูมิท่ลดต่าลงนั้น
                                                                                         ี
มากพอ จะเกิดการทาให้ไอน้ าในมวลอากาศอิ่มตัว เมื่อกระบวนการกลันตัวของไอน้ าในมวลอากาศขึ้นบน
                                                                ่
แกนกลันตัว ก่อกาเนิดเกิดเป็ นฝนตกลงมา ฉะนั้นสารเคมีที่ใช้จึงประกอบด้วย “สูตรร้อน” เพื่อใช้กระตุนเร่ ง
        ่                                                                                       ้
เร้ากลไกหมุนเวียนของบรรยากาศ “สูตรเย็น” ใช้เพื่อกระตุนกลไกการรวมตัวของละอองเมฆให้โตขึ้นเป็ นเม็ด
                                                       ้
ฝน และสูตรที่ใช้เป็ นแกนดูดซับความชื้น เพื่อใช้กระตุนกลไกระบบการกลันตัวให้มีประสิ ทธิภาพสูงขึ้น
                                                    ้               ่
                          ่ ั
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงกาหนดขั้นตอนกรรมวิธีการทาฝนหลวงขึ้น เพื่อให้เกิดความเข้าใจ
ได้อย่างง่าย ๆ ตามลาดับขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้
ขั้นตอนที่หนึ่ง : ก่อกวน คือ การที่เมฆธรรมชาติเริ่ มก่อตัวทางแนวตั้ง การปฏิบติการฝนหลวงใน
                                                                               ั
ขั้นตอนนี้จะมุ่งใช้สารเคมีกระตุน ปรากฏให้มวลอากาศเกิดการลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน เพื่อให้เกิดกระบวนการ
                                 ้
ชักไอน้ า หรื อการชักนาความชื้นให้เข้าสู่ระบบการเกิดเมฆ ในแต่ละวัน โดยการใช้สารเคมีที่สามารถดูดซับไอ
น้ าจากมวลอากาศได้ถึงแม้ว่าจะมีเปอร์เซ็นต์ความชื้นสัมพัทธ์ที่ต่า (มีค่า Critical relative humidity ต่า) ทั้งนี้ก็
เพื่อกระตุนให้กลไกกระบวนการกลันตัวไอน้ าในมวลอากาศ (คือ เป็ นการสร้าง Surrounding เพื่อให้เหมาะสม
          ้                          ่
กับการเจริ ญเติบโตของเมฆ) ทางด้านเหนือลมของพื้นที่เป้ าหมายที่ตองการให้ฝนโปรยปราย เมื่อเมฆเริ่ มเกิด
                                                                    ้
การก่อตัวเริ่ มขึ้น และการเจริ ญเติบโตเป็ นไปในทางตั้ง แล้วจึงใช้สารเคมีที่ให้ปฏิกิริยาความร้อนโปรยเป็ น
วงกลม หรื อเป็ นแนวถัดมาทางใต้ลมเป็ นระยะทางสั้น ๆ เข้าสู่กอนเมฆ เพื่อกระตุนให้เกิดกลุ่มแกนร่ วม (main
                                                               ้                  ้
cloud core) ในบริ เวณปฏิบติสาหรับใช้เป็ นศูนย์กลางที่จะสร้างกลุ่มเมฆฝนในขั้นตอนต่อไป
                            ั
ขั้นตอนที่สอง : เลี้ยงให้อวน เป็ นขั้นตอนที่เมฆกาลังก่อตัวเจริ ญเติบโตเป็ นระยะที่สาคัญมากในการ
                          ้
ปฏิบติการฝนหลวง เพราะขั้นตอนนี้เป็ นการไปเพิ่มพลังให้แก่ updraft ให้ยาวนานออกไป ต้องใช้เทคโนโลยี
     ั
และประสบการณ์ หรื อศิลปะแห่ งการทาฝนควบคู่ไปพร้อม ๆ กัน เพื่อกาหนดการตัดสิ นใจโปรยสารเคมี ฝน
หลวงชนิ ดใด ณ ที่ใด ของกลุ่มก้อนเมฆ และต้องโปรยในอัตราใดจึงเหมาะสม เพราะกระบวนการนี้ตองให้      ้
ละอองเมฆเกิดสมดุลกับความแรงของ updraft มิฉะนั้นจะทาให้เมฆสลายได้
ขั้นตอนที่สาม : โจมตี เป็ นขั้นตอนสุดท้ายของกรรมวิธีปฏิบติการฝนหลวง เมฆหรื อกลุ่มเมฆฝนในขั้นนี้ มีความ
                                                             ั
หนาแน่นมากพอที่จะสามารถตกเป็ นฝนได้ ภายในกลุ่มเมฆจะต้องมีเม็ดน้ าขนาดใหญ่มากมาย
