SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 18
Descargar para leer sin conexión
ตัวอย่าง
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
แผนสหวิทยาการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง เรื่องกล้วย กล้วย เวลา 12 ชั่วโมง
การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
ลาดับที่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชื่อแผน ระยะเวลา/ชั่วโมง มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
1 ภาษาไทย ชื่อเสียงเรียงคานาม 2 ท 4.1 ป.6/1
2 คณิตศาสตร์ เดินตามจานวนและการ
ดาเนินการ
1 ค. 1.3 ป.6/1
3 วิทยาศาสตร์ รู้ค่าสารอาหารจากกล้วย 2 ว 1.1 ป.6/3
4 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ร่ารวยภูมิปัญญาไทยจาก
กล้วยมหัศจรรย์
2 ส 4.3 ป.6/4
5 สุขศึกษาและพลศึกษา สานสัมพันธ์ด้วยเชือก
กล้วย
1 พ 3.1 ป.6/1 ป.6/4
พ 3.2 ป.6/3 ป.6/6
6 ศิลปะ ลีลาสวยในเริงระบากล้วย
พร้อมช่วยกันทาพวง
กุญแจ
2 ศ 1.1 ป.6/4
ศ 2.1 ป.6/4
ศ 3.1 ป.6/1
7 การงานอาชีพและเทคโนโลยี แฟนพันธ์แท้พันธุ์กล้วย 1 ง 1.1 ป.6/1
ป.6/3
8 ภาษาต่างประเทศ อวยพรด้วยคน
Congratulations !
1 ต 1.2 ป.6/5
รวม 12
ผังความคิดการจัดการเรียนรู้แบบสหวิทยาการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เรื่อง กล้วย กล้วย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ภาษาต่างประเทศ ร่ารวยภูมิปัญญาไทยจากกล้วย คณิตศาสตร์
อวยพรด้วยคน Congratulations ! ส 4.3 ป.6/4 เดินตามจานวนและการดาเนินการ
ต 1.2 ป.6/5 ค. 1.3 ป.6/1
ภาษาไทย ศิลปะ
ชื่อเสียงเรียงคานาม เรื่อง กล้วย กล้วย ลีลาสวยในเริงระบากล้วย
พร้อมช่วย ท 4.1 ป.6/1 ช่วยกันทาพวงกุญแจกล้วยเริงร่า
ศ 1.1 ป.6/4
ศ 2.1 ป.6/4 , ศ 3.1 ป.6/1
วิทยาศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
รู้คุณคุณค่าสารอาหารในกล้วย สุขศึกษาและพลศึกษา แฟนพันธุ์แท้พันธุ์กล้วย
ว 1.1 ป.6/3 สานสัมพันธ์ด้วยเชือกกล้วย ง 1.1 ป.6/1
พ 3.1 ป.6/1 ป.6/4
พ 3.2 ป.6/3 ป.6/
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชื่อหน่วย มหัศจรรย์พรรณกล้วย เวลา 12 ชั่วโมง
................................................................................................................................................
1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้ภาษาไทย
ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ป.6/1 วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
มาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ค. 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด
ป.6/1 บอกค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มหลักต่างๆ ของจานวนนับและนาไปใช้ได้
มาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ
ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้
ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
ตัวชี้วัด
ป.6/3 วิเคราะห์สารอาหาร และอภิปรายความจาเป็นที่ร่างกายต้องได้รับสารอาหารในสัดส่วน
ที่เหมาะสมกับเพศและวัย
มาตรฐานการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และ ธารง
ความเป็นไทย
ตัวชี้วัด
ป.6/4 อธิบายภูมิปัญญาไทยที่สาคัญสมัยรัตนโกสินทร์ที่น่าภาคภูมิใจ และควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้
มาตรฐานการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา
พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย
เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬามีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา
ตัวชี้วัด
พ 3.1 ป.6/1 ป.6/4
พ 3.2 ป.6/3 ป.6/6
1. มีทักษะในการควบคุมการเคลื่อนไหวร่างกายโดยใช้อุปกรณ์
2. มีความรู้ในการใช้อุปกรณ์ในการออกกาลังกาย
3. มีทักษะในการเล่นกีฬาไทย
4. มีความสามัคคีและมีน้าใจนักกีฬา
มาตรฐานการเรียนรู้ศิลปะ
ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี
อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
ศ 3.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์
ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นภูมิปัญญาไทยและสากล
ตัวชี้วัด
ป.6/4 ใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลง ด้นสด ที่มีจังหวะและทานองง่ายๆ
ป.6/1 สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวและการแสดง โดยเน้นการถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์
ป.6/2 ออกแบบเครื่องแต่งกายหรืออุปกรณ์ประกอบการแสดงอย่างง่ายๆ
มาตรฐานการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ง 1.1 เข้าใจการทางานมีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ
ทักษะ
กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะกระบวนการทางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรมและ
ลักษณะนิสัยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวิตและ
ครอบครัว
ตัวชี้วัด
ป.6/1 ใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทางาน และการแก้ปัญหาในการทางาน
ป.6/3 มีจิตสานึกในการทางานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า
มาตรฐานการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก และ
ความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด พูด / เขียนแสดงความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว กิจกรรมต่าง ๆ พร้อม
ทั้งให้เหตุผลสั้นๆ ประกอบ
2. สาระสาคัญ / ความคิดรวบยอด
ต้นกล้วยเป็นพืชท้องถิ่นที่มีความเกี่ยวข้องกับการดารงชีวิต ประเพณีและวัฒนธรรมของไทย
มาเป็นเวลาช้านาน ความผูกพันในวิถีชีวิตคนไทยทาให้คนไทยรู้จักประโยชน์จากต้นกล้วยเป็นอย่างดี
ทั้งการใช้บริโภคเป็นอาหาร การใช้ประโยชน์จากทุกส่วนของกล้วยในกิจกรรมและพิธีกรรมต่างๆ นับได้
ว่ากล้วยเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีคุณค่าและบทบาทสาคัญต่อวิถีไทยมาจนถึงปัจจุบัน
3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
- ความหมายของคานาม
- ชนิดของคานาม
3.2 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- การประมาณค่าน้าหนักเปรียบเทียบกับน้าหนักที่ชั่งได้จริง
- การคานวณราคาต่อน้าหนักที่ชั่งได้
3.3 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
- การทดสอบสารอาหารที่มีอยู่ในกล้วย
- การคานวณพลังงานของอาหารประเภทกล้วย
3.4 สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
- ภูมิปัญญาไทยจากกล้วย ( อาหารไทย , การละเล่น , สมุนไพรไทย , วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม
ประเพณี วัฒนธรรม , ผลิตภัณฑ์ )
3.5 สาระสุขศึกษาและพลศึกษา
- การเคลื่อนไหวร่างกายโดยใช้อุปกรณ์
3.6 สาระศิลปะ
- ออกแบบพวงกุญแจกล้วยเริงร่า โดยใช้หลักทัศนศิลป์ ทางงานปั้น
- ร้องเพลงระบากล้วยพร้อมปรบจังหวะ
3.7 สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
- ความรอบรู้เกี่ยวกับพันธุ์กล้วย
- การทาอุปกรณ์กล้วยอาบแดด
3.8 สาระภาษาต่างประเทศ
- คาและประโยคที่ใช้แสดงความรู้สึกและการให้เหตุผลประกอบ
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
5.1 ความสามารถในการสื่อสาร
5.2 ความสามารถในการคิด
5.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
6.1 มีความซื่อสัตย์
6.2 มุ่งมั่นในการทางาน
6.3 ใฝ่เรียนรู้
6.4 อยู่อย่างพอเพียง
6.5 รักความเป็นไทย
6. ชิ้นงาน / ภาระงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
- ใบงานมหัศจรรย์พรรณกล้วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
- ใบงานเรื่อง การคาดคะเน – การคานวณน้าหนัก
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
- ใบงานเรื่อง การทดสอบสารอาหารประเภทแป้ งและน้าตาลที่ได้จากกล้วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
- ใบงานเรื่อง ภูมิปัญญาไทยจากกล้วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
- ใบงานเรื่อง สานสัมพันธ์เชือกกล้วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
- ใบงานเรื่อง เริงระบากล้วยและพวงกุญแจกล้วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
- ใบงานเรื่อง แฟนพันธุ์แท้พรรณกล้วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
- ใบงานเรื่อง อวยพรด้วยคน Congratulations !
7. กิจกรรมการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย : ชั่วโมงที่ 1 - 2
1. นักเรียนฟังคาชี้แจงวัตถุประสงค์การเรียนรู้จากครู
2. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับกล้วย ในเรื่องพันธุ์กล้วย ส่วนประกอบของกล้วย
ประโยชน์หรือสรรพคุณของกล้วย
3. นักเรียนจับคู่ทากิจกรรมกล๊วยกล้วย โดยการช่วยกันคิดคาหรือกลุ่มคาที่มีคาว่า “กล้วย”
ประกอบอยู่ด้วย เช่น กล้วยตาก กล้วยบวชชี เชือกกล้วย ฯลฯ ภายในเวลา 10 วินาที คู่ใดเขียนได้
ถูกต้องและมากที่สุดถือว่าเป็นผู้ชนะ
4. นักเรียนฟังคาอธิบายเรื่องคานามจากครู พร้อมทั้งเปิดหนังสือภาษาพาที ระดับชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 6 หน้า 61 – 73 ประกอบ
5. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์คาว่า “กล้วย” เป็นคานามชนิดใด และส่วนประกอบหรือลักษณะของ
กล้วย ปรากฏในคานามชนิดใดบ้าง
6. นักเรียนฟังคาอธิบายเพิ่มเติมและซักถามข้อสงสัยจากครู
7. นักเรียนจับคู่ทาใบงานมหัศจรรย์พรรณกล้วย โดยการค้นหาคานามที่มีคาว่า “กล้วย” ประกอบ
หน้าคาจากตารางที่กาหนดให้
8. นักเรียนส่งผลงานเพื่อให้คุณครูประเมินผลการเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ : ชั่วโมงที่ 3
1. นักเรียนแบ่งกลุ่มๆละ 3 คน ร่วมกันตั้งชื่อกลุ่ม
2. ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับความสาคัญของการหาค่าประมาณที่ใช้ในชีวิตประจาวันแล้วร่วมกัน
ยกตัวอย่าง เช่น ความสูงของนักเรียน น้าหนักของกระเป๋ า จากนั้นร่วมกันอภิปรายการหาค่าประมาณ
ใกล้เคียงจานวนเต็มสิบ ให้พิจารณาจานวนที่อยู่ในหลักหน่วยของจานวนนั้น ถ้าต่ากว่า 5 ให้ประมาณ
เป็นจานวนเต็มสิบที่น้อยกว่าค่านั้น ถ้าตั้งแต่ 5 ขึ้นไป ให้ประมาณเป็นจานวนที่มีค่ามากกว่าค่านั้น
จากนั้นยกตัวอย่างและร่วมกันสนทนาค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มร้อย เต็มพัน
3. เมื่อนักเรียนเข้าใจเรื่องค่าประมาณแล้ว ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกกล้วย 1 หวี โดยใช้มือ
ข้างเดียวในการยกแล้วบันทึกค่าประมาณของน้าหนักกล้วยในใบงาน
4. นากล้วยที่แต่ละกลุ่มเลือก ไปชั่งน้าหนักจริง บันทึกค่าในใบงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ : ชั่วโมงที่ 4 - 5
ชั่วโมงที่ 1
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
2.ครูสนทนาซักถามเกี่ยวกับการนากล้วยมาประกอบอาหาร ให้นักเรียนยกตัวอย่างอาหารที่ได้จาก
กล้วย
3.นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 4 - 5 คน เลือกหัวหน้าและเลขานุการเพื่อทาหน้าที่ประสานงาน และ
บันทึกการประชุมกลุ่ม
4.ให้นักเรียนทุกกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับคุณค่าอาหารที่ได้จากกล้วยชนิดต่าง ๆ
5.ให้แต่ละกลุ่มนาเสนอข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมานาเสนอหน้าชั้นเรียน
6.ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกวิธีการทดสอบสารอาหารที่ได้จากกล้วย มากลุ่มละ 1 อย่าง โดยไม่ซ้า
กัน
7.ครูเตรียมอุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้ในการทดสอบสารอาหาร
ชั่วโมงที่ 2
1.ให้นักเรียนศึกษาวิธีทดสอบสารอาหารจากใบงานที่ได้รับ
2.นักเรียนแต่ละกลุ่มฝึกปฏิบัติการทดสอบสารอาหารโดยใช้ทักษะการทดลอง
3.นักเรียนบันทึกผลการทดลองที่ได้ และสรุปองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงลงในใบงาน
4.นักเรียนร่วมกันนาเสนอผลงานในรูปของการรายงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม : ชั่วโมงที่ 6 - 7
1. ครูสนทนาเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยมีมากมายหลายด้าน เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค เป็นต้น
ซึ่งปัญญาส่วนใหญ่เกิดจากการดาเนินชีวิตประจาวัน หรือวิถีชีวิต ซึ่งประกอบด้วยวัตถุ หรือ ทรัพยากรที่มี
ในท้องถิ่น ซึ่งมีอยู่มากมายในแต่ละท้องถิ่น เช่น กล้วย เป็นต้น
2. ให้นักเรียนเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการดาเนินชีวิตของคนไทยเกี่ยวกับกล้วย
3. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนช่วยกันไปสืบค้นเกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนไทย ที่ได้ประโยชน์อะไรจากกล้วย
บ้าง
- อาหารไทย (อาหารคาว, อาหารหวาน)
- การละเล่นของเด็กไทย (ม้าก้านกล้วย, ปืนก้านกล้วย)
- สมุนไพรไทยจากกล้วย (ลูกกล้วย, ปลีกล้วย)
- วิถีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม (การทากระทง, บายศรี)
- ผลิตภัณฑ์ (ประเป๋ าเชือกกล้วย, กระดาษรีไซเคิลจากเส้นใยกาบกล้วย)
4. ให้นักเรียนทาใบงานภูมิปัญญาจากกล้วย
5. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อสรุปความรู้เรื่องภูมิปัญญาไทยจากกล้วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา : ชั่วโมงที่ 8
1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวร่างกายในรูปแบบต่างๆและการเคลื่อนไหว
ร่างกายแบบผสมผสาน
