SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 4 การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง t-test




                            M5420049 พีรวัฒน์ เอี่ยมโคกสูง
                            Email : peerawat@sut.ac.th
                            Tel : 087-235-1876
Introdution
        กระบวนการทางสถิติ t-test เป็นการแจกแจงแบบ Student’s t สาหรับ
  เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย 2 ค่า นอกจากนั้น ยังแสดงค่าเฉลี่ย, ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน และ
                                                                 ่
  ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในแต่ละตัวแปรด้วย
- การวิเคราะห์กรณีเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างกับประชากรหรือค่าคงที่ในทฤษฏี
- การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน
- การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่สัมพันธ์กัน
1. การวิเคราะห์กรณีเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างกับประชากร
ใช้ทดสอบค่าเฉลียของกลุ่มตัวอย่างกับค่าเฉลี่ยของกลุ่มประชากร
                ่
หรือค่าคงที่จากสถิติใดสถิติหนึ่ง หรือค่าคงที่ใดค่าคงที่หนึ่ง ที่ผู้วิจัยต้องการเปรียบเทียบ

                สมมติฐาน




             สูตรคานวณ
โจทย์ตวอย่าง
      ั
         ตามทฤษฎีทางเคมีของสารประกอบชนิดหนึ่ง มีส่วนประกอบของเหล็ก
  คิดเป็น 11.8 เปอร์เซ็นต์ เพื่อทดสอบทฤษฏีนี้ นักเคมีได้ทาการทดลอง
  สารประกอบชนิดนี้ต่างๆ กัน 9 ครั้ง ปรากฏว่ามีเปอร์เซ็นต์ของเหล็กผสมอยู่ดังนี้
  11.6 , 12.1 , 10.4 , 11.8 , 11.3 , 12.0 , 11.0 , 10.4 , 11.8
         จะตัดสินได้หรือไม่ว่า เปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของเหล็กในสารประกอบจะ
  แตกต่างไปจาก 11.8 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิต
         สมมติฐานทางสถิติ



           เปิด SPSS ทาไปพร้อมกันนะครับ
2. การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน

         ใช้ในการทดสอบสมมติฐานกรณีที่ต้องการหาความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของ
 กลุ่มตัวอย่างกลุ่มหนึ่งว่าแตกต่างจากอีกกลุ่มหนึ่งหรือไม่ เช่น ในการวิจัยเชิงทดลอง
 ต้องการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบทักษะ
 กระบวนการว่าจะมีคะแนนเฉลี่ยแตกต่างจากกลุมควบคุมหรือไม่ในกรณีกลุ่มตัวอย่าง
                                                 ่
 สองกลุ่มเป็นอิสระจากกัน เราสามารถตั้งสมมติฐานได้ดังนี้

                   สมมติฐาน
วิธีการ           การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน (ขั้นตอนวิธีการ)

    คานวณหาว่ากลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มมีความแปรปรวนของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน        1
    แตกต่างกันหรือไม่ ด้วยสูตร F-test
วิธีการ            การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน (ขั้นตอนวิธีการ)

    คานวณหาว่ากลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มมีความแปรปรวนของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน         1
    แตกต่างกันหรือไม่ ด้วยสูตร F-test

    พิจารณาค่า F-test ถ้าค่า F-test ที่ได้ไม่มีนัยสาคัญทางสถิตินั่นคือยอมรับ แสดงว่า      2
    ค่าความแปรปรวนของทั้งสองกลุ่มเท่ากัน เลือกใช้ สูตรที่ 1
    แต่ถ้าค่า F-test ที่ได้มีนัยสาคัญทางสถิติ นั้นคือ ยอมรับ แสดงว่าค่าความแปรปรวนของทั้ง
    สองกลุ่มไม่เท่ากัน เลือกใช้สูตรที่ 2
วิธีการ            การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน (ขั้นตอนวิธีการ)

    คานวณหาว่ากลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มมีความแปรปรวนของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน            1
    แตกต่างกันหรือไม่ ด้วยสูตร F-test