หากเครื่ องบินบินเข้าไปในกลุ่มเมฆฝนนี้ เครื่ องบินจะมีเม็ดน้ าเกาะตามปี ก และกระจังหน้า ขั้นตอนนี้เป็ น
ขั้นตอนสาคัญ และฝี มืออาศัยประสบการณ์มาก เพราะจะต้องปฏิบติการเพื่อลดความรุ นแรงของ updraft หรื อ
                                                                  ั
ทาให้อายุของ updraft หมดไป การปฏิบติการในขั้นตอนนี้ผปฏิบติตองพิจารณาจุดมุ่งหมายของการทาฝน
                                       ั                   ู้ ั ้
หลวง 2 ประเด็น คือ การเพิ่มปริ มาณฝนตก และให้ฝนเกิดการตกกระจายไป
เมื่อประสบผลสาเร็ จในการทดลองศึกษาวิจยและพัฒนากระบวนการและกรรมวิธีฝนหลวง จนเป็ นที่ยอมรับกันทัวไปแล้ว ความ
                                            ั                                                               ่
ต้องการฝนหลวง เพื่อช่วยพื้นที่เกษตรกรรม และการขาดแคลนน้ าเพื่อการอุปโภคและบริ โภคได้รับการร้องเรี ยนขอความช่วยเหลือเพิ่ม
มากขึ้น อย่างช่วงระหว่าง พ.ศ.2520 – 2534 มีการร้องเรี ยนขอฝนหลวงแล้วถึงปี ละ 44 จังหวัด ซึ่ งทรงพระเมตตาอนุเคราะห์ช่วยเหลือ
เกษตรกรไทย ในการ
บรรเทาการสู ญเสี ยทางเศรษฐกิจให้ประสบความเสี ยหายน้อยที่สุด นอกจากนี้ประโยชน์สาคัญที่ควบคู่ไปกับการปฏิบติการฝนหลวง
                                                                                                               ั
เพื่อเกษตรกรรมและการอุปโภคบริ โภคก็คือเป็ นการช่วยเพิมปริ มาณน้ าต้นทุนให้แก่อ่างและเขื่อนเก็บกักน้ า เพื่อชลประทานและผลิต
                                                            ่
กระแสไฟฟ้ า แหล่งน้ าและต้นน้ าลาธารธรรมชาติ อีกทั้งยังเป็ นการช่วยทานุบารุ งป่ าไม้ โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง ความชุ่มชื้นที่ได้รับ
เพิ่มขึ้นจากฝนหลวงจะช่วยลดการเกิดไฟป่ าได้อย่างมาก พร้อมทั้งบรรเทาปัญหาสิ่ งแวดล้อม มลภาวะที่เกิดขึ้นในบ้านเมืองของเรา
หลายประการ
เช่น ช่วยแก้ปัญหาน้ าเน่าเสี ยในแม่น้ าลาคลองนับตั้งแต่ได้เริ่ มปฏิบติการฝนหลวงจนถึงวันนี้ สังคมเกษตรกรชาวไทยที่อาศัยน้ าฝนจาก
                                                                    ั
ธรรมชาติเป็ นวิถีหลัก ได้พฒนาสู่ การเกษตรกรรมที่ยงยืน และพอเพียงเพื่อเลี้ยงตัวให้อยูในสังคมได้ดวยการพึ่งพาตนเอง
                             ั                         ั่                            ่            ้
                                                                            ่ ั
จากความทุกข์ของราษฎร์ ที่เปลี่ยนมาเป็ นทุกข์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ที่รับเป็ นราชภาระในความทุกข์ของอาณา
ประชาราษฎร์ ที่วนนี้ค่อย ๆ แปรเปลี่ยนเป็ นความสุ ขที่ได้ทรงช่วยเหลือ และแก้ไขปัญหาของเกษตรกรได้ฝนหลวงจึงนับว่าเป็ นที่พ่ ึง
                  ั
ของเกษตรกรยามเกิดภัยแล้งได้อย่างแท้จริ ง และได้กาวเข้ามามีส่วนช่วยเหลือประเทศชาติ นานาประการจนมิอาจกล่าวได้หมด วันนี้
                                                     ้
สภาพความแห้งแล้งอันเป็ นภัยพิบติธรรมชาติ ได้กลับพลิกฟื้ นคืนสู่ สภาพที่สดชื่นขึ้นอีกครั้งหนึ่ง บนผืนแผ่นดินไทย โดยพระราชดาริ
                                  ั
“ฝนหลวง”อันเกิดจากน้ าพระราชหฤทัยที่เปี่ ยมด้วยพระเมตตา และพระมหากรุ ณาธิคุณแห่ งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวผูทรง   ่ ั ้
สอดส่ องดูแลทุกข์สุขและห่ วงใยทุกชีวิตโดยแท้
จัดทาโดย
นางสาว ชุติกาญจน์ ธรรมชาติ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/6 เลขที่ 15