2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆละ 5-7 คน ศึกษาเพื่อหาการเคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสานและ
เคลื่อนไหวโดยใช้อุปกรณ์
3. แต่ละกลุ่มระดมสมอง วางแผนการทากิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสานและ
เคลื่อนไหวโดยใช้อุปกรณ์ประกอบการเคลื่อนไหวโดยทาจากวัสดุจากธรรมชาติที่มีในท้องถิ่น
4. แต่ละกลุ่มนาเสนอแนวคิดหน้าชั้นเรียน
5. แต่ละกลุ่มฝึกทากิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสานให้มีความชานาญในการ
เล่นกีฬา
6. นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้และแนวคิดที่จะเลือกใช้วัสดุจากธรรมชาติที่จะนามาใช้
เป็นอุปกรณ์ประกอบการเคลื่อนไหวร่างกาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ชั่วโมงที่ 9 - 10
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆละ 7-8 คน เลือกหัวหน้าและเลขานุการเพื่อทาหน้าที่ประสานงานและบันทึก
การประชุมกลุ่ม
2. ให้นักเรียนทุกกลุ่มฝึกร้องเพลงระบากล้ว
เพลงเริงระบากล้วย
ทานองเพลงช้าง
กล้วย กล้วย กล้วย น้องเคยเห็นกล้วยหรือเปล่า
กล้วยมันมีเครือยาวๆ ตัดแบ่งจากเครือเรียกว่า หวี
ตัดแบ่งจากหวีเรียกว่าผล ใช้ทาประโยชน์ได้มากมาย
3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดวางแผนสร้างสรรค์ท่าทางการแสดงเริงระบากล้วย โดย
วิเคราะห์ตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงโดยครูกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิดวิเคราะห์ว่า
จะสร้างสรรค์ท่าทางการแสดงเริงระบากล้วยอย่างไรจึงจะพอเหมาะกับเวลาที่กาหนดและให้นักเรียนคิดหา
เหตุผลในการตัดสินใจเลือกลีลาท่าทางการแสดงที่เหมาะสมในการแสดงเริงระบากล้วย
4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดวางแผนการออกแบบพวงกุญแจกล้วยเริงร่า โดยวิเคราะห์
ตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงโดยครูกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิดวิเคราะห์ว่าจะ
ออกแบบพวงกุญแจกล้วยเริงร่าอย่างไรจึงจะพอเหมาะกับเวลาที่กาหนดและให้นักเรียนคิดหาเหตุผลในการ
ตัดสินใจเลือกแบบที่เหมาะสมและคงทนต่อการใช้งาน
5. ให้นักเรียนวิเคราะห์ภูมิคุ้มกันที่ดีที่นักเรียนได้รับจากการสร้างสรรค์ท่าทางการแสดงระบากล้วย
และการออกแบบพวงกุญแจกล้วยเริงร่า ทาให้ประสบผลสาเร็จและมีความปลอดภัยในการปฏิบัติ
6. นักเรียนร่วมกันระดมความคิดในการนาความรู้มาใช้ในการสร้างสรรค์ท่าทางการแสดงเริงระบา
กล้วยและการออกแบบพวงกุญแจกล้วยเริงร่า โดยใช้คุณธรรมด้านใดบ้างที่ทาให้งานสาเร็จ
7. นักเรียนทุกกลุ่มนาเสนอผลงานการปฏิบัติโดยการร้องเพลงพร้อมท่าทางการแสดงเริงระบากล้วย
และใช้อุปกรณ์ประกอบการแสดงหน้าชั้นเรียน
8. นักเรียนและครูช่วยกันสรุปขั้นตอนในการสร้างสรรค์ท่าทางการแสดงเริงระบากล้วยและการ
ออกแบบพวงกุญแจกล้วยเริงร่า หน้าชั้นเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี : ชั่วโมงที่ 11
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
2. ครูสนทนาซักถามเกี่ยวกับความรู้เรื่องพันธุ์กล้วยในแต่ละท้องถิ่น
3.นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน เลือกหัวหน้าและเลขานุการเพื่อทาหน้าที่ประสานงานและบันทึก
การประชุมกลุ่ม
4,ให้นักเรียนทุกกลุ่มสืบค้นข้อมูลพันธุ์กล้วยจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
5.ให้แต่ละกลุ่มนาเสนอข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมานาเสนอหน้าชั้นเรียน
6.ให้นักเรียนสรุปองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7.นักเรียนร่วมกันนาเสนอผลงานในรูปของการรายงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ : ชั่วโมงที่ 12
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
2. ทบทวนความรู้ที่นักเรียนได้จากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนไทยที่เกี่ยวข้องกับพืช
ท้องถิ่น คือ กล้วย
3. นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับบทสนทนา
4.นักเรียนฝึกสนทนาเกี่ยวกับการแสดงความยินดีเป็นคู่ ๆ
5.นักเรียนศึกษาใบความรู้เกี่ยวกับการแสดงความยินดีในสถานการณ์ต่างๆและการให้เหตุผล
ประกอบ แล้วร่วมสนทนาเกี่ยวกับความหมาย หลักการใช้ภาษาในการตอบรับ แสดงความคิดเห็น และ
ฝึกการใช้ประโยคในสถานการณ์ที่กาหนดให้ โดยบันทึกลงในใบงานเป็นกลุ่ม
6.ครูและนักเรียนร่วมสนทนาเกี่ยวกับธรรมชาติของภาษาที่ใช้ในการสื่อสารถึงความรู้สึก ความ
คิดเห็น และการให้เหตุผลประกอบ นักเรียนสรุปองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงจากการร่วมกิจกรรม และส่งผลงานที่ได้จากการร่วมกิจกรรม
8. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2. อินเทอร์เน็ต
3. เพลงกล้วยปิ้ง
4. ใบงานมหัศจรรย์พรรณกล้วย
5. หนังสือเรียนภาษาพาที ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
1. สิ่งของ เช่น ก้อนหิน หรือสิ่งที่จะคาดคะเนน้าหนักได้
2. กล้วย
3. เครื่องชั่งสปริง
4. ใบงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2. Internet
3. ใบงานเรื่อง การทดสอบสารอาหารประเภทแป้ งและน้าตาลที่ได้จากกล้วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
1. ต้นกล้วย
2. ห้องสมุด
3.ห้องพิพิธภัณฑ์สตรีมารดาพิทักษ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
1. ตัวอย่างวัสดุจากธรรมชาติ(ที่เลือกเป็นอุปกรณ์ประกอบการเคลื่อนไหว)
2. ใบความรู้
3. ใบงาน เรื่อง เชือกกล้วยเกลียวสัมพันธ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
1.แผนภูมิเพลงกล้วย
2. ใบงาน เรื่อง เริงระบากล้วย – พวงกุญแจกล้วยเริงร่า
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2. Internet
3. ใบงาน เรื่อง การออกแบบวิเคราะห์องค์ความรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
1. ใบงาน เรื่อง Congratulations !
2. ใบความรู้ เรื่อง Congratulations !
9. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
9.1 ตรวจผลงาน แบบประเมินผลงาน ความสมบูรณ์ของผลงาน
มากกว่าร้อยละ 80 ดีมาก
ร้อยละ 70 – 79 ดี
ร้อยละ 70 – 79 พอใช้
ต่ากว่าร้อยละ 50 ปรับปรุง
9.2 การนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
9.3 สังเกตทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม สรุปแบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม
คะแนน 16 – 20 ดี
คะแนน 10 – 15 พอใช้
คะแนนต่ากว่า 10 ปรับปรุง
9.4 สังเกตพฤติกรรมการร่วม
กิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมการร่วม
กิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรรม
คะแนน 3 ดี
คะแนน 2 พอใช้
คะแนน 1 ปรับปรุง
10. การบูรณาการของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
10.1 สาหรับครูผู้สอน
3 ห่วง
ประเด็น
ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เนื้อหา
1. ครูวิเคราะห์หลักสูตร เนื้อหา
ออกแบบ และจัดกิจกรรมได้
สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด
และบริบทของท้องถิ่น
1. ครูเลือกเรื่องที่สอน
ใ ห้ ส อ ด ค ล้อ ง กับ
ท้องถิ่นและผู้เรี ยน
เพื่อให้เห็นความสาคัญ
ข อ ง ก า ร อ นุ รั ก ษ์
ภูมิปัญญา
1. เพื่อให้การจัดการ
เรียนรู้ให้ครอบคลุม
ตามจุดประสงค์
แหล่งเรียนรู้
1. กาหนดภาระงาน / ชิ้นงาน ใน
การทาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นได้
เหมาะสมกับจุดประสงค์และวัย
ของผู้เรียน
1. เพื่อส่งเสริมให้
นักเรี ยนใฝ่ เรี ยนรู้
และส่งเสริมการใช้
เทคโนโลยีและ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
1. เตรียมวิธีป้ องกัน
และแก้ปัญหาจากการ
ปฏิบัติกิจกรรม
สื่อ/อุปกรณ์
1. ครูจัดเตรียมใบความรู้และ
ใบงานที่เหมาะสมกับเนื้อหาที่
สอนและความสนใจของผู้เรียน
2.จัดกิจกรรมการเรียนรู้เหมาะ
สมกับวัยของผู้เรียน
1. ออกแบบการจัดการ
เรียนรู้ เพื่อให้เห็น
คุณค่าของภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
2. นักเรียนได้รับ
ประสบการณ์ตรง
จากการเรียนรู้และเกิด
ความภาคภูมิใจใน
ความสามารถของ
ตนเอง
1. ครูเตรียมกิจกรรม
การเรียนรู้สารอง เพื่อ
ร อ ง รั บ ก ร ณี ที่ มี
เหตุการณ์เปลี่ยนแปลง
3 ห่วง
ประเด็น
ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เวลา
1. ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ให้
เหมาะสมเพียงพอกับเวลาที่
กาหนดไว้
1. จัดการเรียนรู้ได้
ตามกระบวนการ
ค ร บ ถ้ ว น ต า ม ที่
วางแผนไว้
1.เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร จั ด
กิจกรรมการเรียนรู้ได้
ครบตามจุดประสงค์
ที่กาหนดไว้
การจัดกิจกรรม
1.ครูแบ่งกลุ่มผู้เรียนได้พอดีกับ
จานวนนักเรียน
2.นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ
เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
1.จัดนักเรี ยนคละ
ความสามารถเก่ง
ป า น ก ล า ง อ่ อ น
เ พื่ อ ใ ห้ นั ก เ รี ย น
แบ่งกลุ่มได้เหมาะสม
และสามารถช่วยเหลือ
ซึ่งกันและกันได้
2. เพื่อให้นักเรียนได้
นาความรู้ที่ได้รับไป
ปฏิบัติ
1. เพื่อให้นักเรียนได้
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และ
แสดงศักยภาพของ
ตนเองเพื่อให้เกิดความ
ภาคภูมิใจ
2.เ พื่ อ ต ร ว จ ส อ บ
ศักยภาพของนักเรียน
เป็นรายบุคคลสามารถ
แก้ไขปัญหาได้ตรง
ตามความสามารถ
การประเมินผล
1.มีการออกแบบการวัดและ
ประเมินผลได้เพียงพอกับ
ตัวชี้วัดและเหมาะสมกับเวลา
1. มี ก าร อ อก แ บ บ
เครื่ องมื อวัดแล ะ
ป ร ะ เ มิ น ผ ล ที่
สอดคล้องกับเนื้อหา
ที่ต้องการวัด
1.มีวัดและประเมินผล
ผู้เ รี ย น ไ ด้อ ย่ า ง มี
คุณภาพและตรงตาม
เป้าหมายที่ต้องการวัด
เงื่อนไขความรู้
1.ครูผู้สอน มีความรู้ในเนื้อหาสาระที่สอน
2.มีความรู้เรื่อง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เงื่อนไข
คุณธรรม
1. มีความรักเมตตาศิษย์มีความรับผิดชอบ มีความยุติธรรม
10.2 สาหรับนักเรียน
ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
1. ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องการ
แบ่งเวลาในการทากิจกรรม
ตามที่ได้รับมอบหมาย
2. เรียนรู้การใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มี
อยู่อย่างประหยัดและคุ้มค่า
3. ผู้เรียนเรี ยนรู้ในการทา
กิจกรรม ภาระงานได้เหมาะสม
กับความรู้ ความสามารถตามวัย
ของผู้เรียน
1. ผู้เรียนมีความรู้และ
เชื่อมโยงความรู้จากกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อื่น
2. เสริมสร้างกระบวนการ
ทางาน การคิด การ
แก้ปัญหาในการทางาน
3. ผู้เรียนรู้จักเลือกใช้วัสดุ
อุ ป ก รณ์ ที่ มี อยู่อย่า ง
ประหยัดและคุ้มค่า
4. กระตุ้นให้ผู้เรียนมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ในงาน
5. นาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมา
ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น ก า ร
ดารงชีวิต
1. รู้จักการวางแผน กระบวนการ
ทางานอย่างเป็นระบบให้ประสบ
ความสาเร็จและปลอดภัย
2. ปรับตัวในการดาเนินชีวิต
ให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
ในสังคม
3. เกิดความตระหนักในการ
ประหยัดและอดออม
เงื่อนไขความรู้
1.นักเรียนมีความรู้เรื่องหลักการใช้ภาษา (คานาม) หลักการ
ประมาณค่า-การชั่งน้าหนัก การทดสอบสารอาหาร ภูมิปัญญา
ไทย หลักการเคลื่อนไหวร่างกาย การทาพวงกุญแจ การใช้ภาษา
สื่อสารเพื่อแสดงความรู้สึก-ความคิดเห็น
2.นักเรียนมีความรู้เรื่องการใช้เทคโนโลยีเพื่อการสืบค้นข้อมูล
เงื่อนไขคุณธรรม
1. นักเรียนมีความซื่อสัตย์สุจริตและตรงต่อเวลา
2. นักเรียนมีวินัยในตนเอง
3. ขยันในการปฏิบัติงาน,ค้นคว้า-สืบคืนข้อมูล,มีความ
รับผิดชอบ , มีความสามัคคีในการทางานกลุ่ม, มีความพอเพียง-
ประหยัด
11. ประเมินผลลัพธ์ (KPA) ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
ด้าน
วัด
อยู่อย่างพอเพียง...สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ
วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
ความรู้ 1.ไ ด้ ค ว า ม รู้
เกี่ยวกับการแปร
รูป ผลิตภัณฑ์ใน
ท้องถิ่น
1. มีการวางแผนการ
ท า ง า น โ ด ย ใ ช้
กระบวนการกลุ่ม
2.นักเรียนมีการแลก
เปลี่ยนเรียนรู้
3.นักเรียนได้ช่วยเหลือ
ซึ่งกันและกัน
1. มีความรอบรู้ในการ
ใช้แหล่งเรี ยนรู้-พืช
เศรษฐกิจในท้องถิ่น
1. ก า ร เ รี ย น รู้
สอดคล้องกับวิถีชีวิต
ของคนในชุมชน
2. เห็นคุณค่าของภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น
ทักษะ 1. มีทักษะในการ
ใช้วัสดุ อุปกรณ์
อย่างประหยัดและ
คุ้มค่า
2. การเลือกใช้วัสดุ
อุปกรณ์ได้อย่าง
เหมาะสม
1.มีทักษะในการทางาน
2. มีสามารถในการนา
ความรู้ที่ได้รับไปร่วม
กันหาข้อสรุปได้
1.ใช้ประโยชน์จาก
สิ่งแวดล้อมระมัดระวัง
และคุ้มค่า
2.มี ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร
ตรวจสอบสารอาหาร
ของพืชท้องถิ่น
1. ดารง ตนอยู่ใ น
สังคมอย่างมีความสุข
2. มีทักษะในการ
ประมาณค่า-คานวณ
แ ล ะ น า ไ ป ใ ช้ไ ด้
เหมาะสม
ค่านิยม 1. ตระหนักถึงผล
ที่ที่เกิดจากการใช้
วัสดุอุปกรณ์ใน
การปฏิบัติงาน
1.มีความรับผิดชอบต่อ
การทางานของกลุ่ม
2.ยอมรับความคิดเห็น
ซึ่งกันและกันมีความ
เสียสละและอดทน
1. มีจิตสานึกในการ
อ นุ รั ก ษ์ภู มิ ปั ญ ญ า
ท้องถิ่น
2. ใช้ทรัพยากรและ
สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม อ ย่ า ง
ประหยัด
1.สืบสานการอนุรักษ์
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
2. การใช้แหล่งเรียนรู้
โดยใช้ภูมิปั ญญา
ท้องถิ่น