    พิจารณาค่า F-test ถ้าค่า F-test ที่ได้ไม่มีนัยสาคัญทางสถิตินั่นคือยอมรับ แสดงว่า      2
    ค่าความแปรปรวนของทั้งสองกลุ่มเท่ากัน เลือกใช้ สูตรที่ 1
    แต่ถ้าค่า F-test ที่ได้มีนัยสาคัญทางสถิติ นั้นคือ ยอมรับ แสดงว่าค่าความแปรปรวนของทั้ง
    สองกลุ่มไม่เท่ากัน เลือกใช้สูตรที่ 2

    เลือกใช้สูตรคานวณค่า t-test                                                              3
                                      สูตรที่ 1                                  สูตรที่ 2
โจทย์ตวอย่าง
          ั
จากการทดลองเด็กนักเรียน 2 กลุ่ม ผลปรากฏว่า เด็กแต่ละคนได้คะแนนดังนี้
กลุ่ม ก. 2 4 6 7 5 6 5 7 4
กลุ่ม ข. 4 6 8 10 9 8 6 9
จงทดสอบคะแนนเฉลี่ยระหว่าง 2 กลุ่มนี้ว่าแตกต่างกันหรือไม่




               เปิด SPSS ทาไปพร้อมกันนะครับ
3. การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่สัมพันธ์กน
                                                       ั
            ใช้ในการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยสองค่า ว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ โดยค่าเฉลี่ยทั้ง
สองค่านี้วดมาจากกลุมตัวอย่าง 2 กลุ่มที่สมพันธ์กัน โดยอาจจะวัดมาจากกลุมตัวอย่างกลุม
          ั           ่                  ั                                ่           ่
เดียวกัน 2 ครั้งหรือวัดมาจากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่ได้มาจากการจับคูคุณลักษณะที่เท่าเทียมกัน
                                                                    ่
มีวิธีการคานวณหาความแตกต่างของค่าเฉลี่ยดังนี้

              สมมติฐาน




           สูตรคานวณ
โจทย์ตวอย่าง
             ั
นาเอาสุกรที่มีคุณสมบัติเหมือนๆ กันมาศึกษา 8 คู่ แล้วแบ่งแต่ละคู่เป็น 2 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1 ให้กินราอย่างเดียว
กลุ่มที่ 2 ให้กินรากับผัก
เลี้ยงไว้นาน 6 เดือน ได้น้าหนักเป็นกิโลกรัมดังนี้
คู่ที่               1        2         3         4      5          6        7    8
กลุ่มที่ 1           50       58        51        60     49         50       47   51
กลุ่มที่ 2           54       60        57        64     53         52       50   55
ทดสอบว่า การให้อาหารหมู 2 ชนิด มีผลทาให้น้าหนักหมูแตกต่างกันหรือไม่