More Related Content

What's hot

โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงโครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงTanwalai Kullawong
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงyeen_28175
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNattanaree
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31eveaeef
 
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงchaiing
 
เศรษฐกิจพอเพียง ฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียง ฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียง ฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียง ฝนหลวงPitchapa Manajanyapong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1amloveyou
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงyeen_28175
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริChayaphon yaphon
 

What's hot (14)

โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงโครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
New งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power pointNew งานนำเสนอ microsoft office power point
New งานนำเสนอ microsoft office power point
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
 
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
 
เศรษฐกิจพอเพียง ฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียง ฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียง ฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียง ฝนหลวง
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
R maker1 thai
R maker1 thaiR maker1 thai
R maker1 thai
 
R maker4[1]
R maker4[1]R maker4[1]
R maker4[1]
 
R maker3 th
R maker3 thR maker3 th
R maker3 th
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 

Viewers also liked

แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดChutikan Mint
 
ใบงานที่ 9 15
ใบงานที่ 9 15ใบงานที่ 9 15
ใบงานที่ 9 15moontomission
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4Chutikan Mint
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารanusara5837
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารKanlayanee Thongthab
 
แบบฝึกหัดท้ายบท
แบบฝึกหัดท้ายบทแบบฝึกหัดท้ายบท
แบบฝึกหัดท้ายบทBabymook Juku
 
แบบฝึกหัดบทที่ 3
แบบฝึกหัดบทที่ 3 แบบฝึกหัดบทที่ 3
แบบฝึกหัดบทที่ 3 Waristha Meepechdee
 
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8zodiacppat
 

Viewers also liked (8)

แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ใบงานที่ 9 15
ใบงานที่ 9 15ใบงานที่ 9 15
ใบงานที่ 9 15
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
แบบฝึกหัดท้ายบท
แบบฝึกหัดท้ายบทแบบฝึกหัดท้ายบท
แบบฝึกหัดท้ายบท
 
แบบฝึกหัดบทที่ 3
แบบฝึกหัดบทที่ 3 แบบฝึกหัดบทที่ 3
แบบฝึกหัดบทที่ 3
 
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
แบบฝึกหัด ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 8
 

Similar to โครงการฝนหลวง

โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31eeveaeef
 
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงchaiing
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำjintana533
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำMonticha
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำjirawat191
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำMonticha
 
นับกานต์ วุฒิพิศาล 4.10 เลขที่14
นับกานต์ วุฒิพิศาล 4.10  เลขที่14นับกานต์ วุฒิพิศาล 4.10  เลขที่14
นับกานต์ วุฒิพิศาล 4.10 เลขที่14Nattakan Wuttipisan
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนdnavaroj
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาfrankenjay
 
การพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศการพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศdnavaroj
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมSutisa Tantikulwijit
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริAommy_18
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลมTaweesak Poochai
 

Similar to โครงการฝนหลวง (20)

โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
 
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
นับกานต์ วุฒิพิศาล 4.10 เลขที่14
นับกานต์ วุฒิพิศาล 4.10  เลขที่14นับกานต์ วุฒิพิศาล 4.10  เลขที่14
นับกานต์ วุฒิพิศาล 4.10 เลขที่14
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝน
 
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนาโครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
 
การพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศการพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศ
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลม
 

โครงการฝนหลวง

  • 1. “เราได้หยุดอย่างเป็ นทางการที่ทางแยกกุฉินารายณ์ และสหัสขันธ์ ณ ที่นน ข้าพเจ้าได้สอบถามราษฎร ั่ เกี่ยวกับผลผลิตข้าว ข้าพเจ้าคิดว่าความแห้งแล้งต้องทาลายผลผลิตของพวกเขา แต่ขาพเจ้าต้องประหลาดใจ ้ ราษฎรเหล่านั้นกลับรายงานว่า พวกเขาเดือนร้อนเพราะน้ าท่วม สาหรับข้าพเจ้าเป็ นการแปลก เพราะพื้นที่แถบ ่ ั่ นั้นมองดูคล้ายทะเลทราย มีผงดินฟุ้ งกระจายอยูทวไป แท้จริ งแล้วพวกเขามีท้ งน้ าท่วมและฝนแล้ง นันคือ ั ่ ทาไมประชาชนของภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือจึงยากจน”
  • 2. ปี พ.ศ. 2551 – 2552 สภาพอากาศโดยทัวไปทาให้ประชาชนคนไทยได้ตื่นเต้นจากที่เคยเป็ นอยู่ ในปี ที่ ่ ผ่าน ๆ มา ฤดูหนาวในปี นี้ พฤศจิกายน – มกราคม ความหนาวเย็นได้มาเยือนยาวมากกว่าปกติ หลายท่านต้อง รี บจัดหาเครื่ องทาความอบอุ่นเพิ่มเติม ความหนาวเย็นได้ล่วงยาวมาถึง กุมภาพันธ์ ก็เป็ นสิ่ งซึ่งทุกคนชื่นชอบ แต่บนความชื่นชอบนั้นมีสิ่งที่ตามมา คือ ฤดูแล้ง ที่จะมาเยือนในเร็ ววันนี้ ทาให้นึกถึงประชาชนชาวไทยซึ่ง เป็ นชนกลุ่มใหญ่ของประเทศที่มีอาชีพทางการเกษตร และอาศัยน้ าเป็ นปัจจัยการผลิตที่สาคัญ ปัจจุบนมีการ ั ผลิตกันตลอดทั้งปี ฤดูแล้งนี้จะมีน้ าเพียงพอหรื อไม่ ยิงเมื่อได้เห็นภาพข่าวในหนังสื อพิมพ์ประจาวันที่ 5 ่ ่ ั กุมภาพันธ์ 2532 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว เสด็จออก ณ พระตาหนักเปี่ ยมสุ ข พระราชวังไกลกังวล โดยมี นายสุ เมธ ตันติเวชกุล ประธานกรรมการบริ หารสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ า และการเกษตร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และนายรอยล จิตรดอน กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการบริ หาร สถาบันฯ กราบบังคมทูลถวายงานสรุ ปสถานการณ์ประเทศไทยปี 2551 และรับพระราชทานพระราชดาริ เพื่อ เป็ นแนวทางในการดาเนินงานของสถาบันฯ ทาให้ผเู้ ขียนนึกถึงพระมหากรุ ณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระ ่ ั เจ้าอยูหว ที่ได้ทรงมีพระราชดาริ โครงการฝนหลวง และพระราชทานตาราฝนหลวง แด่พสกนิกรของพระองค์ ได้มีน้ าใช้อุปโภคบริ โภค และประกอบอาชีพเกษตรกรรมในการดารงวิถีชีวิตได้สมบูรณ์