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีariga sara
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10supap6259
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 

La actualidad más candente (20)

แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 

Similar a การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน

หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงdp130233
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำWareerut Hunter
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socPrachoom Rangkasikorn
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษาOommie Banthita
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นAon Narinchoti
 
กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้าkrusuparat01
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้างSumontira Niyama
 
กำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญากำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญาkrusuparat01
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2Apichaya Savetvijit
 
แผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการแผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการkrupornpana55
 
แผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการแผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการkrupornpana55
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561teacherarty
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาparinya poungchan
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 

Similar a การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน (20)

หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
 
Focus2
Focus2Focus2
Focus2
 
กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้า
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
 
กำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญากำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญา
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
แผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการแผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการ
 
แผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการแผนหน่วยบูรณาการ
แผนหน่วยบูรณาการ
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 

Más de Wareerut Hunter

เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingWareerut Hunter
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556Wareerut Hunter
 
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1Wareerut Hunter
 
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4 ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4 Wareerut Hunter
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3Wareerut Hunter
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาWareerut Hunter
 
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาWareerut Hunter
 
การคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทยการคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทยWareerut Hunter
 
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^Wareerut Hunter
 

Más de Wareerut Hunter (20)

เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
 
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
 
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4 ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
 
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
 
การคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทยการคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทย
 
