SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 47
Copyright © 20056 by Bantak Hospital All Rights Reserved. 98 Moo 7 T.Tak-ok  Bantak D. Tak  Tel. 055-591435-6, 548066  http://www.bantakhospital.com การจัดการความรู้แบบบูรณาการ นพ . พิเชฐ  บัญญัติ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลบ้านตาก จ . ตาก ว . ว . เวชปฏิบัติทั่วไป ,  อว . เวชศาสตร์ป้องกัน ,  อว . เวชศาสตร์ครอบครัว - แพทยศาสตรบัณฑิต (2536) - รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (2539) - นิเทศศาสตรบัณฑิต (2542) - สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (2544) - รัฐประศานศาสตรมหาบัณฑิต ( เกียรตินิยม )  นิด้า  (2547) มาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพ HA มาตรฐานโรงพยาบาลน่าอยู่น่าทำงานระดับทอง HWP มาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพด้านการบำบัดสารเสพติด มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ HPH
องค์กรแบบเครื่องจักร องค์กรแบบสิ่งมีชีวิต วัฒนธรรมองค์กร องค์กรบริหารตนเอง องค์กรคุณภาพ องค์กรแห่งการเรียนรู้ การจัดการความรู้ ความฉลาดขององค์กร Organizational Intelligence Learning  Organization: องค์กรแห่งการเรียนรู้ Core competence Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
ข้อมูล  สารสนเทศ ความรู้  ปัญญา Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้สู่องค์กรคุณภาพ ข้อมูล ( Data ) สารสนเทศ  Information ความรู้   Knowledge ปัญญา   Wisdom แปลงให้มีความหมาย สนับสนุนการตัดสินใจ ตัดสินใจถูกต้อง ประยุกต์ใช้ได้ การเรียนรู้
ความรู้  5  ชนิด   Snowden ( ASHEN )   Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Explicit Knowledge Tacit Knowledge 1    2 3 4 5 ความรู้ชัดแจ้ง / ฝังรูป ความรู้ฝังลึก / ฝังหัว การจัดการความรู้แบบูรณาการ
การสร้างความรู้  2  แนวทาง Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts ความรู้ ปัญหา วิจัย ความ สำเร็จ จค . การจัดการความรู้แบบูรณาการ เป้าหมายของการจัดการความรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object]
องค์การแห่งการเรียนรู้กับการจัดการความรู้ ( LO & KM ) Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts องค์การแห่งการเรียนรู้คือสถานที่ซึ่งผู้คนขยายขีดความสามารถเพื่อที่จะบรรลุในสิ่งที่พวกเขาต้องการอย่างแท้จริงและต่อเนื่องเป็นสถานที่ที่ระบบทางความคิดใหม่และการขยายตัวทางความคิดได้รับการสนับสนุน ที่ซึ่งผู้คนมีความทะเยอทะยานนอกกรอบและเป็นที่ๆผู้คนเรียนรู้ที่จะเรียนไปด้วยกันอย่างต่อเนื่อง Knowledge management is a connective tissue   of a learning organization.   เปรียบ  LO  เหมือนที่นา  KM เหมือนต้นข้าว รวงข้าวเป็น Result ที่มีข้าวเปลือกเป็น Outcome และข้าวสารเป็น Impact  เราต้องการข้าวสาร การจัดการความรู้แบบูรณาการ
Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts หลักการสำคัญของการจัดการความรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การจัดการความรู้แบบูรณาการ
What’s Knowledge management คือเครื่องมือหรือกระบวนการที่ทำให้องค์การสามารถเก็บรับ สร้างและต่อยอดองค์ความรู้ที่นำมาใช้ในการพัฒนาองค์การให้สามารถทำงานตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้อย่างมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และประหยัด เพื่อให้องค์การสามารถอยู่รอดและเติบโตได้โดยสามารถสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันได้ทำให้องค์การสร้างผลงานที่ดีกว่า ถูกกว่า เร็วกว่า โดยอาศัยพลังปัญญาหรือสินทรัพย์ทางปัญญาของคนในองค์การเป็นหลักและสามารถรวบรวมความรู้ที่ใช้ได้เหล่านั้นเอาไว้ให้บุคคลอื่นๆในองค์การได้นำไปใช้ต่อได้ง่ายจนกลายเป็นความฉลาดขององค์การที่แสดงให้เห็นในรูปของสมรรถนะหลักขององค์การ Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
1. การจัดการให้เกิดการเรียนรู้  ( L earning   Management )   2. การจัดการให้เกิดองค์ความรู้  ( K nowledge   Organizing )   3. การจัดการให้เกิดการใช้ความรู้ ( Knowledge  A cting )   4. การจัดการให้เกิดการแบ่งปันความรู้ ( Knowledge  S haring ) 5. การจัดการให้เกิดการจัดเก็บองค์ความรู้ ( Knowledge  A ssets )   LKASA   ( Bantak ) Model  การจัดการความรู้  5  ขั้นตอน Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