  • 3. ่ ั ในปี พ.ศ. 2498 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว เสด็จพระราชดาเนินเพื่อทรงเยียม พสกนิ กรในภาค ่ ตะวันออกเฉี ยงเหนือ ย่านบริ เวณเทือกเขาภูพานทรงสังเกตว่า มีปริ มาณเมฆมากปกคลุมเหนือพื้นที่ระหว่างเส้นทางบิน แต่ไมสามารถรวมตัวจนเกิดเป็ นฝนตกได้ ทั้งที่เป็ นช่วงฤดูฝน และทรงพบเห็นว่าหลายแห่ งประสบปั ญหา พื้นดินแห้งแล้ง ขาดแคลนน้ าเพื่ออุปโภค บริ โภค และการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิงในฤดูเพาะปลูก เกษตรกรมักประสบความเดือดร้อน ่ จากภาวะฝนแล้ง หรื อฝนทิงช่วง ในระยะวิกฤติของพืชผล ทาให้ผลผลิตต่า หรื ออาจไม่มีผลผลิตเลย และอาจทาให้ ้ ผลผลิตที่มีอยูเ่ สี ยหายได้ จึงเป็ นความเดือดร้อนอย่างสาหัส และก่อให้เกิดความสูญเสี ย ทางเศรษฐกิจ แก่เกษตรกรอย่าง ใหญ่หลวง นอกจากนี้ความต้องการใช้น้ ามีมากขึ้น เพราะการขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรมเกษตรกรรม และการเพิมขึ้น ่ ของประชากร ซึ่ งมีผลให้ปริ มาณน้ าต้นทุนจากทรัพยากรน้ าที่มีอยู่ ไม่เพียงพอ ซึ่งเห็นได้ชดจากปริ มาณ น้ าในเขื่อนภูมิ ั พลที่ลดลงอย่างน่าตกใจ ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกล และทรงความอัจฉริ ยะของพระองค์ดวยคุณลักษณะของ้ นักวิทยาศาสตร์ ทรงสังเกต วิเคราะห์ขอมูลในขั้นต้น และได้มีพระราชดาริ ครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2498 ้
  • 4. แก่หม่อมราชวงศ์ เทพฤทธิ์ เทวกุล ว่าจะทรงค้นหา วิธีการที่จะทาให้เกิดฝนตกนอกเหนื อจากที่จะได้รับจากธรรมชาติโดย ่ การนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ กับทรัพยากร ที่มีอยูให้เกิดมีศกยภาพของการเป็ นฝนให้ได้ "ฝนหลวง" หรื อ" ั ฝนเทียม"จึงกาเนิดขึ้นโดยประยุกต์ผลการวิจยค้นคว้าทางวิชาการด้านฝนเทียมของประเทศต่างๆ เช่น สหรัฐอเมริ กา ั ่ ออสเตรเลียและอิสราเอล ภายใต้การพระราชทานข้อแนะนาจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวอย่าง ใกล้ชิดพร้อมกันนี้ได้ มีการจัดตั้ง"สานักงานปฏิบติการฝนหลวง" ขึ้น เพื่อรับผิดชอบการดาเนินงานฝนหลวงในระยะต่อ มาจนถึงปัจจุบน พระ ั ั บรมราโชบายในการพัฒนาโครงการพระราชดาริ "ฝนหลวง“ ทรงเน้นความจาเป็ นในด้านพัฒนาการ และปรับปรุ งวิธีการทาฝนในแนวทางของการออกแบบการปฏิบติการ ั การ ติดตามและประเมินผลที่เป็ นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น ตลอดจนความเป็ นไปได้ในการใช้ประโยชน์ ของ เครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อศึกษารู