SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 67
ทบทวนวิชาวิทยาการทหาร   ปีการศึกษา ๒๕๕๑ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ โดย  นาวาอากาศเอก ภานุ  ไชยศิลป์ นายทหารปฏิบัติการ  สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
การสอบปลายภาค   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ภารกิจของกองทัพบก   “ กองทัพบกมีหน้าที่ เตรียมกำลังทางบก และป้องกัน ราชอาณาจักร มี ผบ . ทบ .  เป็นผู้บังคับบัญชา ” หน้าที่ของกองทัพบก -   เตรียมกำลังทางบก ให้พร้อมรบยามปกติ -  วางแผนการใช้กำลังยามสงคราม  -  ใช้กำลังทางบก เข้าทำการรบตามแผน -  เตรียมระดมสรรพกำลัง และระดมสรรพกำลัง
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ส่วน สนับสนุนการ รบ มีหน้าที่ใ ห้การสนับสนุนส่วนกำลังรบโดยตรง -   กอง พลทหารปืนใหญ่ -  กรมทหารช่างที่ ๑๑ -  กองพันป้องกันฐานบิน -  กองพันทหารสื่อสาร -  หน่วยข่าวกรองทางทหาร
ส่วน ส่งกำลังบำรุง มีหน้าที่ ให้การสนับสนุนการส่งกำลังบำรุง การขนส่ง รักษาผู้ป่วย และการก่อสร้าง ก รมการทหารช่าง  กรมการขนส่งทหารบก   กรมแพทย์ทหารบก   กรมยุทธโยธาทหารบก กรมการทหารสื่อสาร  กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก กรมสรรพาวุธทหารบก  กรมการสัตว์ทหารบก  กรมพลาธิการทหารบก
ส่วนภูมิภาค กองทัพภาคที่ ๑  ภาคกลาง / ตะวันออก  ( กทม .) กองทัพภาคที่ ๒ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  ( โคราช ) กองทัพภาคที่ ๓  ภาคเหนือ  ( พิษณุโลก ) กองทัพภาคที่ ๔  ภาคใต้  ( นครศรีธรรมราช )
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ส่วนการศึกษา
การรบด้วยวิธีรุก ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การรบด้วยวิธีรุก ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การตีโอบ  การโจมตีทางปีกหรือด้านหลังข้าศึก เพื่อหลีกเลี่ยงการตีจุดแข็งแกร่งของข้าศึก ด้านหน้า การตีตลบ  การรุกเพื่อยึดภูมิประเทศสำคัญลึกไปข้างหลังที่มั่นข้าศึก เพื่อควบคุมเส้นทางถอยและเส้นทางการส่งกำลังบำรุง
การแทรกซึม  การรุกเข้าไปส่วนหลังของข้าศึกด้วยการลักลอบปกปิด หลีกเลี่ยงการถูกตรวจพบ และการปะทะ เพื่อรวมกำลังโจมตีต่อตำบลสำคัญของข้าศึก การเข้าตีเจาะ  การรวมกำลังเข้าตีต่อบริเวณแคบ ๆ ในแนวตั้งรับของข้าศึก เพื่อเปิดช่องว่างให้หน่วยขยายผลรุกเข้าสู่ส่วนหลังของข้าศึก
การเข้าตีตรงหน้า  การเข้าตีพื้นที่ด้านหน้าแนวตั้งรับข้าศึก  ที่ตรงที่สุด  แต่สิ้นเปลืองทรัพยากร ต้องมีอำนาจกำลังรบเปรียบเทียบสูงกว่าฝ่ายข้าศึกมาก
การรบด้วยวิธีรับ เพื่อป้องกัน ต้านทาน และทำลายการเข้าตีของข้าศึก ทำให้การเข้าตีของข้าศึกประสบความล้มเหลว หรือ เพื่อรักษาพื้นที่ / ภูมิประเทศสำคัญ และ เพื่อเป็นการออมกำลังในพื้นที่บางแห่ง แบบของการตั้งรับ แบ่งออกเป็น ๒ แบบ - การตั้งรับแบบยึดพื้นที่ มุ่งยึดรักษาภูมิประเทศสำคัญและแนวที่กำหนดไว้ - การตั้งรับแบบคล่องตัว มุ่งทำลายกำลังข้าศึก
การรบด้วยวิธีร่นถอย การผละออกจากการปะทะ หรือ ถอยห่างจากข้าศึก เป็นการปฏิบัติที่กระทำด้วยความสมัครใจหรือถูกบังคับก็ได้ แต่ต้องได้รับอนุมัติก่อน แบบของการรบด้วยวิธีร่นถอย มี ๓ ชนิด -  การรบหน่วงเวลา -  การถอนตัว -  การถอย
วิชากองทัพอากาศ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
วิชากองทัพอากาศ ๑๗ ธ . ค . ๒๔๔๖ พี่น้องตระกูลไรท์  ประสบความสำเร็จในการบินครั้งแรกกับเครื่องบิน  ที่ออกแบบ / สร้างขึ้นเอง ชื่อ   ฟลายเออร์   การบินครั้งแรกในไทย เมื่อปี ๒๔๕๓ โดยนายชาร์ล ฟัน เดน บอร์น นำเครื่องบินฟาร์มัง ๔ มาแสดงการบินที่สนามม้าสระปทุม
พระบิดาของกองทัพอากาศ  จอมพลสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ ภูวนารถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ   ได้ขึ้นบินกับนายชาร์ล ฟัน เดน บอร์น ด้วย ระหว่าง ๓๑ ม . ค .-  ๙ ก . พ . ๒๔๕๓
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ภารกิจของกองทัพอากาศ -  เตรียมกำลังกองทัพอากาศ -  ป้องกันราชอาณาจักร การจัดกองทัพอากาศ  -  ส่วนบัญชาการ  ( กรมฝ่ายอำนวยการต่าง ๆ )   -  ส่วนกำลังรบ  ( กองบัญชาการยุทธทางอากาศ ) -  ส่วนยุทธบริการ  ( กองบัญชาการสนับสนุนทหารอากาศ )   -  ส่วนการศึกษา  ( กองบัญชาการฝึกศึกษาทหารอากาศ ) -  ส่วนกิจการพิเศษ  ( กรมที่ปฏิบัติงานเชี่ยวชาญพิเศษ )
ส่วนกำลังรบ  ( บยอ .) -  พล . บ . ๑ ๒ ๓ ๔ ,  รร . การบิน ,  อากาศโยธิน , กรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ ส่วนการศึกษา  ( บศอ .) -  ยศ . ทอ .  ( รร . จอ .  รร . ผบ . หมวด  รร . เหล่าวิทยาการ ) -  รร . นายเรืออากาศ   -  สถาบันวิการทหารอากาศชั้นสูง   -  รร . ผู้บังคับฝูง  -  รร . นายทหารอาวุโส  -  รร . เสนาธิการ -  วิทยาลัยการทัพอากาศ
หลักนิยมกองทัพอากาศ แนวทางพื้นฐานสำหรับการปฏิบัติการของ ทอ . ประเภทของหลักนิยมกองทัพอากาศ - หลักนิยมพื้นฐาน  ( คุณลักษณะ ขีดความสามาถ ) - หลักนิยมปฏิบัติการ ( การปฏิบัติการทางอากาศยุทธศาสตร์ / การปฏิบัติการทางอากาศยุทธวิธี / การป้องกันภัยทางอากาศ ) - หลักนิยมปฏิบัติการร่วม / ผสม