                   เปิด SPSS ทาไปพร้อมกันนะครับ
สรุปผล
        เนื่องจากการทดสอบ t-test มีข้อจากัดตรงที่สามารถทดสอบความแตกต่างของ
ค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างได้เพียง 2 กลุ่มเท่านั้น ดังนั้นหากเราศึกษากับกลุ่มตัวอย่างที่มี
มากกว่า 2 กลุ่ม เราจะสามารถใช้ t-test ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยได้หรือไม่ ?
สรุปผล
        เนื่องจากการทดสอบ t-test มีข้อจากัดตรงที่สามารถทดสอบความแตกต่างของ
ค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างได้เพียง 2 กลุ่มเท่านั้น ดังนั้นหากเราศึกษากับกลุ่มตัวอย่างที่มี
มากกว่า 2 กลุ่ม เราจะสามารถใช้ t-test ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยได้หรือไม่ ?
        ไม่ว่ากลุ่มตัวอย่างจะมีจานวนกี่กลุ่มก็ตาม เราสามารถใช้ t-test ทดสอบความ
แตกต่างได้ทั้งหมด โดยการจับเป็นคู่ๆ
หากมี 3 กลุ่ม เราก็ต้องทาการทดสอบ t-test 3 ครั้ง คือทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม
ที่ 1 กับกลุ่มที่ 2 ทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่ 1 กับกลุ่มที่ 3 และทดสอบความ
แตกต่างระหว่างกลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 3
หากมี 4 กลุ่มก็ต้องทาการทดสอบ t-test ถึง 6 ครั้ง
หากมี 5 กลุ่มก็ต้องทาการทดสอบ t-test ถึง 10 ครั้ง
หากมี 8 กลุ่มก็ต้องทาการทดสอบ t-test ถึง ? ครั้ง
สรุปผล
        เนื่องจากการทดสอบ t-test มีข้อจากัดตรงที่สามารถทดสอบความแตกต่างของ
ค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างได้เพียง 2 กลุ่มเท่านั้น ดังนั้นหากเราศึกษากับกลุ่มตัวอย่างที่มี
มากกว่า 2 กลุ่ม เราจะสามารถใช้ t-test ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยได้หรือไม่ ?
        ไม่ว่ากลุ่มตัวอย่างจะมีจานวนกี่กลุ่มก็ตาม เราสามารถใช้ t-test ทดสอบความ
แตกต่างได้ทั้งหมด โดยการจับเป็นคู่ๆ
หากมี 3 กลุ่ม เราก็ต้องทาการทดสอบ t-test 3 ครั้ง คือทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม
ที่ 1 กับกลุ่มที่ 2 ทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่ 1 กับกลุ่มที่ 3 และทดสอบความ
แตกต่างระหว่างกลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 3
หากมี 4 กลุ่มก็ต้องทาการทดสอบ t-test ถึง 6 ครั้ง
หากมี 5 กลุ่มก็ต้องทาการทดสอบ t-test ถึง 10 ครั้ง
หากมี n กลุ่มก็ต้องทาการทดสอบ t-test ถึง n(n-1)/2 ครั้ง
ซึ่งเป็นการยุ่งยากและเสียเวลาเป็นอย่างยิ่ง วิธีการง่ายๆ ใยการทดสอบความแตกต่างของ
ค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไป จะกล่าวในบทถัดไป
M5420049 พีรวัฒน์ เอี่ยมโคกสูง
Email : peerawat@sut.ac.th
Tel : 087-235-1876

Más contenido relacionado

Destacado

ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tJaturapad Pratoom
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssprapapan20
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นsaypin
 
การใช้โปรแกรม Spss เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Spss เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Spss เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Spss เบื้องต้นSaard Keao
 
Tablas de tukey_y_duncan
Tablas de tukey_y_duncanTablas de tukey_y_duncan
Tablas de tukey_y_duncanIsrael Garcia
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssthaweesak mahan
 
คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpsskuankaaw
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์KruGift Girlz
 
Tabel t, z dan f dan chi kuadrat
Tabel t, z dan f dan chi kuadratTabel t, z dan f dan chi kuadrat
Tabel t, z dan f dan chi kuadratIr. Zakaria, M.M
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6KruGift Girlz
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Janova Kknd
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 

Destacado (20)

Spss sriprapai
Spss sriprapaiSpss sriprapai
Spss sriprapai
 
ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง t
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
 
Testing
TestingTesting
Testing
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้น
 
8
88
8
 
การใช้โปรแกรม Spss เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Spss เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Spss เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Spss เบื้องต้น
 
Tablas de tukey_y_duncan
Tablas de tukey_y_duncanTablas de tukey_y_duncan
Tablas de tukey_y_duncan
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
 
คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpss
 
Spss jan2010
Spss jan2010Spss jan2010
Spss jan2010
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
Tabel t, z dan f dan chi kuadrat
Tabel t, z dan f dan chi kuadratTabel t, z dan f dan chi kuadrat
Tabel t, z dan f dan chi kuadrat
 
Tabel t
Tabel tTabel t
Tabel t
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
 