ปแบบเมฆและการปฏิบติการทาฝนให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ทรงย้าถึง ั บทบาทของการดัดแปรสภาพอากาศ หรื อการทาฝนว่าเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญอันหนึ่งในกระบวน การจัดการ ทรัพยากรแหล่งน้ า ทรงเน้นความร่ วมมือประสานงานของหน่วยงาน และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องที่จะเป็ นกุญแจสาคัญใน ่ ั อันที่จะทา ให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการได้ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูหว ทรงวิเคราะห์การทาฝนหลวงว่า มี 3 ขั้นตอน
  • 5. แนวพระราชดาริ ในการแก้ปัญหาความผันแปรไม่แน่นอนของฝนธรรมชาติในเวลานั้นที่จะจัดการ ทรัพยากรน้ าใน 2 วิธี คือ 1. การสร้างเขื่อน (Check – dam) ชะลอการไหลบ่าของน้ าไม่ให้ท่วม และเก็บกักไว้ใช้ในฤดูแล้ง 2. หาวิธีทาฝนเทียม (Rainmaking) บังคับเมฆให้ตกเป็ นฝนในพื้นที่ตองการนับจากนั้นเป็ นต้นมา พระองค์ทรง ้ ศึกษาค้นคว้าและวิจยทางเอกสารทั้งด้านวิชาการ อุตุนิยมวิทยาและการดัดแปรสภาพอากาศ ทรงรอบรู้และ ั เชี่ยวชาญ จากเอกสารที่เป็ นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ จนทรงมันพระทัยจึงพระราชทานแนวคิดแด่ ่ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ผูเ้ ชี่ยวชาญในการวิจยประดิษฐ์ทางด้าน ั วิศวกรรมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ขณะนั้น และพร้อมกันนั้นพระองค์ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าโปรด กระหม่อม ให้หาลู่ทางที่จะทาให้เกิดการทดลองปฏิบติการในท้องฟ้ าให้เป็ นไปได้ ดังพระราชดารัสว่า ั “.........แต่มาเงยดูทองฟ้ า มีเมฆ ทาไมมีเมฆอย่างนี้ ทาไมจะดึงเมฆนี้ลงมาให้ได้ ก็เคยได้ยนเรื่ องการ ้ ิ ทาฝน ก็ปรารภกับคุณเทพฤทธิ์ ฝนทาได้ มีหนังสื อ เคยอ่านหนังสื อ ทาได้..........” ต่อมาไม่นาน จึงเกิดเป็ นโครงการค้นคว้าทดลองปฏิบติการฝนเทียม หรื อฝนหลวงในสังกัด สานักงาน ั ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และเมื่อปี 2512 ด้วยความสาเร็ จในโครงการอันเต็มเปี่ ยมด้วยน้ าพระราช หฤทัยที่ตองการให้ราษฎรพ้นจากความแห้งแล้ง จึงก่อเกิดตราพระราชกฤษฎีกาก่อตั้ง สานักปฏิบติการฝน ้ ั หลวงในปี พ.ศ.2518 สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อให้ประชาชนมีน้ ากินน้ าใช้เพื่อยังชีพ และใช้ใน การเกษตร