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
หลักนิยมปฏิบัติการ  หัวใจสำคัญคือ  รวมการควบคุม แยกการปฏิบัติ และ  ใช้เป็นอาวุธเชิงรุกได้ดีที่สุด มีหลักปฏิบัติการ ๓ ประการ การปฏิบัติการทางอากาศยุทธศาสตร์   การใช้กำลังทางอากาศปฏิบัติการต่อเป้าหมายทาง ยุทธศาสตร์  ของประเทศคู่สงคราม การปฏิบัติการทางอากาศยุทธวิธี การป้องกันภัยทางอากาศ
การปฏิบัติการทางอากาศยุทธศาสตร์   การใช้กำลังทางอากาศปฏิบัติการต่อเป้าหมายทาง ยุทธศาสตร์  ซึ่งเป็นเป้าหมายที่สำคัญต่อโครงสร้างกำลังอำนาจแห่งชาติ ของประเทศคู่สงคราม การปฏิบัติการทางอากาศยุทธศาสตร์   ประกอบด้วย ๒ ภารกิจ คือ ๑ .  การครองอากาศ ๒ .  การโจมตีทางอากาศ
การพิสูจน์ฝ่าย การสกัดกั้น การทำลาย การค้นหา การป้องกันภัยทางอากาศ เป็นการปฏิบัติการเชิงรับ พันธกิจของการป้องกันภัยทางอากาศ มีตามลำดับดังนี้
ส่วนประกอบระบบป้องกันภัยทางอากาศ -  สถานีเรดาร์ -  หน่วยบินขับไล่ / สกัดกั้น -  อาวุธต่อสู้อากาศยาน
[object Object],[object Object],[object Object],เครื่องหมายยศ -  ๔ ขีด หมายถึงยศอะไร -  ๔ ดาว หมายถึงยศอะไร -  ข้าราชการกลุ่มใดไม่ต้องประดับเครื่องหมายยศ
การกำลังสำรอง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กำลังสำรอง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กำลังพลสำรอง  ( กำลังที่มิใช่กำลังประจำการ / กองประจำการ ) 1.  น . สัญญาบัตรกองหนุน  2.  น . สัญญาบัตรนอกราชการ  ( ยศ พ . อ .- นายพล อายุไม่เกิน ๖๕ ปี 3.  น . สัญญาบัตรนอกกอง  ( โอนไปรับราชการกระทรวงอื่น ) 4.  นายทหารประทวนกองหนุน 5.  ทหารกองหนุนประเภท  1 6.  ทหารกองหนุนประเภท   2 7.  ทหารกองเกิน  ( อายุ ๑๘  <  ๓๐ ปี ลงบัญชีทหารกองเกินแล้ว )
กำลังพลสำรองหลักของ ทบ . ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แหล่งกำเนิดกำลังพลสำรองชั้นผู้บังคับบัญชา นศท . ปี ๑ , ๒ ทำหน้าที่ลูกแถว / พลฯ นศท . ปี ๔  ทำหน้าที่ รอง ผบ . หมวด /  จ่าสิบเอก นศท . ปี ๕  ทำหน้าที่ ผบ . หมวด  /  ว่าที่ รอยตรี เลื่อนยศสูงสุดถึง ว่าที่พันตรี / นาวาตรี / นาวาอากาศตรี . นศท . ปี ๓  ทำหน้าที่ ผบ . หมู่  / สิบเอก
ระบบกำลังสำรอง จำแนกเป็น  ระบบย่อย ๕ ระบบ  คือ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
หลักการใช้กำลังพลสำรอง   จุดมุ่งหมาย  3  ประการ -  เสริมกำลังประจำการ  - ทดแทนกำลังประจำการ  ( บุคคล / หน่วย )  - ขยาย / จัดตั้งหน่วยใหม่
ระบบการควบคุมกำลังพลสำรอง   การควบคุม แบ่งเป็น ๒ วิธี คือ ๑ .  ทางบัญชี  และ  ๒ .  ทางการปฏิบัติ ประเภทกำลังพลสำรอง  แบ่งเป็น ๓ ประเภท คือ ๑ .  กำลังพลสำรองพร้อมรบ ๒ .  กำลังพลสำรองเตรียมพร้อม ๓ .  กำลังพลสำรองทั่วไป
ระบบการเรียกกำลังพลและระดมพล เป็นกรรมวิธีในการเรียกกำลังพลสำรองเข้ามา รับราชการชั่วคราว แบ่งตามลักษณะการเรียกเป็น การเรียกโดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง และเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประเภทการเตรียมพล มี ๔ ประเภท  ( ๔ ร ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ความสำคัญของกำลังสำรอง   -  เป็นส่วนค้ำจุนให้กองทัพสามารถทำการรบได้ต่อเนื่อง  เป็นระยะยาวนาน -  ประหยัดงบประมาณด้านการทหารของชาติในยามปกติ
ผู้บังคับบัญชาและฝ่ายอำนวยการ กับการตัดสินใจทางทหาร ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ผู้บังคับบัญชาและฝ่ายอำนวยการ กับการตัดสินใจทางทหาร ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เสนาธิการ  - สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ  กรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ  ทรงเป็นผู้วาง รากฐานระบบเสนาธิการ และ ก่อตั้งโรงเรียน เสนาธิการทหารบก
ฝ่ายอำนวยการ ๓ ประเภท ฝ่ายอำนวยการประสานงาน  เป็นฝ่ายอำนวยการหลัก ของผู้บังคับบัญชา / หน่วย  ประกอบด้วย ๖ สายงาน ฝ่ายอำนวยการประจำตัว  ช่วยเหลือ ผบ .  ในเรื่องกิจเฉพาะหรืองานพิเศษอื่นๆ เช่น  นายทหารคนสนิท  ฝ่ายกิจการพิเศษ  ช่วยเหลือผู้บังคับบัญชาสำหรับงานในหน้าที่ ซึ่งต้องการความชำนาญเป็นพิเศษ วิชาชีพเทคนิค
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
งานในหน้าที่ร่วมฝ่ายเสนาธิการ / อำนวยการ การประสานงาน การให้ข่าวสาร  การทำประมาณการ  การให้ข้อเสนอ  การทำแผน / คำสั่ง การกำกับดูแล
วิธีการประสานงาน การประชุม การบรรยายสรุป กระติดต่อประสานโดยตรง การแจกจ่ายข่าวสารสำคัญและขอความคิดเห็น
การแก้ปัญหาทางทหาร การแสวงข้อตกลงใจทางทหาร   กรรมวิธีแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ   ใช้ในสถานการณืทางยุทธวิธี  ได้ผลผลิตออกมาเป็นแผน / คำสั่งยุทธการ  การจัดทำข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ   ใช้ในการทำงานในเวลาปกติ  ปัญหายุ่งยากซับซ้อน มีหลายปัจจัย การประชุมตกลงใจ   วิธีที่ใช้เป็นประจำ กรณีที่ปัญหา  ไม่ยุ่งยากสลับซับซ้อน