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
 

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน

  • 2. การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ลาดับที่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชื่อแผน ระยะเวลา/ชั่วโมง มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 1 ภาษาไทย ชื่อเสียงเรียงคานาม 2 ท 4.1 ป.6/1 2 คณิตศาสตร์ เดินตามจานวนและการ ดาเนินการ 1 ค. 1.3 ป.6/1 3 วิทยาศาสตร์ รู้ค่าสารอาหารจากกล้วย 2 ว 1.1 ป.6/3 4 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ร่ารวยภูมิปัญญาไทยจาก กล้วยมหัศจรรย์ 2 ส 4.3 ป.6/4 5 สุขศึกษาและพลศึกษา สานสัมพันธ์ด้วยเชือก กล้วย 1 พ 3.1 ป.6/1 ป.6/4 พ 3.2 ป.6/3 ป.6/6 6 ศิลปะ ลีลาสวยในเริงระบากล้วย พร้อมช่วยกันทาพวง กุญแจ 2 ศ 1.1 ป.6/4 ศ 2.1 ป.6/4 ศ 3.1 ป.6/1 7 การงานอาชีพและเทคโนโลยี แฟนพันธ์แท้พันธุ์กล้วย 1 ง 1.1 ป.6/1 ป.6/3 8 ภาษาต่างประเทศ อวยพรด้วยคน Congratulations ! 1 ต 1.2 ป.6/5 รวม 12
  • 3. ผังความคิดการจัดการเรียนรู้แบบสหวิทยาการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง เรื่อง กล้วย กล้วย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาษาต่างประเทศ ร่ารวยภูมิปัญญาไทยจากกล้วย คณิตศาสตร์ อวยพรด้วยคน Congratulations ! ส 4.3 ป.6/4 เดินตามจานวนและการดาเนินการ ต 1.2 ป.6/5 ค. 1.3 ป.6/1 ภาษาไทย ศิลปะ ชื่อเสียงเรียงคานาม เรื่อง กล้วย กล้วย ลีลาสวยในเริงระบากล้วย พร้อมช่วย ท 4.1 ป.6/1 ช่วยกันทาพวงกุญแจกล้วยเริงร่า ศ 1.1 ป.6/4 ศ 2.1 ป.6/4 , ศ 3.1 ป.6/1 วิทยาศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี รู้คุณคุณค่าสารอาหารในกล้วย สุขศึกษาและพลศึกษา แฟนพันธุ์แท้พันธุ์กล้วย ว 1.1 ป.6/3 สานสัมพันธ์ด้วยเชือกกล้วย ง 1.1 ป.6/1 พ 3.1 ป.6/1 ป.6/4 พ 3.2 ป.6/3 ป.6/
  • 4. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชื่อหน่วย มหัศจรรย์พรรณกล้วย เวลา 12 ชั่วโมง ................................................................................................................................................ 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ภาษาไทย ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ป.6/1 วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค มาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ค. 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ป.6/1 บอกค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มหลักต่างๆ ของจานวนนับและนาไปใช้ได้ มาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ตัวชี้วัด ป.6/3 วิเคราะห์สารอาหาร และอภิปรายความจาเป็นที่ร่างกายต้องได้รับสารอาหารในสัดส่วน ที่เหมาะสมกับเพศและวัย มาตรฐานการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และ ธารง ความเป็นไทย ตัวชี้วัด ป.6/4 อธิบายภูมิปัญญาไทยที่สาคัญสมัยรัตนโกสินทร์ที่น่าภาคภูมิใจ และควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้
  • 5. มาตรฐานการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬามีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา ตัวชี้วัด พ 3.1 ป.6/1 ป.6/4 พ 3.2 ป.6/3 ป.6/6 1. มีทักษะในการควบคุมการเคลื่อนไหวร่างกายโดยใช้อุปกรณ์ 2. มีความรู้ในการใช้อุปกรณ์ในการออกกาลังกาย 3. มีทักษะในการเล่นกีฬาไทย 4. มีความสามัคคีและมีน้าใจนักกีฬา มาตรฐานการเรียนรู้ศิลปะ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ศ 3.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด ป.6/4 ใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลง ด้นสด ที่มีจังหวะและทานองง่ายๆ ป.6/1 สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวและการแสดง โดยเน้นการถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ ป.6/2 ออกแบบเครื่องแต่งกายหรืออุปกรณ์ประกอบการแสดงอย่างง่ายๆ มาตรฐานการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง 1.1 เข้าใจการทางานมีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ทักษะ กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะกระบวนการทางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรมและ ลักษณะนิสัยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวิตและ ครอบครัว ตัวชี้วัด ป.6/1 ใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทางาน และการแก้ปัญหาในการทางาน ป.6/3 มีจิตสานึกในการทางานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า
  • 6. มาตรฐานการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก และ ความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด พูด / เขียนแสดงความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว กิจกรรมต่าง ๆ พร้อม ทั้งให้เหตุผลสั้นๆ ประกอบ 2. สาระสาคัญ / ความคิดรวบยอด ต้นกล้วยเป็นพืชท้องถิ่นที่มีความเกี่ยวข้องกับการดารงชีวิต ประเพณีและวัฒนธรรมของไทย มาเป็นเวลาช้านาน ความผูกพันในวิถีชีวิตคนไทยทาให้คนไทยรู้จักประโยชน์จากต้นกล้วยเป็นอย่างดี ทั้งการใช้บริโภคเป็นอาหาร การใช้ประโยชน์จากทุกส่วนของกล้วยในกิจกรรมและพิธีกรรมต่างๆ นับได้ ว่ากล้วยเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีคุณค่าและบทบาทสาคัญต่อวิถีไทยมาจนถึงปัจจุบัน 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้ภาษาไทย - ความหมายของคานาม - ชนิดของคานาม 3.2 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - การประมาณค่าน้าหนักเปรียบเทียบกับน้าหนักที่ชั่งได้จริง - การคานวณราคาต่อน้าหนักที่ชั่งได้ 3.3 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ - การทดสอบสารอาหารที่มีอยู่ในกล้วย - การคานวณพลังงานของอาหารประเภทกล้วย 3.4 สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม - ภูมิปัญญาไทยจากกล้วย ( อาหารไทย , การละเล่น , สมุนไพรไทย , วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม , ผลิตภัณฑ์ ) 3.5 สาระสุขศึกษาและพลศึกษา - การเคลื่อนไหวร่างกายโดยใช้อุปกรณ์ 3.6 สาระศิลปะ - ออกแบบพวงกุญแจกล้วยเริงร่า โดยใช้หลักทัศนศิลป์ ทางงานปั้น - ร้องเพลงระบากล้วยพร้อมปรบจังหวะ
  • 7. 3.7 สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี - ความรอบรู้เกี่ยวกับพันธุ์กล้วย - การทาอุปกรณ์กล้วยอาบแดด 3.8 สาระภาษาต่างประเทศ - คาและประโยคที่ใช้แสดงความรู้สึกและการให้เหตุผลประกอบ 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคิด 5.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5.4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.1 มีความซื่อสัตย์ 6.2 มุ่งมั่นในการทางาน 6.3 ใฝ่เรียนรู้ 6.4 อยู่อย่างพอเพียง 6.5 รักความเป็นไทย 6. ชิ้นงาน / ภาระงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย - ใบงานมหัศจรรย์พรรณกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - ใบงานเรื่อง การคาดคะเน – การคานวณน้าหนัก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ - ใบงานเรื่อง การทดสอบสารอาหารประเภทแป้ งและน้าตาลที่ได้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม - ใบงานเรื่อง ภูมิปัญญาไทยจากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา - ใบงานเรื่อง สานสัมพันธ์เชือกกล้วย
  • 8. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ - ใบงานเรื่อง เริงระบากล้วยและพวงกุญแจกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี - ใบงานเรื่อง แฟนพันธุ์แท้พรรณกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ - ใบงานเรื่อง อวยพรด้วยคน Congratulations ! 7. กิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย : ชั่วโมงที่ 1 - 2 1. นักเรียนฟังคาชี้แจงวัตถุประสงค์การเรียนรู้จากครู 2. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับกล้วย ในเรื่องพันธุ์กล้วย ส่วนประกอบของกล้วย ประโยชน์หรือสรรพคุณของกล้วย 3. นักเรียนจับคู่ทากิจกรรมกล๊วยกล้วย โดยการช่วยกันคิดคาหรือกลุ่มคาที่มีคาว่า “กล้วย” ประกอบอยู่ด้วย เช่น กล้วยตาก กล้วยบวชชี เชือกกล้วย ฯลฯ ภายในเวลา 10 วินาที คู่ใดเขียนได้ ถูกต้องและมากที่สุดถือว่าเป็นผู้ชนะ 4. นักเรียนฟังคาอธิบายเรื่องคานามจากครู พร้อมทั้งเปิดหนังสือภาษาพาที ระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 หน้า 61 – 73 ประกอบ 5. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์คาว่า “กล้วย” เป็นคานามชนิดใด และส่วนประกอบหรือลักษณะของ กล้วย ปรากฏในคานามชนิดใดบ้าง 6. นักเรียนฟังคาอธิบายเพิ่มเติมและซักถามข้อสงสัยจากครู 7. นักเรียนจับคู่ทาใบงานมหัศจรรย์พรรณกล้วย โดยการค้นหาคานามที่มีคาว่า “กล้วย” ประกอบ หน้าคาจากตารางที่กาหนดให้ 8. นักเรียนส่งผลงานเพื่อให้คุณครูประเมินผลการเรียน