  • 6. การทาฝนหลวงเป็ นกรรมวิธีเหนี่ยวนาน้ าจากท้องฟ้ า โดยปฏิบติการจะต้องให้เครื่ องบินที่มีอตรา ั ั บรรทุกมาก ๆ บรรจุสารเคมี ขึ้นไปโปรยปรายบนท้องฟ้ า โดยวิธีการคือ ต้องดูจากความชื้นของจานวนเมฆ และสภาพของทิศทางลมประกอบกัน ปัจจัยสาคัญประการแรกนั้นที่ทาให้เกิดฝน คือ ความร้อนชื้นปะทะความเย็น และมีแกนกลันตัวที่มี ่ ประสิ ทธิภาพในปริ มาณที่เหมาะสม กล่าวคือ เมื่อมวลอากาศร้อนชื้นระดับผิวพื้นขึ้นสู่อากาศทางเบื้องบนแล้ว อุณหภูมิของมวลอากาศที่บนท้องฟ้ าจะลดต่าลงจนถึงความสูงที่ระดับหนึ่ง หากแม้นอุณหภูมิท่ลดต่าลงนั้น ี มากพอ จะเกิดการทาให้ไอน้ าในมวลอากาศอิ่มตัว เมื่อกระบวนการกลันตัวของไอน้ าในมวลอากาศขึ้นบน ่ แกนกลันตัว ก่อกาเนิดเกิดเป็ นฝนตกลงมา ฉะนั้นสารเคมีที่ใช้จึงประกอบด้วย “สูตรร้อน” เพื่อใช้กระตุนเร่ ง ่ ้ เร้ากลไกหมุนเวียนของบรรยากาศ “สูตรเย็น” ใช้เพื่อกระตุนกลไกการรวมตัวของละอองเมฆให้โตขึ้นเป็ นเม็ด ้ ฝน และสูตรที่ใช้เป็ นแกนดูดซับความชื้น เพื่อใช้กระตุนกลไกระบบการกลันตัวให้มีประสิ ทธิภาพสูงขึ้น ้ ่ ่ ั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงกาหนดขั้นตอนกรรมวิธีการทาฝนหลวงขึ้น เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ได้อย่างง่าย ๆ ตามลาดับขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้
  • 7. ขั้นตอนที่หนึ่ง : ก่อกวน คือ การที่เมฆธรรมชาติเริ่ มก่อตัวทางแนวตั้ง การปฏิบติการฝนหลวงใน ั ขั้นตอนนี้จะมุ่งใช้สารเคมีกระตุน ปรากฏให้มวลอากาศเกิดการลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน เพื่อให้เกิดกระบวนการ ้ ชักไอน้ า หรื อการชักนาความชื้นให้เข้าสู่ระบบการเกิดเมฆ ในแต่ละวัน โดยการใช้สารเคมีที่สามารถดูดซับไอ น้ าจากมวลอากาศได้ถึงแม้ว่าจะมีเปอร์เซ็นต์ความชื้นสัมพัทธ์ที่ต่า (มีค่า Critical relative humidity ต่า) ทั้งนี้ก็ เพื่อกระตุนให้กลไกกระบวนการกลันตัวไอน้ าในมวลอากาศ (คือ เป็ นการสร้าง Surrounding เพื่อให้เหมาะสม ้ ่ กับการเจริ ญเติบโตของเมฆ) ทางด้านเหนือลมของพื้นที่เป้ าหมายที่ตองการให้ฝนโปรยปราย เมื่อเมฆเริ่ มเกิด ้ การก่อตัวเริ่ มขึ้น และการเจริ ญเติบโตเป็ นไปในทางตั้ง แล้วจึงใช้สารเคมีที่ให้ปฏิกิริยาความร้อนโปรยเป็ น วงกลม หรื อเป็ นแนวถัดมาทางใต้ลมเป็ นระยะทางสั้น ๆ เข้าสู่กอนเมฆ เพื่อกระตุนให้เกิดกลุ่มแกนร่ วม (main ้ ้ cloud core) ในบริ เวณปฏิบติสาหรับใช้เป็ นศูนย์กลางที่จะสร้างกลุ่มเมฆฝนในขั้นตอนต่อไป ั
  • 8. ขั้นตอนที่สอง : เลี้ยงให้อวน เป็ นขั้นตอนที่เมฆกาลังก่อตัวเจริ ญเติบโตเป็ นระยะที่สาคัญมากในการ ้ ปฏิบติการฝนหลวง เพราะขั้นตอนนี้เป็ นการไปเพิ่มพลังให้แก่ updraft ให้ยาวนานออกไป ต้องใช้เทคโนโลยี ั และประสบการณ์ หรื อศิลปะแห่ งการทาฝนควบคู่ไปพร้อม ๆ กัน เพื่อกาหนดการตัดสิ นใจโปรยสารเคมี ฝน หลวงชนิ ดใด ณ ที่ใด ของกลุ่มก้อนเมฆ และต้องโปรยในอัตราใดจึงเหมาะสม เพราะกระบวนการนี้ตองให้ ้ ละอองเมฆเกิดสมดุลกับความแรงของ updraft มิฉะนั้นจะทาให้เมฆสลายได้