LKASA   EGG  Model  บูรณาการ KM สู่  LO Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ 1.Learning ENV 3.K Acting 4. K Sharing 2.K Organizing 5. K Assets
การจัดการให้เกิดการเรียนรู้  ( Learning   Management )   Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบบูรณาการ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
CEO & CKO &Learning Organization   1.System:Knowledge vision ,Shared vision 2.Simplify :  สอดคล้องกับงานประจำ ไม่ติดรูปแบบ 3.Surrounding :  จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ -  แนวคิด 575 สร้าง  5  ลด 7 เสริม 5 เน้นคน ทีม เครื่อง กิจกรรม -  จตุรภาคแห่งการจัดการความรู้  :  เขย่าองค์กรอย่างเหมาะสม การจัดการให้เกิดการเรียนรู้  ( Learning )   Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
การวางแผนกลยุทธ์เพื่อบรรลุผลสัมฤทธิ์ขององค์กร Monitoring Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ แผนปฏิบัติการ แผนงาน โครงการ ประเมินผล SWOT Analysis ตัวชี้วัด กระบวนการ ผลผลิต  ผลลัพธ์  ผลกระทบ ยุทธศาสตร์ งานประจำ ปฏิบัติจริง ผลสัมฤทธิ์  4  มิติ ( customer,internal process,Learning&Growth,Finance Internal&External Balanced scorecard Six sigma Benchmarking
วินัยทั้ง   5  ประการของ   Peter M. Senge :  คน Personal Mastery   มีวินัยในตัวเอง   ควบคุมตนเอง ปรับปรุงตนเองสม่ำเสมอ กระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน Mental  Model   มีจิตใจที่มีพลังในการสร้างสรรค์   ฟังคนอื่น Shared Vision   สร้างความฝันร่วมกัน   Team Learning   มีการเรียนรู้ร่วมกันของทีม Systemic Thinking   คิดเป็นระบบ มองเห็นภาพรวม   Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
สภาพความไร้ความสามารถในการเรียนรู้ขององค์การ สภาพการยึดถือว่า  “ ฉันคือตำแหน่งของฉัน ”  การหาผู้กระทำผิดหรือแก้ตัว   ภาพลวงตาคิดว่าตัวเองแก้ปัญหาเชิงรุก   แก้ปัญหาที่อาการ   ยึดติดเหตุการณ์ การยึดติดในความสำเร็จในอดีต   ไม่สามารถรับรู้การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นที่ละน้อย   ๆ   และอย่างช้า   ๆ   การเข้าใจว่าการเรียนรู้ที่มีพลังที่สุดคือการเรียนรู้จากประสบการณ์โดยตรง   ทีมงานไม่สามารถเรียนรู้จากสมาชิกทีมและประสบการณ์ของทุกคนในทีมได้ Learning Disability = LD :  ทีม Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
Action Learning   การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ ( อริยสัจ 4 = ทุกข์ - สมุทัย - นิโรธ - มรรค )  Benchmarking   มาตรฐานเปรียบเทียบ ( Sharing )   Coaching   การสอนงาน  Mentoring   การเป็นพี่เลี้ยง  Portfolio   แฟ้มงานเพื่อการพัฒนา  ( Assets ) เทคนิคที่สนับสนุนให้คนในองค์กรมีการเรียนรู้ Learning Technique for LO :  กิจกรรม Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
วิธีการเรียนรู้  4  วิธี ( จากในและนอกองค์กร ) 1.Learning by Seeing   การเรียนรู้จากการศึกษาดูงาน 2.Learning by Training   การเรียนรู้จากการฝึกอบรม 3.Learning by Reading  การเรียนรู้จากการอ่าน 4.Learning by Doing  การเรียนรู้จากการปฏิบัติ Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts ความคิดสร้างสรรค์  :  สิ่งที่ขาดไม่ได้เมื่อเรียนรู้ 1. Integrated Thinking  คิดเชิงบูรณาการ มองเป้าหมายเดียวกัน 2. System Thinking   คิดเชิงระบบ เห็นความเชื่อมโยงของทุกสิ่ง 3.Positive Thinking   คิดเชิงบวก มองคนในแง่บวก 4.Lateral Thinking   คิดเชิงบุก / คิดนอกกรอบ / คิดทางขวาง การจัดการความรู้แบบูรณาการ
Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts The Cynefin Framework of Knowledge Management การจัดการความรู้แบบูรณาการ ขีดความสามารถสูง ขีดความสามารถไม่สูงนัก Complex Knowable Chaos Known รู้ไม่ชัด รู้บ้าง ก้าวกระโดด ปรับปรุง ประคองตัว งานประจำ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การจัดการให้เกิดองค์ความรู้ ( Knowledge Organizing )  Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