การแสวงข้อตกลงใจทางทหาร แบ่งเป็น ๔ กลุ่มงาน ๑ .  วิเคราะห์ภารกิจ  แจกแจงว่ามีงานอะไรบ้าง ๓ .  การวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ  วิเคราะห์หนทางปฏิบัติต่างๆ ข้อดี -  ข้อเสีย ๔ .  ตกลงใจและปฏิบัติ  เปรียบเทียบขอดีข้อเสีย ของหนทางปฏิบัติที่ดีที่สุด เพื่อการตกลงใจ  ๒ .  การพัฒนาหนทางปฏิบัติ  การศึกษาหนทางปฏิบัติต่างๆ ที่มีอยู่
การเขียนข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ ส่วนหัวเรื่อง  ( นามหน่วย  ที่ตั้งหน่วย  วันเดือนปี ที่จัดทำ หัวข้อเรื่อง สัญลักษณ์ประจำเอกสาร ) ส่วนตัวเรื่อง   ( ปัญหา ข้อเท็จจริง ข้อพิจารณา ข้อสรุป  และข้อเสนอ )   ส่วนท้ายเรื่อง  ( ลงชื่อ ผนวก ความเห็นอื่นๆ ข้อตกลงใจ ) หลักการเขียนข้อพิจารณาฝ่ายอำนวยการ ชัดเจน  สั้น  ถูกต้อง  ปะติดปะต่อ มีเอกภาพ  สมบูรณ์
ความมั่นคงแห่งชาติ ความหมายทั่วไป การที่ชาติ / รัฐ  มีเอกราช  สวัสดิภาพของสังคมและ ประชาชนอยู่ในความปลอดภัย อยู่ดีมีสุข  มีความสามัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน มีระเบียบวินัย และ มีวัฒนธรรม
ปัจจัยสำคัญความมั่นคงแห่งชาติ ๕ ประการ   -  ด้านการเมือง   -  ด้านเศรษฐกิจ   -  ด้านสังคมจิตวิทยา   -  ด้านการทหาร   -  ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพลังงาน และสิ่งแวดล้อม
ความมั่นคงแห่งชาติของประเทศ ลักษณะที่เป็นรูปธรรม   ได้แก่  ชาติ - รัฐ  ประเทศ   รวมถึง ดินแดน ประชากร รัฐบาล ความมีเอกราช  และ การรับรองโดยสังคมนานาชาติ ลักษณะที่เป็นนามธรรม -  ความเป็นธรรมของสังคม  -  ความจงรักภักดีต่อชาติ -  นิสัยประจำชาติ  -  ความสัมพันธ์ในครอบครัวต่อสังคม -  ความรู้สึกที่ดีของประชากรที่มีต่อรัฐบาล
นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ หนทางปฏิบัติอย่างกว้างๆ หรือ เป็นข้อความแสดงแนวทางปฏิบัติ ซึ่งรัฐบาลแห่งชาติกำหนดขึ้น   ในอันที่จะดำเนินการให้เป็นไปตาม  วัตถุประสงค์ที่เกี่ยวกับความมั่นคงแห่งชาติ
องค์กรที่เกี่ยวข้องกับเรื่องความมั่นคงแห่งชาติ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สภาความมั่นคงแห่งชาติ ประกอบด้วย คณะกรรมการ ๙ คน  -  นายกรัฐมนตรี   ( ประธาน )  รองนายกรัฐมนตรี  รมว . กห .  รมว . กค .  รมว . กต .  รมว . คม . รมว . มท .,  ผบ . ทหารสูงสุด และ  เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ
สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ( สมช .)   -  ฐานะเทียบเท่ากรม -  หน่วยงานขึ้นตรงนายกรัฐมนตรี  -  เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นหัวหน้าสำนักงาน ระดับ ปลัดกระทรวง
ปัญหาการก่อการร้ายสากล ปัญหาอาชญากรข้ามชาติ ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัญหาความมั่นคงที่เกี่ยวเนื่องกับเพื่อนบ้าน ปัญหาความมั่นคงภายในอื่น ๆ  ปัญหาจากภัยพิบัติต่าง ๆ ปัญหาระบาดวิทยา ปัญหาความมั่นคงของชาติรูปแบบใหม่ กระแสโลกาภิวัตน์ เทคโนโลยี่สารสนเทศ ปัญหาข้าชาติ ข้ามพรมแดน
หลักการสำคัญของวิทยาศาสตร์ / เทคโนโลยี่ -  รากฐานปัญญาแก่สังคมเพื่อสังคมที่เข้มแข็ง -  รากฐานทางเศรษฐกิจที่แข่งขันได้ พึ่งตนเองได้ และรู้เท่าทันโลก -  เป็นพลังจรรโลงสิ่งแวดล้อม พัฒนาการเทคโนโลยีทางทหาร
การพัฒนาเทคโนโลยีทางทหาร -  การเรียนรู้จากการใช้งาน   ( จุดเริ่มต้น / ซ่อมบำรุง ) -  การเรียนรู้จากกระบวนการผลิต   ( ซื้อโรงงานผลิต  /  การผลิต ปลย .11  ของ ทบ . /  การผลิตวัตถุระเบิด กรมการอุตสาหกรรมทหาร ) -  การวิจัยและพัฒนาการทหาร   ( Knowhow   ของตนเอง ) -  การถ่ายทอดเทคโนโลยี่   ( กองทัพจะพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ) จากผลงานวิจัย   -  เครื่องมือเฝ้าตรวจพื้นที่ระยะไกล  ซื้อเทคโนโลยี่จากต่างประเทศ   -  การผลิตจรวดหลายลำกล้อง  ws1   จากจีน
การวิจัยและพัฒนาการทหาร การวิจัยและพัฒนา  เป็นส่วนสำคัญในการพัฒนา เทคโนโลยี่ทางทหาร ได้  knowhow   ของตนเอง การวิจัยและพัฒนาการทหาร  มีการวิจัย  3  ระดับ 1.  เพื่อดำรงสภาพอาวุทยุทโธปกรณ์ 2.  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพอาวุทยุทโธปกรณ์ 3.  เพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่
ประเภทพัฒนาการเทคโนโลยีทางทหาร ,[object Object],-   พัฒนาการด้านการอำนวยการรบ   -   พัฒนาการด้านหลักการ  การพัฒนาเทคโนโลยีทางทหาร ต้องคำนึงถึง -   งบประมาณ  -  องค์ความรู้ของบุคลากร -  ขีดความสามารถของเทคโนโลยี่
ตัวอย่างพัฒนาการด้านอาวุธยุทโธปกรณ์ อาวุธประจำกาย  ดาบ หอก ธนู  –  ดินปืน / ปืน   ปืนใหญ่   ลากจูง  –  อัตตาจร รถถัง  ควบคุมการยิงด้วยสายตา เป็น คอมพิวเตอร์ อาวุธต่อสู้รถถัง  เครื่องยิงจรวดธรรมดา เป็นจรวดนำวิถี อาวุธต่อสู้อากาศยาน  ปตอ . เล็งด้วยสายตา เป็น ควบคุมด้วยเรดาร์ และจรวดนำวิถีตรวจจับด้วยอินฟาเรด เครื่องบินรบ  F-16 ,   กริบเป้น / สวีเดน - ขับไล่ โจมตีภาคพื้น เรือรบ  อาวุธเดิมใช้ ปืนใหญ่เรือ  ปัจจุบันมีจรวดนำวิถี / เรดาร์ค้นหาเป้าหมาย เรือบรรทุก บ .  ส่งกำลังรบทางอากาศไปได้ไกลขึ้น
ขอให้โชคดีในการสอบ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553อินทนนท์ พูลทอง
 