  • 9. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ : ชั่วโมงที่ 3 1. นักเรียนแบ่งกลุ่มๆละ 3 คน ร่วมกันตั้งชื่อกลุ่ม 2. ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับความสาคัญของการหาค่าประมาณที่ใช้ในชีวิตประจาวันแล้วร่วมกัน ยกตัวอย่าง เช่น ความสูงของนักเรียน น้าหนักของกระเป๋ า จากนั้นร่วมกันอภิปรายการหาค่าประมาณ ใกล้เคียงจานวนเต็มสิบ ให้พิจารณาจานวนที่อยู่ในหลักหน่วยของจานวนนั้น ถ้าต่ากว่า 5 ให้ประมาณ เป็นจานวนเต็มสิบที่น้อยกว่าค่านั้น ถ้าตั้งแต่ 5 ขึ้นไป ให้ประมาณเป็นจานวนที่มีค่ามากกว่าค่านั้น จากนั้นยกตัวอย่างและร่วมกันสนทนาค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มร้อย เต็มพัน 3. เมื่อนักเรียนเข้าใจเรื่องค่าประมาณแล้ว ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกกล้วย 1 หวี โดยใช้มือ ข้างเดียวในการยกแล้วบันทึกค่าประมาณของน้าหนักกล้วยในใบงาน 4. นากล้วยที่แต่ละกลุ่มเลือก ไปชั่งน้าหนักจริง บันทึกค่าในใบงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ : ชั่วโมงที่ 4 - 5 ชั่วโมงที่ 1 1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.ครูสนทนาซักถามเกี่ยวกับการนากล้วยมาประกอบอาหาร ให้นักเรียนยกตัวอย่างอาหารที่ได้จาก กล้วย 3.นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 4 - 5 คน เลือกหัวหน้าและเลขานุการเพื่อทาหน้าที่ประสานงาน และ บันทึกการประชุมกลุ่ม 4.ให้นักเรียนทุกกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับคุณค่าอาหารที่ได้จากกล้วยชนิดต่าง ๆ 5.ให้แต่ละกลุ่มนาเสนอข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมานาเสนอหน้าชั้นเรียน 6.ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกวิธีการทดสอบสารอาหารที่ได้จากกล้วย มากลุ่มละ 1 อย่าง โดยไม่ซ้า กัน 7.ครูเตรียมอุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้ในการทดสอบสารอาหาร ชั่วโมงที่ 2 1.ให้นักเรียนศึกษาวิธีทดสอบสารอาหารจากใบงานที่ได้รับ 2.นักเรียนแต่ละกลุ่มฝึกปฏิบัติการทดสอบสารอาหารโดยใช้ทักษะการทดลอง 3.นักเรียนบันทึกผลการทดลองที่ได้ และสรุปองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงลงในใบงาน 4.นักเรียนร่วมกันนาเสนอผลงานในรูปของการรายงาน
  • 10. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม : ชั่วโมงที่ 6 - 7 1. ครูสนทนาเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยมีมากมายหลายด้าน เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค เป็นต้น ซึ่งปัญญาส่วนใหญ่เกิดจากการดาเนินชีวิตประจาวัน หรือวิถีชีวิต ซึ่งประกอบด้วยวัตถุ หรือ ทรัพยากรที่มี ในท้องถิ่น ซึ่งมีอยู่มากมายในแต่ละท้องถิ่น เช่น กล้วย เป็นต้น 2. ให้นักเรียนเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการดาเนินชีวิตของคนไทยเกี่ยวกับกล้วย 3. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนช่วยกันไปสืบค้นเกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนไทย ที่ได้ประโยชน์อะไรจากกล้วย บ้าง - อาหารไทย (อาหารคาว, อาหารหวาน) - การละเล่นของเด็กไทย (ม้าก้านกล้วย, ปืนก้านกล้วย) - สมุนไพรไทยจากกล้วย (ลูกกล้วย, ปลีกล้วย) - วิถีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม (การทากระทง, บายศรี) - ผลิตภัณฑ์ (ประเป๋ าเชือกกล้วย, กระดาษรีไซเคิลจากเส้นใยกาบกล้วย) 4. ให้นักเรียนทาใบงานภูมิปัญญาจากกล้วย 5. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อสรุปความรู้เรื่องภูมิปัญญาไทยจากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา : ชั่วโมงที่ 8 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวร่างกายในรูปแบบต่างๆและการเคลื่อนไหว ร่างกายแบบผสมผสาน 2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆละ 5-7 คน ศึกษาเพื่อหาการเคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสานและ เคลื่อนไหวโดยใช้อุปกรณ์ 3. แต่ละกลุ่มระดมสมอง วางแผนการทากิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสานและ เคลื่อนไหวโดยใช้อุปกรณ์ประกอบการเคลื่อนไหวโดยทาจากวัสดุจากธรรมชาติที่มีในท้องถิ่น 4. แต่ละกลุ่มนาเสนอแนวคิดหน้าชั้นเรียน 5. แต่ละกลุ่มฝึกทากิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสานให้มีความชานาญในการ เล่นกีฬา 6. นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้และแนวคิดที่จะเลือกใช้วัสดุจากธรรมชาติที่จะนามาใช้ เป็นอุปกรณ์ประกอบการเคลื่อนไหวร่างกาย
  • 11. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ชั่วโมงที่ 9 - 10 1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆละ 7-8 คน เลือกหัวหน้าและเลขานุการเพื่อทาหน้าที่ประสานงานและบันทึก การประชุมกลุ่ม 2. ให้นักเรียนทุกกลุ่มฝึกร้องเพลงระบากล้ว เพลงเริงระบากล้วย ทานองเพลงช้าง กล้วย กล้วย กล้วย น้องเคยเห็นกล้วยหรือเปล่า กล้วยมันมีเครือยาวๆ ตัดแบ่งจากเครือเรียกว่า หวี ตัดแบ่งจากหวีเรียกว่าผล ใช้ทาประโยชน์ได้มากมาย 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดวางแผนสร้างสรรค์ท่าทางการแสดงเริงระบากล้วย โดย วิเคราะห์ตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงโดยครูกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิดวิเคราะห์ว่า จะสร้างสรรค์ท่าทางการแสดงเริงระบากล้วยอย่างไรจึงจะพอเหมาะกับเวลาที่กาหนดและให้นักเรียนคิดหา เหตุผลในการตัดสินใจเลือกลีลาท่าทางการแสดงที่เหมาะสมในการแสดงเริงระบากล้วย 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดวางแผนการออกแบบพวงกุญแจกล้วยเริงร่า โดยวิเคราะห์ ตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงโดยครูกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิดวิเคราะห์ว่าจะ ออกแบบพวงกุญแจกล้วยเริงร่าอย่างไรจึงจะพอเหมาะกับเวลาที่กาหนดและให้นักเรียนคิดหาเหตุผลในการ ตัดสินใจเลือกแบบที่เหมาะสมและคงทนต่อการใช้งาน 5. ให้นักเรียนวิเคราะห์ภูมิคุ้มกันที่ดีที่นักเรียนได้รับจากการสร้างสรรค์ท่าทางการแสดงระบากล้วย และการออกแบบพวงกุญแจกล้วยเริงร่า ทาให้ประสบผลสาเร็จและมีความปลอดภัยในการปฏิบัติ 6. นักเรียนร่วมกันระดมความคิดในการนาความรู้มาใช้ในการสร้างสรรค์ท่าทางการแสดงเริงระบา กล้วยและการออกแบบพวงกุญแจกล้วยเริงร่า โดยใช้คุณธรรมด้านใดบ้างที่ทาให้งานสาเร็จ 7. นักเรียนทุกกลุ่มนาเสนอผลงานการปฏิบัติโดยการร้องเพลงพร้อมท่าทางการแสดงเริงระบากล้วย และใช้อุปกรณ์ประกอบการแสดงหน้าชั้นเรียน 8. นักเรียนและครูช่วยกันสรุปขั้นตอนในการสร้างสรรค์ท่าทางการแสดงเริงระบากล้วยและการ ออกแบบพวงกุญแจกล้วยเริงร่า หน้าชั้นเรียน
  • 12. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี : ชั่วโมงที่ 11 1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2. ครูสนทนาซักถามเกี่ยวกับความรู้เรื่องพันธุ์กล้วยในแต่ละท้องถิ่น 3.นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน เลือกหัวหน้าและเลขานุการเพื่อทาหน้าที่ประสานงานและบันทึก การประชุมกลุ่ม 4,ให้นักเรียนทุกกลุ่มสืบค้นข้อมูลพันธุ์กล้วยจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ 5.ให้แต่ละกลุ่มนาเสนอข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมานาเสนอหน้าชั้นเรียน 6.ให้นักเรียนสรุปองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 7.นักเรียนร่วมกันนาเสนอผลงานในรูปของการรายงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ : ชั่วโมงที่ 12 1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2. ทบทวนความรู้ที่นักเรียนได้จากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนไทยที่เกี่ยวข้องกับพืช ท้องถิ่น คือ กล้วย 3. นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับบทสนทนา 4.นักเรียนฝึกสนทนาเกี่ยวกับการแสดงความยินดีเป็นคู่ ๆ 5.นักเรียนศึกษาใบความรู้เกี่ยวกับการแสดงความยินดีในสถานการณ์ต่างๆและการให้เหตุผล ประกอบ แล้วร่วมสนทนาเกี่ยวกับความหมาย หลักการใช้ภาษาในการตอบรับ แสดงความคิดเห็น และ ฝึกการใช้ประโยคในสถานการณ์ที่กาหนดให้ โดยบันทึกลงในใบงานเป็นกลุ่ม 6.ครูและนักเรียนร่วมสนทนาเกี่ยวกับธรรมชาติของภาษาที่ใช้ในการสื่อสารถึงความรู้สึก ความ คิดเห็น และการให้เหตุผลประกอบ นักเรียนสรุปองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงจากการร่วมกิจกรรม และส่งผลงานที่ได้จากการร่วมกิจกรรม 8. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 1. ภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. อินเทอร์เน็ต 3. เพลงกล้วยปิ้ง 4. ใบงานมหัศจรรย์พรรณกล้วย 5. หนังสือเรียนภาษาพาที ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