[object Object],[object Object],ความรู้และองค์ความรู้ ( Knowledge &Body of Knowledge )  Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts SECI-Knowledge Conversion Process Model แลกเปลี่ยนได้  ถอดใส่รหัส  จัดผสมผสาน ฝังหัวคนงาน การจัดการความรู้แบบูรณาการ Tacit Tacit Externalization Socialization Internalization Combination Explicit Explicit
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การจัดการให้เกิดการใช้ความรู้ ( Knowledge Acting )  Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการให้เกิดการใช้ความรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts ,[object Object],[object Object],[object Object],วัฒนธรรมการเรียนรู้ การจัดการความรู้แบบูรณาการ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Document Record เอกสารคุณภาพ :Documentation Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
การจัดการให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ( Knowledge sharing )   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
หัวใจสำคัญของ Knowledge sharing  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
หน้าที่ของ KM Facilitators :  ช่วยให้เกิด   4  เอื้อ Learn   เอื้อโอกาส ให้เกิดเรียนรู้ / อยากเรียนรู้ / ใฝ่รู้ ( เวลา / เวที ) Care   เอื้ออาทร ให้เกิดความห่วงใยใส่ใจกัน / ช่วยเหลือกัน Share   เอื้ออารี ให้เกิดการแบ่งปันความรู้ / เล่าสู่กันฟัง Shine   เอื้อเอ็นดู ให้เกิดความภาคภูมิใจ / ยกย่อง / กำลังใจ / มีไฟ Knowledge is not power ,but Knowledge sharing is power. Human is important , but Human relationship is more important Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
ใช้พลังของการเคลื่อนความรู้ข้ามแดน Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts Inter-departmental คน คน อาวุโส เยาว์ แลกเปลี่ยนความรู้ที่แนบแน่นอยู่กับงาน การจัดการความรู้แบบูรณาการ S E C I Top Middle Front line
เวทีเล่าสู่กันฟัง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
เวทีเล่าสู่กันฟัง ,[object Object],[object Object],[object Object],Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
รูปแบบหรือเทคนิคในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
ชุมชนนักปฏิบัติ ( Community of practice ) : ก๊วนคุณกิจ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts ตัวอย่างชุมชนนักปฏิบัติในโรงพยาบาลบ้านตาก  :  กลุ่ม ENV, กลุ่ม IC, กลุ่ม HRM, กลุ่ม IM, กลุ่มบำบัดยาเสพติด , กลุ่มดูแลผู้ป่วยเอดส์ , กลุ่มดูแลผู้ป่วย COPD, กลุ่ม ESB, กลุ่ม RM ชุมชนนักปฏิบัติ  2  แบบ คือชุมชนแบบปิดและชุมชนแบบเปิด การจัดการความรู้แบบูรณาการ
การจัดการให้เกิดขุมทรัพย์ความรู้ ( Knowledge assets )   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
ขุมทรัพย์ความรู้ ( Knowledge Assets ) Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts .....  เป็น ขุมความรู้  (Knowledge Assets)   ที่มีบริบท   และรายละเอียด ตามกาละ และเทศะที่ต้องการความรู้นั้น ที่มา ดร . ประพนธ์ ผาสุกยืด การจัดการความรู้แบบูรณาการ ประเด็น / หลักการ แหล่งข้อมูล / บุคคล โทร . ... “ “ “ “ เรื่องเล่า  & คำพูด “ เราทดลองวิธีการใหม่ …”
แฟ้มงานเพื่อการพัฒนา ( Portfolio )  :  แฟ้มหน่วยงาน Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบบูรณาการ ที่ สิ่งที่ภาคภูมิใจ / นวัตกรรม  ประโยชน์ที่ได้   ผู้จัดทำ   วันที่   แหล่งอ้างอิง
สถานที่เก็บขุมทรัพย์ความรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ประเภทของขุมทรัพย์ความรู้  : Best Practice Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
ประเภทของขุมทรัพย์ความรู้  :  นวัตกรรมเชิงระบบบริการ นวัตกรรมเชิงระบบประเภทบริการ เช่น 1. การดูแลผู้ป่วยโดยสหสาขาวิชาชีพ 2. คลินิกอดบุหรี่แบบทีม  ( Team Motivating Psycho-supportive Therapy ) 3. การดูแล COPD แบบครบวงจร 4. การติดตามดูแลผู้ป่วยที่บ้านและชุมชน ( HHC ) 5. การดูแลผู้ป่วยเอดส์แบบครบวงจร ( AIDS ) 6. การบำบัดยาเสพติดแบบ Matrix Program  ในชุมชน  Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