Thailand cambodia-conflict
Thailand cambodia-conflictThailand cambodia-conflict
Thailand cambodia-conflictTeeranan
 
Unconventional Warfare and Insurgency
Unconventional Warfare and InsurgencyUnconventional Warfare and Insurgency
Unconventional Warfare and InsurgencyTeeranan
 
ยุทธศาสตร์ V2
ยุทธศาสตร์ V2ยุทธศาสตร์ V2
ยุทธศาสตร์ V2Teeranan
 
กสพท. สังคม 2563
กสพท. สังคม 2563กสพท. สังคม 2563
กสพท. สังคม 25639GATPAT1
 

La actualidad más candente (6)

new
newnew
new
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนพ.ศ.2553
 
Thailand cambodia-conflict
Thailand cambodia-conflictThailand cambodia-conflict
Thailand cambodia-conflict
 
Unconventional Warfare and Insurgency
Unconventional Warfare and InsurgencyUnconventional Warfare and Insurgency
Unconventional Warfare and Insurgency
 
ยุทธศาสตร์ V2
ยุทธศาสตร์ V2ยุทธศาสตร์ V2
ยุทธศาสตร์ V2
 
กสพท. สังคม 2563
กสพท. สังคม 2563กสพท. สังคม 2563
กสพท. สังคม 2563
 

Similar a ทบทวนวิชาวิทยาการทหาร51

การกำหนดแผนแม่บทในการพัฒนากำลัง
การกำหนดแผนแม่บทในการพัฒนากำลังการกำหนดแผนแม่บทในการพัฒนากำลัง
การกำหนดแผนแม่บทในการพัฒนากำลังWashirasak Poosit
 