  • 13. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 1. สิ่งของ เช่น ก้อนหิน หรือสิ่งที่จะคาดคะเนน้าหนักได้ 2. กล้วย 3. เครื่องชั่งสปริง 4. ใบงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1. ภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. Internet 3. ใบงานเรื่อง การทดสอบสารอาหารประเภทแป้ งและน้าตาลที่ได้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1. ต้นกล้วย 2. ห้องสมุด 3.ห้องพิพิธภัณฑ์สตรีมารดาพิทักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 1. ตัวอย่างวัสดุจากธรรมชาติ(ที่เลือกเป็นอุปกรณ์ประกอบการเคลื่อนไหว) 2. ใบความรู้ 3. ใบงาน เรื่อง เชือกกล้วยเกลียวสัมพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 1.แผนภูมิเพลงกล้วย 2. ใบงาน เรื่อง เริงระบากล้วย – พวงกุญแจกล้วยเริงร่า กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1. ภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. Internet 3. ใบงาน เรื่อง การออกแบบวิเคราะห์องค์ความรู้
  • 14. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 1. ใบงาน เรื่อง Congratulations ! 2. ใบความรู้ เรื่อง Congratulations ! 9. การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 9.1 ตรวจผลงาน แบบประเมินผลงาน ความสมบูรณ์ของผลงาน มากกว่าร้อยละ 80 ดีมาก ร้อยละ 70 – 79 ดี ร้อยละ 70 – 79 พอใช้ ต่ากว่าร้อยละ 50 ปรับปรุง 9.2 การนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน 9.3 สังเกตทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม สรุปแบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม คะแนน 16 – 20 ดี คะแนน 10 – 15 พอใช้ คะแนนต่ากว่า 10 ปรับปรุง 9.4 สังเกตพฤติกรรมการร่วม กิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมการร่วม กิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรรม คะแนน 3 ดี คะแนน 2 พอใช้ คะแนน 1 ปรับปรุง
  • 15. 10. การบูรณาการของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 10.1 สาหรับครูผู้สอน 3 ห่วง ประเด็น ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี เนื้อหา 1. ครูวิเคราะห์หลักสูตร เนื้อหา ออกแบบ และจัดกิจกรรมได้ สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด และบริบทของท้องถิ่น 1. ครูเลือกเรื่องที่สอน ใ ห้ ส อ ด ค ล้อ ง กับ ท้องถิ่นและผู้เรี ยน เพื่อให้เห็นความสาคัญ ข อ ง ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ภูมิปัญญา 1. เพื่อให้การจัดการ เรียนรู้ให้ครอบคลุม ตามจุดประสงค์ แหล่งเรียนรู้ 1. กาหนดภาระงาน / ชิ้นงาน ใน การทาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นได้ เหมาะสมกับจุดประสงค์และวัย ของผู้เรียน 1. เพื่อส่งเสริมให้ นักเรี ยนใฝ่ เรี ยนรู้ และส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 1. เตรียมวิธีป้ องกัน และแก้ปัญหาจากการ ปฏิบัติกิจกรรม สื่อ/อุปกรณ์ 1. ครูจัดเตรียมใบความรู้และ ใบงานที่เหมาะสมกับเนื้อหาที่ สอนและความสนใจของผู้เรียน 2.จัดกิจกรรมการเรียนรู้เหมาะ สมกับวัยของผู้เรียน 1. ออกแบบการจัดการ เรียนรู้ เพื่อให้เห็น คุณค่าของภูมิปัญญา ท้องถิ่น 2. นักเรียนได้รับ ประสบการณ์ตรง จากการเรียนรู้และเกิด ความภาคภูมิใจใน ความสามารถของ ตนเอง 1. ครูเตรียมกิจกรรม การเรียนรู้สารอง เพื่อ ร อ ง รั บ ก ร ณี ที่ มี เหตุการณ์เปลี่ยนแปลง
  • 16. 3 ห่วง ประเด็น ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี เวลา 1. ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ เหมาะสมเพียงพอกับเวลาที่ กาหนดไว้ 1. จัดการเรียนรู้ได้ ตามกระบวนการ ค ร บ ถ้ ว น ต า ม ที่ วางแผนไว้ 1.เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร จั ด กิจกรรมการเรียนรู้ได้ ครบตามจุดประสงค์ ที่กาหนดไว้ การจัดกิจกรรม 1.ครูแบ่งกลุ่มผู้เรียนได้พอดีกับ จานวนนักเรียน 2.นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง 1.จัดนักเรี ยนคละ ความสามารถเก่ง ป า น ก ล า ง อ่ อ น เ พื่ อ ใ ห้ นั ก เ รี ย น แบ่งกลุ่มได้เหมาะสม และสามารถช่วยเหลือ ซึ่งกันและกันได้ 2. เพื่อให้นักเรียนได้ นาความรู้ที่ได้รับไป ปฏิบัติ 1. เพื่อให้นักเรียนได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และ แสดงศักยภาพของ ตนเองเพื่อให้เกิดความ ภาคภูมิใจ 2.เ พื่ อ ต ร ว จ ส อ บ ศักยภาพของนักเรียน เป็นรายบุคคลสามารถ แก้ไขปัญหาได้ตรง ตามความสามารถ การประเมินผล 1.มีการออกแบบการวัดและ ประเมินผลได้เพียงพอกับ ตัวชี้วัดและเหมาะสมกับเวลา 1. มี ก าร อ อก แ บ บ เครื่ องมื อวัดแล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ที่ สอดคล้องกับเนื้อหา ที่ต้องการวัด 1.มีวัดและประเมินผล ผู้เ รี ย น ไ ด้อ ย่ า ง มี คุณภาพและตรงตาม เป้าหมายที่ต้องการวัด เงื่อนไขความรู้ 1.ครูผู้สอน มีความรู้ในเนื้อหาสาระที่สอน 2.มีความรู้เรื่อง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไข คุณธรรม 1. มีความรักเมตตาศิษย์มีความรับผิดชอบ มีความยุติธรรม
  • 17. 10.2 สาหรับนักเรียน ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี 1. ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องการ แบ่งเวลาในการทากิจกรรม ตามที่ได้รับมอบหมาย 2. เรียนรู้การใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มี อยู่อย่างประหยัดและคุ้มค่า 3. ผู้เรียนเรี ยนรู้ในการทา กิจกรรม ภาระงานได้เหมาะสม กับความรู้ ความสามารถตามวัย ของผู้เรียน 1. ผู้เรียนมีความรู้และ เชื่อมโยงความรู้จากกลุ่ม สาระการเรียนรู้อื่น 2. เสริมสร้างกระบวนการ ทางาน การคิด การ แก้ปัญหาในการทางาน 3. ผู้เรียนรู้จักเลือกใช้วัสดุ อุ ป ก รณ์ ที่ มี อยู่อย่า ง ประหยัดและคุ้มค่า 4. กระตุ้นให้ผู้เรียนมี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในงาน 5. นาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมา ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น ก า ร ดารงชีวิต 1. รู้จักการวางแผน กระบวนการ ทางานอย่างเป็นระบบให้ประสบ ความสาเร็จและปลอดภัย 2. ปรับตัวในการดาเนินชีวิต ให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ในสังคม 3. เกิดความตระหนักในการ ประหยัดและอดออม เงื่อนไขความรู้ 1.นักเรียนมีความรู้เรื่องหลักการใช้ภาษา (คานาม) หลักการ ประมาณค่า-การชั่งน้าหนัก การทดสอบสารอาหาร ภูมิปัญญา ไทย หลักการเคลื่อนไหวร่างกาย การทาพวงกุญแจ การใช้ภาษา สื่อสารเพื่อแสดงความรู้สึก-ความคิดเห็น 2.นักเรียนมีความรู้เรื่องการใช้เทคโนโลยีเพื่อการสืบค้นข้อมูล เงื่อนไขคุณธรรม 1. นักเรียนมีความซื่อสัตย์สุจริตและตรงต่อเวลา 2. นักเรียนมีวินัยในตนเอง 3. ขยันในการปฏิบัติงาน,ค้นคว้า-สืบคืนข้อมูล,มีความ รับผิดชอบ , มีความสามัคคีในการทางานกลุ่ม, มีความพอเพียง- ประหยัด
  • 18. 11. ประเมินผลลัพธ์ (KPA) ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ด้าน วัด อยู่อย่างพอเพียง...สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้ 1.ไ ด้ ค ว า ม รู้ เกี่ยวกับการแปร รูป ผลิตภัณฑ์ใน ท้องถิ่น 1. มีการวางแผนการ ท า ง า น โ ด ย ใ ช้ กระบวนการกลุ่ม 2.นักเรียนมีการแลก เปลี่ยนเรียนรู้ 3.นักเรียนได้ช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน 1. มีความรอบรู้ในการ ใช้แหล่งเรี ยนรู้-พืช เศรษฐกิจในท้องถิ่น 1. ก า ร เ รี ย น รู้ สอดคล้องกับวิถีชีวิต ของคนในชุมชน 2. เห็นคุณค่าของภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ทักษะ 1. มีทักษะในการ ใช้วัสดุ อุปกรณ์ อย่างประหยัดและ คุ้มค่า 2. การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ได้อย่าง เหมาะสม 1.มีทักษะในการทางาน 2. มีสามารถในการนา ความรู้ที่ได้รับไปร่วม กันหาข้อสรุปได้ 1.ใช้ประโยชน์จาก สิ่งแวดล้อมระมัดระวัง และคุ้มค่า 2.มี ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร ตรวจสอบสารอาหาร ของพืชท้องถิ่น 1. ดารง ตนอยู่ใ น สังคมอย่างมีความสุข 2. มีทักษะในการ ประมาณค่า-คานวณ แ ล ะ น า ไ ป ใ ช้ไ ด้ เหมาะสม ค่านิยม 1. ตระหนักถึงผล ที่ที่เกิดจากการใช้ วัสดุอุปกรณ์ใน การปฏิบัติงาน 1.มีความรับผิดชอบต่อ การทางานของกลุ่ม 2.ยอมรับความคิดเห็น ซึ่งกันและกันมีความ เสียสละและอดทน 1. มีจิตสานึกในการ อ นุ รั ก ษ์ภู มิ ปั ญ ญ า ท้องถิ่น 2. ใช้ทรัพยากรและ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม อ ย่ า ง ประหยัด 1.สืบสานการอนุรักษ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. การใช้แหล่งเรียนรู้ โดยใช้ภูมิปั ญญา ท้องถิ่น