ประเภทของขุมทรัพย์ความรู้  :  นวัตกรรมเชิงระบบบริหาร นวัตกรรมเชิงระบบประเภทบริหาร เช่น 1. ตัวแบบบูรณาการ  10  ขั้นตอนสู่บ้านคุณภาพสร้างสุข 2. ตัวแบบการวางแผนกลยุทธ์เพื่อบรรลุผลสัมฤทธิ์องค์กร 3. คณะกรรมการพัฒนาโรงพยาบาล 4. การปรับโครงสร้างการบริหารโรงพยาบาล 5. การจัดผังองค์กรคุณภาพแบบผสมผสาน 6. กิจกรรม  5  ส แบบคร่อมหน่วยงาน 7. การพิจารณาความดีความชอบแบบทีมงาน 8. การใช้ระบบ Hospital Os  ในการบริการแบบ e-hospital Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
ประเภทของขุมทรัพย์ความรู้ :  นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมเชิงสิ่งประดิษฐ์ เช่นตู้อบเครื่องมือแพทย์ , กริ่งเรียกพยาบาลหอผู้ป่วยใน (Nursing Call) , เครื่องส่องไฟเด็กแรกเกิดตัวเหลือง (Phototherapy),  ที่เก็บฟิล์มห้องทันตกรรม ,  ที่จับโคมไฟ  Unit  ทำฟัน ,  แผนการสอนประกอบรูปภาพ ,  เตียงนวดเอนกประสงค์ ,  ยางรัดสายสะดือสะดวกใช้ ,  ตู้ยูวี  (UV)  กำจัดเชื้อ ,  กล่องตาก  SLIDE ,  อุปกรณ์บริหารข้อมือ และข้อไหล่ ,  ราวหัดเดิน / ที่บริหารข้อเข่า ( Q uardriceps board ) , ที่หยดคลอรีนฆ่าเชื้อโรค ,  ที่หยดสารส้ม ,  รถเข็นขยะติดเชื้อ  , ถุงดักขยะ  Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
ประโยชน์ของการจัดการความรู้ในโรงพยาบาล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การจัดการความรู้แบบูรณาการ
3  กฎหลักของการจัดการความรู้ที่ลืมไม่ได้ ( Snowden ) 1.Knowledge can only be volunteered,it can not be conscripted.  สมัครใจไม่ใช่กะเกณฑ์ บังคับ ข่มขู่ สั่งไม่ได้ 2.I only know  what I know when I need to know it.  การเรียนรู้เกิดเมื่อต้องการใช้ 3.We always know more than we can say,and we will always say more than we can write down.  รู้มากกว่าที่พูดได้เขียนได้ การจัดการความรู้แบบูรณาการ
ถามใจตัวเองเมื่อจะนำการจัดการความรู้มาใช้ เรา ( องค์กร ) จะทำจัดการความรู้เพราะอะไร หรือจะทำไปทำไม เป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญมากที่สุดต่อความสำเร็จ 1. กระแส ( Fashion ) เห่อตามแฟชั่น ทำตามๆกันไป จะได้ไม่ตกยุค 2. กระสุน ( Budget ) มีงบสนับสนุนมาให้ มีคนมีเครื่องมืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์มาให้ 3. กระสับกระส่าย ( Policy ) ถูกบังคับให้ทำและต้องถูกประเมิน 4. กระสัน ( Passion ) แรงจูงใจอย่างแรงกล้าที่จะพาองค์กรสู่ความเป็นเลิศด้วยการจัดการความรู้  การจัดการความรู้แบบูรณาการ
ข้อควรระวังเมื่อทำ KM ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
สรุปหัวใจสำคัญของการจัดการความรู้ การจัดการความรู้ ไม่ทำ ไม่รู้  ไม่รู้ต้องทำ ทำไปรู้ไป  “อยากรู้รสสาลี่ ก็ต้องกิน”  เพื่อเน้นย้ำให้เห็นคุณค่าของการปฏิบัติ  ทำโดยไม่รู้ว่าทำ ไม่ต้องวัด KM ก็ได้ แต่ผลลัพธ์ขององค์กรต้องดีขึ้น เราไม่ได้ทำนาแค่ต้องการปลูกข้าวกี่ต้นแต่ต้องการข้าวสารกี่ถัง การจัดการความรู้แบบบูรณาการ การจัดการความรู้จึงเป็นเครื่องมือไม่ใช่เป้าหมาย การจัดการความรู้จะต้องดำเนินการในลักษณะที่บูรณาการอยู่ในกิจกรรมหรืองานประจำ ไม่ถือเป็นกิจกรรมที่แยกจากงานประจำ ต้องดำเนินการโดยไม่ทำให้สมาชิกขององค์การรู้สึกมีภาระเพิ่ม
“ บ้านตาก   เมืองคนดีที่เราอยู่  รวมใจ  สู้มุ่งมั่นร่วมฟันฝ่า  รู้รัก  กันร่วมต้านอุปสรรคมา  สามัคคี   ทั่วหน้ามาช่วยกัน ร้อย   ชีวิตผองเราชาวบ้านตาก  คน  หมู่มากร่วมจิตร่วมคิดฝัน  หนึ่ง   เป้าหมายสุขภาพดีถ้วนหน้ากัน  ใจ   เรานั้นมุ่งทำดีที่พัฒนา ” t [email_address] www.bantakhospital.com  , www.practicallykm.gotoknow.org บ้านตาก รวมใจ   รู้รัก สามัคคี   ร้อย คน หนึ่ง ใจ   สวัสดี การจัดการความรู้แบบูรณาการ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2Black Coffee
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...นิพ พิทา
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้DrDanai Thienphut
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธNatepanna Yavirach
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11Amp Tiparat
 