อาชีพทหารบก
อาชีพทหารบกอาชีพทหารบก
อาชีพทหารบกMos BirDy
 
คู่มือการจัดการองค์ความรู้ เพื่อการปฏิบัติงานส่งกำลังสาย พธ.สู่ความเป็นเลิศ
คู่มือการจัดการองค์ความรู้ เพื่อการปฏิบัติงานส่งกำลังสาย พธ.สู่ความเป็นเลิศคู่มือการจัดการองค์ความรู้ เพื่อการปฏิบัติงานส่งกำลังสาย พธ.สู่ความเป็นเลิศ
คู่มือการจัดการองค์ความรู้ เพื่อการปฏิบัติงานส่งกำลังสาย พธ.สู่ความเป็นเลิศตะหลึ่ง' ตึ่งโป๊ะ
 
ผนวก ค รายชื่อ นศ.การฝึกกองทัพไทย ชุด56
ผนวก ค รายชื่อ นศ.การฝึกกองทัพไทย ชุด56ผนวก ค รายชื่อ นศ.การฝึกกองทัพไทย ชุด56
ผนวก ค รายชื่อ นศ.การฝึกกองทัพไทย ชุด56Sarid Tojaroon
 
ผนวก ค รายชื่อ นศ.การฝึกกองทัพไทย ชุด56
ผนวก ค รายชื่อ นศ.การฝึกกองทัพไทย ชุด56ผนวก ค รายชื่อ นศ.การฝึกกองทัพไทย ชุด56
ผนวก ค รายชื่อ นศ.การฝึกกองทัพไทย ชุด56Sarid Tojaroon
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalismTeeranan
 

Similar a ทบทวนวิชาวิทยาการทหาร51 (7)

new
newnew
new
 
การกำหนดแผนแม่บทในการพัฒนากำลัง
การกำหนดแผนแม่บทในการพัฒนากำลังการกำหนดแผนแม่บทในการพัฒนากำลัง
การกำหนดแผนแม่บทในการพัฒนากำลัง
 
อาชีพทหารบก
อาชีพทหารบกอาชีพทหารบก
อาชีพทหารบก
 
คู่มือการจัดการองค์ความรู้ เพื่อการปฏิบัติงานส่งกำลังสาย พธ.สู่ความเป็นเลิศ
คู่มือการจัดการองค์ความรู้ เพื่อการปฏิบัติงานส่งกำลังสาย พธ.สู่ความเป็นเลิศคู่มือการจัดการองค์ความรู้ เพื่อการปฏิบัติงานส่งกำลังสาย พธ.สู่ความเป็นเลิศ
คู่มือการจัดการองค์ความรู้ เพื่อการปฏิบัติงานส่งกำลังสาย พธ.สู่ความเป็นเลิศ
 
ผนวก ค รายชื่อ นศ.การฝึกกองทัพไทย ชุด56
ผนวก ค รายชื่อ นศ.การฝึกกองทัพไทย ชุด56ผนวก ค รายชื่อ นศ.การฝึกกองทัพไทย ชุด56
ผนวก ค รายชื่อ นศ.การฝึกกองทัพไทย ชุด56
 
ผนวก ค รายชื่อ นศ.การฝึกกองทัพไทย ชุด56
ผนวก ค รายชื่อ นศ.การฝึกกองทัพไทย ชุด56ผนวก ค รายชื่อ นศ.การฝึกกองทัพไทย ชุด56
ผนวก ค รายชื่อ นศ.การฝึกกองทัพไทย ชุด56
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalism
 