ค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐานค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐาน
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 

Similar a spss_t-test

12 งานนำสนอ cluster analysis
12 งานนำสนอ cluster analysis12 งานนำสนอ cluster analysis
12 งานนำสนอ cluster analysiskhuwawa2513
 
บทที่9.pdf
บทที่9.pdfบทที่9.pdf
บทที่9.pdfsewahec743
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11Sani Satjachaliao
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยธีรวัฒน์
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
เฉลย 7 วิชา สังคม 56
เฉลย 7 วิชา สังคม 56เฉลย 7 วิชา สังคม 56
เฉลย 7 วิชา สังคม 56Jirarat Cherntongchai
 
เฉลย 7 วิชา สังคม 56
เฉลย 7 วิชา สังคม 56เฉลย 7 วิชา สังคม 56
เฉลย 7 วิชา สังคม 56JorJames Satawat
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkrusongkran
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณSaiiew
 
Probability
ProbabilityProbability
Probabilitykrubud
 
Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]numpueng
 
122121
122121122121
122121kay
 
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือRut' Np
 

Similar a spss_t-test (20)

12 งานนำสนอ cluster analysis
12 งานนำสนอ cluster analysis12 งานนำสนอ cluster analysis
12 งานนำสนอ cluster analysis
 
บทที่9.pdf
บทที่9.pdfบทที่9.pdf
บทที่9.pdf
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
ppt
pptppt
ppt
 
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
เฉลย 7 วิชา สังคม 56
เฉลย 7 วิชา สังคม 56เฉลย 7 วิชา สังคม 56
เฉลย 7 วิชา สังคม 56
 
เฉลย 7 วิชา สังคม 56
เฉลย 7 วิชา สังคม 56เฉลย 7 วิชา สังคม 56
เฉลย 7 วิชา สังคม 56
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
Process
ProcessProcess
Process
 
9บทที่5
9บทที่5 9บทที่5
9บทที่5
 
ทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไมทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไม
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]
 