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญาการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญาSinghar Kramer
 
Knowledge, learning, and innovation
Knowledge, learning, and innovationKnowledge, learning, and innovation
Knowledge, learning, and innovationmaruay songtanin
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้looktao
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานtumetr
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUpantapong
 

La actualidad más candente (13)

Bella
BellaBella
Bella
 
Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
 
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญาการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
 
Knowledge, learning, and innovation
Knowledge, learning, and innovationKnowledge, learning, and innovation
Knowledge, learning, and innovation
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RU
 
2015 course syllabus
2015 course syllabus2015 course syllabus
2015 course syllabus
 

Similar a Handout1

คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้Perus Saranurak
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124guest417609
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553Kobwit Piriyawat
 

Similar a Handout1 (20)

คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2
 
Handout2
Handout2Handout2
Handout2
 
Adapt die ha_620313
Adapt die ha_620313Adapt die ha_620313
Adapt die ha_620313
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
Story nok
Story nokStory nok
Story nok
 
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พคุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124
 
Ugp 630910
Ugp 630910Ugp 630910
Ugp 630910
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
Blog22 feb21
Blog22 feb21Blog22 feb21
Blog22 feb21
 
Km cream
Km creamKm cream
Km cream
 
Think outbox 4
Think outbox 4Think outbox 4
Think outbox 4
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
 