ทบทวนวิชาวิทยาการทหาร51

  • 1. ทบทวนวิชาวิทยาการทหาร ปีการศึกษา ๒๕๕๑ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ โดย นาวาอากาศเอก ภานุ ไชยศิลป์ นายทหารปฏิบัติการ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
  • 2.
  • 3. ภารกิจของกองทัพบก “ กองทัพบกมีหน้าที่ เตรียมกำลังทางบก และป้องกัน ราชอาณาจักร มี ผบ . ทบ . เป็นผู้บังคับบัญชา ” หน้าที่ของกองทัพบก - เตรียมกำลังทางบก ให้พร้อมรบยามปกติ - วางแผนการใช้กำลังยามสงคราม - ใช้กำลังทางบก เข้าทำการรบตามแผน - เตรียมระดมสรรพกำลัง และระดมสรรพกำลัง
  • 4.
  • 5.
  • 6. ส่วน สนับสนุนการ รบ มีหน้าที่ใ ห้การสนับสนุนส่วนกำลังรบโดยตรง - กอง พลทหารปืนใหญ่ - กรมทหารช่างที่ ๑๑ - กองพันป้องกันฐานบิน - กองพันทหารสื่อสาร - หน่วยข่าวกรองทางทหาร
  • 7. ส่วน ส่งกำลังบำรุง มีหน้าที่ ให้การสนับสนุนการส่งกำลังบำรุง การขนส่ง รักษาผู้ป่วย และการก่อสร้าง ก รมการทหารช่าง กรมการขนส่งทหารบก กรมแพทย์ทหารบก กรมยุทธโยธาทหารบก กรมการทหารสื่อสาร กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก กรมสรรพาวุธทหารบก กรมการสัตว์ทหารบก กรมพลาธิการทหารบก
  • 8. ส่วนภูมิภาค กองทัพภาคที่ ๑ ภาคกลาง / ตะวันออก ( กทม .) กองทัพภาคที่ ๒ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ( โคราช ) กองทัพภาคที่ ๓ ภาคเหนือ ( พิษณุโลก ) กองทัพภาคที่ ๔ ภาคใต้ ( นครศรีธรรมราช )
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12. การตีโอบ การโจมตีทางปีกหรือด้านหลังข้าศึก เพื่อหลีกเลี่ยงการตีจุดแข็งแกร่งของข้าศึก ด้านหน้า การตีตลบ การรุกเพื่อยึดภูมิประเทศสำคัญลึกไปข้างหลังที่มั่นข้าศึก เพื่อควบคุมเส้นทางถอยและเส้นทางการส่งกำลังบำรุง
  • 13. การแทรกซึม การรุกเข้าไปส่วนหลังของข้าศึกด้วยการลักลอบปกปิด หลีกเลี่ยงการถูกตรวจพบ และการปะทะ เพื่อรวมกำลังโจมตีต่อตำบลสำคัญของข้าศึก การเข้าตีเจาะ การรวมกำลังเข้าตีต่อบริเวณแคบ ๆ ในแนวตั้งรับของข้าศึก เพื่อเปิดช่องว่างให้หน่วยขยายผลรุกเข้าสู่ส่วนหลังของข้าศึก
  • 14. การเข้าตีตรงหน้า การเข้าตีพื้นที่ด้านหน้าแนวตั้งรับข้าศึก ที่ตรงที่สุด แต่สิ้นเปลืองทรัพยากร ต้องมีอำนาจกำลังรบเปรียบเทียบสูงกว่าฝ่ายข้าศึกมาก
  • 15. การรบด้วยวิธีรับ เพื่อป้องกัน ต้านทาน และทำลายการเข้าตีของข้าศึก ทำให้การเข้าตีของข้าศึกประสบความล้มเหลว หรือ เพื่อรักษาพื้นที่ / ภูมิประเทศสำคัญ และ เพื่อเป็นการออมกำลังในพื้นที่บางแห่ง แบบของการตั้งรับ แบ่งออกเป็น ๒ แบบ - การตั้งรับแบบยึดพื้นที่ มุ่งยึดรักษาภูมิประเทศสำคัญและแนวที่กำหนดไว้ - การตั้งรับแบบคล่องตัว มุ่งทำลายกำลังข้าศึก
  • 16. การรบด้วยวิธีร่นถอย การผละออกจากการปะทะ หรือ ถอยห่างจากข้าศึก เป็นการปฏิบัติที่กระทำด้วยความสมัครใจหรือถูกบังคับก็ได้ แต่ต้องได้รับอนุมัติก่อน แบบของการรบด้วยวิธีร่นถอย มี ๓ ชนิด - การรบหน่วงเวลา - การถอนตัว - การถอย
  • 17.
  • 18. วิชากองทัพอากาศ ๑๗ ธ . ค . ๒๔๔๖ พี่น้องตระกูลไรท์ ประสบความสำเร็จในการบินครั้งแรกกับเครื่องบิน ที่ออกแบบ / สร้างขึ้นเอง ชื่อ ฟลายเออร์ การบินครั้งแรกในไทย เมื่อปี ๒๔๕๓ โดยนายชาร์ล ฟัน เดน บอร์น นำเครื่องบินฟาร์มัง ๔ มาแสดงการบินที่สนามม้าสระปทุม
  • 19. พระบิดาของกองทัพอากาศ จอมพลสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ ภูวนารถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ ได้ขึ้นบินกับนายชาร์ล ฟัน เดน บอร์น ด้วย ระหว่าง ๓๑ ม . ค .- ๙ ก . พ . ๒๔๕๓
  • 20.
  • 21. ภารกิจของกองทัพอากาศ - เตรียมกำลังกองทัพอากาศ - ป้องกันราชอาณาจักร การจัดกองทัพอากาศ - ส่วนบัญชาการ ( กรมฝ่ายอำนวยการต่าง ๆ ) - ส่วนกำลังรบ ( กองบัญชาการยุทธทางอากาศ ) - ส่วนยุทธบริการ ( กองบัญชาการสนับสนุนทหารอากาศ ) - ส่วนการศึกษา ( กองบัญชาการฝึกศึกษาทหารอากาศ ) - ส่วนกิจการพิเศษ ( กรมที่ปฏิบัติงานเชี่ยวชาญพิเศษ )
  • 22. ส่วนกำลังรบ ( บยอ .) - พล . บ . ๑ ๒ ๓ ๔ , รร . การบิน , อากาศโยธิน , กรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ ส่วนการศึกษา ( บศอ .) - ยศ . ทอ . ( รร . จอ . รร . ผบ . หมวด รร . เหล่าวิทยาการ ) - รร . นายเรืออากาศ - สถาบันวิการทหารอากาศชั้นสูง - รร . ผู้บังคับฝูง - รร . นายทหารอาวุโส - รร . เสนาธิการ - วิทยาลัยการทัพอากาศ