122121
122121122121
122121
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
 

spss_t-test

  • 1. บทที่ 4 การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง t-test M5420049 พีรวัฒน์ เอี่ยมโคกสูง Email : peerawat@sut.ac.th Tel : 087-235-1876
  • 2. Introdution กระบวนการทางสถิติ t-test เป็นการแจกแจงแบบ Student’s t สาหรับ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย 2 ค่า นอกจากนั้น ยังแสดงค่าเฉลี่ย, ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน และ ่ ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในแต่ละตัวแปรด้วย - การวิเคราะห์กรณีเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างกับประชากรหรือค่าคงที่ในทฤษฏี - การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน - การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่สัมพันธ์กัน
  • 3. 1. การวิเคราะห์กรณีเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างกับประชากร ใช้ทดสอบค่าเฉลียของกลุ่มตัวอย่างกับค่าเฉลี่ยของกลุ่มประชากร ่ หรือค่าคงที่จากสถิติใดสถิติหนึ่ง หรือค่าคงที่ใดค่าคงที่หนึ่ง ที่ผู้วิจัยต้องการเปรียบเทียบ สมมติฐาน สูตรคานวณ
  • 4. โจทย์ตวอย่าง ั ตามทฤษฎีทางเคมีของสารประกอบชนิดหนึ่ง มีส่วนประกอบของเหล็ก คิดเป็น 11.8 เปอร์เซ็นต์ เพื่อทดสอบทฤษฏีนี้ นักเคมีได้ทาการทดลอง สารประกอบชนิดนี้ต่างๆ กัน 9 ครั้ง ปรากฏว่ามีเปอร์เซ็นต์ของเหล็กผสมอยู่ดังนี้ 11.6 , 12.1 , 10.4 , 11.8 , 11.3 , 12.0 , 11.0 , 10.4 , 11.8 จะตัดสินได้หรือไม่ว่า เปอร์เซ็นต์เฉลี่ยของเหล็กในสารประกอบจะ แตกต่างไปจาก 11.8 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิต สมมติฐานทางสถิติ เปิด SPSS ทาไปพร้อมกันนะครับ
  • 5. 2. การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน ใช้ในการทดสอบสมมติฐานกรณีที่ต้องการหาความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของ กลุ่มตัวอย่างกลุ่มหนึ่งว่าแตกต่างจากอีกกลุ่มหนึ่งหรือไม่ เช่น ในการวิจัยเชิงทดลอง ต้องการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบทักษะ กระบวนการว่าจะมีคะแนนเฉลี่ยแตกต่างจากกลุมควบคุมหรือไม่ในกรณีกลุ่มตัวอย่าง ่ สองกลุ่มเป็นอิสระจากกัน เราสามารถตั้งสมมติฐานได้ดังนี้ สมมติฐาน
  • 6. วิธีการ การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน (ขั้นตอนวิธีการ) คานวณหาว่ากลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มมีความแปรปรวนของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1 แตกต่างกันหรือไม่ ด้วยสูตร F-test
  • 7. วิธีการ การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน (ขั้นตอนวิธีการ) คานวณหาว่ากลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มมีความแปรปรวนของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1 แตกต่างกันหรือไม่ ด้วยสูตร F-test พิจารณาค่า F-test ถ้าค่า F-test ที่ได้ไม่มีนัยสาคัญทางสถิตินั่นคือยอมรับ แสดงว่า 2 ค่าความแปรปรวนของทั้งสองกลุ่มเท่ากัน เลือกใช้ สูตรที่ 1 แต่ถ้าค่า F-test ที่ได้มีนัยสาคัญทางสถิติ นั้นคือ ยอมรับ แสดงว่าค่าความแปรปรวนของทั้ง สองกลุ่มไม่เท่ากัน เลือกใช้สูตรที่ 2
  • 8. วิธีการ การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน (ขั้นตอนวิธีการ) คานวณหาว่ากลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มมีความแปรปรวนของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1 แตกต่างกันหรือไม่ ด้วยสูตร F-test พิจารณาค่า F-test ถ้าค่า F-test ที่ได้ไม่มีนัยสาคัญทางสถิตินั่นคือยอมรับ แสดงว่า 2 ค่าความแปรปรวนของทั้งสองกลุ่มเท่ากัน เลือกใช้ สูตรที่ 1 แต่ถ้าค่า F-test ที่ได้มีนัยสาคัญทางสถิติ นั้นคือ ยอมรับ แสดงว่าค่าความแปรปรวนของทั้ง สองกลุ่มไม่เท่ากัน เลือกใช้สูตรที่ 2 เลือกใช้สูตรคานวณค่า t-test 3 สูตรที่ 1 สูตรที่ 2