Handout1

  • 1. Copyright © 20056 by Bantak Hospital All Rights Reserved. 98 Moo 7 T.Tak-ok Bantak D. Tak Tel. 055-591435-6, 548066 http://www.bantakhospital.com การจัดการความรู้แบบบูรณาการ นพ . พิเชฐ บัญญัติ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลบ้านตาก จ . ตาก ว . ว . เวชปฏิบัติทั่วไป , อว . เวชศาสตร์ป้องกัน , อว . เวชศาสตร์ครอบครัว - แพทยศาสตรบัณฑิต (2536) - รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (2539) - นิเทศศาสตรบัณฑิต (2542) - สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (2544) - รัฐประศานศาสตรมหาบัณฑิต ( เกียรตินิยม ) นิด้า (2547) มาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพ HA มาตรฐานโรงพยาบาลน่าอยู่น่าทำงานระดับทอง HWP มาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพด้านการบำบัดสารเสพติด มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ HPH
  • 2. องค์กรแบบเครื่องจักร องค์กรแบบสิ่งมีชีวิต วัฒนธรรมองค์กร องค์กรบริหารตนเอง องค์กรคุณภาพ องค์กรแห่งการเรียนรู้ การจัดการความรู้ ความฉลาดขององค์กร Organizational Intelligence Learning Organization: องค์กรแห่งการเรียนรู้ Core competence Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
  • 3. ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ปัญญา Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้สู่องค์กรคุณภาพ ข้อมูล ( Data ) สารสนเทศ Information ความรู้ Knowledge ปัญญา Wisdom แปลงให้มีความหมาย สนับสนุนการตัดสินใจ ตัดสินใจถูกต้อง ประยุกต์ใช้ได้ การเรียนรู้
  • 4.
  • 5.
  • 6. องค์การแห่งการเรียนรู้กับการจัดการความรู้ ( LO & KM ) Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts องค์การแห่งการเรียนรู้คือสถานที่ซึ่งผู้คนขยายขีดความสามารถเพื่อที่จะบรรลุในสิ่งที่พวกเขาต้องการอย่างแท้จริงและต่อเนื่องเป็นสถานที่ที่ระบบทางความคิดใหม่และการขยายตัวทางความคิดได้รับการสนับสนุน ที่ซึ่งผู้คนมีความทะเยอทะยานนอกกรอบและเป็นที่ๆผู้คนเรียนรู้ที่จะเรียนไปด้วยกันอย่างต่อเนื่อง Knowledge management is a connective tissue of a learning organization. เปรียบ LO เหมือนที่นา KM เหมือนต้นข้าว รวงข้าวเป็น Result ที่มีข้าวเปลือกเป็น Outcome และข้าวสารเป็น Impact เราต้องการข้าวสาร การจัดการความรู้แบบูรณาการ
  • 7.
  • 8. What’s Knowledge management คือเครื่องมือหรือกระบวนการที่ทำให้องค์การสามารถเก็บรับ สร้างและต่อยอดองค์ความรู้ที่นำมาใช้ในการพัฒนาองค์การให้สามารถทำงานตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้อย่างมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และประหยัด เพื่อให้องค์การสามารถอยู่รอดและเติบโตได้โดยสามารถสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันได้ทำให้องค์การสร้างผลงานที่ดีกว่า ถูกกว่า เร็วกว่า โดยอาศัยพลังปัญญาหรือสินทรัพย์ทางปัญญาของคนในองค์การเป็นหลักและสามารถรวบรวมความรู้ที่ใช้ได้เหล่านั้นเอาไว้ให้บุคคลอื่นๆในองค์การได้นำไปใช้ต่อได้ง่ายจนกลายเป็นความฉลาดขององค์การที่แสดงให้เห็นในรูปของสมรรถนะหลักขององค์การ Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
  • 9. 1. การจัดการให้เกิดการเรียนรู้ ( L earning Management ) 2. การจัดการให้เกิดองค์ความรู้ ( K nowledge Organizing ) 3. การจัดการให้เกิดการใช้ความรู้ ( Knowledge A cting ) 4. การจัดการให้เกิดการแบ่งปันความรู้ ( Knowledge S haring ) 5. การจัดการให้เกิดการจัดเก็บองค์ความรู้ ( Knowledge A ssets ) LKASA ( Bantak ) Model การจัดการความรู้ 5 ขั้นตอน Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
  • 10. LKASA EGG Model บูรณาการ KM สู่ LO Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ 1.Learning ENV 3.K Acting 4. K Sharing 2.K Organizing 5. K Assets
  • 11.
  • 12. CEO & CKO &Learning Organization 1.System:Knowledge vision ,Shared vision 2.Simplify : สอดคล้องกับงานประจำ ไม่ติดรูปแบบ 3.Surrounding : จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ - แนวคิด 575 สร้าง 5 ลด 7 เสริม 5 เน้นคน ทีม เครื่อง กิจกรรม - จตุรภาคแห่งการจัดการความรู้ : เขย่าองค์กรอย่างเหมาะสม การจัดการให้เกิดการเรียนรู้ ( Learning ) Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