  • 9. ขั้นตอนที่สาม : โจมตี เป็ นขั้นตอนสุดท้ายของกรรมวิธีปฏิบติการฝนหลวง เมฆหรื อกลุ่มเมฆฝนในขั้นนี้ มีความ ั หนาแน่นมากพอที่จะสามารถตกเป็ นฝนได้ ภายในกลุ่มเมฆจะต้องมีเม็ดน้ าขนาดใหญ่มากมาย หากเครื่ องบินบินเข้าไปในกลุ่มเมฆฝนนี้ เครื่ องบินจะมีเม็ดน้ าเกาะตามปี ก และกระจังหน้า ขั้นตอนนี้เป็ น ขั้นตอนสาคัญ และฝี มืออาศัยประสบการณ์มาก เพราะจะต้องปฏิบติการเพื่อลดความรุ นแรงของ updraft หรื อ ั ทาให้อายุของ updraft หมดไป การปฏิบติการในขั้นตอนนี้ผปฏิบติตองพิจารณาจุดมุ่งหมายของการทาฝน ั ู้ ั ้ หลวง 2 ประเด็น คือ การเพิ่มปริ มาณฝนตก และให้ฝนเกิดการตกกระจายไป
  • 10. เมื่อประสบผลสาเร็ จในการทดลองศึกษาวิจยและพัฒนากระบวนการและกรรมวิธีฝนหลวง จนเป็ นที่ยอมรับกันทัวไปแล้ว ความ ั ่ ต้องการฝนหลวง เพื่อช่วยพื้นที่เกษตรกรรม และการขาดแคลนน้ าเพื่อการอุปโภคและบริ โภคได้รับการร้องเรี ยนขอความช่วยเหลือเพิ่ม มากขึ้น อย่างช่วงระหว่าง พ.ศ.2520 – 2534 มีการร้องเรี ยนขอฝนหลวงแล้วถึงปี ละ 44 จังหวัด ซึ่ งทรงพระเมตตาอนุเคราะห์ช่วยเหลือ เกษตรกรไทย ในการ บรรเทาการสู ญเสี ยทางเศรษฐกิจให้ประสบความเสี ยหายน้อยที่สุด นอกจากนี้ประโยชน์สาคัญที่ควบคู่ไปกับการปฏิบติการฝนหลวง ั เพื่อเกษตรกรรมและการอุปโภคบริ โภคก็คือเป็ นการช่วยเพิมปริ มาณน้ าต้นทุนให้แก่อ่างและเขื่อนเก็บกักน้ า เพื่อชลประทานและผลิต ่ กระแสไฟฟ้ า แหล่งน้ าและต้นน้ าลาธารธรรมชาติ อีกทั้งยังเป็ นการช่วยทานุบารุ งป่ าไม้ โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง ความชุ่มชื้นที่ได้รับ เพิ่มขึ้นจากฝนหลวงจะช่วยลดการเกิดไฟป่ าได้อย่างมาก พร้อมทั้งบรรเทาปัญหาสิ่ งแวดล้อม มลภาวะที่เกิดขึ้นในบ้านเมืองของเรา หลายประการ เช่น ช่วยแก้ปัญหาน้ าเน่าเสี ยในแม่น้ าลาคลองนับตั้งแต่ได้เริ่ มปฏิบติการฝนหลวงจนถึงวันนี้ สังคมเกษตรกรชาวไทยที่อาศัยน้ าฝนจาก ั ธรรมชาติเป็ นวิถีหลัก ได้พฒนาสู่ การเกษตรกรรมที่ยงยืน และพอเพียงเพื่อเลี้ยงตัวให้อยูในสังคมได้ดวยการพึ่งพาตนเอง ั ั่ ่ ้ ่ ั จากความทุกข์ของราษฎร์ ที่เปลี่ยนมาเป็ นทุกข์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ที่รับเป็ นราชภาระในความทุกข์ของอาณา ประชาราษฎร์ ที่วนนี้ค่อย ๆ แปรเปลี่ยนเป็ นความสุ ขที่ได้ทรงช่วยเหลือ และแก้ไขปัญหาของเกษตรกรได้ฝนหลวงจึงนับว่าเป็ นที่พ่ ึง ั ของเกษตรกรยามเกิดภัยแล้งได้อย่างแท้จริ ง และได้กาวเข้ามามีส่วนช่วยเหลือประเทศชาติ นานาประการจนมิอาจกล่าวได้หมด วันนี้ ้ สภาพความแห้งแล้งอันเป็ นภัยพิบติธรรมชาติ ได้กลับพลิกฟื้ นคืนสู่ สภาพที่สดชื่นขึ้นอีกครั้งหนึ่ง บนผืนแผ่นดินไทย โดยพระราชดาริ ั “ฝนหลวง”อันเกิดจากน้ าพระราชหฤทัยที่เปี่ ยมด้วยพระเมตตา และพระมหากรุ ณาธิคุณแห่ งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวผูทรง ่ ั ้ สอดส่ องดูแลทุกข์สุขและห่ วงใยทุกชีวิตโดยแท้