  • 9. โจทย์ตวอย่าง ั จากการทดลองเด็กนักเรียน 2 กลุ่ม ผลปรากฏว่า เด็กแต่ละคนได้คะแนนดังนี้ กลุ่ม ก. 2 4 6 7 5 6 5 7 4 กลุ่ม ข. 4 6 8 10 9 8 6 9 จงทดสอบคะแนนเฉลี่ยระหว่าง 2 กลุ่มนี้ว่าแตกต่างกันหรือไม่ เปิด SPSS ทาไปพร้อมกันนะครับ
  • 10. 3. การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่สัมพันธ์กน ั ใช้ในการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยสองค่า ว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ โดยค่าเฉลี่ยทั้ง สองค่านี้วดมาจากกลุมตัวอย่าง 2 กลุ่มที่สมพันธ์กัน โดยอาจจะวัดมาจากกลุมตัวอย่างกลุม ั ่ ั ่ ่ เดียวกัน 2 ครั้งหรือวัดมาจากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่ได้มาจากการจับคูคุณลักษณะที่เท่าเทียมกัน ่ มีวิธีการคานวณหาความแตกต่างของค่าเฉลี่ยดังนี้ สมมติฐาน สูตรคานวณ
  • 11. โจทย์ตวอย่าง ั นาเอาสุกรที่มีคุณสมบัติเหมือนๆ กันมาศึกษา 8 คู่ แล้วแบ่งแต่ละคู่เป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ให้กินราอย่างเดียว กลุ่มที่ 2 ให้กินรากับผัก เลี้ยงไว้นาน 6 เดือน ได้น้าหนักเป็นกิโลกรัมดังนี้ คู่ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 กลุ่มที่ 1 50 58 51 60 49 50 47 51 กลุ่มที่ 2 54 60 57 64 53 52 50 55 ทดสอบว่า การให้อาหารหมู 2 ชนิด มีผลทาให้น้าหนักหมูแตกต่างกันหรือไม่ เปิด SPSS ทาไปพร้อมกันนะครับ
  • 12. สรุปผล เนื่องจากการทดสอบ t-test มีข้อจากัดตรงที่สามารถทดสอบความแตกต่างของ ค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างได้เพียง 2 กลุ่มเท่านั้น ดังนั้นหากเราศึกษากับกลุ่มตัวอย่างที่มี มากกว่า 2 กลุ่ม เราจะสามารถใช้ t-test ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยได้หรือไม่ ?
  • 13. สรุปผล เนื่องจากการทดสอบ t-test มีข้อจากัดตรงที่สามารถทดสอบความแตกต่างของ ค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างได้เพียง 2 กลุ่มเท่านั้น ดังนั้นหากเราศึกษากับกลุ่มตัวอย่างที่มี มากกว่า 2 กลุ่ม เราจะสามารถใช้ t-test ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยได้หรือไม่ ? ไม่ว่ากลุ่มตัวอย่างจะมีจานวนกี่กลุ่มก็ตาม เราสามารถใช้ t-test ทดสอบความ แตกต่างได้ทั้งหมด โดยการจับเป็นคู่ๆ หากมี 3 กลุ่ม เราก็ต้องทาการทดสอบ t-test 3 ครั้ง คือทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม ที่ 1 กับกลุ่มที่ 2 ทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่ 1 กับกลุ่มที่ 3 และทดสอบความ แตกต่างระหว่างกลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 3 หากมี 4 กลุ่มก็ต้องทาการทดสอบ t-test ถึง 6 ครั้ง หากมี 5 กลุ่มก็ต้องทาการทดสอบ t-test ถึง 10 ครั้ง หากมี 8 กลุ่มก็ต้องทาการทดสอบ t-test ถึง ? ครั้ง
  • 14. สรุปผล เนื่องจากการทดสอบ t-test มีข้อจากัดตรงที่สามารถทดสอบความแตกต่างของ ค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างได้เพียง 2 กลุ่มเท่านั้น ดังนั้นหากเราศึกษากับกลุ่มตัวอย่างที่มี มากกว่า 2 กลุ่ม เราจะสามารถใช้ t-test ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยได้หรือไม่ ? ไม่ว่ากลุ่มตัวอย่างจะมีจานวนกี่กลุ่มก็ตาม เราสามารถใช้ t-test ทดสอบความ แตกต่างได้ทั้งหมด โดยการจับเป็นคู่ๆ หากมี 3 กลุ่ม เราก็ต้องทาการทดสอบ t-test 3 ครั้ง คือทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม ที่ 1 กับกลุ่มที่ 2 ทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่ 1 กับกลุ่มที่ 3 และทดสอบความ แตกต่างระหว่างกลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 3 หากมี 4 กลุ่มก็ต้องทาการทดสอบ t-test ถึง 6 ครั้ง หากมี 5 กลุ่มก็ต้องทาการทดสอบ t-test ถึง 10 ครั้ง หากมี n กลุ่มก็ต้องทาการทดสอบ t-test ถึง n(n-1)/2 ครั้ง ซึ่งเป็นการยุ่งยากและเสียเวลาเป็นอย่างยิ่ง วิธีการง่ายๆ ใยการทดสอบความแตกต่างของ ค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไป จะกล่าวในบทถัดไป