  • 13. การวางแผนกลยุทธ์เพื่อบรรลุผลสัมฤทธิ์ขององค์กร Monitoring Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ แผนปฏิบัติการ แผนงาน โครงการ ประเมินผล SWOT Analysis ตัวชี้วัด กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ ยุทธศาสตร์ งานประจำ ปฏิบัติจริง ผลสัมฤทธิ์ 4 มิติ ( customer,internal process,Learning&Growth,Finance Internal&External Balanced scorecard Six sigma Benchmarking
  • 14. วินัยทั้ง 5 ประการของ Peter M. Senge : คน Personal Mastery มีวินัยในตัวเอง ควบคุมตนเอง ปรับปรุงตนเองสม่ำเสมอ กระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน Mental Model มีจิตใจที่มีพลังในการสร้างสรรค์ ฟังคนอื่น Shared Vision สร้างความฝันร่วมกัน Team Learning มีการเรียนรู้ร่วมกันของทีม Systemic Thinking คิดเป็นระบบ มองเห็นภาพรวม Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
  • 15. สภาพความไร้ความสามารถในการเรียนรู้ขององค์การ สภาพการยึดถือว่า “ ฉันคือตำแหน่งของฉัน ” การหาผู้กระทำผิดหรือแก้ตัว ภาพลวงตาคิดว่าตัวเองแก้ปัญหาเชิงรุก แก้ปัญหาที่อาการ ยึดติดเหตุการณ์ การยึดติดในความสำเร็จในอดีต ไม่สามารถรับรู้การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นที่ละน้อย ๆ และอย่างช้า ๆ การเข้าใจว่าการเรียนรู้ที่มีพลังที่สุดคือการเรียนรู้จากประสบการณ์โดยตรง ทีมงานไม่สามารถเรียนรู้จากสมาชิกทีมและประสบการณ์ของทุกคนในทีมได้ Learning Disability = LD : ทีม Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
  • 16. Action Learning การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ ( อริยสัจ 4 = ทุกข์ - สมุทัย - นิโรธ - มรรค ) Benchmarking มาตรฐานเปรียบเทียบ ( Sharing ) Coaching การสอนงาน Mentoring การเป็นพี่เลี้ยง Portfolio แฟ้มงานเพื่อการพัฒนา ( Assets ) เทคนิคที่สนับสนุนให้คนในองค์กรมีการเรียนรู้ Learning Technique for LO : กิจกรรม Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
  • 17. วิธีการเรียนรู้ 4 วิธี ( จากในและนอกองค์กร ) 1.Learning by Seeing การเรียนรู้จากการศึกษาดูงาน 2.Learning by Training การเรียนรู้จากการฝึกอบรม 3.Learning by Reading การเรียนรู้จากการอ่าน 4.Learning by Doing การเรียนรู้จากการปฏิบัติ Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts ความคิดสร้างสรรค์ : สิ่งที่ขาดไม่ได้เมื่อเรียนรู้ 1. Integrated Thinking คิดเชิงบูรณาการ มองเป้าหมายเดียวกัน 2. System Thinking คิดเชิงระบบ เห็นความเชื่อมโยงของทุกสิ่ง 3.Positive Thinking คิดเชิงบวก มองคนในแง่บวก 4.Lateral Thinking คิดเชิงบุก / คิดนอกกรอบ / คิดทางขวาง การจัดการความรู้แบบูรณาการ
  • 18. Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts The Cynefin Framework of Knowledge Management การจัดการความรู้แบบูรณาการ ขีดความสามารถสูง ขีดความสามารถไม่สูงนัก Complex Knowable Chaos Known รู้ไม่ชัด รู้บ้าง ก้าวกระโดด ปรับปรุง ประคองตัว งานประจำ
  • 19.
  • 20.
  • 21. Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts SECI-Knowledge Conversion Process Model แลกเปลี่ยนได้ ถอดใส่รหัส จัดผสมผสาน ฝังหัวคนงาน การจัดการความรู้แบบูรณาการ Tacit Tacit Externalization Socialization Internalization Combination Explicit Explicit
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28. หน้าที่ของ KM Facilitators : ช่วยให้เกิด 4 เอื้อ Learn เอื้อโอกาส ให้เกิดเรียนรู้ / อยากเรียนรู้ / ใฝ่รู้ ( เวลา / เวที ) Care เอื้ออาทร ให้เกิดความห่วงใยใส่ใจกัน / ช่วยเหลือกัน Share เอื้ออารี ให้เกิดการแบ่งปันความรู้ / เล่าสู่กันฟัง Shine เอื้อเอ็นดู ให้เกิดความภาคภูมิใจ / ยกย่อง / กำลังใจ / มีไฟ Knowledge is not power ,but Knowledge sharing is power. Human is important , but Human relationship is more important Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบบูรณาการ
  • 29. ใช้พลังของการเคลื่อนความรู้ข้ามแดน Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts Inter-departmental คน คน อาวุโส เยาว์ แลกเปลี่ยนความรู้ที่แนบแน่นอยู่กับงาน การจัดการความรู้แบบูรณาการ S E C I Top Middle Front line
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35. ขุมทรัพย์ความรู้ ( Knowledge Assets ) Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts ..... เป็น ขุมความรู้ (Knowledge Assets) ที่มีบริบท และรายละเอียด ตามกาละ และเทศะที่ต้องการความรู้นั้น ที่มา ดร . ประพนธ์ ผาสุกยืด การจัดการความรู้แบบูรณาการ ประเด็น / หลักการ แหล่งข้อมูล / บุคคล โทร . ... “ “ “ “ เรื่องเล่า & คำพูด “ เราทดลองวิธีการใหม่ …”