  • 23. หลักนิยมกองทัพอากาศ แนวทางพื้นฐานสำหรับการปฏิบัติการของ ทอ . ประเภทของหลักนิยมกองทัพอากาศ - หลักนิยมพื้นฐาน ( คุณลักษณะ ขีดความสามาถ ) - หลักนิยมปฏิบัติการ ( การปฏิบัติการทางอากาศยุทธศาสตร์ / การปฏิบัติการทางอากาศยุทธวิธี / การป้องกันภัยทางอากาศ ) - หลักนิยมปฏิบัติการร่วม / ผสม
  • 24.
  • 25. หลักนิยมปฏิบัติการ หัวใจสำคัญคือ รวมการควบคุม แยกการปฏิบัติ และ ใช้เป็นอาวุธเชิงรุกได้ดีที่สุด มีหลักปฏิบัติการ ๓ ประการ การปฏิบัติการทางอากาศยุทธศาสตร์ การใช้กำลังทางอากาศปฏิบัติการต่อเป้าหมายทาง ยุทธศาสตร์ ของประเทศคู่สงคราม การปฏิบัติการทางอากาศยุทธวิธี การป้องกันภัยทางอากาศ
  • 26. การปฏิบัติการทางอากาศยุทธศาสตร์ การใช้กำลังทางอากาศปฏิบัติการต่อเป้าหมายทาง ยุทธศาสตร์ ซึ่งเป็นเป้าหมายที่สำคัญต่อโครงสร้างกำลังอำนาจแห่งชาติ ของประเทศคู่สงคราม การปฏิบัติการทางอากาศยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย ๒ ภารกิจ คือ ๑ . การครองอากาศ ๒ . การโจมตีทางอากาศ
  • 27. การพิสูจน์ฝ่าย การสกัดกั้น การทำลาย การค้นหา การป้องกันภัยทางอากาศ เป็นการปฏิบัติการเชิงรับ พันธกิจของการป้องกันภัยทางอากาศ มีตามลำดับดังนี้
  • 28. ส่วนประกอบระบบป้องกันภัยทางอากาศ - สถานีเรดาร์ - หน่วยบินขับไล่ / สกัดกั้น - อาวุธต่อสู้อากาศยาน
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32. กำลังพลสำรอง ( กำลังที่มิใช่กำลังประจำการ / กองประจำการ ) 1. น . สัญญาบัตรกองหนุน 2. น . สัญญาบัตรนอกราชการ ( ยศ พ . อ .- นายพล อายุไม่เกิน ๖๕ ปี 3. น . สัญญาบัตรนอกกอง ( โอนไปรับราชการกระทรวงอื่น ) 4. นายทหารประทวนกองหนุน 5. ทหารกองหนุนประเภท 1 6. ทหารกองหนุนประเภท 2 7. ทหารกองเกิน ( อายุ ๑๘ < ๓๐ ปี ลงบัญชีทหารกองเกินแล้ว )
  • 33.
  • 34. แหล่งกำเนิดกำลังพลสำรองชั้นผู้บังคับบัญชา นศท . ปี ๑ , ๒ ทำหน้าที่ลูกแถว / พลฯ นศท . ปี ๔ ทำหน้าที่ รอง ผบ . หมวด / จ่าสิบเอก นศท . ปี ๕ ทำหน้าที่ ผบ . หมวด / ว่าที่ รอยตรี เลื่อนยศสูงสุดถึง ว่าที่พันตรี / นาวาตรี / นาวาอากาศตรี . นศท . ปี ๓ ทำหน้าที่ ผบ . หมู่ / สิบเอก
  • 35.
  • 36.
  • 37. หลักการใช้กำลังพลสำรอง จุดมุ่งหมาย 3 ประการ - เสริมกำลังประจำการ - ทดแทนกำลังประจำการ ( บุคคล / หน่วย ) - ขยาย / จัดตั้งหน่วยใหม่
  • 38. ระบบการควบคุมกำลังพลสำรอง การควบคุม แบ่งเป็น ๒ วิธี คือ ๑ . ทางบัญชี และ ๒ . ทางการปฏิบัติ ประเภทกำลังพลสำรอง แบ่งเป็น ๓ ประเภท คือ ๑ . กำลังพลสำรองพร้อมรบ ๒ . กำลังพลสำรองเตรียมพร้อม ๓ . กำลังพลสำรองทั่วไป
  • 39. ระบบการเรียกกำลังพลและระดมพล เป็นกรรมวิธีในการเรียกกำลังพลสำรองเข้ามา รับราชการชั่วคราว แบ่งตามลักษณะการเรียกเป็น การเรียกโดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง และเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43. ความสำคัญของกำลังสำรอง - เป็นส่วนค้ำจุนให้กองทัพสามารถทำการรบได้ต่อเนื่อง เป็นระยะยาวนาน - ประหยัดงบประมาณด้านการทหารของชาติในยามปกติ
  • 44.
  • 45.
  • 46. เสนาธิการ - สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ ทรงเป็นผู้วาง รากฐานระบบเสนาธิการ และ ก่อตั้งโรงเรียน เสนาธิการทหารบก
  • 47. ฝ่ายอำนวยการ ๓ ประเภท ฝ่ายอำนวยการประสานงาน เป็นฝ่ายอำนวยการหลัก ของผู้บังคับบัญชา / หน่วย ประกอบด้วย ๖ สายงาน ฝ่ายอำนวยการประจำตัว ช่วยเหลือ ผบ . ในเรื่องกิจเฉพาะหรืองานพิเศษอื่นๆ เช่น นายทหารคนสนิท ฝ่ายกิจการพิเศษ ช่วยเหลือผู้บังคับบัญชาสำหรับงานในหน้าที่ ซึ่งต้องการความชำนาญเป็นพิเศษ วิชาชีพเทคนิค
  • 48.
  • 49. งานในหน้าที่ร่วมฝ่ายเสนาธิการ / อำนวยการ การประสานงาน การให้ข่าวสาร การทำประมาณการ การให้ข้อเสนอ การทำแผน / คำสั่ง การกำกับดูแล
  • 50. วิธีการประสานงาน การประชุม การบรรยายสรุป กระติดต่อประสานโดยตรง การแจกจ่ายข่าวสารสำคัญและขอความคิดเห็น
  • 51. การแก้ปัญหาทางทหาร การแสวงข้อตกลงใจทางทหาร กรรมวิธีแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ใช้ในสถานการณืทางยุทธวิธี ได้ผลผลิตออกมาเป็นแผน / คำสั่งยุทธการ การจัดทำข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ ใช้ในการทำงานในเวลาปกติ ปัญหายุ่งยากซับซ้อน มีหลายปัจจัย การประชุมตกลงใจ วิธีที่ใช้เป็นประจำ กรณีที่ปัญหา ไม่ยุ่งยากสลับซับซ้อน