  • 36. แฟ้มงานเพื่อการพัฒนา ( Portfolio ) : แฟ้มหน่วยงาน Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบบูรณาการ ที่ สิ่งที่ภาคภูมิใจ / นวัตกรรม ประโยชน์ที่ได้ ผู้จัดทำ วันที่ แหล่งอ้างอิง
  • 37.
  • 38.
  • 39. ประเภทของขุมทรัพย์ความรู้ : นวัตกรรมเชิงระบบบริการ นวัตกรรมเชิงระบบประเภทบริการ เช่น 1. การดูแลผู้ป่วยโดยสหสาขาวิชาชีพ 2. คลินิกอดบุหรี่แบบทีม ( Team Motivating Psycho-supportive Therapy ) 3. การดูแล COPD แบบครบวงจร 4. การติดตามดูแลผู้ป่วยที่บ้านและชุมชน ( HHC ) 5. การดูแลผู้ป่วยเอดส์แบบครบวงจร ( AIDS ) 6. การบำบัดยาเสพติดแบบ Matrix Program ในชุมชน Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
  • 40. ประเภทของขุมทรัพย์ความรู้ : นวัตกรรมเชิงระบบบริหาร นวัตกรรมเชิงระบบประเภทบริหาร เช่น 1. ตัวแบบบูรณาการ 10 ขั้นตอนสู่บ้านคุณภาพสร้างสุข 2. ตัวแบบการวางแผนกลยุทธ์เพื่อบรรลุผลสัมฤทธิ์องค์กร 3. คณะกรรมการพัฒนาโรงพยาบาล 4. การปรับโครงสร้างการบริหารโรงพยาบาล 5. การจัดผังองค์กรคุณภาพแบบผสมผสาน 6. กิจกรรม 5 ส แบบคร่อมหน่วยงาน 7. การพิจารณาความดีความชอบแบบทีมงาน 8. การใช้ระบบ Hospital Os ในการบริการแบบ e-hospital Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
  • 41. ประเภทของขุมทรัพย์ความรู้ : นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมเชิงสิ่งประดิษฐ์ เช่นตู้อบเครื่องมือแพทย์ , กริ่งเรียกพยาบาลหอผู้ป่วยใน (Nursing Call) , เครื่องส่องไฟเด็กแรกเกิดตัวเหลือง (Phototherapy), ที่เก็บฟิล์มห้องทันตกรรม , ที่จับโคมไฟ Unit ทำฟัน , แผนการสอนประกอบรูปภาพ , เตียงนวดเอนกประสงค์ , ยางรัดสายสะดือสะดวกใช้ , ตู้ยูวี (UV) กำจัดเชื้อ , กล่องตาก SLIDE , อุปกรณ์บริหารข้อมือ และข้อไหล่ , ราวหัดเดิน / ที่บริหารข้อเข่า ( Q uardriceps board ) , ที่หยดคลอรีนฆ่าเชื้อโรค , ที่หยดสารส้ม , รถเข็นขยะติดเชื้อ , ถุงดักขยะ Learning Knowledge Acting Sharing Assets Concepts การจัดการความรู้แบบูรณาการ
  • 42.
  • 43. 3 กฎหลักของการจัดการความรู้ที่ลืมไม่ได้ ( Snowden ) 1.Knowledge can only be volunteered,it can not be conscripted. สมัครใจไม่ใช่กะเกณฑ์ บังคับ ข่มขู่ สั่งไม่ได้ 2.I only know what I know when I need to know it. การเรียนรู้เกิดเมื่อต้องการใช้ 3.We always know more than we can say,and we will always say more than we can write down. รู้มากกว่าที่พูดได้เขียนได้ การจัดการความรู้แบบูรณาการ
  • 44. ถามใจตัวเองเมื่อจะนำการจัดการความรู้มาใช้ เรา ( องค์กร ) จะทำจัดการความรู้เพราะอะไร หรือจะทำไปทำไม เป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญมากที่สุดต่อความสำเร็จ 1. กระแส ( Fashion ) เห่อตามแฟชั่น ทำตามๆกันไป จะได้ไม่ตกยุค 2. กระสุน ( Budget ) มีงบสนับสนุนมาให้ มีคนมีเครื่องมืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์มาให้ 3. กระสับกระส่าย ( Policy ) ถูกบังคับให้ทำและต้องถูกประเมิน 4. กระสัน ( Passion ) แรงจูงใจอย่างแรงกล้าที่จะพาองค์กรสู่ความเป็นเลิศด้วยการจัดการความรู้ การจัดการความรู้แบบูรณาการ
  • 45.
  • 46. สรุปหัวใจสำคัญของการจัดการความรู้ การจัดการความรู้ ไม่ทำ ไม่รู้ ไม่รู้ต้องทำ ทำไปรู้ไป “อยากรู้รสสาลี่ ก็ต้องกิน” เพื่อเน้นย้ำให้เห็นคุณค่าของการปฏิบัติ ทำโดยไม่รู้ว่าทำ ไม่ต้องวัด KM ก็ได้ แต่ผลลัพธ์ขององค์กรต้องดีขึ้น เราไม่ได้ทำนาแค่ต้องการปลูกข้าวกี่ต้นแต่ต้องการข้าวสารกี่ถัง การจัดการความรู้แบบบูรณาการ การจัดการความรู้จึงเป็นเครื่องมือไม่ใช่เป้าหมาย การจัดการความรู้จะต้องดำเนินการในลักษณะที่บูรณาการอยู่ในกิจกรรมหรืองานประจำ ไม่ถือเป็นกิจกรรมที่แยกจากงานประจำ ต้องดำเนินการโดยไม่ทำให้สมาชิกขององค์การรู้สึกมีภาระเพิ่ม
  • 47. “ บ้านตาก เมืองคนดีที่เราอยู่ รวมใจ สู้มุ่งมั่นร่วมฟันฝ่า รู้รัก กันร่วมต้านอุปสรรคมา สามัคคี ทั่วหน้ามาช่วยกัน ร้อย ชีวิตผองเราชาวบ้านตาก คน หมู่มากร่วมจิตร่วมคิดฝัน หนึ่ง เป้าหมายสุขภาพดีถ้วนหน้ากัน ใจ เรานั้นมุ่งทำดีที่พัฒนา ” t [email_address] www.bantakhospital.com , www.practicallykm.gotoknow.org บ้านตาก รวมใจ รู้รัก สามัคคี ร้อย คน หนึ่ง ใจ สวัสดี การจัดการความรู้แบบูรณาการ