  • 52. การแสวงข้อตกลงใจทางทหาร แบ่งเป็น ๔ กลุ่มงาน ๑ . วิเคราะห์ภารกิจ แจกแจงว่ามีงานอะไรบ้าง ๓ . การวิเคราะห์หนทางปฏิบัติ วิเคราะห์หนทางปฏิบัติต่างๆ ข้อดี - ข้อเสีย ๔ . ตกลงใจและปฏิบัติ เปรียบเทียบขอดีข้อเสีย ของหนทางปฏิบัติที่ดีที่สุด เพื่อการตกลงใจ ๒ . การพัฒนาหนทางปฏิบัติ การศึกษาหนทางปฏิบัติต่างๆ ที่มีอยู่
  • 53. การเขียนข้อพิจารณาของฝ่ายอำนวยการ ส่วนหัวเรื่อง ( นามหน่วย ที่ตั้งหน่วย วันเดือนปี ที่จัดทำ หัวข้อเรื่อง สัญลักษณ์ประจำเอกสาร ) ส่วนตัวเรื่อง ( ปัญหา ข้อเท็จจริง ข้อพิจารณา ข้อสรุป และข้อเสนอ ) ส่วนท้ายเรื่อง ( ลงชื่อ ผนวก ความเห็นอื่นๆ ข้อตกลงใจ ) หลักการเขียนข้อพิจารณาฝ่ายอำนวยการ ชัดเจน สั้น ถูกต้อง ปะติดปะต่อ มีเอกภาพ สมบูรณ์
  • 54. ความมั่นคงแห่งชาติ ความหมายทั่วไป การที่ชาติ / รัฐ มีเอกราช สวัสดิภาพของสังคมและ ประชาชนอยู่ในความปลอดภัย อยู่ดีมีสุข มีความสามัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน มีระเบียบวินัย และ มีวัฒนธรรม
  • 55. ปัจจัยสำคัญความมั่นคงแห่งชาติ ๕ ประการ - ด้านการเมือง - ด้านเศรษฐกิจ - ด้านสังคมจิตวิทยา - ด้านการทหาร - ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพลังงาน และสิ่งแวดล้อม
  • 56. ความมั่นคงแห่งชาติของประเทศ ลักษณะที่เป็นรูปธรรม ได้แก่ ชาติ - รัฐ ประเทศ รวมถึง ดินแดน ประชากร รัฐบาล ความมีเอกราช และ การรับรองโดยสังคมนานาชาติ ลักษณะที่เป็นนามธรรม - ความเป็นธรรมของสังคม - ความจงรักภักดีต่อชาติ - นิสัยประจำชาติ - ความสัมพันธ์ในครอบครัวต่อสังคม - ความรู้สึกที่ดีของประชากรที่มีต่อรัฐบาล
  • 57. นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ หนทางปฏิบัติอย่างกว้างๆ หรือ เป็นข้อความแสดงแนวทางปฏิบัติ ซึ่งรัฐบาลแห่งชาติกำหนดขึ้น ในอันที่จะดำเนินการให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ที่เกี่ยวกับความมั่นคงแห่งชาติ
  • 58.
  • 59. สภาความมั่นคงแห่งชาติ ประกอบด้วย คณะกรรมการ ๙ คน - นายกรัฐมนตรี ( ประธาน ) รองนายกรัฐมนตรี รมว . กห . รมว . กค . รมว . กต . รมว . คม . รมว . มท ., ผบ . ทหารสูงสุด และ เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ
  • 60. สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ( สมช .) - ฐานะเทียบเท่ากรม - หน่วยงานขึ้นตรงนายกรัฐมนตรี - เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นหัวหน้าสำนักงาน ระดับ ปลัดกระทรวง
  • 61. ปัญหาการก่อการร้ายสากล ปัญหาอาชญากรข้ามชาติ ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัญหาความมั่นคงที่เกี่ยวเนื่องกับเพื่อนบ้าน ปัญหาความมั่นคงภายในอื่น ๆ ปัญหาจากภัยพิบัติต่าง ๆ ปัญหาระบาดวิทยา ปัญหาความมั่นคงของชาติรูปแบบใหม่ กระแสโลกาภิวัตน์ เทคโนโลยี่สารสนเทศ ปัญหาข้าชาติ ข้ามพรมแดน
  • 62. หลักการสำคัญของวิทยาศาสตร์ / เทคโนโลยี่ - รากฐานปัญญาแก่สังคมเพื่อสังคมที่เข้มแข็ง - รากฐานทางเศรษฐกิจที่แข่งขันได้ พึ่งตนเองได้ และรู้เท่าทันโลก - เป็นพลังจรรโลงสิ่งแวดล้อม พัฒนาการเทคโนโลยีทางทหาร
  • 63. การพัฒนาเทคโนโลยีทางทหาร - การเรียนรู้จากการใช้งาน ( จุดเริ่มต้น / ซ่อมบำรุง ) - การเรียนรู้จากกระบวนการผลิต ( ซื้อโรงงานผลิต / การผลิต ปลย .11 ของ ทบ . / การผลิตวัตถุระเบิด กรมการอุตสาหกรรมทหาร ) - การวิจัยและพัฒนาการทหาร ( Knowhow ของตนเอง ) - การถ่ายทอดเทคโนโลยี่ ( กองทัพจะพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ) จากผลงานวิจัย - เครื่องมือเฝ้าตรวจพื้นที่ระยะไกล ซื้อเทคโนโลยี่จากต่างประเทศ - การผลิตจรวดหลายลำกล้อง ws1 จากจีน
  • 64. การวิจัยและพัฒนาการทหาร การวิจัยและพัฒนา เป็นส่วนสำคัญในการพัฒนา เทคโนโลยี่ทางทหาร ได้ knowhow ของตนเอง การวิจัยและพัฒนาการทหาร มีการวิจัย 3 ระดับ 1. เพื่อดำรงสภาพอาวุทยุทโธปกรณ์ 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพอาวุทยุทโธปกรณ์ 3. เพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่
  • 65.
  • 66. ตัวอย่างพัฒนาการด้านอาวุธยุทโธปกรณ์ อาวุธประจำกาย ดาบ หอก ธนู – ดินปืน / ปืน ปืนใหญ่ ลากจูง – อัตตาจร รถถัง ควบคุมการยิงด้วยสายตา เป็น คอมพิวเตอร์ อาวุธต่อสู้รถถัง เครื่องยิงจรวดธรรมดา เป็นจรวดนำวิถี อาวุธต่อสู้อากาศยาน ปตอ . เล็งด้วยสายตา เป็น ควบคุมด้วยเรดาร์ และจรวดนำวิถีตรวจจับด้วยอินฟาเรด เครื่องบินรบ F-16 , กริบเป้น / สวีเดน - ขับไล่ โจมตีภาคพื้น เรือรบ อาวุธเดิมใช้ ปืนใหญ่เรือ ปัจจุบันมีจรวดนำวิถี / เรดาร์ค้นหาเป้าหมาย เรือบรรทุก บ . ส่งกำลังรบทางอากาศไปได้ไกลขึ้น